The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ "เพชรอันดามัน ปี 2562"
จัดทำโดย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เพชรอันดามัน ปี 2562

โครงการ "เพชรอันดามัน ปี 2562"
จัดทำโดย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

Keywords: เพชร,ภูเก็ต,ราชภัฏ,ปราชญ์,ท้องถิ่น

~ 143 ~

กลมกลืนในการสรา้ งใหเ้ กิดกิจกรรมประเภทเทคโนโลยีการออกแบบ ธุรกิจไลฟ์สไตล์ เทคโนโลยีการท่องเท่ียว
ซ่ึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการในพ้ืนที่เมืองเก่า เป็นการแปลงคุณค่าของเมืองเก่าให้เกิดเป็นมูลค่าใน
เชงิ เศรษฐกจิ โดยไม่ทาให้คณุ คา่ ของเมืองเก่าตอ้ งด้อยหรือเสือ่ มโทรมลง ส่ิงท่ไี ด้จากการอนุรักษ์และพัฒนาเมือง
เก่าระนองท่ีสาคัญที่สุด คือ การรักษาจุดศูนย์รวมจิตวิญญาณและความภาคภูมิของผู้คน การรักษา "เมืองเก่า
ระนอง" เพ่อื เปน็ แหล่งเรียนรู้ ยอ่ มทาให้เด็กและเยาวชนท่ีจะเติบโตเปน็ กาลังสาคัญของชาตไิ ดเ้ กิดความรักและ
ความภาคภูมิใจในถ่ินฐานบ้านเกิดของตน ซึ่งการสร้างทรัพยากรบุคคลท่ีมีคุณภาพเป็นเร่ืองท่ีมีความสาคัญยิ่ง
กว่าการพัฒนาในด้านอื่นใด ทั้งน้ี เน่ืองจากคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา ดังน้ัน การพัฒนาคนย่อมทาให้
ประเทศเกิดการพัฒนาในด้านอื่น ๆ ตามมา นอกจากนี้ในการรักษาเมืองเก่าระนองไว้ ยังสามารถอานวย
ประโยชน์ในด้านการท่องเที่ยวได้ โดนเฉพาะกระแสในด้านการพัฒนาของเทคโนโลยีท่ีผลักดันให้ประเทศไทย
ต้องก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศไทย 4.0 การอนุรักษ์และการพัฒนาเมืองเก่าระนอง จึงเป็นเร่ืองท่ีมีความ
สอดคล้องและจาเป็นต้องดาเนินการเพื่อให้ประเทศก้าวข้ามจากการเป็นประเทศไทย 1.0 , 2.0 และ 3.0 เป็น
ชาติท่ีสามารถยืนหยัดอวดความภาคภูมิในการรักษามรดกทางวัฒนธรรมท่ีบรรพชนได้สร้างไว้ให้ปรากฏใน
ปจั จุบันสมยั และก้าวไปสู่ความเป็นจังหวดั smart cityได้อยา่ งยงั่ ยืนสืบไป

รายละเอยี ดของผูท้ ี่สามารถใหข้ อ้ มูลเพ่ิมเติมได้

• ช่อื – สกุล .......นายวันใหม่ สงั ข์สงหา.............................................................................................
ทที่ างาน.....องค์การบริหารส่วนจงั หวัดระนอง (กองการศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม) ถนนเพชรเกษม.......
ตาบลบางร้ิน อาเภอเมือง จังหวัดระนอง .......................................................................................................
โทรศัพท.์ ......08 1728 8786................................โทรสาร.....0 7781 2781.......................................
อีเมลล.์ ............-...............................................................................................................................................

• ชอ่ื – สกลุ ......นายโกศล ณ ระนอง.................................................................................................
ท่ที างาน.......จวนเจา้ เมืองระนอง (คา่ ยตระกูล ณ ระนอง) ถนนเรอื งราษฎร์ อาเภอเมือง จังหวัดระนอง......
โทรศัพท.์ .......08 1956 0008.................................โทรสาร...........-..........................................................

~ 144 ~

ภาพกจิ กรรม

~ 145 ~

~ 146 ~

~ 147 ~

~ 148 ~

~ 149 ~

~ 150 ~

~ 151 ~

~ 152 ~

~ 153 ~

แบบเสนอข้อมลู ประวตั ิและผลงานเพ่อื ประกาศยกย่องเชิดชเู กียรติ
เพชรอนั ดามนั ครัง้ ที่ ๒ ประจาปพี ุทธศักราช ๒๕๖๒

ชือ่ – สกลุ นายพรศักดิ์ อปุ การดี
สาขา ส่งเสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรม
วันเดือนปีทเ่ี กิด
สถานท่ีเกิด วนั ท่ี ๑๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๑๒
อายุ
อาชีพ อาเภอเมือง จังหวดั ระนอง
บิดาช่อื
๕๐ ปี
ทีอ่ ยู่
รบั ขา้ ราชการครูชานาญการโรงเรียนระวิราษฎรบ์ ารงุ
สถานทที่ างาน
ร.ต.ท.ไพรชั อุปการดี มารดาชอ่ื นางจรัส อุปการดี
โทรศัพท์
โทรศัพทม์ อื ถือ เป็นบตุ รคนท่ี ๒ ในพี่น้อง ๓ คน
อเี มลล์
บ้านเลขที่ ๘/๑ หมทู่ ี่ ๕ ตาบลบางพระเหนือ อาเภอละอ่นุ จังหวัดระนอง

๘๕๑๓๐

โรงเรียนระวิราษฎร์บารงุ หมู่บา้ นระวิ ตาบลบางพระเหนือ อาเภอละอุน่

จงั หวัดระนอง ๘๕๑๓๐

๐๗-๗๘๖-๒๖๔๓

๐๘๕-๗๙๕-๕๕๗๕

[email protected]

~ 154 ~

ประวัติการศึกษา พ.ศ. สถานศึกษา อาเภอ จงั หวดั
วฒุ กิ ารศึกษา ๒๕๒๓ โรงเรยี นชาตเิ ฉลิม เมือง ระนอง
เมอื ง ระนอง
ระดบั ประถมศึกษา เมือง ระนอง

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ๒๕๒๖ โรงเรยี นพิชัยรตั นาคาร เมอื ง สงขลา

ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ๒๕๓๐ โรงเรยี นพชิ ยั รัตนาคาร ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ

ระดบั ปรญิ ญาตรี/คุณวฒุ ิ

- คบ. (เกยี รตินยิ มอันดบั ๑ ) ๒๕๓๔ วทิ ยาลยั ครสู งขลา

การศึกษาปฐมวยั (โครงการคุรุทายาท)

ระดบั ปริญญาโท/คณุ วุฒิ

- สังคมสงเคราะห์ทาง ๒๕๔๘ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

การศึกษา

ประสบการณ์และระยะเวลาในการทางาน
บรรจุทางานต้งั แตป่ ี ๒๕๓๔ ครโู รงเรียนระวิราษฎร์บารุง สอนระดับก่อนประถมศึกษา เป็นครูประจา

ช้ันอนุบาลปีที่ ๒ ช่วงปี ๒๕๓๔ – ๒๕๔๔ จัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาปฐมวัย จนเป็นท่ียอมรับในแวด
วงการศึกษาของจังหวัด พัฒนาโรงเรียนระวิราษฎร์บารุง เป็นศูนย์เด็กปฐมวัย จังหวัดระนอง ประจาอาเภอ
ล ะ อุ่ น ตั้ ง แ ต่ พ . ศ . ๒ ๕ ๔ ๔ ไ ป ศึ ก ษ า ต่ อ ร ะ ดั บ ป ริ ญ ญ า โ ท สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ.๒๕๔๖ กลบั มาสอนต่อโรงเรยี นระวิราษฎรบ์ ารุง รับผิดชอบงานกิจการนักเรียน
งานแนะแนว งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้พัฒนาแนวคิดการพัฒนาชุมชน ในการจัดการเรียนด้วย
วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม การบูรณาการจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุในชุมชน จนส่งเสริมศิลปะการแสดงพื้นบ้าน
กลองยาว ให้ฟื้นข้ึนมาในหมู่บ้านและขยายผลการแสดงโนราห์-พราน ด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ิน ศิลปินพนอม
ปัจจบุ ันโรงเรียนระวริ าษฎร์บารุง มีจุดเด่นดา้ นส่งเสริมศลิ ปวัฒนธรรม

ประสบการณ์
อดตี เปน็ อาจารย์พิเศษของวิทยาลัยชมุ ชนระนอง มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ไดร้ บั การแต่งตั้งจากจังหวัดระนอง เป็นอนุกรรมการ การพัฒนาเด็กปฐมวัย กบั กรรมการ

คมุ้ ครองเด็กจงั หวดั ระนอง

ปจั จุบนั เปน็ วทิ ยากรอบรมครปู ฐมวัย หรอื ครูแนะแนว
เปน็ วิทยากรอบรมผ้ปู กครอง หรอื ผ้สู ูงอายุ

~ 155 ~

ประวัตผิ ลงาน

๑. การศึกษา เรยี นรู้ การปฏิบตั งิ านหรือฝึกฝนในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ความมุ่งหวัง และสิ่งที่

ฝากถึงอนชุ นร่นุ ต่อไป

ครูไก่ ไม่ใช่เป็นครูท่ีเรียนมาทางด้านนาฏศิลป์ แต่มีเพื่อนสนิทที่ต้องเอ่ยนาม ครูวิวัฒน์ เชื้อ
แหลม ท.๕ เปน็ เพอื่ นรักสมัยเรยี นปริญญาตรี วิทยาลัยครขู ลา คือคนท่ีหล่อหลอม ชักชวนให้เข้าสู่วงการแสดง
เป็นนักแสดงประเภทสร้างสรรค์ โมเดิร์น ๆ มาตลอด เป็นผู้ช่วย ผู้ดูแลนักแสดง จนกระทั่งได้มีโอกาส รา
มโนราห์ ต้อนรับ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ งานวัฒนธรรม และได้อยู่ดูการแสดงทั้ง ๔ ภาค เป็น
นางแบบ การเติมเช้ือสะสมไว้ การนุ่งโจงกระเบนสมยั เรียน การบชู าพ่อแก่

จนกระท่ังเรียนต่อปริญญาโทสังคมสงเคราะห์ทางการศึกษา กับการค้นพบวิธีการพัฒนาเด็ก
เยาวชน ครอบครัว ชุมชน ว่าศิลปวัฒนธรรมการแสดงเป็นผลดีที่สุด (ถ้าเราค้นพบจุดเด่น ณ ชุมชน ค้นพบ
ศิลปินพื้นบา้ น ความคดิ สรา้ งสรรค์ ในตนเองการประยุกต์ หรอื การเก็บข้อมลู คือตวั ตนของตนเอง)

๒. ผลงานสาคัญทีส่ ร้างสรรค์ข้ึนมาใหม่

๒.๑ “กลองยาว คระคณุ ย่าพร้ิม บ้านระวิ” เป็นกลุ่มกลองยาวชาวใต้ ท่ีได้รับการฟื้นฟูเสริม
พลังขนึ้ มา โดยการรวมกลุ่มของคนในชมุ ชน มีววิ ัฒนาการที่เกิดจากรากเหง้าบรรพบุรุษ ครูกลองยาว ครูวิจิตร
ช่วยมั่นคง รวมใจกันสืบสานส่งเสริม ด้วยแรงกายแรงใจ และการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก จนเป็น
เอกลกั ษณช์ ุมชน และขยายผลเป็นอาชีพเสรมิ แหก่ ลองยาวงานบวช หรืองานแต่ง และงานเทศกาล เป็นที่รู้จัก
ในจงั หวัดและครูไกไ่ ด้นาภูมิปัญญาเขา้ ไปสอนเด็กในโรงเรียน

๒.๒ “กลุ่มกลองยาวเด็กบ้านระวิ” เป็นการอนุรักษ์สืบสานส่งเสริมสร้างเอกลักษณ์ของ
ชุมชน จนกลายเปน็ โครงการ ๒ อ. ๓ ส. ของครูไก่ ที่พัฒนาสืบทอดศิลปวัฒนธรรมการแสดงกลองยาว วิถีคน
ใต้ ให้ตอ่ ยอดด้วยเด็กนกั เรียนโรงเรียนระวิราษฎร์บารุง จนามารถออกงานเองได้ รับงาน แห่กระบวนขันหมาก
แหน่ าค งานเทศกาลงานพิธีเปดิ จนเป็นท่ีรู้จักและยอมรบั ในความสามารถของเดก็ ๆ สไตลใ์ ส ๆ นา่ รัก

ลักษณะเดน่ กลองยาวคณะคณุ ย่าพริม้ บ้านระวิ เปน็ วทิ ยากรถา่ ยทอดให้กับเด็ก ๆ ในชุมชน
โดยโรงเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ครูไก่เป็นผู้สนับสนุนส่งเสริม ท้ังวัสดุเคร่ืองแต่งกาย หางบประมาณมา
หนนุ เสริม และหาอเี วนทง์ านให้แสดง จนเปน็ อาชพี เสริมให้แกค่ นในชุมชน

๒.๓ “กลุ่มโนราห์เด็กบ้านระวิ” เป็นการสืบสานส่งเสริม ต่อจากภูมิปัญญาท้องถ่ินต่อเนื่อง
จาก (ครพู ดั ) ณฐั กรณ์ ทองใหม่ ได้เข้ามาจดุ ประกายต้ังตน้ ให้กับนกั เรยี นโรงเรียนระวริ าษฎร์บารุง และท่านได้
ย้ายกลับภูมิลาเนาเดิม ครูไก่จึงสานต่อ โดยใช้วิธี “พี่สอนน้อง” ร่วมกับดึง “ศิลปินพ้ืนบ้าน” ในชุมชนมาช่วย
จนในท่ีสุดกลุ่มโนราห์เด็กบ้านระวิ เป็นที่รู้จักมีชื่อเสียง มีโนราห์เด็กรุ่นน้ี ชื่อ นายวีรกรณ์ สามแก้ว (โนราห์
มงั กร) เป็นหวั หนา้ คณะ

๒.๔ “กลุ่มลูกพรานน้อยบ้านระวิ” ก็เช่นกัน ครูไก่ได้ฟ้ืนฟูพัฒนารูปแบบ และสร้าง
เอกลักษณ์ของ“พราน” ในลักษณะของ “ลูกพรานน้อย”เพ้นหา เด็กเล็กต้ังแต่อนุบาล จนถึงมัธยมศึกษา
ตอนต้น ท่ีมีแวว มีความสามารถ สนใจ รักในการแสดง ด้าน โนรา-พราน เป็นเด็กท่ีมีครู บรรพบุรุษมีเช้ือมี
สายด้านนี้ มาฝึกซ้อมโดยใช้วิธีการคิดร่วมกัน ดึง อินเนอร์ ของเด็กแต่ละคน มาปรบท่าและใส่ดนตรีท่ี
สนกุ สนาน เพอื่ แสดงให้ผู้ชมได้มีความสุข เฮฮาตอบโจทย์ และตลาดเป็นอย่างดี ปัจจุบัน ผวจ.ระนอง นายจตุ
พจน์ ปิยัมปุตระ ให้การสนับสนัน หนุนเสริม จนเด็กๆได้มีโอกาสไปแสดงต่างประเทศเพื่อนบ้าน และรับแขก
ต่างประเทศ จนเปน็ มาสค้อทของวจังหวัด

~ 156 ~

๒.๕ หมู่บ้านวัฒนธรรม หมู่บ้านระวิมีสโลแกน ระวิลองมาดูหมู่บ้านคู่วัฒนธรรม มีลูกพราน
น้อย เปน็ โลโก้ มจี านวฒั นธรรมท่โี รงเรียนระวริ าษฎร์บารงุ ครูไก่เป็นผู้ผลักนารว่ มกบั ผู้นาชุมชน

๓. การเผยแพร่ผลงาน การนาผลงานออกเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน

- แสดงตามงานต่าง ๆ เร่ิมจาก แสดงในหมู่บ้าน งานประเพณี เช่น งานแห่เทียนพรรษา
งานเดือนสิบ งานทอดกฐนิ งานบวช งานแตง่

- แสดงในงานเทศกาลระดับ อาเภอ จังหวัด เช่น งานเปิดเมืองละอุ่นกินฟรี งานอาบน้าแร่

แลระนอง ถนนคนเดิน งานวัฒนธรรม งานชมรม TOBENUMBERONE
- แสดงในงานสงกรานต์ งานเปดิ พธิ ีของ แมค็ โคร โลตัส
- แสดงเชื่อมสัมพันธไมตรี ไทย- เมยี นมาร์ งานจังหวดั ชายแดน

- เป็นตวั แทนของจังหวัดไปแสดงใน ๕ จงั หวดั อันดามนั
- เผยแพร่ในงานระดบั ภาคใต้ งานศลิ ปะหตั กรรมนักเรยี นภาคใต้ จังหวดั ระนอง จงั หวัดตรัง
- รายการ Bird Eyes Views มาถ่ายทารายการเก่ียวกับวัยรุ่นและจิตสาธารณสร้างได้ท่ี

อาเภอละ

- งานอาบน้าเพญ็ @ระนอง
- งาน OTOP ไทย-เมียนมาร์

- งานตอ้ นรับนายอาเภอละอนุ่
- งานลอยกระทงจังหวัด เทศบาลบางรนิ
- งานแข่งเรอื กม.30

- งานสวดกลางบ้าน
- งานไหว้ครู แก้บน ฯลฯ
- งานวดั ระวิ วัดชอ่ งลม

- งานบ้านเทยี นสือ
- งาน Cunt Down ของโรงแรมทนิ ดิ ี
- งานเกษียณของครูปฐมวยั

- งานมหกรรมรวมพล ชมรม TO BE NUMBERONE ระดบั อาเภอ จังหวัด ประเทศ
- งาน People to people Connectivity 2016,2017 @ ละอุ่น

- งานสรรพศาสตร์ ตลาดวชิ า การศกึ ษาระนอง

- งานพธิ ีเปิดงานศลิ ปะหัตกรรมนักเรียนภาคใต้ จงั หวดั ระนอง จังหวัดตรัง

๔. การถ่ายทอดผลงานให้ผอู้ ื่น

การถ่ายทอดส่งเสริมต้ังแต่ ปี ๒๕๔๖-ปัจจุบัน

การถ่ายทอดด้วยการใช้ภูมิปัญญาของ ศิลปินพื้นบ้าน ปราชญ์ชุมชน เปิดประตูโรงเรียนให้
เป็นลานวัฒนธรรม ศูนย์การเรียนร็ของชุมชน แล้วส่งเสริมพัฒนาเด็กให้เป็นแกนนา พ่ีสอนน้อง เพื่อนช่วย
เพื่อน ครูทาหน้าท่ีจัดเวลา อานวยความสะดวกในการฝึกซ้อม สนับสนุนอุปกรณ์ เส้ือผ้า และหาอีเว้นท์ออก
งาน ร่วมกบั หาพันธมิตร ช่วยดูแลรับสง่ นักเรียน

~ 157 ~

การถา่ ยทอดด้วยวธิ ี ผู้ใหญ่สอนเด็ก เด็กสอนเด็ก เรียนรู้พัฒนาร่วนกัน จนกลายเป็น ผู้ใหญ่
สอน พีส่ อนน้อง ผองเพอื่ นชว่ ยกัน โดยครไู กแ่ ละเครอื ข่ายผู้ปกครองส่งเสริมดูแล พาออกงานพัฒนาเป็นอาชีพ
เสรมิ มีรายได้ สรา้ งความภาคภมู ใิ จในตนเอง เด็ก พอ่ แม่ ครอบครัว ชมุ ชนมีความสขุ และภูมิใจในตัวเด็ก สร้าง
เอกลักษณใ์ หช้ มุ ชน ให้โรงเรียน สรา้ งชอื่ เสียง เผยแพร่ อนรุ ักษศ์ ิลปวัฒนธรรมการแสดง

รางวัลและเกยี รตคิ ุณที่ไดร้ บั
- ครดู เี ด่น ระดับก่อนประถมศกึ ษาของจังหวัดระนอง ตั้งแต่ปี ๒๕๓๖ (หลงั จากบรรจเุ พียง ๒ ปี)
- วิทยากร อบรมครปู ฐมวยั ต้ังแต่ปี ๒๕๓๖ เปน็ ต้นมา
- รางวลั ครูแกนนา Master Theacher ของสพฐ.
- รางวัล นวฒั กรรมการจดั การเรียนรู้ ด้วยห้องเรียนธรรมชาติ ระดับภมู ภิ าค และภาคใต้ ๒ สมัยซอ้ น
- รางวัล คนดี ศรีระนอง ของจังหวัดระนอง (สนง.พมจ.ระนอง)
- รางวัล ทีภ่ าคภมู ิใจทีส่ ุด คอื สนบั สนุนส่งเสริม ใหน้ กั เรยี นได้รบั รางวัลนกั เรยี นพระราชทาน ๒ คน

คือ เดก็ ชายกิรวธุ อปุ ฐาก และเด็กหญงิ คชธิดา คชสาร
- เกยี รติบตั รเหรยี ญทอง ผ้สู อนนักเรียน เพ่ือนทป่ี รกึ ษา YC ระดับชาติ ของสพฐ. ศธ. ใน ปีพ.ศ.

๒๕๖๐
- รางวลั ชมรม To be number one ของจังหวัดระนอง
ชนะเลศิ ประเภทชมุ ชน
รองชนะเลศิ ประเภทสถานศึกษา
- รางวัลรองชนะเลศิ อับดับ ๒ การประกวด อิซูซุ แดนเซอร์ คอนเทส
- รับโลผ่ ู้ให้การสนบั สนุนกิจกรรม ของสานักงานสาธารณสุข อาเภอละอุ่น
- เกยี รติบตั ร ผู้ให้การสนบั สนนุ จัดการแสดง งานพธิ ีเปิดงานศิลปะหตั ถกรรมนักเรยี นภาคใต้

~ 158 ~

ภาพกจิ กรรม

~ 159 ~

~ 160 ~

~ 161 ~

~ 162 ~

~ 163 ~

~ 164 ~

~ 165 ~

~ 166 ~

~ 167 ~

~ 168 ~

คุณธรรม / จริยธรรมทนี่ ามาใช้ในดารงชวี ิตหรือในชีวิตประจาวนั
 การประกอบสัมมาอาชพี และความสาเร็จท่ีสามารถถือเป็นแบบอยา่ งทีด่ แี ก่บคุ คลอืน่
- การส่งเริมศิลปวัฒนธรรมการแสดงท้องถ่ิน นั้นเกิดจาก แรงบันดาลใจในการพัฒนาเด็กร่วมกับ

ครอบครัว โดยใชศ้ ิลปวัฒนธรรมการแสดงที่อยู่ในชุมชน เป็นเครื่องมือ น่ันคือ “กลองยาว” ที่หลอมรวมใจคน
จานวน ๓๐-๔๐ คน ในคร้ังแรก ๆ คือ ความปล้ืมใจและแสดงความสาเร็จ เป็นอาชีพเสริม หรือเป็นรายได้
เสริม และถ่ายทอดมายังลูกหลานในชุมชน อย่างต่อเนื่องเป็นเวลา ๑๖ ปี คือ การต้ังใจทางานอย่างไม่มีที่
สน้ิ สดุ

 ความรบั ผดิ ชอบ ความเสียสละ และการอทุ ิศตนทางานด้านคณุ ธรรม / จริยธรรม
- ความต้ังใจ ความอดทน และการสร้างเริมเครือข่าย เพ่ือหนุนเสริมศักยภาพในตัวเอง กลุ่มคนไม่ว่า

จะเปน็ ผ้ใู หญ่ หรือเด็ก ๆ ด้วยความสามารถพิเศษของแต่ละคน ไม่เหมือนกัน ต้องมีคนคล้ายเปิดราว เปิดองค์
ในเวลาท่เี หมาะสม

- งานน้ีเปน็ งานพ่ตี ้องดูแลคนจานวนมาก ใจต้องมากอ่ น
- ความเชื่อ ความศรัทธา เป็นตวั หนุน ไมใ่ หท้ งิ้ กลางคนั
- ความพยายาม ในการเชื่อมต่อร้อยรัด ถักทอ ให้เด็ก ๆ มีงานแสดง น่ันคือ โจทย์ยาก แต่ก็สาเร็จ
ด้วยผลงานของเขาเอง การบอกต่อ การตัดต่องาน ถือว่า สาเร็จอย่างเดียว แต่สิ่งที่ปลูกฝัง คือ ความกตัญญู
กตเวที ต่อบรรพบุรุษ ต่อครูหมอ ท้ังมโนราห์ พราน กลองยาว ต้องทาด้วยใจ ต้องปลูกฝังให้ติดตัว ให้ศร
ทธาว่า ศิลปวัฒนธรรมการแสดงเหล่าน้ี มี “ครู” เราต้องราลึกถึงตลอดเวลา ด้วยทาพิธีไหว้ครู ประจาสัปดาห์
วนั พฤหัสบดี ซึ่งเป็นศูนย์รวมเพอ่ื ไหวค้ รแู ละฝกึ ซ้อม รว่ มกับไหว้ครกู อ่ นแสดงทกุ ครัง้

ชีวติ ปัจจุบนั
ปจั จุบัน คอื ผลงานเชงิ ประจักษ์
ครูไก่ คือ พรีเซ็นเตอร์ ของกลุ่มลูกพรานน้อยบ้านระวิ ผู้สนับสนุน ผู้ติดต่องานการแสดง อาทิ

มโนราห์ กลองยาว เป็นตน้ ซง่ึ เป็นที่ร้จู กั เปน็ ความภมู ใิ จทไ่ี ด้มายืนอยจู่ ุดนี้ ใช้เวลา ๑๖ ปี แต่นัน่ คือ เป็นท่ีงาน
การแสดง แต่การบ่มเพาะภายในจิตวิญญาณ คือ รู้สึกสุขใจ ขนลุก เม่ือเด็ก ๆ ทาการแสดงออกมาอย่างต้ังใจ
สอ่ื ถงึ พลังอานาจภายในตนเอง เห็นเด็ก ๆ แต่งหน้า แต่งตัวแสดง เด็กไหว้ครูได้ เด็กดูแลตนเอง ช่วยเหลือกัน
ตั้งแตก่ ารฝกึ ซอ้ ม และแสดงจนเสรจ็ ส่งเดก็ กลบั บา้ น จนคนสดุ ท้าย หมดไปหน่งึ งาน รองานใหม่ แต่ฝึกซ้อมคิด
ท่าใหม่ เพื่อมอบความสุขให้แก่ผู้ชม รอยยิ้ม เสียงหัวเราะ คว้าภาพพอใจหรือคนชมมีความสุข สนุกสนาน
ประทับใจ มีการติดตอ่ งานอยา่ งต่อเนื่อง คอื ความสขุ ของคนรกั ดา้ นการแสดง ทั้งต่อไป ทั้งช่วยให้เด็ก ๆ ให้เขา
เป็นคนท่ีรู้สึกว่า เขามีความดีงามอยู่ภายในใจตนเอง สร้างความสุขให้ครอบครัว พ่อ แม่ ญาติพ่ีน้อง ที่ได้สืบ
สานการแสดง ยงั ครูของบรรพบรุ ุษอยู่

ลูกพรานน้อยได้มีโอกาสแสดงต้อนรับ ฯพณฯ พลเอกปรพยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี คร้ังท่ีลง
เยีย่ มพนี่ อ้ งประชาชน ทีศ่ ูนยร์ าชการ จงั หวัดระนอง

ผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง ให้แสดงต้อนรับ อาคันตุกะ จากประเทศญ่ีปุ่น ณ โรงแรมเขาสวยน้าใส
จังหวัดระนอง หรือเคียงเล จังหวัดระนอง

~ 169 ~

รายละเอยี ดของผ้ทู ี่สามารถให้ข้อมูลเพ่ิมเตมิ ได้
 ชอื่ – สกุล นายสาทิพย์ คชสาร
ทที่ างาน หม่บู ้านระวิ หมทู่ ี่ ๕ ตาบลบางพระเหนือ อาเภอละอุ่น จงั หวัดระนอง ๘๕๑๓๐
 ชอ่ื – สกุล นายววิ ัฒน์ เชื้อแหลม
ที่ทางาน โรงเรยี นเทศบาล ๕ วดั หัวป้อมนอก จังหวดั สงขลา

~ 170 ~

แบบเสนอข้อมลู ประวตั ิและผลงานเพือ่ ประกาศยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ
เพชรอนั ดามันครัง้ ที่ ๒ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๖๒

ชอ่ื พระพรหมจรยิ าจารย์ (สงัด ปญญาวุโธ)

สาขา พฒั นาสังคม

วนั เดอื น ปีเกดิ วนั ท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน 2๔๗๑

สถานที่เกิด บ้านหนองไทร ตาบลนาโยงเหนือ อาเภอนาโยง

จังหวดั ตรงั

อายุ ๙๑ ปี

อาชีพ ๑. พระภิกษสุ งฆเ์ จ้าคณะใหญห่ นใต้

๒. เจ้าอาวาสวัดกะพังสุรินทร์ พระอารามหลวง

อาเภอเมอื ง จังหวดั ตรงั

ที่อยู่ วัดกะพงั สุรนิ ทร์ พระอารามหลวง อาเภอเมอื ง จงั หวดั ตรงั รหสั ไปรษณยี ์ ๙๒๑๒๐

โทรศัพทม์ อื ถือ 081-5690224

อเี มลล์ [email protected]

สถานทที่ างาน บ้านเลขที่ 27 หมู่ท่ี 1 ตาบลคลองประสงค์ อาเภอเมอื ง จงั หวดั กระบี่

รหสั ไปรษณยี ์ 81000

~ 171 ~

ประวตั กิ ารศกึ ษา พ.ศ. สถานศกึ ษา อาเภอ จังหวัด

วฒุ ิการศึกษา 2552 มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพฯ
มหาจฬุ าลงกรณ์ สงขลา
ระดบั ประถมศึกษา ราชวิทยาลัย สงขลา

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ 2553 มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
2553 มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
ระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย

ระดับปรญิ ญาตรี

ระดบั ปรญิ ญาเอก
1. พทุ ธศาสตรศาสตร

ดุษฎบี ณั ฑติ กิตติมศักด์ิ
สาขาวิชาการจดั
การเชิงพทุ ธ

2. ศลิ ปศาสตร
ดษุ ฎบี ัณฑิตกิตติมศักด์ิ

3. ศลิ ปศาสตร
ดุษฎีบัณฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ
สาขาปรชั ญา

วฒุ ิการศกึ ษา พ.ศ. สถานศึกษา อาเภอ จงั หวดั
มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา สงขลา
4. ครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต 2554

กติ ตมิ ศักดิ์

สาขาวิชาการบรหิ าร

การศึกษา

คณุ วุฒอิ น่ื ๆ

ประวตั ิ
พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปัญฺญาวุโธ) ดารงตาแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนใต้ และเจ้าอาวาสวัดกะพัง

สุรินทร์ ตาบลทับเท่ียง อาเภอเมือง จังหวัดตรัง มีนามเดิมว่า สงัด ล่ิมไทย พ.ศ.2491 ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็น
พระภิกษุ ณ พัทธสีมาวัดจอมไตร อาเภอนาโยง จังหวัดตรัง โดยมีพระครูสังวรโกวิท เป็นพระอุปัชฌาย์,
พระครูพิบูลธรรมสาร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระผุด มหาวีโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้ศึกษา
พระปรยิ ัตธิ รรมจนสอบได้เปรียญธรรม 7 ประโยค ในปี พ.ศ.2504

ท่านถือเป็นพระเถระอีกรูปหน่ึง ที่สร้างคุณูปการต่อวงการสงฆ์แห่งแดนใต้และประเทศไทย
อย่างเอนกอนันต์ เป็นท่ีโจษจันเล่ืองลือไปไกล ทุ่มแรงกายแรงใจให้งานแบบถวายชีวิต ต้ังอยู่ในศีล ดารงตน
ตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เป็นกาลังสาคัญในการสนับสนุนส่งเสริมพระพุทธศาสนาในภาคใต้ของ
ประเทศไทย

~ 172 ~

สมณศักดิ์
1. พ.ศ.2514 ได้รับพระราชทานตั้งสมณศักด์ิเป็นพระราชาคณะชั้นสามัญเปรียญที่ พระปิฎกคุณา

ภรณ์
2. พ.ศ.2527 ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะช้ันราชท่ี พระราชปริยัตยาภรณ์

สนุ ทรธรรมานุสฐิ มหาคณิสสร บวรสงั ฆาราม คามวาสี
3. พ.ศ.2536 ได้รับพระราชทานสมณศักดเิ์ ป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพวมิ ลเมธี ศรีปริยัติดิลก

ตรปี ฎิ กวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
4. พ.ศ.2542 ได้รับพระราชทานสมณศักด์ิเป็นพระราชาคณะช้ันธรรมที่ พระธรรมรัตนากร สุนทร

พรหมปฏิบตั ิ ปริยตั ธิ รรมสาธก ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี
5. พ.ศ.2550 ได้รับพระราชทานสถาปนาสมณศักด์ิเป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองที่ พระพรหมจริยา

จารย์ สุวิธานวรกิจจานุกิจ วินิฐศีลาจารวิมล โสภณทักษิณคณาทร ตรีปิฎกวราลงกรณ์ มหาคณิสสร
บวรสังฆาราม คามวาสี

การดารงตาแหน่งเจา้ คณะหนใต้

เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ท่านได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักด์ิขึ้นเป็นพระราชาคณะเจ้า
คณะรอง ชั้นหิรัญบัฏที่พระพรหมจริยาจารย์ ซึ่งถือเป็นเจ้าคณะใหญ่รูปแรกท่ีพานักอยู่ในภูมิภาค ทั้งนี้
เน่ืองจากมหาเถรสมาคมมองเห็นว่า การแก้ปัญหาภาคใต้ของคณะสงฆ์นั้น หากให้พระสงฆ์ในพื้นท่ีทาหน้าที่
ดแู ลกันเอง ยอ่ มจะมีผลดีตอ่ พระสงฆ์ในพืน้ ทีด่ งั กล่าวไดม้ ากกวา่ เนื่องจากมีความคล่องตัว รวมไปถึงมีสายงาน
การบังคับบญั ชาท่มี ีความกระชับรวดเรว็ กว่าทจ่ี ะให้พระเถระช้นั ผูใ้ หญ่จากสว่ นกลางเข้ามาดูแล

ดังน้ันจึงมีมติเสนอเลื่อนสมณศักด์ิ พระธรรมรัตนากร (สงัด ปญฺญาวุโธ) เจ้าคณะภาค 18 เจ้าอาวาส
วัดกระพังสุรินทร์ ขึ้นเป็นพระพรหมจริยาจารย์ ดารงตาแหน่งเจ้าคณะใหญ่หนใต้ เพื่อดูแลคณะสงฆ์ในพ้ืนที่
ภาคใต้ท้ังหมด โดยเมื่อวันท่ี 23 กุมภาพันธ์ สานักอาลักษณ์และเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ สานักนายกรัฐมนตรี
ไดอ้ ญั เชิญพระบรมราชโองการสถาปนาสมณศกั ดิ์ และเครื่องประกอบ เพ่ือนามาสมโภชหิรัญบัฏแก่พระพรหม
จริยาจารย์ โดยมีสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้แทนประธานคณะผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสมเด็จพระสังฆราช
เดินทางมาเปน็ ประธาน โดยมีเจ้าคณะจังหวัด และพระสังฆาธิการในเขตปกครองหนใต้มาร่วมงานเป็นจานวน
มาก ซ่ึงในโอกาสน้ี เจ้าคณะใหญ่หนใต้ ได้กล่าวถึงหลักการปกครองคณะสงฆ์ว่า เราควรยกย่องผู้ท่ีสมควรยก
ย่อง และตกั เตือนผทู้ ่ีสมควรตกั เตอื น ดงั นั้นหากพระสังฆาธิการรูปใดท่ีประพฤติดีต้องยกย่อง และต้องให้ได้รับ
เกียรติมีสมณศักดิ์ พร้อมกันน้ันท่านยังได้อบรมพระในปกครองอยู่เสมอว่า ในการทางานจะต้องไม่กลัว
ผิดพลาด แต่จะต้องตั้งใจทางานนั้นให้ดีที่สุด และจะต้องไม่ตื่นเต้นเม่ือเกิดการผิดพลาด โดยพร้อมท่ีจะแก้ไข
อยตู่ ลอดเวลา

ในส่วนของการได้รับพระราชทานสมณศักด์ิ พระพรหมจริยาจารย์ กล่าวว่า “ไม่รู้สึกดีใจ แต่รู้สึก
ภาคภมู ิใจ เพราะตลอดระยะเวลาที่อยู่ในเพศบรรพชิต ไม่เคยไขว่คว้ายศ ตาแหน่ง และสมณศักดิ์ ถึงแม้จะอยู่
ระดับไหนก็ตาม ก็ตั้งใจทางานเพ่ือพระพุทธศาสนามาโดยตลอด โดยเฉพาะงานด้านการศึกษาและการเผยแผ่
ซ่ึงถือเป็นเบ้ืองต้นของพระพุทธศาสนา เพราะการที่จะมีพระภิกษุ สามเณรที่ดี ก็ต้องอาศัยการศึกษาเป็น
พื้นฐาน และที่สาคัญรู้สึกภาคภูมิใจแทนคณะสงฆ์และพุทธศาสนิกชนในภาคใต้ ที่ได้รับความไว้วางใจจาก
พระผู้ใหญ่ที่ให้ตนมารับหน้าท่ีสาคัญน้ี ” กว่า 60 พรรษาแห่งการอุทิศชีวิตในพระพุทธศาสนา เพื่อประโยชน์
แก่ตนและต่อชาวโลก ด้วยศีลาจารวัตรอันงดงาม พระพรหมจริยาจารย์ นับเป็นพระมหาเถระอีกรูปหนึ่ง ท่ี

~ 173 ~

สร้างคุณูปการต่อวงการสงฆ์แห่งแดนใต้อย่างอเนกอนันต์ เป็นที่โจษขานเลื่องลือไปไกล ทุ่มแรงกายแรงใจให้
งานแบบถวายชีวิต ต้ังอยู่ในศีล ดารงตนตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เปรียบประดุจสะพานบุญ เช่ือมต่อ
ศรัทธาแห่งชาวบ้านในชุมชนกับวดั มิให้ห่างเหินไปไกลกนั

ผลงานสาคัญที่สร้างสรรค์ และโดดเดน่ ซึ่งเป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะของตนเอง
๑. ด้านการศึกษาและการเผยแผ่ ซึ่งพระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปัญฺญาวุโธ) ถือว่าการศึกษาเป็น

เบื้องตน้ ของพระพุทธศาสนา เพราะการท่จี ะมีพระภิกษุ สามเณรท่ีดตี อ้ งอาศยั การศกึ ษาเปน็ พ้ืนฐาน

คณุ ธรรม / จริยธรรมในการดารงชีวติ
การประกอบสัมมาอาชพี และความสาเร็จทส่ี ามารถถอื เปน็ แบบอย่างท่ดี ีแก่บุคคลอน่ื

พระพรหมจริยาจารย์ (สงัด ปัญฺญาวุโธ) เจ้าคณะใหญ่หนใต้ ใช้หลักการปกครองคณะสงฆ์ซ่ึงว่าด้วย
การยกย่องผทู้ สี่ มควรยกย่อง และตกั เตือนผทู้ ส่ี มควรตักเตือน ดังนั้นหากพระสังฆาธิการรูปใดท่ีประพฤติดีต้อง
ยกย่อง และต้องให้ได้รับเกียรติมีสมณศักดิ์ พร้อมกันน้ันท่านยังได้อบรมพระในปกครองอยู่เสมอว่า ใน
การทางานจะต้องไม่กลัวผิดพลาด แต่จะต้องตั้งใจทางานน้ันให้ดีที่สุด และจะต้องไม่ต่ืนเต้นเม่ือเกิดการ
ผดิ พลาด โดยพร้อมทจ่ี ะแก้ไขอยู่ตลอดเวลา

การได้รับพระราชทานสมณศักด์ิ พระพรหมจริยาจารย์ กล่าวว่า “ไม่รู้สึกดีใจ แต่รู้สึกภาคภูมิใจ
เพราะตลอดระยะเวลาทอี่ ยใู่ นเพศบรรพชิต ไมเ่ คยไขวค่ ว้ายศ ตาแหน่ง และสมณศักดิ์ ถึงแม้จะอยู่ระดับไหนก็
ตาม ก็ตั้งใจทางานเพ่ือพระพุทธศาสนามาโดยตลอด” และที่สาคัญรู้สึกภาคภูมิใจแทนคณะสงฆ์และ
พุทธศาสนิกชนในภาคใต้ ท่ีไดร้ ับความไวว้ างใจจากพระผู้ใหญ่ท่ใี หต้ นมารับหนา้ ทีส่ าคัญนี้

เวลากว่า ๖๐ พรรษาแห่งการอุทิศชีวิตในพระพุทธศาสนา เพ่ือประโยชน์แก่ตนและต่อชาวโลก ด้วย
ศีลาจารวัตรอันงดงาม พระพรหมจริยาจารย์ นับเป็นพระมหาเถระอีกรูปหน่ึง ที่สร้างคุณูปการต่อวงการสงฆ์
แห่งแดนใตอ้ ย่างอเนกอนนั ต์ เป็นท่โี จษขานเล่อื งลือไปไกล ทมุ่ แรงกายแรงใจให้งานแบบถวายชีวิต ตั้งอยู่ในศีล
ดารงตนตามพระธรรมวินัยอย่างเคร่งครัด เปรียบประดุจสะพานบุญ เช่ือมต่อศรัทธาแห่งชาวบ้านในชุมชนกับ
วัด มิใหห้ ่างเหนิ ไปไกลกัน

~ 174 ~

แบบเสนอข้อมลู ประวัติและผลงานเพือ่ ประกาศยกย่องเชดิ ชูเกียรติ
เพชรอนั ดามันครงั้ ที่ ๒ ประจาปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๒

ชอ่ื – สกลุ นายรณชัย จนิ ดาพล
สาขา
วัน เดือน ปเี กิด การจดั การพิพิธภัณฑพ์ ้นื ถ่ิน
สถานทเ่ี กิด
อายุ วันท่ี 3 มกราคม พ.ศ. 2502
อาชพี
บดิ าชือ่ อาเภอเมือง จงั หวดั ภูเกต็

ภรรยาชื่อ 60 ปี
อาชีพ
บตุ ร เจา้ ของธรุ กจิ สว่ นตัว

ท่ีอยู่ นายอรัญ จนิ ดาพล มารดาช่อื นางเบญญา จินดาพล

โทรศัพท์ เป็นบตุ รคนที่ 3 ในพี่น้อง 5 คน
โทรสาร
โทรศัพทม์ อื ถอื นางสาวอารมณ์ ตนั คลี่
อเี มล์
สถานท่ีทางาน เจ้าของพพิ ธิ ภณั ฑเ์ บญญารญั และธุรกิจส่วนตัว

ชาย 1 คน หญิง – คน รวมทง้ั หมด 1 คน

บา้ นเลขท่ี 2/1 หมูท่ ี่ 5 ตาบลคลองเคียน อาเภอตะก่ัวทงุ่ จังหวดั พังงา
รหัสไปรษณยี ์ 82140
081-9586127
-
-
-
พพิ ธิ ภัณฑ์เบญญารัญ

~ 175 ~

ประวัติการศึกษา

วุฒกิ ารศกึ ษา พ.ศ. สถานศกึ ษา อาเภอ จงั หวัด
ภูเก็ต
ระดบั ประถมศกึ ษา 2511 ดาราสมุทร, ดาวรงุ่ ,ปลูกปัญญา เมือง ภเู ก็ต
ปทมุ ธานี
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 2518 พทุ ธมงคลนมิ ติ ม.ศ.1-ม.ศ.3 เมือง

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2521 วิทยาลัยเกษตรปทุมธานี เมืองปทุมธานี

ระดับปรญิ ญาตรี -

คณุ วุฒิ.................................

ระดบั ปรญิ ญาโท -

คุณวุฒิ.................................

ระดบั ปรญิ ญาเอก -

คุณวุฒิ.................................

วฒุ กิ ารศึกษา พ.ศ. สถานศึกษา อาเภอ จังหวัด
สิเกา ตรงั
คุณวฒุ ิอืน่ ๆ - ราชมงคลศรีวชิ ยั ตรงั

ปริญญาตรดี สุ ดกี ติ ตมิ าศักดิ์

สาขาวทิ ยาศาสตรท์ างทะเล

๕. ประสบการณแ์ ละระยะเวลาในการทางาน (เรยี งลาดับต้ังแต่อดีตถงึ ปจั จบุ นั )
หลังจากเรียนจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย คุณรณชัยได้มาทางานคุมงานเกี่ยวกับยางพาราของท่ี

บา้ น ไดม้ าทาธุรกิจสว่ นตวั มาทาธุรกิจสาวยาง ค้าขาย รถบรรทุก ซ้ือขายที่ดิน ปัจจุบันเป็นเจ้าของพิพิธภัณฑ์
เบญญารญั

๖. ประวัตผิ ลงาน
๖.๑ การศกึ ษา เรยี นรู้ การปฏบิ ัติงานหรือฝึกฝนในการสร้างสรรค์ผลงาน ความมุ่งหวัง และสิ่ง

ทีฝ่ ากถึงอนชุ นรุน่ ต่อไป
ต้ังแต่วัยเด็กชอบสะสมของเก่า พอหลังจากเรียนจบ ปวช ก็ชอบสะสมของชิ้นใหญ่และได้มาเก็บไว้

ในโกดัง ฝากถึงเยาวชนว่าปัจจุบันจะเป็น ฝากถึงเยาวชนว่าปัจจุบันจะเป็นนักศึกษา หรือประชาชนท่ัว ไป
อยากให้เห็นคุณค่าของเก่า ซึ่งจะบอกเล่าวิธี ประวัติของความเป็นมาของสมัยก่อนไม่ว่าจะเป็นข้าวเครื่องใช้
ตา่ งสถานทท่ี ่องเทย่ี วตา่ ง ๆ ฯลฯ

๖.๒ ผลงานสาคญั ทีส่ รา้ งสรรค์ และโดดเด่น ซึ่งเป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะของตนเอง
๖.๒.๑ เป็นผู้ก่อต้ังสมาคมกีฬาดาน้าแห่งประเทศไทย และดารงตาแหน่งเป็นนายกกีฬาดาน้าแห่ง

ประเทศไทย
๖.๒.๒ เปน็ กรรมการศึกษาโรงเรยี นเมืองถลาง จังหวดั ภเู ก็ต
๖.๒.๓ เป็นแกนนากับนายเรวุฒิ จินดาพล อดีต สส ภูเก็ต ให้เป็นปิดโรงงานแทนทาลั่มใกล้กับ

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต
๖.๒.๔ เป็นผกู้ อ่ ต้งั พพิ ธิ ภัณฑเ์ บญญารญั

~ 176 ~

๖.๒.๕ สนับสนุนทุนการศึกษา และบริจาคเงินใหห้ น่วยงานตา่ ง ๆ
๖.๓ การเผยแพรผ่ ลงาน การนาผลงานออกเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน

เผยแพร่พิพิธภัณฑ์ของตัวเอง มอบทุนการศึกษา ต่อต้านการสร้างโรงงานแทนทาล่ัม ซึ่งก่อมลพิษ
ทรี่ า้ ยแรง

๖.๔ การถ่ายทอดผลงานให้ผ้อู น่ื
ถ่ายทอดพิพิธภัณฑ์เบญญารัญ การใช้ของสมัยก่อนเป็นอย่างไร เป็นแหล่งเรียนรู้แก่นักศึกษา

เยาวชน ประชาชนท่ัวไป และหน่วยงานราชการได้เข้ามาศกึ ษา

~ 177 ~

รางวัลและเกยี รตคิ ณุ ที่ไดร้ ับ

จากกรมการตรวจสอบและติดตามการบรหิ ารงานสถานีตารวจ สถานตี ารวจภธู รโคกกลอย

~ 178 ~

~ 179 ~

~ 180 ~

~ 181 ~

~ 182 ~

~ 183 ~

~ 184 ~

~ 185 ~

~ 186 ~

~ 187 ~

~ 188 ~

~ 189 ~

~ 190 ~

~ 191 ~

~ 192 ~


Click to View FlipBook Version