The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการ "เพชรอันดามัน ปี 2562"
จัดทำโดย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เพชรอันดามัน ปี 2562

โครงการ "เพชรอันดามัน ปี 2562"
จัดทำโดย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

Keywords: เพชร,ภูเก็ต,ราชภัฏ,ปราชญ์,ท้องถิ่น

~ 93 ~

๑๙. นายกรฐั มนตรี (คนที่ ๒๐) ๒๓ กันยายน ๒๕๓๕ – ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘
๒๐. นายกรัฐมนตรี (คนที่ ๒๐) ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ - ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๓
๒๑. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๐
๒๒. ประธานกรรมการขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๓๕, ๒๕๔๑
๒๓. อาจารย์พิเศษแผนกวิชานิติเวช คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
๒๔. กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิสภามหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
๒๕. กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ สิ ภามหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
๒๖. กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิสภามหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
๒๗. กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์
๒๘. อปุ นายกสภามหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์
๒๙. ประธานรฐั สภาและประธานสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.๒๕๖๒ – ปัจจบุ ัน

ประวัติผลงาน
๑. การศึกษา เรยี นรู้ การปฏบิ ัตงิ านหรอื ฝกึ ฝนในการสร้างสรรคผ์ ลงาน
นายชวน หลีกภัย เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ ๒๐ ปัจจุบันเป็นประธานรัฐสภาที่ปรึกษา

พรรคประชาธิปัตย์ แต่อีกมุมของนายชวน หลีกภัยอดีตนายกฯ คือ นอกเส้นทางถนนการเมือง เป็นคนมี
ความชื่นชมวาดรูปมาต้ังแต่เด็ก เพราะมองว่าการวาดรูปทาให้มีความสุข "ผมเคยฝึกฝนงานศิลปะมาตั้งแต่
เรยี นเตรียมมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากรจึงมีพ้ืนฐานความรักและชอบศิลปะอยู่อย่างน้อยก็ชอบดูผลงานศิลปะต่าง ๆ
อาชีพและงานที่ทามาโดยตลอดของผมไม่ได้เก่ียวข้องกับงานศิลปะ จึงไม่ได้ทางานด้านน้ีเลย ท่ียังขีด ๆ เขียน
ๆ อยู่บ้างก็โดยความชอบและมีอารมณ์อยากจะเขียน และมีความสุขเม่ือได้เขียนภาพ ดังน้ัน แม้เม่ือเป็น
ทนายความก็ชอบสเก็ตช์หน้าพยานหรือคู่คดี เป็นความสนุกมือ และช่วยให้จดจาเหตุการณ์และบุคคลได้มาก
ขึ้น โดยที่ไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะสร้างผลงานหรือสะสมผลงาน แต่เขียนเพื่อความพอใจ จึงไม่ได้รวบรวม
งานไว้เลย ส่วนใหญ่จะติดอยู่ในกระดาษท่ีหยิบฉวยได้ เช่น ในสานวนคดี ในเอกสารวาระการประชุมเวลามี
การประชุมหรือการสัมมนา โดยสภาพอาชีพและงานที่ทายากท่ีจะหาเวลาเป็นตัวของตัวเองได้มากพอท่ีจะนั่ง
ทางานศิลปะจึงใชเ้ วลาส้ัน ๆ ทมี ีอยเู่ ขยี น แม้ในเวลาปฏิบัตภิ ารกิจกท็ าได้บ้าง เช่น ไปงานบญุ ด้วยเวลาท่ีจากัด
ดงั กล่าว เมอื่ อยากจะเขยี นก็จะเขยี นได้ แมอ้ ยู่ในลิฟท์ ชว่ งเวลาทลี่ ฟิ ท์ขึน้ ลงก็สามารถสเก็ตช์บุคคลิกท่าทางคน
ในลิฟท์ได้ ซ่ึงใช้เวลาสเก็ตช์ภาพเพียงคร่ึงนาทีหรือหนึ่งนาทีเท่านั้น ความจริงรักภาพสีน้ามันแต่ไม่มีเวลา
ฝึกฝน ภาพสเก็ตช์ส่วนใหญ่จะเป็นหน้าคนที่เขียนหน้าคนเพราะหน้าคนแต่ละคนมีความน่าสนใจแตกต่างกัน
ยิ่งคนแต่ละภาคจะมีบุคลิกลักษณะท่ีน่าสนใจแตกต่างกันไป จะขี้ริ้วขี้เหร่อย่างไร แต่ในสายตาของผมก็ว่า
น่าสนใจ นา่ เขยี น นา่ สเก็ตช์เพราะเห็นว่าเป็นความงามในอีกลักษณะหนึ่ง ทิวทัศน์ก็ชอบเขียน โดยเฉพาะชอบ
เขียนต้นไม้ภาคอีสานที่มีลักษณะรูปทรงแปลก ๆ รูปท่ีเขียนจึงเสร็จสมบูรณ์เท่าที่มีเวลาอยู่ตอนเขียนเท่านั้น
ภาพสเกต็ ชส์ ่วนใหญ่จึงไม่ได้ลงรายละเอียด ไม่ได้นามาตกแต่งเพ่ิมเติมใหม่ ยกเว้นบางรูปมีเวลาให้เขียนมากก็
สามารถลงรายละเอยี ดได้มาก ทใ่ี ชป้ ากกากเ็ พอื่ ความสะดวกและรวดเร็ว ไม่มีเวลามาร่างหรือเตรียมการใด ๆ
เม่ืออยากเขียนก็ลงมือเลย ไม่ต้องมาขูดลบหรือแก้ไขใด ๆ อีก ขณะท่ีพระสงฆ์สวดอยู่ ถ้ามีกระดาษ ปากกาก็
จะเสก็ตชภ์ าพผคู้ นในงานบ้าง รวมไปถงึ พระคณุ เจ้าที่กาลังสวดอยู่ หรือเวลาเข้าไปเยี่ยมชาวบ้านในหมู่บ้านขอ
เขียนรูปผู้คนในหมู่บ้าน เห็นคุณค่าของงานศิลปะจึงได้จัดให้มีการยกย่องศิลปินแห่งชาติข้ึน เมื่อสมัยเป็น

~ 94 ~

รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ และตอ้ งการให้มีหอศลิ ป์หรือทีร่ วบรวมงานศลิ ปะไมว่ า่ แบบไทยหรือสากล
ท่กี ระจดั กระจายอย่ใู นสถาบันการศึกษา..."

๒. ผลงานสาคญั ท่ีสร้างสรรค์ และโดดเด่น ซ่ึงเปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะของตนเอง
๒.๑. นายชวน หลีกภัย เป็นบุคคลที่มีความยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย และยึดถือใน

เร่ืองของหลักการเป็นอย่างมาก เป็นนักการเมืองท่ีมือสะอาด จนได้รับฉายา Mr. Clean (นายสะอาด)
นอกจากนภ้ี าพที่พบจากส่อื มักแสดงใหเ้ ห็นว่าใชช้ วี ิตอย่างสมถะ มีบุคลิกภาพแห่งการเป็นผู้นาอย่างโดดเด่นจน
เป็นที่ยอมรับ โดยดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรีถึง ๒ สมัย (๒๓ กันยายน ๒๕๓๕ – ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๘
และ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ - ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๓) และเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร ๒ สมัย
(พ.ศ.๒๕๒๙ - ๒๕๓๑ และ ๒๕๖๒) รวมท้ังดารงตาแหน่งเป็นรัฐมนตรี ดังนี้ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
ยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๑๘, ๒๕๒๓ รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๑๙ รัฐมนตรีว่าการกระทรวง
พาณิชย์ พ.ศ. ๒๕๒๔ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๒๔, ๒๕๓๓ รัฐมนตรีว่า
การกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๒๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๑ – ๒๕๓๓ และ
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๔๐ นอกจากการดารงตาแหน่งดังกล่าวท่านยังรับตาแหน่งท่ีสาคัญ
คือ ผนู้ าฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรอีก ๒ สมยั (พ.ศ.๒๕๓๘ – ๒๕๓๙ และ ๒๕๔๔) ซึ่งแสดงถึงการเป็นผู้นา
ในเชงิ ประจักษ์

๒.๒. นายชวน หลีกภัยเป็นบุคคลต้นแบบการให้ความสาคัญด้านการศึกษา และ
การสนบั สนุน ส่งเสรมิ พฒั นาการศึกษาอย่างตอ่ เนือ่ ง จนเปน็ ทยี่ อมรบั ในแวดวงการศึกษาในระดับประเทศและ
นา น า ช าติ โ ด ยไ ด้ ด า รง ต า แ ห น่ง ที่ ส า คัญ ๆ ด้ า นก า ร ศึ กษ า ดั งนี้ ต า แห น่ ง อุ ป นา ย ก ส ภ า
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินท
รวิโรฒ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษแผนกนิติเวช
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั

๒.๓ นายชวน หลีกภัยเป็นบุคคลที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญหลากหลาย ซึ่งพบได้จากการท่ี
ได้รบั ปรญิ ญาดุษฎบี ัณฑติ กิตตมิ ศกั ด์ิ ถงึ ๑๖ ใบ จากมหาวิทยาลยั ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ

รางวัลและเกียรตคิ ุณทไี่ ด้รบั
เคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ไทย

๑. พ.ศ. ๒๕๒๕ - Order of the White Elephant - Special Class (Thailand) ribbon.svg
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อนั เป็นทีเ่ ชดิ ชูยงิ่ ช้างเผือก ช้นั มหาปรมาภรณช์ ้างเผือก (ม.ป.ช.)

๒ พ.ศ. ๒๕๒๔ - Order of the Crown of Thailand - Special Class (Thailand) ribbon.svg
เครื่องราชอสิ รยิ าภรณอ์ ันมเี กียรตยิ ศยง่ิ มงกฎุ ไทย ชนั้ มหาวชริ มงกฎุ (ม.ว.ม.)

๓. พ.ศ. ๒๕๕๑ - Order of the Direkgunabhorn ๑st class (Thailand) ribbon.svg
เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสรญิ ยิง่ ดเิ รกคณุ าภรณ์ ช้ันปฐมดเิ รกคณุ าภรณ์ (ป.ภ.)

๔. พ.ศ. ๒๕๔๑ - Order of Chula Chom Klao - ๒nd Class upper (Thailand) ribbon.svg
เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์จลุ จอมเกลา้ ชน้ั ทตุ ยิ จุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหนา้ )

๕. พ.ศ. ๒๕๓๙ - Order of Chula Chom Klao - ๓rd Class upper (Thailand) ribbon.svg
เครื่องราชอสิ รยิ าภรณจ์ ลุ จอมเกล้า ช้นั ตตยิ จลุ จอมเกลา้ วิเศษ (ต.จ.ว.)

~ 95 ~

๖. พ.ศ. ๒๕๓๒ - Order of Ramkeerati (Thailand) ribbon.png เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริ
ยง่ิ รามกีรติ ลกู เสอื สดุดีชน้ั พิเศษ

๗. พ.ศ. ไม่ปรากฎ - Red Cross Medal of Appreciation (Thailand) ribbon.png เหรียญกาชาด
สมนาคณุ ช้นั ที่ ๑ (เหรยี ญทอง)
เครื่องราชอสิ รยิ าภรณต์ ่างประเทศ

๑. พ.ศ. ๒๕๓๖ - Order of Sukatuna (Special Class) , Raja สาธารณรัฐฟิลปิ ปนิ ส์
๒. พ.ศ. ๒๕๔๒ - Order of the Sun (Grand Cross) สาธารณรฐั เปรู
๓. พ.ศ. ๒๕๔๒ - PRT Order of Christ - Grand Cross BAR.png เคร่ืองอิสริยาภรณ์ทหารแห่ง
พระคริสต์ ชัน้ ประถมาภรณ์
๔. พ.ศ. ๒๕๔๓ - Jose Dolores Estrada, Batalla de San Jacinto (Gran Cruz) สาธารณรัฐ
นิการากวั
๕. พ.ศ. ๒๕๔๓ - Romania's Star - The High Cross ประเทศโรมาเนีย

~ 96 ~

ภาพกิจกรรม
นายชวน หลกี ภัย” ทุม่ สดุ หวั ใจวาดภาพตกแต่งฉากปะราพิธี “พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ

ทมี่ า: Mtoday.๒๕๖๒

~ 97 ~

“ชวน” ยา้ คนสตลู เลอื กคนดี ไมซ่ อ้ื เสียงเขา้ สภา – ปชป.พรรคคนใตผ้ ลงานมากมายพร้อมแกป้ ญั หาปากท้อง
ที่มา:ประชาชาตธิ ุรกจิ , ๒๕๖๒

~ 98 ~

นายชวน หลกี ภยั เข้ารับพระราชทานปรญิ ญานติ ิศาสตรดุษฎีบณั ฑติ กิตตมิ ศกั ดิ์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
ทม่ี า MTHAI, ๒๕๖๒

~ 99 ~

บรรณานุกรม

ประชาชาตธิ รุ กิจ. “ชวน” ยา้ คนสตลู เลอื กคนดี ไม่ซอ้ื เสยี งเข้าสภา – ปชป.พรรคคนใตผ้ ลงานมากมาย
พรอ้ มแก้ปัญหาปากท้อง. สบื ค้นเมอื่ ๒๕๖๒, ๒๕เมษายน.
จาก https://www.prachachat.net/politics/news-๓๐๓๑๐๒

Mtoday. นายชวน หลกี ภยั ” ทุม่ สุดหัวใจวาดภาพตกแต่งฉากปะราพธิ ี “พระราชพธิ ถี วายพระเพลงิ
พระบรมศพ. สืบคน้ เม่ือ ๒๕๖๒, ๒๕ เมษายน. จาก https://www.mtoday.co.th/๑๘๒๖๒.

MTHAI. (๒๕๖๒, ๓ ธนั วาคม). ‘ชวน หลีกภยั ’ รบั พระราชทานปริญญานิติศาสตรดุษฎบี ัณฑิตกติ ตมิ ศักดิ์.
สืบค้นเมอ่ื ๒๕๖๒, ๑๕ ธนั วาคม. จาก https://news.mthai.com/politics-news/780127.html

ไทยรัฐ. นายชวน หลีกภัย. จาก https://www.thairath.co.th/person/4199.
เดลินวิ ส.์ (๒๕๖๒, ๓ ธันวาคม). ยกย่อง “ชวน” อัจฉริยลักษณ์ ดษุ ฎีบัณฑติ 16 ใบ.

สบื ค้นเม่ือ ๒๕๖๒, ๑๕ ธันวาคม. จาก https://www.dailynews.co.th/politics/744969.

~ 100 ~

แบบเสนอขอ้ มลู ประวัตแิ ละผลงานเพอ่ื ประกาศยกย่องเชดิ ชเู กยี รติ
เพชรอันดามนั คร้งั ที่ ๒ ประจาปีพุทธศักราช ๒๕๖๒

ชอ่ื – สกลุ นายชาญฤทธิ์ เพม่ิ ทรพั ย์
สาขา
วันเดอื นปที ี่เกิด พัฒนาสังคม
สถานทเ่ี กิด
อายุ วนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๐๖
อาชีพ
อาเภออ่าวลึก จงั หวดั กระบ่ี
บิดาชือ่
๕๖ ปี
ภรรยา
บตุ ร ๑. วศิ วกร
ทีอ่ ยู่
สถานท่ีทางาน ๒. ประธานทอ่ งเทย่ี ว

โทรศัพท์มอื ถือ ๓. นายกสมาคม
โทรสาร
อเี มลล์ ๔. ประธานและกรรมการผู้จดั การ

นายไพศาล เพมิ่ ทรัพย์ มารดาชอื่ นางนนั ทิยา เพิ่มทรพั ย์

เป็นบุตรคนที่ ๕ ในพีน่ อ้ ง ๖ คน

นางเสาวรัตน์ จนั ทร์แก้ว อาชีพ ธุรกิจสว่ นตวั

ชาย - คน หญิง ๑ คน รวมทั้งหมด ๑ คน

บ้านเลขที่ ๒๐๘ หมทู่ ี่ ๓ ตาบลแหลมสกั อาเภออ่าวลกึ จังหวดั กระบี่ ๘๑๑๑๐

บริษัท พลู ซีสเต็ม จากดั ๑๓๒/๑ ถนนกระบ่ี ตาบลปากน้า อาเภอเมือง

จงั หวดั กระบ่ี ๘๑๐๐๐

๐๘๙-๙๙๗-๘๙๑๕

[email protected]

~ 101 ~

ประวัติการศึกษา พ.ศ. สถานศกึ ษา อาเภอ จังหวัด
วฒุ กิ ารศกึ ษา ๒๕๑๓ โรงเรยี นบ้านแหลมสัก อา่ วลกึ กระบี่
๒๕๒๐ โรงเรยี นอามาตย์พานชิ นุกลู เมือง กระบี่
ระดับประถมศึกษา ๒๕๒๓ โรงเรียนเตรียมอดุ มศกึ ษา พญาไท กรงุ เทพฯ

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ๒๕๒๕ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย พญาไท กรงุ เทพฯ

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ระดบั ปริญญาตรี
คณุ วฒุ ิ
- วศิ วกรรมศาสตร์บัณฑติ

ระดบั ปรญิ ญาโท กรงุ เทพฯ
คุณวฒุ ิ
- รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑติ ๒๕๓๙ สถาบันบณั ฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์ บางกะปิ

ประสบการณแ์ ละระยะเวลาในการทางาน
๒๕๒๙ – ๒๕๓๔ ตาแหน่ง วศิ วกรโครงสรา้ ง บริษทั แอ็ค คอนซัลแทน้ ส์ จากัด
๒๕๓๕ – ๒๕๔๔ ตาแหน่ง กรรมการผูจ้ ัดการ บริษัท ฟนู าน จากดั
ตาแหนง่ ครูใหญ่ โรงเรยี นกระบี่คอมพิวเตอร์
๒๕๔๕ – ปจั จุบัน ตาแหนง่ กรรมการผจู้ ัดการ บรษิ ทั พูลซีสเต้ม จากดั
๒๕๕๗ – ปัจจุบนั ตาแหน่ง ประธาน ชมุ ชนทอ่ งเที่ยวแหลมสัก
๒๕๕๙ – ปัจจุบนั ตาแหน่ง นายกสมาคมการท่องเทีย่ ว โดยชมุ ชนกระบี่
๒๕๖๑ – ปจั จบุ ัน ตาแหน่ง กรรมการผจู้ ดั การ
บรษิ ัท ประชารฐั รกั สามัคคีกระบ่ี (วิสาหกจิ เพอ่ื สังคม) จากัด

~ 102 ~

ประวตั ผิ ลงาน
๑. การศกึ ษา เรยี นรู้ การปฏบิ ตั งิ านหรือฝกึ ฝนในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ความม่งุ หวัง และสง่ิ ท่ี

ฝากถึงอนชุ นรนุ่ ตอ่ ไป
ขณะที่ศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคมโดยการออก

ค่ายอาสาพัฒนา “ยวุ วิศวกรบพชิ ” (ชอื่ พระราชทานจากรัชกาลท่ี ๙) ทุกปี โดยในปี พ.ศ.๒๕๒๘ (ศึกษาอยู่ช้ัน
ปีท่ี ๔) ได้เป็นหัวหน้าโครงการยุววิศวกรบพิธ ๑๔ สร้างสะพานแขวนชนิด “Cable Stayed Bridge” ยาว
๑๐๐ เมตร เพอ่ื เปน็ สะพานสัญจรหรอื ขนส่งสินค้าให้แกช่ าวบา้ นตาบลน้าไผ่ อาเภอน้าปาด จงั หวัดอุตรดิตถ์

ขณะที่กลับมาทางานที่บ้านเกิด ณ จังหวัดกระบี่ ได้ร่วมทางานเพ่ือสังคมโดยตลอด เป็นผู้นาใน
การรวมกลุ่มชาวบา้ นในตาบลแหลมสกั ให้รว่ มกนั ทาการท่องเท่ียวโดยชุมชน บริหารโดยชุมชน กระจายรายได้
และผลประโยชนส์ ชู่ ุมชน

ในระดับจังหวัดได้สร้างผลงานเชื่อมโยงของชุมชนท่องเท่ียวต่าง ๆ ในจังหวัดกระบี่ ร่วมกันก่อตั้ง
สมาคมการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนกระบี่ เพ่อื เปน็ ศนู ยก์ ลางในการพัฒนาการทอ่ งเทยี่ วโดยชุมชนของจงั หวัดกระบ่ี

นอกจากนั้นได้เข้ารับตาแหน่งประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการของ บริษัท ประชารัฐรัก
สามคั คีกระบ่ี(วิสาหกิจเพือ่ สังคม) จากัด ซ่งึ มีภารกิจขับเคลื่อน ด้านการเกษตร ด้านผลิตภัณฑ์แปรรูปและด้าน
การท่องเท่ียวโดยชมุ ชน เพอื่ สร้างรายได้ให้ชุมชน – ประชาชนมีความสขุ

๒. ผลงานสาคัญที่สรา้ งสรรค์ขน้ึ มาใหม่
๒.๑ ก่อต้ังและเป็นประธานบริหารชุมชนท่องเที่ยวแหลมสัก ซ่ึงเป็นรูปแบบองค์การชุมชน

(วิสาหกิจชุมชน) ดาเนินการจัดการด้านท่องเที่ยวของชุมชนท่ี ๖ หมู่บ้านของตาบลแหลมสัก เพื่อสร้างและ
กระจายรายได้ อีกท้ังแบ่งปันประโยชน์ให้แก่ชาวบ้านในตาบลแหลมสักอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม พัฒนา
ต้ังแต่ตาบลแหลมสักยังไม่เป็นที่รู้จักของนักท่องเท่ียว จนปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีการท่องเท่ียวเข้ามา
อย่างต่อเนื่องทั้งชาวไทยและตา่ งชาติ

๒.๒ ร่วมก่อต้ังและยกระดับการเชื่อมโยงของชุมชนท่องเที่ยวในจังหวัดกระบี่ (ปัจจุบันมี
ประมาณ ๓๐ ชุมชน) เป็นระดับเครือข่ายและยกระดับเป็นสมาคมการท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดกระบี่ โดย
ทาหน้าท่ีเป็นนายกสมาคม ซ่ึงเป็นองค์กรท่ีทาหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางและสนับสนุน ส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
ทอ่ งเทีย่ วในจังหวัดกระบใ่ี ห้มีความพร้อมดา้ นการท่องเทีย่ ว เพอื่ สร้างและกระจายรายไดใ้ ห้ชุมชน

๒.๓ เป็นประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการของบริษัทประชารัฐรักสามัคคีจังหวัดกระบ่ี
(วิสาหกิจเพ่ือสังคม) จากัด ซึ่งเป็นบริษัทประเภทวิสาหกิจเพ่ือสังคม เป็นรูปแบบใหม่ท่ีมีลักษณะส่งเสริมให้
ชมุ ชนลงมือทา ท้ังมีความร่วมมือจากเอกชน (บริษัท) ในการร่วมขับเคลื่อน และมีภาครัฐให้การสนับสนุนเพื่อ
สร้างรายได้ให้ชุมชนและประชาชนให้มีความสุขผ่านภารกิจหลัก 3 ด้านของบริษัท คือ ด้านการเกษตร ด้าน
ผลิตภัณฑแ์ ปรรูป และดา้ นการท่องเท่ยี วโดยชมุ ชน

๓. การเผยแพรผ่ ลงาน การนาผลงานออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน
นาองค์กรชุมชน ทั้งชุมชนท่องเท่ียวแหลมสัก สมาคมการท่องเท่ียวโดยชุมชนจังหวัดกระบ่ี และ

บริษทั ประชารัฐรกั สามัคคี (วสิ าหกจิ เพ่ือสังคม) ไปประชาสัมพันธใ์ นงานตา่ ง ๆ เชน่ งานท่องเทีย่ วท่ัวไทย เป็น
ตน้ และมีการเผยแพร่ประชาสัมพันธผ์ า่ นรายการโทรทศั น์ชอ่ งต่าง ๆ มากมาย

~ 103 ~

๔. การถา่ ยทอดผลงานให้ผู้อ่ืน
เป็นวิทยากรด้านการท่องเท่ียวโดยชุมชนให้แก่ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและ

เอกชน
รางวลั และเกียรติคณุ ท่ไี ด้รบั

พ.ศ.๒๕๒๙ ใบประกาศเกยี รติคณุ “บุคคลทีอ่ ุทิศตนและบาเพ็ญประโยชนอ์ ยา่ งสูง”
จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

พ.ศ.๒๕๕๘ “ครภู ูมิปญั ญาท่องเที่ยวโดยชมุ ชน จงั หวัดกระบ่ี” จากสานกั งานการท่องเที่ยวและ
กีฬา จงั หวัดกระบ่ี

พ.ศ.๒๕๕๘ “ชุมชนท่องเที่ยวตน้ แบบ จังหวัดกระบี่” จากจงั หวดั กระบี่
พ.ศ.๒๕๕๙ “สดุ ยอดเสน้ ทางทอ่ งเที่ยวของประเทศไทย” (รางวลั กินรี) จากกระทรวงทอ่ งเท่ียว

และกฬี า
พ.ศ.๒๕๖๐ “รางวลั อุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี วไทย” (รางวลั กนิ รี) จากการทอ่ งเทยี่ วแหง่

ประเทศไทย
พ.ศ.๒๕๖๐ “ชุมชนท่องเทีย่ วตน้ แบบอนั ดามนั ” จากพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วอนั ดามัน

คุณธรรม / จรยิ ธรรมที่นามาใช้ในดารงชวี ิตหรือในชวี ติ ประจาวนั
การประกอบสัมมาอาชพี และความสาเรจ็ ท่ีสามารถถือเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่บคุ คลอ่นื
- ซอ่ื สตั ย์
- เปน็ ธรรม
- มีวนิ ยั
- ให้เกยี รติผู้อน่ื
ความรับผิดชอบ ความเสียสละ และการอทุ ิศตนทางานด้านคุณธรรม / จรยิ ธรรม
- ทาในสง่ิ ที่ถูกตอ้ ง
- เสยี สละเพอื่ สว่ นรวม
- ลงมอื ทาเป็นตัวอย่าง

ชีวิตปัจจุบัน
ปจั จบุ ันยงั คงทางานด้านสังคม ด้านการทอ่ งเท่ยี วโดยชมุ ชน ทัง้ ในระดับชุมชน ระดับจังหวัด และกลุ่ม

จังหวัด และยังคงทางานในตาแหน่งประธานกรรมการ และกรรมการผู้จัดการของบริษัทประชารัฐรักสามัคคี
(วิสาหกิจเพ่ือสังคม) จากัด เพราะงานดังกล่าวสามารถช่วยเหลือชาวบ้าน ชุมชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนได้
อย่างกว้างขวาง ครอบคลุมทั้งด้านเศรษฐกิจ (ครัวเรือน-ชุมชน) ด้านสังคมรวมถึงด้านวิถีวัฒนธรรมและ
ส่งิ แวดลอ้ ม หากชมุ ชนสามารถพึ่งตนเองไดก้ ็จะส่งผลบวกต่อสังคมโดยรวมในระดบั ประเทศ

รายละเอยี ดของผทู้ ่ีสามารถให้ขอ้ มูลเพ่ิมเตมิ ได้
๑. ชื่อ – สกุล นางศรี วี วาเล๊าะ
ท่ีทางาน สานกั งานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวดั ภูเกต็
โทรศัพท์ ๐๘๑-๙๖๓-๕๒๐๑
โทรสาร ๐๗-๖๒๑๗๐๐๑

~ 104 ~

๒. ช่ือ – สกุล นายภูรติ มาศวงศ์ศา
ทีท่ างาน โรงแรมปา่ ตองรสี อร์ท จังหวดั ภเู ก็ต
โทรศัพท์ ๐๘๑-๘๙๓-๕๓๗๓
โทรสาร ๐๗-๖๓๔๐๕๕๑-๔
อีเมลล์ [email protected]

~ 105 ~

ภาพกจิ กรรม

~ 106 ~

~ 107 ~

แบบเสนอขอ้ มลู ประวตั แิ ละผลงานเพ่อื ประกาศยกยอ่ งเชิดชเู กียรติ
เพชรอันดามัน คร้ังท่ี 2 ประจาปีพุทธศกั ราช 2562

ภาพถา่ ย

ช่ือ – สกลุ นายธนกร สุวุฒิกลุ
สาขา
วันเดอื นปีท่เี กิด มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์
สถานทเ่ี กดิ
อายุ วันที่ 5 มถิ นุ ายน 2521
อาชพี
อาเภอเมืองระนอง จงั หวดั ระนอง
บิดาชือ่
บตุ รคนท่ี 41
ท่อี ยู่
สถานทที่ างาน รบั ราชการในตาแหนง่ นักพัฒนาการท่องเท่ยี ว

โทรศัพท์ ระดบั ชานาญการ สงั กดั องค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง
อีเมลล์
(กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถ่นิ กระทรวงมหาดไทย)

นายโกศล สวุ ฒุ ิกลุ มารดาช่ือ นางวรรณี กาญจนประทมุ

1

บ้านเลขท่ี 90 หมู่ที่ 1 ตาบลบางริน้ อาเภอเมอื งระนอง จงั หวดั ระนอง 85000

องค์การบริหารสว่ นจังหวัดระนอง ถนนเพชรเกษม ตาบลบางรนิ อาเภอเมอื ง

จังหวดั ระนอง 85000

๐๘๑-๒๗๑-๓๘๙๖

~ 108 ~

ประวตั ิการศึกษา พ.ศ. สถานศึกษา อาเภอ จังหวัด
วุฒิการศกึ ษา เมอื งระนอง ระนอง
2531 โรงเรียนศรอี รุโณทัย เมืองระนอง ระนอง
ระดับประถมศึกษา 2533 โรงเรยี นอนุบาลระนอง เมืองระนอง ระนอง
เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ 2536 โรงเรียนพิชัยรัตนาคาร
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ธัญบุรี ปทมุ ธานี
(ปวช.) 2539 สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล
ระดับปริญญาตรี/คุณวุฒิ วิทยาเขตพณชิ ยการพระนคร ปากเกรด็ นนทบรุ ี
1. บรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ
- ปากเกรด็ นนทบุรี
(การเงิน) 2542 สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล
2. ศลิ ปศาสตร์บณั ฑิต
(มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าช
(ไทยคดีศึกษา) 2546 มงคล)
3.รัฐประศาสนศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
มหาบัณฑติ 2557 -
(การปกครองท้องถนิ่ )
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
วฒุ ิการศึกษา
ระดับปรญิ ญาโท/คุณวุฒิ พ.ศ. สถานศกึ ษา อาเภอ จังหวัด
4.บรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑิต 2552 มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น เมืองขอนแกน่ ขอนแก่น

(การจัดการ 2553 - มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช ปากเกรด็ นนทบุรี
การทอ่ งเที่ยวและโรงแรม) - นนทบรุ ี
คณุ วฒุ อิ ื่นๆ
(หลักสตู รสัมฤทธบิ ัตร) 2553 มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช ปากเกร็ด
1. หลักการโฆษณาและ
ประชาสัมพันธ์
2. ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกับ
สื่อมวลชน

ประสบการณ์และระยะเวลาในการทางาน

พ.ศ. 2542 – 2543 นกั วิชาการคลงั องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลปากน้า จังหวัดระนอง
พ.ศ. 2543 – 2546 เจา้ หน้าทีจ่ ดั เกบ็ รายได้ องค์การบริหารสว่ นตาบลปากน้า จังหวัดระนอง
พ.ศ. 2546 – 2548 เจา้ หน้าที่ส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว เทศบาลเมืองระนอง
พ.ศ. 2548 – 2548 นักวชิ าการประชาสัมพันธ์ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั ชัยภมู ิ
พ.ศ. 2548 – 2549 นักพัฒนาชุมชน องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัดระนอง
พ.ศ. 2549 – 2557 นกั วิชาการประชาสมั พันธ์ องคก์ ารบริหารส่วนจังหวดั ระนอง

~ 109 ~

พ.ศ. 2558 – 2559 นกั ประชาสัมพันธช์ านาญการ องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ระนอง
พ.ศ. 2560 – ปัจจุบนั นกั พัฒนาการท่องเทย่ี วชานาญการ องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัดระนอง
พ.ศ. 2554 – ปัจจุบนั อาจารยพ์ เิ ศษ วทิ ยาลยั ชุมชนระนอง

๖. ประวัตผิ ลงาน

๖.๑ การศึกษา เรียนรู้ การปฏบิ ัติงานหรอื ฝึกฝนในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ความมุง่ หวัง และส่ิงที่
ฝากถึงอนชุ นรนุ่ ตอ่ ไป

จากการอบรมหลักสูตร “กระบวนการคิด-เล่า-จัด Exibition อย่างมีประสิทธิภาพ”โดยสถาบัน
พิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.) ไปใช้พัฒนาการปฏิบัติงานของข้าพเจ้าในตาแหน่ง นักพัฒนาการ
ท่องเท่ียวชานาญการ ซึ่งมีหน้าท่ีความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการดังน้ี ปฏิบัติงานส่งเสริมการท่องเท่ียว
งานประชาสัมพันธข์ ้อมลู ทัว่ ไปและสถานที่ทอ่ งเทีย่ วในจังหวัดระนอง งานปรบั ปรุงสถานที่ท่องเที่ยว งานจัดทา
แผนพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง เป็นต้น โดยได้นาความรู้ความสามารถ ทักษะ
และประสบการณ์ท่ีได้รับจากการฝึกอบรมตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร มาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ
การพัฒนางานในอานาจหน้าท่ีของข้าพเจ้า และสนับสนุนการปฏิบัติราชการขององค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดระนองเพื่อให้การพัฒนาการท่องเท่ียวของจังหวัดระนอง เป็นไปด้วยหลักการการท่องเที่ยวอย่าง
ยงั่ ยนื

ความรู้ที่ได้รับจากการ แนวทางในการนามาใช้ ผลผลติ /ผลลัพธ์ ตวั ช้วี ัดผลผลิต/ผลลัพธ์

ฝกึ อบรม ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อการ ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั และเปา้ หมายตัวช้ีวดั

พัฒนางานของตนเอง/

องคก์ รปกครองสว่ น

ท้องถิน่

- การเผยแพร่องค์ความรู้ - นาความรู้ท่ีได้รับจาก - มีศักยภาพในการจัด -อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร

ของหน่วยงาน / เครือข่าย การฝึกอบรม มาใช้ใน นิ ท ร ร ศ ก า ร เ ผ ย แ พ ร่ สว่ นจงั หวัดระนอง

พิพิธภัณฑ์และแหล่งเรียนรู้ การวางแผน องค์ความรู้ของหน่วยงาน มีบุคลากรท่ีมีศักยภาพ

ให้ไปสู่กลุ่มเป้าหมายอย่าง พัฒนาการท่องเที่ยวและ และแหล่งเรียนรู้ให้ไปสู่ ต่อการปฏิบัติราชการให้

มปี ระสิทธภิ าพ แหล่งเรียนรู้ตามอานาจ กลุ่มเป้าหมายอย่างมี เกิดประโยชน์ในการ

- แนวคิดกระบวนการและ หน้าทขี่ ององคก์ ารบริหาร ประสิทธภิ าพ เผยแพร่องค์ความรู้และ

รูปแบบการจัดนิทรรศการ ส่ ว น จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง - สามารถเผยแพรแ่ นวคิด พัฒนาการท่องเที่ยวของ

ภ า ย ใ ต้ แ น ว คิ ด - น า ค ว า ม รู้ แ ล ะ กระบวนการและรูปแบบ ท้องถ่ินและส่งเสริมเป็น

DISCOVERY MUSEUM ประสบการณ์ท่ีได้รับจาก ก า ร จั ด นิ ท ร ร ศ ก า ร แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ของ

ข อ ง ส พ ร . เ พ่ื อ ใ ห้ ก า ร อ บ ร ม ม า ใ ช้ ภายใต้แนวคิด ของ สพร. จังหวัดระนองในอนาคต

กลุ่มเป้าหมายสาม ารถ ในการจัดนิทรรศการและ ให้กลุ่มเป้าหมายนาไป ตอ่ ไป

นาไปประยุกต์ใช้ในการ พั ฒ น า แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ใ น

ดาเนินงาน ภ า ย ใ น ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ การดาเนนิ งานได้

- การสร้างเครือข่ายใน จงั หวดั ระนองได้ - สามารถสร้างเครือข่าย

~ 110 ~

การแลกเปล่ียนและต่อยอด ในการแลกเปลี่ยนและต่อ
ก า ร ข ย า ย ผ ล ก า ร จั ด ยอดการขยายผลการจัด
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ร่ ว ม กั น ใ น องค์ความรู้ร่วมกันต่อไป
อนาคต ในอนาคต

๖.๒ ผลงานสาคัญท่ีสรา้ งสรรคข์ ึ้นมาใหม่ ตอ้ งเปน็ ผลงานช้ินท่ีโดดเด่นกว่าคนอ่ืน เป็นเอกลักษณ์
เฉพาะของตนเอง

๖.๒.๑ ทาหน้าที่วิทยากรเจ้าหน้าที่ประจาพระราชวังรัตนรังสรรค์ยุคบุกเบิกเป็นคนแรก
ตัง้ แตจ่ ังหวัดระนองได้ดาเนนิ โครงการก่อสรา้ งพระทน่ี ั่งรตั นรังสรรค์(จาลอง) เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๕ เพ่ือเป็นอนุสรณ์
ในการเสด็จประทับแรมของพระมหากษัตริย์ ๓ พระองค์ (รัชกาลท่ี ๕ – รัชกาลที่ ๗) และเป็นสถานท่ี
ท่องเท่ยี วเชิงประวตั ิศาสตรอ์ กี แห่งหน่งึ ของจงั หวดั ระนองด้วย

๖.๒.๒ เผยแพร่ประวัติศาสตร์ของเมืองระนองในด้านต่างๆ เผยแพร่ทางเว็บไซต์จังหวัด
ระนอง(www.ranong.go.th) และยังเป็นวิทยากรให้ความรู้และข้อมูลเก่ียวกับจังหวัดระนอง ใน
ดา้ นประวตั ิศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม การท่องเท่ยี ว องคค์ วามร้ตู ่างๆ ของท้องถนิ่ จงั หวดั ระนอง ฯลฯ แก่เยาวชน
และประชาชนในหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รวมทั้งสถานศึกษาและองค์กรอ่ืนๆ ท่ีขอความอนุเคราะห์
สนับสนุนบุคลากรมายงั หน่วยงานตน้ สงั กัด (องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั ระนอง)

๖.๒.๓ ดาเนินการจัดทาโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์จังหวัดระนอง
ในโอกาสครบรอบ ๑๕๐ ปี วันสถาปนาเมืองระนอง เม่ือ พ.ศ.๒๕๕๕ ณ บริเวณจวนเจ้าเมืองระนอง ระหว่าง
วันที่ ๒๑ – ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ เพ่ือส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของจังหวัดระนอง ให้เป็นที่
รู้จักอย่างกว้างขวาง ด้วยกิจกรรมการท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆ จากประวัติศาสตร์ของจังหวัดระนอง ซึ่งได้
อัญเชิญสิ่งของสาคัญประจาจังหวัดระนอง เช่น พระแสงราชศัสตราวุธประจาจังหวัดระนอง และพระพุทธนว
ราชบพติ รประจาจังหวัดระนอง มาจัดแสดงให้ประชาชนและเยาวชนจากโรงเรียนต่างๆ ภายในจังหวัดระนอง
ได้ศกึ ษา รวมทัง้ จัดนทิ รรศการด้านประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม และวิถชี วี ิตของชาวระนองในอดีต เป็นต้น ซ่ึงทา
ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจแก่เยาวชน ประชาชน รวมท้ังนกั ท่องเที่ยวทั่วไปได้ทราบ ถึงประวัติความเป็นมาของ
จงั หวัดระนองรวมท้งั เกดิ ความภาคภมู ิใจและสานกึ รักหวงแหนจังหวัดระนอง

๖.๒.๔ นาเสนอเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ของจังหวัดระนอง เผยแพร่ในลงในวารสาร
วชิราวุธานุสรณ์ ซึ่งเป็นเรื่องเก่ียวกับพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๖ รวมท้ังสถาบัน
พระมหากษัตริยท์ เี่ กีย่ วขอ้ งกบั จงั หวดั ระนอง เช่น

พุทธศักราช 2460 - พระมหากษตั รยิ ์ที่เสด็จประพาสเมืองระนองบ่อยที่สดุ
- สนุ ขั ทรงเลย้ี งในรัชกาลที่ 6 ท่ไี ด้ตามเสดจ็ มายงั เมอื งระนอง
- เสือปา่ และลกู เสือจังหวัดระนองรบั เสดจ็ รชั กาลที่ 6 คราวเสดจ็ เลียบหัวเมืองปักษ์ใต้

- 120 ปี พระท่ีนงั่ รตั นรังสรรค์ พระราชวงั แหง่ ระนอง
- การถวายช้างสีประหลาด เมอื่ คราวเสดจ็ มณฑลปักษ์ใต้ พ.ศ. 2548
- พระบรมราชานุสาวรยี พ์ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั ณ จงั หวัดระนอง

~ 111 ~

- 1 ศตวรรษ พระราชนิพนธ์เร่ืองจดหมายเหตเุ สด็จหัวเมอื งปักษ์ใต้ ร.ศ.128 ๑๐๐ ปี
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสดจ็ เมอื งระนอง

๖.๒.๕ ทาหน้าที่เผยแพร่และให้ความรู้ในฐานะอาจารย์พิเศษของวิทยาลัยชุมชนในรายวิชา
ระนองศึกษาให้แก่นักศึกษาระดับอนุปริญญาสาขาวิชาการจัดการท่ัวไป สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขา
การปกครองทอ้ งถิ่น ณ ศูนยก์ ารศึกษาอาเภอเมืองระนอง อาเภอกระบุรี อาเภอสุขสาราญ รวมทั้งหลักสูตรอ่ืน
ๆ ของวิทยาลัยชุมชนระนอง เช่น หลักสูตรมัคคุเทศก์ หลักสูตรผู้นาเที่ยวต่างประเทศ ในวิชาประวัติศาสตร์
ทอ้ งถ่ิน พระประวัติสมเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ และอารยธรรมโลกตะวนั ตก/ตะวันออก เปน็ ต้น

6.2.6 รบั ผิดชอบภารกิจการจัดนิทรรศการของจังหวัดระนอง ในการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสบรมราชาภิเษก ปีที่ ๖๐
“ความสุขของพ่อ ความสุขของลูก” ระหว่างที่ ๕ – ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ณ บริเวณถนนราชดาเนิน
กรงุ เทพมหานคร

6.2.7 รับผิดชอบภารกิจการจัดนิทรรศการในการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร เนื่องในการจัดกิจกรรมป่ันเพื่อพ่อ (Bike For Dad) จังหวัด
ระนอง ณ ศูนย์ราชการจังหวัดระนอง ตามท่ีกระทรวงมหาดไทยได้รับมอบหมายให้ดาเนินการจัดกิจกรรม
จักรยานเฉลิมพระเกียรติฯ เน่ืองในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๘
ในส่วนภูมิภาค เม่ือวันศุกร์ที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ ซ่ึงกระทรวงมหาดไทยได้แจ้งให้จังหวัดระนอง เตรียม
ความพร้อมในการจัดกิจกรรมเพ่ือแสดงถึงพลังความจงรักภักดีและความสามัคคีของประชาชนทุกหมู่เหล่าใน
พื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้การจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติดังกล่าว เป็นไปอย่างสมพระเกียรติ จังหวัดระนองจึง
กาหนดได้มีคาสั่งแต่งตั้งคณะทางานจัดกิจกรรมจักรยานเฉลิมพระเกียรติฯ ขึ้น โดยมอบหมายให้องค์การ
บริหารส่วนจังหวัดระนอง เป็นหัวหน้าคณะทางานฝ่ายจัดการแสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ ทาหน้าที่
สนับสนุนการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ภายใต้หัวข้อ “ธ ยาตรา ปวงประชาเป็นสุข” และนิทรรศการ
โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริในจงั หวดั ระนอง ตัง้ แตอ่ ดีตจนถงึ ปจั จบุ นั ระหวา่ งวันที่ ๕ – ๑๘ ธันวาคม
๒๕๕๘ โดยจดั แสดงนิทรรศการภาพถา่ ยและเนอ้ื หาบันทึกการเสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมราษฎรจังหวัดระนอง
เม่ือปีพุทธศักราช ๒๕๐๒ บริเวณศาลากลางจังหวัดระนอง เพื่อให้ผู้เข้าชมนิทรรศการได้เห็นถึงการเสด็จฯ
เยี่ยมราษฎรของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9 อันได้ก่อให้เกิดแนวพระราชดาริเพื่อทรงหาทางบาบัดความทุกข์ยาก
ของผู้ท่ีประสบกับความทุรกันดารของท้องถิ่น ซึ่งการเสด็จฯ เย่ียมราษฎร จึงเป็นเสมือนหนึ่งต้นเค้าให้เกิด
โครงการตามพระราชดาริ เพอ่ื ชว่ ยเหลือราษฎรทท่ี ุกขย์ ากในเวลาตอ่ มา

๖.๓ การเผยแพร่ผลงาน การนาผลงานออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน

- เผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์ประวัติศาสตร์จังหวัดระนองในโอกาสต่างๆ เช่น การจัดทาหนังสือ
ตามรอยเสด็จประพาสเมืองระนอง หนังสือสมุดภาพเมืองระนอง เป็นต้น และการเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว
เผยแพร่ทาง Social Media / Facebooks เพื่อให้คนรุ่นใหม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวัติศาสตร์เกี่ยวกับ
จังหวัดระนองได้อย่างกว้างขวางและรู้จักจังหวัดระนองมากยิ่งข้ึน รวมถึงการถ่ายทารายการโทรทัศน์แนะนา
สถานที่สาคัญต่างๆ ของจังหวัดระนอง เช่น รายการศึกษาทัศน์ / เปิดประตูสู่ปักษ์ใต้ / สารคดีเสด็จประพาส
ต้นจงั หวดั ระนอง / บ่ายน้ีมีคาตอบ / เมืองไทยด๊ีดี / ผจญภยั ไรพ้ รมแดน เป็นต้น

~ 112 ~

๖.๔ การถา่ ยทอดผลงานให้ผู้อน่ื

- วิทยากรฝึกอบรมโครงการเยาวชนคนอาชีวะ เสริมทักษะมัคคุเทศก์ เข้าสู่เขต AEC ระหว่าง
วันที่ 13 - 14 กันยายน 2559 เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมโครงการจานวน 80 คนได้รับความรู้ของการเป็นมัคคุเทศก์
ท้องถ่นิ ณ วทิ ยาลัยเทคนคิ ระนอง

- วิทยากรเสวนาในงานวันสถาปนาเมืองระนอง ประจาปี 2559 ณ พระราชวังรัตนรังสรรค์
(จาลอง) จังหวัดระนอง ระหว่างวันท่ี 21-22 กรกฎาคม 2559 เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมงานจานวนประมาณ
1,000 คนได้ทราบถึงความเป็นมาทางประวัติศาสตรแ์ ละวัฒนธรรมของจังหวดั ระนอง

- วิทยากรเสวนาตามโครงการรักการอ่าน โดยองค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง เม่ือ
วันที่ 11 กันยายน 2558 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการจานวน 200 คน เห็นความสาคัญของการอ่านและรู้จัก
หนงั สอื ต่าง ๆ ที่มขี อ้ มลู เกย่ี วกบั จังหวัดระนอง ณ โรงยิมเนเซียมองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ระนอง

- วิทยากรในการเสวนาวิชาการการประชุมประชาสัมพันธ์ถ่ายทอดองค์ความรู้/รับฟังความ
คิดเห็นและข้อเสนอแนะ ครั้งที่ 1 โครงการจัดทาแผนแม่บทและผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณเมือง
เก่าระนอง เม่ือวันท่ี 6 ธันวาคม 2561 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมงานจานวน 200 คน ได้ทราบถึงสถานที่สาคัญต่าง ๆ
ของพ้นื ทีเ่ ขตเมอื งเก่าระนอง ณ เฮอริเทจ แกรนด์ คอนเวนชัน่ จังหวดั ระนอง

รางวัลและเกียรติคุณทีไ่ ด้รับ

- ไดร้ ับประกาศเกียรติคณุ จากจังหวัดระนอง ท่ีได้คาคุณประโยชนใ์ ห้แกจ่ งั หวดั ระนอง พ.ศ. 2557

- ได้รับคัดเลือกให้เป็นนักศึกษาท่ีมีคุณธรรมและจริยธรรมดีเด่นของคณะบริหารธุรกิจ ประจาปี
การศึกษา 2540 ณ ศูนย์กลางสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีใน
ปัจจบุ นั )

~ 113 ~

เกียรตบิ ตั รและผลงาน

~ 114 ~

~ 115 ~

~ 116 ~

~ 117 ~

~ 118 ~

~ 119 ~

~ 120 ~

~ 121 ~

~ 122 ~

~ 123 ~

~ 124 ~

~ 125 ~

~ 126 ~

~ 127 ~

~ 128 ~

~ 129 ~

~ 130 ~

~ 131 ~

~ 132 ~

~ 133 ~

~ 134 ~

~ 135 ~

~ 136 ~

~ 137 ~

~ 138 ~

~ 139 ~

คุณธรรม / จรยิ ธรรมในนามาใชใ้ นดารงชีวติ หรือในชีวิตประจาวนั

• การประกอบสมั มาอาชพี และความสาเรจ็ ท่ีสามารถถือเป็นแบบอย่างทีด่ ีแกบ่ คุ คลอืน่
• ความรับผดิ ชอบ ความเสียสละ และการอุทศิ ตนทางานด้านคณุ ธรรม / จริยธรรม

ร่วมออกปฏิบัติงานในหน่วยแพทย์เคล่ือนที่ พอ.สว. ของจังหวัดระนอง ในฐานะอาสาสมัครสาย
สนับสนนุ พอ.สว. ประจาจังหวดั ระนอง และไดเ้ ขา้ เฝา้ ฯ รับพระราชทานของที่ระลึกจากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ
เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ณ โรงเรียนบ้านกาพวน หมู่ท่ี ๒ ต.กาพวน อ.สุขสาราญ จ.ระนอง
เมื่อวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ และรบั เสดจ็ ณ โรงเรียนบ้านบางหิน หมู่ที่ ๒ ต.บางหิน อ.กะเปอร์ จ.ระนอง
เมือ่ วนั ที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๕๕

สนบั สนุนกจิ กรรม/โครงการของทางราชการท่ีจัดข้ึนเพ่ือเทิดทูน หรือถวายความจงรักภักดีต่อสถาบัน
พระมหากษตั รยิ ์ เช่น

๑) ดาเนินการจัดทาป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์โครงการเฉลิมพระเกียรติแม่ของแผ่นดิน แม่ท้ัง
ประเทศปลกู ต้นไม้ ๗๗ แสนตน้ เพ่ือใหป้ วงพสกนิกรชาวไทยในพ้ืนที่ทั่วประเทศ ได้ร่วมสนองพระราชเสาวนีย์
ในสมเดจ็ พระเจา้ นางเจา้ สิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินีนาถในรชั กาลที่ 9

2) ดาเนินโครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติของจังหวัดระนอง ตามนโยบายเร่งด่วนของ
กระทรวงมหาดไทย เร่ืองการปกป้องสถาบันสาคัญของชาติ ในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระเกียรติพระ
ชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๓ และ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๓ เพ่ือเป็นการปกป้องสถาบันสาคัญของชาติ การ
รักษาความสงบเรียบร้อยภายใน รวมทั้งเสริมสร้างความรู้รักสามัคคีของคนในชาติให้เกิดความสงบสันติ และ
สามคั คี

3) ดาเนินการมอบแผ่นวีซีดีพระราชทานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ
ดุลยเดชบรมนาถบพิตร ชุด “หนึ่งในน้าพระราชหฤทัย” เพื่อมอบเป็นสิ่งของพระราชทานให้กับประชาชน
พร้อมทั้งจัดนิทรรศการและฉายภาพยนตร์เฉลิมพระเกียรติชุดดังกล่าวในกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ประจาปี
๒๕๕๔

4) ดาเนินการขออนมุ ัติจากองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดระนอง ในการจัดทากรอบพระบรมฉายาลักษณ์
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ
พระบรมราชนิ นี าถ ในรัชกาลที่ 9 พระบรมสาทิสลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๑ – รัชกาลท่ี
๘ สาหรับใช้ในงานรัฐพิธี งานพิธีต่าง ๆ ของหน่วยงาน เพ่ือความเป็นสิริมงคล และเป็นเคร่ืองเตือนใจให้รู้รัก
สามัคคี เจริญรอยตามเบ้ืองพระยุคลบาท ในการพัฒนาประเทศ และดารงชีวิตด้วยความดีงามตามพระบรม
ราโชวาท เพ่อื ให้ชีวิตบังเกดิ ความสุข ความเจริญสบื ไป

5) ร่วมเป็นคณะกรรมการฝ่ายจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ ตามโครงการเทิดทูนสถาบัน
พระมหากษตั รยิ ์จังหวดั ระนอง พ.ศ. ๒๕๕๗ ตามคาสง่ั จงั หวัดระนอง ที่ ๒๒๑๕/๒๕๕๖

6) รว่ มเปน็ ท่ปี รกึ ษาประจาโครงการปรับปรงุ พระราชวงั รัตนรังสรรค์ (จาลอง) จังหวัดระนอง เพ่ือเป็น
แหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์อันดามัน และบริเวณเรือนรับรองท่ีประทับรัชกาลท่ี 9 (จังหวัดระนอง) โดย
บริษทั อินเตอร์แอคชนั่ ดไี ซน์สตูดิโอ จากดั

7) จัดทาบทอาศิรวาทขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง เพื่อใช้ในการบันทึกเทปถวายพระพร
เน่ืองในวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร และสมเด็จ

~ 140 ~

พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 และบทแสดงความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ
ถวายความอาลัยแด่พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร

8) ร่วมเป็นคณะกรรมการสืบค้นประวัติจวนผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง (หลังเดิม) เพ่ือบูรณะไว้ให้
อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษา และเป็นเกียรติประวัติแก่ชาวระนองว่า “อาคารหลังนี้เคยเป็นท่ีประทับแรมของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถในรัชกาลท่ี 9”

9) ร่วมเป็นคณะทางานในการจัดทาจดหมายเหตุเฉพาะเรื่อง “งานพระบรมศพพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร” (จังหวัดระนอง) เพ่ือบันทึกเหตุการณ์สาคัญท่ีเก่ียวกับ
งานพระบรมศพฯ ในพ้ืนท่ีจังหวัดระนองและท่ีเกี่ยวข้องให้เป็นลายลักษณ์อักษรไว้เป็นห ลักฐานทาง
ประวตั ศิ าสตร์ของจังหวดั และของชาติสบื ไป

10) เข้าร่วมเป็นวิทยากรโครงการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประจาปี 2560 เพ่ือเป็นการศึกษา
เรียนรู้พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร และเป็นการ
เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่เป็นรูปธรรมในการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ใน
การปฏิบัติงานและดารงชีวิต ดาเนินการจัดโดยองค์การบริหารส่วนตาบลราชกรูด อาเภอเมืองระนอง
จงั หวดั ระนอง

11) เข้าร่วมเป็นวิทยากรโครงการฝึกอบรมและศึกษาเรียนรู้พระราชกรณียกิจและพระปณิธาน
ของพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร ขององค์การบริหารส่วนตาบลทรายแดง
อาเภอเมืองระนอง จังหวดั ระนอง

12) เข้าร่วมเป็นคณะทางานคัดเลือกกิจกรรมอันเก่ียวเน่ืองกับงานพระบรมศพพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตร ตามคา ส่ังจังหวัดระนอง ที่ 2392/2559 ลง
วันที่ 28 พฤศจกิ ายน 2559

13) เข้าร่วมกิจกรรมการแสดงในการจัดงานวันสถาปนาเมืองระนอง ครบรอบ 145 ปี เมื่อวันเสาร์ท่ี
21 กรกฎาคม 2550 (การแสดงจินตภาพประกอบแสงสีเสียง ชุดย้อนตานานเมืองระนอง) และแสดงละครแสง
สีเสียงวัฒนธรรมย้อนยุค ครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ เสด็จประพาสหัวเมือง
ระนอง ตอน ระนองใต้ร่มพระบารมีจักรีวงศ์ ณ พระราชวังรัตนรังสรรค์(จาลอง) โดยสานักงาน
การทอ่ งเที่ยวและกีฬาจงั หวดั พงั งา เขตทอ้ งทจี่ งั หวดั ระนอง เปน็ ตน้

ชีวติ ปจั จุบัน

ปจั จบุ ันในฐานะที่เป็นชาวระนองคนหนึ่งซ่ึงถือกาเนิดและได้มีโอกาสกลับมารับราชการ ณ ภูมิลาเนา
บ้านเกิดจังหวัดระนอง ในตาแหน่ง นักพัฒนาการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดระนอง จึงมี
ความภาคภูมิใจที่ได้ตอบแทนบุญคุณแผ่นดินเกิด ด้วยการได้นาความรู้ รวมท้ังประสบการณ์จากความสนใจ
ด้านประวัติศาสตร์ของตนเอง นามาประยุกต์ใช้กับจังหวัดระนองด้วยแนวคิดการใช้ประวัติศาสตร์เป็น
เครื่องมือในการอนุรักษ์และพัฒนาจังหวัดระนองด้านการท่องเท่ียวให้มีความย่ังยืนเพ่ือประโยชน์ของท้องถิ่ น
และสรา้ งความรกั หวงแหนแก่เยาวชนคนร่นุ หลังตอ่ ไป โดยผา่ นแนวทางการพัฒนาของจงั หวดั เช่น

~ 141 ~

ยทุ ธศาสตร์ท่ถี ือเป็นจดุ เด่นในการพัฒนาเมืองระนอง / ควรเป็นอย่างไร จากข้อดีและข้อเสียของความเปน็
ระนอง

จังหวัดระนอง มีชื่อเสียงและเป็นท่ีรู้จักจากการที่มีทรัพยากรน้าแร่ธรรมชาติคุณภาพดี ประกอบกับ
นโยบายพัฒนาแหลง่ นา้ พรุ ้อนในประเทศไทยของรัฐบาล จงั หวดั ระนอง จึงได้รบั การส่งเสรมิ ให้เป็นพ้ืนที่นาร่อง
ไปสเู่ มอื งตน้ แบบของสปาและการทอ่ งเที่ยวเชิงสุขภาพ ดงั นนั้ จงั หวัดระนอง จึงได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์
เดน่ ของจังหวดั เป็น “เมอื งท่องเทยี่ วเชิงสุขภาพ” โดยใช้น้าแรร่ ้อนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและย่ังยืน รวมท้ังจัดให้
มีการใชป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ตา่ งๆ เปน็ ตน้

อย่างไรก็ตาม “การท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ” ยังมีความหมายครอบคลุมไปถึงการเดินทางเพื่อ
การท่องเที่ยวเยี่ยมชมแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ที่เป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ท้ังประเภท
ธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์อีกด้วย ซึ่งการท่ีจังหวัดระนองยังมีทรัพยากรการท่องเท่ียว
ดังกล่าวที่หลากหลายนั้น จึงถือว่ามีศักยภาพด้านการท่องเท่ียวท่ีสามารถส่งเสริมให้นักท่องเท่ียวท้ังชาวไทย
และต่างประเทศได้เดินทางมาสัมผัสความเป็นระนองได้อย่างครบถ้วน อันจะทาให้มีสุขภาพจิตที่ดีรวมทั้ง
สุขภาพกายทแ่ี ข็งแรงอย่างแท้จรงิ

วัฒนธรรม ประเพณีและศิลปะของเมืองระนองทถี่ ูกลืม

นอกจากจังหวัดระนอง จะมีทรัพยากรการท่องเที่ยวท่ีมีความโดดเด่นทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
เช่น เขตสงวนชีวมณฑลระนอง ซึ่งจัดเป็นพ้ืนท่ีสงวนชีวมณฑลประเภทป่าชายเลนแห่งแรกของโลก ที่ได้รับ
การประกาศจากองค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก้) ร่วมกับรัฐบาลไทย
และพน้ื ทีช่ ุ่มน้าอทุ ยานแห่งชาตแิ หลมสน-ปากแม่น้ากระบุรี-ปากคลองกะเปอร์ ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นพื้นที่
ชุ่มน้าท่มี คี วามสาคัญระหวา่ งประเทศ หรือแรมซารไ์ ซตแ์ ลว้ จังหวดั ระนอง ยังจัดเป็นจังหวัดท่ีมีความเป็นเมือง
เก่า ตามมติของคณะรัฐมนตรีอีกด้วย เนื่องจากเป็นแหล่งรวมของศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
ตลอดจนโบราณสถานทสี่ วยงามและมคี ุณค่าควรแก่การอนุรักษ์ เช่น เนินประวัติศาสตร์ พระที่นั่งรัตนรังสรรค์
จวนเจ้าเมืองระนอง เป็นต้น ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ที่สื่อถึงวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของ
ประชาชนต้งั แตค่ รั้งอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั เปน็ สงิ่ ท่ชี ่วยเสริมสร้างคุณค่าในการรับรขู้ องนกั ท่องเทีย่ วทีม่ าเย่ยี มชม

ทรัพยากรการท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์เหล่านี้ นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสูงค่าของชาติ ซึ่งมี
ความสาคัญและมปี ระโยชนต์ อ่ ชุมชนท้องถ่ินในดา้ นตา่ งๆ ดังน้ี (๑) เปน็ เอกลกั ษณ์ของท้องถิ่นที่แสดงให้เห็นถึง
ประวัตคิ วามเปน็ มา ความเช่อื ศาสนา ขนบธรรมเนยี มประเพณี และความเจริญของชุมชนใดชุมชนหนึ่งรวมไป
ถึงของชาติ (๒) เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีสะท้อนเร่ืองราวในอดีตของท้องถ่ิน อีกทั้งยังให้ข้อมูลในการศึกษาทาง
วิชาการด้านต่าง ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม ความสัมพันธ์กับดินแดนอื่น ๆ
(๓) เป็นทรัพยากรทางวฒั นธรรมท่ีสาคัญของชุมชนและของประเทศชาติที่สามารถก่อให้เกิดรายได้ทั้งทางตรง
และทางอ้อม (๔) เปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางวัฒนธรรม (๕) เปน็ ศนู ย์รวมจิตใจของคนในสังคม ดังน้ัน การอนุรักษ์
มรดกทางวฒั นธรรมเหลา่ นี้ และสนบั สนุนส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์วัฒนธรรมในท้องถิ่น เพ่ือให้
ประชาชนตระหนักถึงความสาคัญและคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม รวมท้ังสนับสนุนให้มีการเผยแพร่
ช่ือเสียงและพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมต่อไป จึงจะเป็นการนาทรัพยากรการท่องเที่ยวและทุน
ทางสังคมที่มีอยู่มาใช้ประโยชน์ในการพฒั นาการท่องเที่ยวได้อยา่ งคุม้ ค่าและยง่ั ยนื สืบไป

~ 142 ~

แนวทางการพัฒนาเมืองระนองเพื่อนาไปสู่ความเปน็ smart city

“เท่ยี วเมอื งรอง ระนองเมืองเก่า” ในการพัฒนาเมืองเก่าระนองให้เกิดประโยชน์ในด้านการท่องเที่ยว
"เมืองเก่า" มักเป็นจุดหมายปลายทางซ่ึงเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว แต่ในการใช้ประโยชน์เพื่อการท่องเท่ียว
สิ่งสาคัญที่สุดอยู่ที่กระบวนการอนุรักษ์ แทนท่ีจะใช้ประโยชน์เพียงอย่างเดียวก็อาจทาให้ผลกระทบจาก
การท่องเที่ยวส่งผลให้เมืองเก่าเส่ือมคุณค่าลงได้ ดังน้ัน การนึกถึงขีดความสามารถในการรองรับได้ (carrying
capacity) การเตรียมมาตรการรองรับในด้านการจราจร มลพิษ การวางผังเมือง ตลอดจนการคุ้มครอง
ใหป้ ระชาชนที่อาศัยอยูใ่ นเมอื งเก่ายังคงสภาพชีวิตที่ดี จึงเป็นเร่ืองสาคัญท่ีต้องดาเนินการอย่างไรก็ตามในยุคที่
กระแสการท่องเท่ียวของโลกเปลี่ยนไปในทางท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งการเติบโตของการท่องเท่ียวเชิง
นิเวศ (Ecotourism) และการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism) ยังเป็นกระแสหลักดึงดูดให้
นกั ท่องเทยี่ วกลบั มาท่องเท่ียวในเมืองเก่าระนอง โดยเฉพาะอย่างย่ิง "การท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์" ท่ีหมายถึง
การท่องเที่ยวสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม วิถีชุมชนและเอกลักษณ์สถานที่ โดยนักท่องเที่ยวได้
เรียนรู้เพื่อสร้างประสบการณ์ตรงร่วมกับเจ้าของวัฒนธรรม และมีโอกาสได้ใช้ชีวิตร่วมกันกับเจ้าของสถานที่
และเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม วิถีชุมชนและเอกลักษณ์ของสถานท่ี ไม่ใช่
กจิ กรรมเน้นรายไดข้ องชุมชน แต่เป็นกจิ กรรมทเ่ี นน้ คุณค่าของชุมชนเท่าน้ัน ซึ่งจะเห็นได้ว่า "การท่องเที่ยวเชิง
สร้างสรรค์" เน้นให้ผู้มาเยือนได้มีโอกาสสร้างประสบการณ์ตรงร่วมกับชาวเมืองเก่าซึ่งเป็นเจ้าของ
วัฒนธรรม ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่ากระแสหลักของการท่องเที่ยวกาลังเปลี่ยนทิศทางมาเน้นการท่องเที่ยวใน
แหล่งวัฒนธรรมเพิ่มมากข้ึน การเป็น "เมืองเก่าระนอง" จึงเป็นทางเลือกสาคัญสาหรับผู้มาเยือนที่เข้ามา
ท่องเที่ยวในจังหวัดอันเป็นท่ีต้ังของเมืองเก่ามากขึ้น การท่องเท่ียวเพื่อเย่ียมเยือน "สถาปัตยกรรมในเมืองเก่า"
เริ่มได้รับความนิยมเพ่ิมมากข้ึนเป็นรูปธรรม ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงอาคารที่มีคุณค่าในเมืองเก่าให้เป็นพ้ืนที่
ทางานร่วม (Co-Working Space) สาหรับคนทางานในยุค Digital Age Society โดยเฉพาะกลุ่ม Startup
ทั้งหลายท่ีเร่ิมมีมากข้ึน และได้รับการส่งเสริมให้เกิดมากข้ึน หรือเน้นการเป็น "เมืองท่องเท่ียวสร้างสรรค์" ที่
เปิดโอกาสให้ผู้มาเยือนได้สัมผัสกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมอันมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวในเมืองเก่าแต่ละแห่ง ซึ่ง
เปน็ การเน้นเศรษฐกจิ ในภาคบริการ แตท่ ั้งนก้ี ารพฒั นาเหล่าน้จี ะตอ้ งอยู่ภายใตก้ ระบวนการในการรักษาคุณค่า
เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของเมือง มิใช่ปรับเปลี่ยนการใช้สอยภายในอาคารให้ทันสมัยได้เท่านั้น และจะต้อง
เนน้ การรักษาสภาพดา้ นนอกของอาคารโดยไมเ่ ปล่ียนแปลง หรือรื้อแล้วสร้างอาคารใหม่ขึ้นในเมืองเก่า เพ่ือให้
สามารถรักษาบูรณภาพของพื้นที่โดยรวมในลกั ษณะของการเป็นเมืองเกา่ ไว้ให้ได้ด้วยเชน่ กนั

นอกจากนี้ตามแนวนโยบายประเทศไทย 4.0 ยังได้มีการระบุประเด็นในการพัฒนาไว้โดยเน้น
การต่อยอดในกลุ่มเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเป้าหมาย 5 กลุ่ม คือ กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ /
กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ / กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะหุ่นยนต์ และ
ระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม/กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เช่ือมต่อและบังคับ
อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ปญั ญาประดิษฐแ์ ละเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว และกลุม่ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และ
บรกิ ารทม่ี ีมลู ค่าสูง ซ่งึ จะเห็นได้วา่ ในทุกกลุ่มเนน้ การสร้างเส้นทางธุรกิจใหม่ (new startup) ซ่ึงเป็นกิจกรรมที่
สามารถดาเนินการไดใ้ นพื้นที่เมอื งเกา่ นอกจากลมุ่ สาธารณสขุ สขุ ภาพ และเทคโนโนยีทางการแพทย์ ท่ีมุ่งเน้น
การพัฒนาทางดา้ นการแพทย์แผนไทย การใชส้ มนุ ไพรไทย ตลอดจนกจิ กรรมสปาก็เปน็ สง่ิ ทสี่ ามารถดาเนินการ
ได้อย่างสอดคล้องกับการเป็นเมืองเก่า และในกลุ่มท้ายสุดท่ีเน้นในด้านวัฒนธรรมก็ยิ่งเป็นเร่ืองที่สอดคล้อง


Click to View FlipBook Version