The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานทันตกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ramanhospital รพ.รามัน, 2021-04-02 00:47:59

Work instruction

งานทันตกรรม

Keywords: งานทันตกรรม

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หน้า : 1/3

เร่ือง จัดลำดบั และจำแนกผู้รบั บริการ วนั ทเี่ รม่ิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546

รหัสเอกสาร WI – DEN - 004 ทบทวนครงั้ ท่ี 3 วันท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

ผู้จดั ทำ ( นางสาวมัสตรู า ผดุง ) ผ้ทู บทวน ( นายกรษั นยั พลไชยะ )
ตำแหนง่ ทนั ตแพทย์ปฏิบตั กิ าร ตำแหน่ง ทนั ตแพทยช์ ำนาญการ

1. วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อให้ผู้รับบริการไดร้ ับการจดั ลำดับการให้บริการและได้รับการจัดจำแนกที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ผู้ป่วย

ได้รับการพิทกั ษส์ ทิ ธิและการจัดการบรกิ ารเปน็ ไปได้อยา่ งมคี ุณภาพ

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพื่อให้ผู้มารับบริการได้รับความสะดวก รวดเร็ว และมีประสทิ ธิภาพในการรับบริการ รวมถึงเจ้าหนา้ ทีม่ ีการ

ทำงานเป็นระบบ สามารถดำเนินงานได้อยา่ งราบรืน่ และมีประสทิ ธิภาพ

3. คำจำกัดความ
การจดั ลำดบั การรบั บริการแกผ่ ปู้ ว่ ย

4. ข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน :
4.1 จำแนกและจดั ลำดบั ผูม้ ารับบริการทันตกรรม ดังตอ่ ไปนี้
4.1.1 ผู้มารบั บริการท่ัวไป ( ไม่ได้นดั )
1. ให้ผปู้ ว่ ยลงช่อื ในใบทะเบียนลงช่ือเข้าควิ จุดประชาสมั พนั ธ์ห้องทนั ตกรรม ระบุ ชื่อ-สกุล
และงานทต่ี อ้ งการรบั การรกั ษา
- กรณคี นไข้ นอกเขตตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน ต้องผา่ นการคดั กรอง และสง่ ต่อ
ตามระบบของโรงพยาบาลจากเจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขในเขตโรงพยาบาลส่งเสรมิ
สุขภาพ
2. นำมาจดั ลำดบั แยกชนดิ ตามลำดับคิวท่ีลงในทะเบียนลงช่อื เขา้ คิว
- ถอนฟนั และตรวจฟัน รับไม่จำกดั โดยคนไข้ตอ้ งลงควิ ไวก้ ่อนเวลา 11.00น.ในวนั น้ันๆ
- อุดฟันและขูดหินปูน หากเกินกว่าจำนวนที่ระบุไว้ ( อุดฟัน 12 เคส และขูดหินปนู
8 เคส ) ให้ผู้ป่วยรบั บรกิ ารอยา่ งอื่นในวนั น้ันแทนถา้ จำเป็น เชน่ ตรวจฟนั ถอนฟัน

เอกสารฉบับน้เี ป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 2/3

เรอ่ื ง จดั ลำดบั และจำแนกผู้รับบรกิ าร วันทีเ่ ริม่ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546

รหัสเอกสาร WI – DEN - 004 ทบทวนครงั้ ท่ี 3 วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

3. เรียกผปู้ ว่ ยตามควิ เพ่อื ทำการซักประวัติ วัดความดันและอัตราการเตน้ ของหัวใจ ชง่ั น้ำหนกั
จากนั้นให้ผู้ปว่ ยนัง่ รอรบั บริการตามควิ

4.1.2 ผู้ปว่ ยนัด ( ผ้รู ับบรกิ ารท่ไี ด้นดั หมายไวแ้ ล้ว )
1. ให้ตรวจสอบเอกสารของผปู้ ่วยอนั ประกอบด้วย
- กรณีผปู้ ่วยสทิ ธิ30 บาท : ยนื่ บตั รนัด และบตั รประชาชน
- กรณีผู้ปว่ ยที่สามารถเบิกคา่ รักษาพยาบาลได้/ประกนั สงั คม/ชำระเงินเอง : ยนื่ บัตรนัด
และบัตรประชาชน
2. ตรวจสอบรายช่ือผปู้ ว่ ยในทะเบยี นนัดเพื่อบันทึกการมารบั การรักษาตามนัดของผปู้ ่วย
3. แนบหลักฐานท้ังหมดของผปู้ ว่ ย และลงทะเบียนผ้ปู ว่ ยเพอื่ เตรียมเขา้ รบั การรักษา
4. จัดลำดับการรกั ษา ตามเวลาท่รี ะบใุ นใบนดั
5. กรณีทผี่ รู้ บั บรกิ ารมาช้ากวา่ เวลาทน่ี ัดหมายเกนิ 15 นาที ให้ทำการนัดบรกิ ารใหใ้ หม่
6. กรณีที่ผู้รับบรกิ ารไม่มาตามนัด ผู้รับบรกิ ารต้องมาติดต่อขอนัดใหม่ดว้ ยตนเองหรือโทร
ตดิ ต่อห้องฟนั

4.1.3 ผู้รับบริการส่งมาจากหน่วยบริการอื่น เพื่อขอรับการปรึกษา ให้ทันตแพทย์/เจ้าพนักงาน
ทนั ตสาธารณสขุ พิจารณาความเร่งด่วน
1. ถา้ เรง่ ด่วนใหเ้ ข้ารับบริการทันที ทย่ี นู ิตวา่ ง
2. ถา้ ไม่เรง่ ดว่ น ใหต้ รวจและทำการนัดหมายเพอื่ รบั การรกั ษาตอ่ ไป

4.1.4 ผู้รับบริการหญิงมีครรภ์ จากคลินิกฝากครรภ์ที่มารับการตรวจ มีช่องทางตรวจพิเศษสำหรบั
หญิงมีครรภ์ โดยไม่ต้องรอคิว และจะดำเนินการนัดเพื่อรักษาต่อเนื่องทุกปัญหาในช่องปาก
ในช่วงอายุครรภไ์ ตรมาสที่ 2

4.1.5 ผูป้ ว่ ยท่มี อี าการเจบ็ ปวดรนุ แรง ใหท้ ันตแพทย์เปน็ ผูป้ ระเมนิ ความเจบ็ ปวดเบื้องต้น ถ้ามีความ
จำเป็นตอ้ งการรกั ษาอยา่ งเรง่ ด่วน ให้เขา้ รับบริการทันที แต่ถา้ เป็นการรกั ษาทไ่ี ม่เร่งด่วนให้น่ัง
รอเพ่ือรบั การรักษาในคิวถัดไป

เอกสารฉบับน้ีเปน็ สมบัติของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หน้า : 3/3

เร่ือง จัดลำดับและจำแนกผู้รบั บรกิ าร วนั ทเ่ี ร่ิมใช้ 1 ตลุ าคม 2546

รหัสเอกสาร WI – DEN - 004 ทบทวนครงั้ ที่ 3 วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

4.2. กำหนดเวลาการใหบ้ รกิ ารทันตกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี
4.2.1 บริการในเวลาราชการ
จนั ทร์ - วนั ศุกร์
8.30 – 12.00 น. - ตรวจฟนั และนัดหมาย
- อดุ ฟัน ถอนฟัน และ ขดู หนิ นำ้ ลาย
- บรกิ ารทันตกรรมเฉพาะทาง เชน่ รักษารากฟัน
งานศัลยกรรมทม่ี ีความซบั ซ้อน(ผา่ ฟนั คุด ผ่าตัดกระดูก)
13.00 – 16.30 น. - ตรวจฟนั และนดั
- อุดฟนั และ ขูดหินนำ้ ลาย
- บรกิ ารทันตกรรมเฉพาะทาง เช่น รกั ษารากฟัน งานศัลยกรรมที่
มีความซบั ซอ้ น (ผา่ ฟนั คดุ ผา่ ตดั กระดกู ) และงานทนั ตกรรม
ประดษิ ฐ์
- รับเดก็ นกั เรยี นประถมศึกษาปีท่ี 1 - 6 มารับบรกิ าร
ทางทนั ตกรรม ในช่วงเดอื นพฤษภาคมถึงเดือนกนั ยายน

* หมายเหตุ วันจันทร์ ตรวจช่องปาก และให้ทันตสุขศึกษาในหญิงมีครรภ์รายใหม่ที่ห้องส่งเสริม
วันพธุ ตรวจฟันเดก็ ท่ีมารบั วัคซีนตามนัด และใหท้ นั ตสุขศึกษาแก่ผู้ปกครองทหี่ ้องสง่ เสรมิ ในตอนเช้าของทกุ วนั
ออกตรวจผปู้ ว่ ยNCD ทีค่ ลินิกผปู้ ่วยนอก

**กำหนดเวลานย้ี กเว้นกรณีบำบัดฉุกเฉนิ **

5. วธิ กี ารประเมิน
สำรวจความพึงพอใจ และข้อร้องเรียนของผู้รับบริการทุกๆเดือน,อนุกรรมการ PCT ทำการ Round ทุก

สัปดาห์

6. ผรู้ ับผดิ ชอบ
นางสาวมัสตรู า ผดงุ ทันตแพทยป์ ฏบิ ตั กิ าร

เอกสารฉบับน้ีเป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ได้รับอนุญาต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หนา้ : 1/4

เร่อื งการถ่ายภาพรงั สีในช่องปากการ วนั ท่เี ริ่มใช้1 ตลุ าคม 2546
จดั เกบ็ ฟลิ ์มเอกซเรย์ ทบทวนครง้ั ที่ 3 วนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

รหสั เอกสาร WI – DEN - 005

ผู้จัดทำ ( นางสาวมสั ตูรา ผดงุ ) ผูท้ บทวน (นายกรษั นยั พลไชยะ)
ตำแหนง่ ทันตแพทยป์ ฏบิ ัติการ ตำแหน่ง ทันตแพทยช์ ำนาญการ

1. วตั ถุประสงค์
เพ่อื เปน็ แนวทางในการถา่ ยรงั สที างทันตกรรมสำหรับผปู้ ฏบิ ัติงาน ใหผ้ ูป้ ่วยไดร้ บั การถา่ ยรงั สีอย่างเหมาะสม

และได้ภาพถ่ายรังสีท่ีมคี ุณภาพ

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพอ่ื ใหผ้ ู้ปว่ ยไดร้ บั การรกั ษาทเี่ หมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ และมกี ารบันทกึ จดั เกบ็ filmการรักษาท่ีเหมาะสม

สามารถค้นหาไดส้ ะดวก

3. คำจำกดั ความ
การถา่ ยภาพรงั สใี นกรณีทีจ่ ำเปน็ ต่อการรักษาและการจดั เกบ็ filmอย่างเปน็ ระบบเพ่ือใหส้ ามารถค้นหาได้ง่าย

ในการรกั ษาครง้ั ถัดไปและคุณภาพของfilmยังสมบรู ณ์

4. ขน้ั ตอนการปฏิบัติ
ใหเ้ จ้าที่ห้องฟันมกี ารเตรยี มความพร้อมของเครือ่ งมือทนั ตกรรมในตอนเชา้ ของทุกวนั ดงั ต่อไปนี้
4.1 ถ่ายภาพรงั สใี น case ท่มี ขี ้อบ่งชีค้ ือ
4.1.1 ไม่แน่ใจวา่ มีฟนั อยู่ในขากรรไกรหรือไม่
4.1.2 ในการถอนฟันท่มี แี นวโน้มยากมากผา่ ตัดฟนั คุด
4.1.3 รักษาคลองรากฟนั ในข้ันตอนตา่ งๆ (DF ,WL,TMC และ FRC หรอื การผา่ ตัดปลายราก)
4.1.4 ตรวจหลกั ยดึ ฟันปลอม
4.1.5 มอี าการบวมผดิ ปกตบิ รเิ วณชอ่ งปากและใบหน้า
4.1.6 มีอาการปวดโดยไม่มสี าเหตุ
4.1.7 มีการบาดเจ็บของฟัน (เคาะปวด,โยก ,หลดุ , แตกหกั )
4.1.8 มีการแตกหักของกระดูกขากรรไกร

เอกสารฉบับน้ีเป็นสมบัติของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หน้า : 2/4

เรอ่ื งการถา่ ยภาพรงั สใี นชอ่ งปากการ วนั ทเี่ ร่มิ ใช้1 ตุลาคม 2546
จัดเก็บฟลิ ์มเอกซเรย์ ทบทวนคร้ังที่ 3 วันที่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

รหัสเอกสาร WI – DEN - 005

4.1.9 ถอนฟนั /ผ่าฟนั คดุ และมีรากหกั
4.1.10 ผู้ป่วยหลงั การรกั ษามอี าการปวดมาก/บวมและตดิ ตามผลหลงั การรกั ษา
4.2 การเตรียมผปู้ ่วย
4.2.1 อธบิ ายผู้ป่วยใหเ้ ข้าใจข้ันตอนการถ่ายภาพรงั สแี ละอนั ตรายจากรังสี
4.2.2 ถอดฟันปลอม
4.3 ถ่ายภาพรังสี
4.3.1 จัดทา่ ให้ผรู้ ับบรกิ ารนงั่ ตัวตรง Occlusal plane ขนานกบั พ้นื
4.3.2 ใสเ่ สอื้ ตะก่ัวป้องกนั รงั สี
4.3.3 การถ่ายภาพรงั สแี บบ Bisecting

- วาง film ตามแนวยาวสำหรับฟันหน้าและตามแนวนอนสำหรับฟันหลังหรือฟันหน้าในเด็ก
โดยให้ film เลยปลายฟันประมาณ1/8
- เลอ่ื นกระบอก x-ray ไปยังตำแหนง่ สำหรบั ฟนั ทจ่ี ะถา่ ยจัดตำแหนง่ กระบอก x-ray ดังน้ี

มุมแนวดงิ่ ลำรงั สี x-ray ตง้ั ฉากกบั เสน้ สมมติ ( Bisecting line )
มมุ แนวนอนลำรงั สี x-ray ผา่ น proximal ของฟนั
- ตั้งค่า exposure time ที่เครื่องตามตำแหน่งของฟันที่จะถ่ายกดปุ่มปล่อยรังสีค้างไว้จน
หมดเสยี งเตอื น
4.3.4 การถา่ ยภาพรงั สแี บบ Bite wing
- ใส่ Film พร้อม wingให้ผู้ป่วยกัด wing ตั้งค่ามุมแนวดิ่ง + 8 องศาและมุมแนวนอนผ่าน
proximal ของฟัน
- ตง้ั ค่า exposure time ที่เครอื่ งตามตำแหน่งของฟันทจี่ ะถา่ ย แล้วกดปุ่มปลอ่ ยรงั สคี ้างไว้จน
หมดเสียงเตือน 3.5 การถ่ายภาพรงั สีแบบ Parallel วาง Film ขนานแนวแกนฟนั ใหร้ ังสีผา่ น
Proximal
- ต้งั คา่ exposure time ที่เคร่ืองตามตำแหน่งของฟนั ทจี่ ะถ่าย แลว้ กดปมุ่ ปล่อยรงั สคี า้ งไวจ้ น
หมดเสยี งเตือน

เอกสารฉบบั น้เี ป็นสมบัติของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 3/4

เรอื่ งการถ่ายภาพรงั สใี นช่องปากการ วนั ท่เี ร่มิ ใช้1 ตลุ าคม 2546
จัดเก็บฟิล์มเอกซเรย์ ทบทวนคร้ังที่ 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

รหัสเอกสาร WI – DEN - 005

4.3.5 การถา่ ยภาพรังสีนอกชอ่ งปาก
- โทรตดิ ตอ่ กลุ่มงานรงั สีเทคนคิ เรอ่ื งรายละเอียด และรูปแบบการถา่ ยรังสี
- เขยี นรายละเอยี ดการถ่ายรังสีทต่ี ้องการในใบสั่งยา
- ใหผ้ ู้ป่วยไปห้องเอกซเรยพ์ ร้อมใบสงั่ ยา เพอ่ื ให้เจา้ หนา้ ทหี่ ้อง x-ray เป็นผ้ถู ่ายรังสี
- เม่อื ถา่ ยภาพรงั สีเรียบรอ้ ยแล้ว เจ้าหนา้ ทห่ี ้อง x-ray จะสง่ ผู้ปว่ ยกลบั มายังแผนกทันตกรรม
- ทันตแพทย์เปดิ ดภู าพถา่ ยรงั สจี กโปรแกรม

4.4 การลา้ งฟลิ ์มและการใช้งาน นำ film ออกจากปาก เชด็ ใหแ้ หง้ และนำไปลา้ งตามลำดบั ขน้ั ตอนดงั น้ี
4.4.1 แกะฟิล์มในตู้มืด โดยใช้ Hanger จับบริเวณ Dot บน Film แช่ใน Developer ประมาณ 30
วนิ าที (หรือเมอื่ เรมิ่ มองเหน็ ภาพ) ลา้ งในนำ้ เปล่า 20 วินาที Fixer 1 นาที จนเกิดภาพแล้วล้าง
ในน้ำเปล่า จนหมดคราบ Fixer สว่ นเกนิ
4.4.2 นำ film ไปทำให้แห้ง แล้วจึงนำไปใชง้ าน
4.4.3 หลังจากดูภาพแล้วใหแ้ ช่ฟลิ ม์ ในนำ้ ยา Fixer ต่อประมาณ 20 นาที ล้าง เป่าแห้ง

4.5 การจดั เก็บฟลิ ์ม
4.5.1 ในกรณีใช้ film ในงานรักษาราก นำ film ที่ถูกทำให้แห้งแล้ว เย็บติดพลาสติกใส เขียนชื่อ, HN
ไวม้ ุมขวาลา่ งพรอ้ มวันทกี่ ำกับใต้ Film ลงทะเบยี น X-ray ทนั ตกรรม (Dental X-ray Number,
DXNo.) ในสมุดบันทึก“ทะเบียนการถ่ายภาพรังสีทางทันตกรรม” ( F-DEN-001) ตาม
รายละเอยี ด คือ เลขทะเบยี น วนั / เดือน /ปี ทถ่ี า่ ย X-ray , หมายเลขประจำตวั ผ้มู ารบั บริการ
(HN), ชอื่ - นามสกลุ
4.5.2 ในกรณใี ช้film ในงานอื่นๆ เช่น ผ่าฟนั คดุ อุดฟนั เกลารากฟัน เมอ่ื ถา่ ยเสร็จแล้วใหก้ รอกข้อมลู ใน
กระดาษใบ เลก็ ท่เี ตรยี มไว้ในแตล่ ะห้อง โดยให้ทนั ตแพทยก์ รอก วนั ทที่ ่ถี า่ ยx-ray, ชือ่ ผปู้ ว่ ย,HN,
ซี่ฟันและ Treatment plan จากนั้นผู้ชว่ ยจะเย็บกระดาษติดไว้ท่ีfilm แล้วติดไว้ทีก่ ระดานเกบ็
film เมอ่ื ใช้filmเสร็จเรียบร้อยแลว้ จึง ทิ้งfilm
4.5.3 กรณีผู้ปว่ ยจากสถานบริการอื่นมารักษาตอ่ และนำภาพถ่ายรังสีมาด้วย ให้พิจารณาว่ามีคุณภาพ
หรอื ไม่ เมือ่ พจิ ารณาแลว้ วา่ มีคุณภาพดี จึงจัดเกบ็ ตามระบบ ถา้ ไม่ได้คุณภาพตามทกี่ ำหนด ให้
ถ่ายภาพรงั สใี หม่

เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หนา้ : 4/4

เรื่องการถา่ ยภาพรงั สีในช่องปากการ วนั ท่ีเรม่ิ ใช้1 ตลุ าคม 2546
จดั เกบ็ ฟิลม์ เอกซเรย์ ทบทวนครง้ั ท่ี 3 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564

รหัสเอกสาร WI – DEN - 005

4.5.4 กรณีผู้รับบริการต้องการขอภาพถ่ายรงั สีเพ่ือรบั การรกั ษาต่อสถานบริการอื่นๆ หรือ กรณีพิเศษ
ใดๆ ใหบ้ ันทึกในโปรแกรม HOSxP ในชอ่ ง Dental Note

* นำ้ ยาลา้ งฟลิ ม์ มอบหมายใหเ้ จ้าหน้าทหี่ ้องฟันเปลย่ี นนำ้ ยาในทกุ วันจนั ทรเ์ พอ่ื ใหไ้ ด้นำยาทีม่ ีคณุ ภาพ

5. วธิ ีการประเมนิ
อนกุ รรมการPCTทำการround ว่าการถา่ ยภาพรงั สีของเจา้ หน้าทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพหรอื ไม่ การจัดเก็บ film เป็น

ระบบสามารถหาได้สะดวกหรือไม่ คุณภาพของfilmที่จุดเก็บยังสมบูรณ์หรือไม่ เจ้าหน้าที่สามารถหาfilmได้สะดวก
รวดเร็วหรือไม่ มีfilmสูญหายหรือไม่

6. ผ้รู บั ผิดชอบ
นางสาวมสั ตรู า ผดุง ทนั ตแพทยป์ ฏิบตั ิการ

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบัติของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 1/3

เรื่อง การสง่ ตอ่ ผู้รบั บริการทันตกรรมไป วนั ท่เี ร่ิมใช้ 1 ตลุ าคม 2546
ยงั สถานบรกิ ารถดั ไป ทบทวนครั้งท่ี 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

รหัสเอกสาร WI – DEN - 006

ผู้จดั ทำ (นางสาวมสั ตูรา ผดงุ ) ผทู้ บทวน (นายกรษั นัย พลไชยะ)
ตำแหน่ง ทันตแพทยป์ ฏิบตั ิการ ตำแหนง่ ทนั ตแพทยช์ ำนาญการ

1. วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการจัดลำดบั การใหบ้ ริการและได้รับการจัดจำแนกที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ผู้ป่วย

ได้รับการพิทักษส์ ิทธิและการจัดการบริการเป็นไปได้อยา่ งมคี ุณภาพ

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ่วยท่ีมอี าการรนุ แรง หรอื มกี ระบวนการรักษาทีย่ ากเกนิ ความสามารถของทนั ตแพทย์รพ.รามัน ได้รับ

การรักษาที่เหมาะสมจากทันตแพทย์เฉพาะทาง และมีขั้นตอนการสง่ ต่อที่มีระบบทำให้เกิดความสะดวกรวดเรว็ ต่อผู้
ผปู้ ว่ ยและเจ้าหนา้ ที่

3. คำจำกดั ความ
การส่งตอ่ ผ้ปู ว่ ยอาการรนุ แรงหรอื มีกระบวนการรักษาที่ยาก ไปรบั การรักษาในสถานบรกิ ารอ่นื ทม่ี คี วามพร้อม

ในการรักษามากกวา่

4. ขั้นตอนการปฏบิ ัติ
4.1 ข้นั ตอนการสง่ ตอ่ ผ้ปู ว่ ยทนั ตกรรม
4.1.1 สง่ ต่อผปู้ ว่ ยเมอ่ื มขี อ้ บง่ ชใ้ี นการส่งตอ่ โดยขอ้ บง่ ชข้ี องการสง่ ต่อผปู้ ว่ ยทางทันตกรรมมีดงั ตอ่ ไปนี้
- งานศลั ยกรรมในช่องปาก
1. Rudwig, angina
2. Severe infection with limit mouth opening 1 cm.ไม่สามารถ remove cause
ได,้ มกี าร infect ใน deep space (กลืนนำ้ ลายเจบ็ มองเห็นการบวมบรเิ วณคอชดั เจน
จากภายนอกชอ่ งปาก) หรือกรณีท่ใี หก้ ารรกั ษาแลว้ ไมม่ ีความกา้ วหนา้
3. Mandibular / maxillary Fracture

เอกสารฉบับนเี้ ป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 2/3

เรอ่ื ง การสง่ ตอ่ ผู้รับบรกิ ารทนั ตกรรมไป วนั ทเี่ ร่ิมใช้ 1 ตุลาคม 2546
ยงั สถานบรกิ ารถัดไป ทบทวนครัง้ ที่ 3 วนั ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564

รหัสเอกสาร WI – DEN - 006

4. Difficult impaction with relate ID canal/ Difficult Distoangular impaction of
lower third molar/difficult upper impaction

5. Tumor like lesion/Tumor
6. Root facture into maxillary sinus
7. Cleft
8. TMJ disfunction with pain
9. Trigerminal neuralgia ที่ treat แลว้ ไม่ improve
10 ผปู้ ่วยทีม่ ีโรคทางระบบท่เี สี่ยงในการรักษา เช่น โรคหัวใจ
11 bleeding disorder ทีต่ ้องให้เลอื ด/อน่ื ๆ
- งานทันตกรรมประดษิ ฐ์
1. CD Poor retention
2. Difficult RPD/TP/C&B
- งานทันตกรรมสำหรบั เดก็
1. non –cooperative ทม่ี ีความจำเป็นตอ้ งรกั ษาด้วยการดมยารว่ มด้วย
- งานรักษาครองรากฟนั
1. ฟันทมี่ ีคลองรากฟันซบั ซอ้ น เชน่ C-shaped canal, หลายคลองรากฟนั , คลองรากโค้ง

มากฒคลองรากฟันตบี มาก
2. ฟันทเ่ี กิดความผดิ พลาดจากการรักษา เช่น Perforate, Ledge
3. ฟนั ทีม่ ี Internal root resorption
- งานอื่นๆที่อยู่นอกขอบเขตความสามารถในแบบประเมินตนเอง ในกรณีผู้รับบริการต้องรับ
การรกั ษาท่เี กนิ ความสามารถการให้บรกิ ารของโรงพยาบาลรามนั
4.1.2 อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงความจำเป็นในการส่งต่อและขอคำยินยอมในการไปรับการ
รักษาต่อ

เอกสารฉบบั น้เี ปน็ สมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หน้า : 3/3

เรอื่ ง การส่งต่อผ้รู ับบรกิ ารทันตกรรมไป วันทีเ่ ริ่มใช้ 1 ตลุ าคม 2546
ยังสถานบริการถดั ไป ทบทวนครง้ั ที่ 3 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564

รหสั เอกสาร WI – DEN - 006

4.1.3 ให้ทันตแพทย์โทรแจ้งทันตแพทยท์ ีโ่ รงพยาบาลยะลาให้รับทราบก่อน ในงานศัลยกรรม ให้ทันต
แพทยโ์ ทรติดตอ่ ทนั ตแพทยส์ าขาศัลกรรมชอ่ งปากและขากรรไกรประจำโรงพยาบาลยะลาก่อน
โดยสอบถามชื่อทันตแพทย์เวรจากทันตแพทย์ที่ดูแลเรื่องการส่งต่อ จากนั้นจึงโทรปรึกษาและ
แจง้ ให้ทันตแพทย์เวรประจำรพ.ยะลารบั ทราบกอ่ น

4.1.4 ทันตแพทย์กรอกรายละเอียดทุกอย่างเกี่ยวกับผู้ป่วยในโปรแกรม HOSxP ดงั แนวทางท่ีได้ติดไว้ที่
ห้องปฏบิ ัตงิ านทุกห้อง

4.1.5 ทนั ตแพทย์กรอกรายละเอยี ดในโปรแกรม Thai Refer ดงั แนวทางที่ได้ตดิ ไว้ที่หอ้ งปฏิบัติงานทุก
ห้องจากนน้ั บนั ทกึ ขอ้ มลู แลว้ พมิ พ์ใบสง่ ตวั 2 ชดุ ชดุ หนึ่งให้คนไข้ อีกชดุ เก็บไวท้ เี่ จา้ หนา้ ท่ี

4.1.6 เจ้าหน้าที่โทรเบอร์ 306 ตรวจเชค็ สทิ ธ์ิใหผ้ ้ปู ่วย และพิมพ์ใบรับรองสทิ ธ์ิ
4.1.7 เจ้าหน้าท่ีโทรเบอร์ 302 แจ้งห้องยาเพ่อื ขอ Drug Reconcile และพมิ พ์ใบ Drug Reconcile
4.1.8 หลังการตรวจสอบสิทธิ์ให้นำใบส่งตัว,ใบ Drug Reconcile และใบรับรองสิทธิ์ใส่ซองให้

ผู้รับบริการเพื่อนำไปสถานพยาบาลที่ส่งต่อ และแนะนำให้ผู้รับบริการไปรับการรักษาต่อยงั
สถานพยาบาลท่สี ่งต่อ
4.1.9 ทุกๆสิ้นเดือนให้เจ้าพนักงานทันสาธารณสุข ส่งยอดจำนวนผู้ป่วยส่งไปรับการการตรวจหรือ
รักษาตอ่ แก่หวั หนา้ แผนกผ้ปู ่วยนอก
4.1.10 หนว่ ยงานนำขอ้ มลู การส่งตอ่ มาวเิ คราะหท์ ุกรอบ 6 เดือน

5. วธิ กี ารประเมิน
เก็บยอดการส่งต่อผูป้ ่วยทกุ 6 เดอื น และดวู ่ามผี ปู้ ่วยก่ีรายทไ่ี ดร้ ับการรักษาเรยี บรอ้ ยแล้ว

6. ผรู้ ับผดิ ชอบ
นางสาวมสั ตรู า ผดุง ทันตแพทยป์ ฏบิ ัติการ

เอกสารฉบับนี้เปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต


Click to View FlipBook Version