The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานทันตกรรม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ramanhospital รพ.รามัน, 2021-04-02 00:47:59

Work instruction

งานทันตกรรม

Keywords: งานทันตกรรม

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 1/4

เรือ่ ง การให้คำแนะนำภายหลังการรกั ษา วนั ทเ่ี รม่ิ ใช้ 1 ตุลาคม 2546
แกผ่ ูร้ บั บริการทันตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 007 ทบทวนครัง้ ที่ 3 วันท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ผู้จัดทำ (นางสาวมสั ตรู า ผดุง) ผทู้ บทวน (นายกรัษนัย พลไชยะ)
ตำแหนง่ ทันตแพทย์ปฏิบตั กิ าร ตำแหน่ง ทนั ตแพทย์ชำนาญการ

1. วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อเป็นแนวทางในการให้คำแนะนำหลังการรักษาแกผ่ ูใ้ ห้บริการให้เปน็ แนวทางเดียวกันเพื่อให้ผู้ป่วยได้รบั

คำแนะนำหลังการรกั ษาที่เหมาะสม สามารถดูแลตนเองไดแ้ ละไม่เกิดภาวะแทรกซอ้ นหลังการรกั ษา

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพื่อเปน็ แนวทางในการให้คำแนะนำหลังการรักษาแก่ผู้รบั บริการให้เป็นแนวทางเดียวกัน เพื่อให้ผูป้ ่วยได้รบั

คำแนะนำหลงั การรกั ษาทีเ่ หมาะสม สามารถดูแลตนเองได้และไม่เกดิ ภาวะแทรกซ้อนหลังการรักษา

3. คำจำกัดความ
ใหค้ ำแนะนำที่เหมาะสมหลังการรักษา เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ่วยสามารถดแู ลตนเองได้ถกู ตอ้ ง

4. ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ
หลงั จากให้บรกิ ารทันตกรรมเสรจ็ ส้นิ ผู้ใหบ้ รกิ ารจะให้คำแนะนำหลงั การรักษาทนั ทีบนเก้าอีท้ ำฟันโดยการให้

คำแนะนำหลงั การรักษาแต่ละประเภทมรี ายละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้
4.1 ผ้มู ารับบรกิ ารถอนฟัน หลังจากถอนฟนั ใหผ้ ู้ให้บริการใหค้ ำแนะนำหลังการรกั ษาทันทบี นเก้าอ้ีทำฟันโดย
การให้คำแนะนำหลงั การรักษาให้มีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี
4.1.1 กดั ผา้ ใหแ้ น่น กลืนนำ้ ลาย ห้ามบว้ นน้ำลายหรอื บว้ นน้ำ ประมาณ 1 ชัว่ โมง แลว้ คายผา้ ออก
4.1.2 หากยังมเี ลือดซึมให้กัดตอ่ อีก 1 ชั่วโมงและใช้น้ำแขง็ ประคบนอกปากบริเวณท่ีถอนฟัน แต่ห้าม
อมนำ้ แขง็
4.1.3 รับประทานยาแก้ปวดตามหมอสง่ั หากยงั ไมห่ ายใหร้ ับประทานยาทุก ๆ 4-6 ช่วั โมง จนกว่าจะ
หายปวด
4.1.4 ห้ามดูดแผล เอาน้วิ มือหรือไม้จ้ิมแผล หากพบว่ามีของแขง็ บริเวณแผลจะเป็นกระดูกรองรับฟัน
มใิ ชฟ่ ัน

เอกสารฉบับนเี้ ป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 2/4

เร่อื ง การให้คำแนะนำภายหลังการรักษา วันทเ่ี ร่มิ ใช้ 1 ตุลาคม 2546
แกผ่ รู้ บั บริการทนั ตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 007 ทบทวนครัง้ ท่ี 3 วันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

4.1.5 ห้ามสูบบุหรี่ ดม่ื สุรา อาหารรสจดั และหา้ มออกกำลงั กายหนัก
4.1.6 ทำความสะอาดแปรงฟันได้ปกติเพียงแต่ระวังบริเวณแผล
4.1.7 หากมีอาการบวมมากหรือมีความผิดปกติอยา่ งอนื่ ใหก้ ลับมาพบทนั ตแพทย์ทันที
4.2 ผู้ปว่ ยรับบรกิ ารผา่ ฟนั คดุ
4.2.1 กดั ผ้าให้แน่น กลนื นำ้ ลาย ห้ามบว้ นน้ำลายหรือบ้วนนำ้ ประมาณ 1 ชั่วโมง แลว้ คายผ้าออก
4.2.2 หากยังมีเลือดซมึ ใหก้ ัดตอ่ อกี 1 ชวั่ โมงและใช้น้ำแข็งประคบนอกปากบรเิ วณที่ถอนฟัน แต่ห้าม

อมน้ำแขง็
4.2.3 รบั ประทานยาฆ่าเชือ้ ตามหมอสง่ั
4.2.4 รบั ประทานยาแกป้ วดตามหมอส่งั หากยังไมห่ ายใหร้ บั ประทานยาทกุ ๆ 4 - 6 ชัว่ โมง จนกว่าจะ

หายปวด
4.2.5 ห้ามดดู แผล เอาน้วิ มือหรอื ไม้จิม้ แผล
4.2.6 ห้ามสูบบหุ รี่ ด่ืมสรุ า อาหารรสจัด และหา้ มออกกำลังกายหนกั
4.2.7 ทำความสะอาดแปรงฟันไดป้ กติเพยี งแตร่ ะวังบรเิ วณแผล
4.2.8 หากมีอาการบวมมากหรอื มคี วามผดิ ปกติอย่างอ่ืนให้กลับมาพบทันตแพทยท์ ันที
4.2.9 กลับมาตัดไหม 1 อาทิตย์ตามนัด
4.3 ผูม้ ารับบรกิ ารอดุ ฟนั
4.3.1 กรณีเป็น วัสดุอุดอะมัลกัม (ฟันสีดำ) ในฟันหลังห้ามใช้ฟันซี่นั้นเคี้ยวอาหาร 24 ชั่วโมงแรก

เพราะจะทำใหว้ สั ดอุ ดุ ฟันแตกได้
4.3.2 กรณเี ป็นวสั ดอุ ดุ คอมโพสติ (สีเหมอื นฟัน) สามารถเคีย้ วอาหารไดต้ ามปกตทิ นั ที
4.3.3 หลงั อุดฟันให้ผ้ปู ว่ ยดูแลความสะอาดช่องปากตามปกติ
4.3.4 กรณเี ปน็ วัสดอุ ดุ ฟนั ชั่วคราว (สขี าว) ให้ทำความสะอาดแปรงฟันปกติแต่ระวังวัสดุอุดอาจหลุด

ได้งา่ ย
4.3.5 หากมอี าการปวดหลงั อดุ ฟันใหก้ ลับมาพบทนั ตแพทย์ทนั ที

เอกสารฉบบั น้ีเปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 3/4

เร่ือง การให้คำแนะนำภายหลงั การรักษา วนั ทีเ่ ริ่มใช้ 1 ตลุ าคม 2546
แก่ผูร้ บั บรกิ ารทนั ตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 007 ทบทวนคร้งั ที่ 3 วนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

4.4 ผ้มู ารบั บรกิ ารขูดหนิ ปนู
4.4.1 อาจมีอาการเจ็บ หรือเสียวฟันเล็กน้อย หลังการขูดหินปูนแต่จะหายได้เอง (ประมาณ 1-2
ชว่ั โมง)
4.4.2 ถ้ามีเลอื ดซมึ บริเวณเหงอื ก ไม่ต้องตกใจใหบ้ ว้ นปากด้วยน้ำเกลืออุ่นๆ เลือดควรจะหยดุ เองใน
1–2 ชัว่ โมง กรณมี ปี ญั หาเลือดไหลไมห่ ยดุ ให้กลบั มาพบทนั ตแพทยท์ นั ที
4.4.3 หลังการขดู หินปูนแล้ว ให้ทำความสะอาดฟันตามปกตแิ ต่ควรใชแ้ ปรงขนออ่ นและแปรงเบาๆ
4.4.4 พยายามทำความสะอาดฟนั ให้สะอาดทกุ ซ่ี เพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ หินปูนใหม่
4.4.5 ในกรณีมนี ดั ให้ไปรบั การรกั ษาเพม่ิ เตมิ ใหม้ ารับการรกั ษาตามนดั เพือ่ รบั การรักษาอย่างตอ่ เน่ือง
4.4.6 ควรแปรงฟันดว้ นยาสีฟันผสมฟลูออไรดท์ กุ ครัง้ เพื่อให้เหงอื กและฟันแข็งแรงป้องกันฟันผุและ
โรคเหงือก
4.4.7 ใหก้ ลบั มาตรวจสขุ ภาพชอ่ งปากทกุ 6 เดือน

4.5 ผูม้ ารบั บรกิ ารรักษาคลองรากฟนั
4.5.1 หลังการรักษาครั้งแรกอาจมีอาการปวดประมาณ 1-2 วัน ให้รับประทานยาแก้ปวด ถ้าหาก
อาการไม่ดีขึ้น หรือมอี าการบวมรว่ มด้วยให้กลบั มาพบทนั ตแพทย์ (โดยเฉพาะกรณหี ลังการดึง
โพรงประสาทฟนั อาจมีอาการเลก็ น้อยได้)
4.5.2 วัสดุอุดชั่วคราวที่ปิดไว้ (สีขาว) ระหว่างรอรักษาครั้งต่อไปอาจหลุดได้ง่าย สามารถทำความ
สะอาดช่องปากได้ตามปกติ แต่หากวัสดุหลุดต้องกลับมาพบทันตแพทย์เพื่อเติมวัสดุอุดทันที
ไม่เชน่ นนั้ จะปวดได้
4.5.3 สามารถใชฟ้ นั ที่รักษาคลอกรากฟันได้ตามปกติ ยกเว้น ห้ามกัดของแข็งเพราะจะแตกไดง้ า่ ย
4.5.4 ให้มาทำการรักษาตามนดั หากท่านผิดนัดและไม่กลับมาพบทันตแพทย์ฟันซี่นี้จะปวดและเปน็
สาเหตขุ องการบวมบรเิ วณใบหน้าได้
4.4.5 หากมปี ัญหาอ่ืนใดให้กลบั มาพบทนั ตแพทย์

4.6 ผ้มู ารบั บรกิ ารใสฟ่ ันปลอมแบบถอดได้
4.6.1 ถอดลา้ งฟันปลอมหลังรบั ประทานอาหารทกุ ครั้ง พรอ้ มบ้วนปากเพื่อกำจดั เศษอาหารท่ีหลงเหลอื
ในช่องปาก

เอกสารฉบบั นี้เปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หน้า : 4/4

เรอื่ ง การให้คำแนะนำภายหลงั การรกั ษา วันท่เี รม่ิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546
แก่ผูร้ ับบริการทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 007 ทบทวนครัง้ ท่ี 3 วนั ท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

4.6.2 ก่อนนอนถอดฟนั ปลอมทำความสะอาดโดยใช้แปรงขนน่ิมและสบเู่ หลวหรอื น้ำยาล้างจานแปรงฟัน
ปลอมให้สะอาด แล้วแชใ่ นภาชนะบรรจนุ ้ำ ห้ามใส่ฟนั ปลอมนอน

4.6.3 ใช้นวิ้ มือนวดเหงอื กบรเิ วณที่รองรบั ฐานฟนั ปลอมเพอ่ื กระตนุ้ ใหเ้ ลอื ดไหลเวยี นไดด้ ี
4.6.4 การใช้ฟันปลอมในช่วงแรกทา่ นอาจพบปัญหาการใชง้ านให้มาพบทันตแพทยเ์ พ่อื ทำการแกไ้ ข
4.7 ผมู้ ารับบรกิ ารใสฟ่ ันปลอมแบบตดิ แน่น
4.7.1 แปรงฟันทำความสะอาดตามปกติ
4.7.2 ใชไ้ หมขัดฟันสอดใต้ฟันปลอมโดยใช้ทรี่ อ้ ยไหมทำความสะอาดดา้ นใตฟ้ นั ปลอม
4.7.3 สามารถใช้ครอบฟันหรือสะพานฟันชัว่ คราวเคย้ี วอาหารได้ตามปกติ
4.7.4 หากครอบฟันหรอื สะพานฟันหลุดใหเ้ กบ็ ไวแ้ ล้วรบี กลบั มาพบทนั ตแพทย์
4.7.5 หากปวดหรอื มปี ัญหาอื่นใดให้กลบั มาพบทันตแพทย์
4.8 ภายในฝ่ายทันตกรรมจะมี QR Code แนะนำการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยภายหลังการทำหัตถการต่างๆ ติดไว้
ผู้ปว่ ยสามารถสแกนเพ่อื รบั ข้อมลู เหล่าน้ไี ด้ ถ้ามขี อ้ สงสัยสามารถสอบถามทันตแพทย์หรือเจ้าหนา้ ท่ีได้

5. วธิ ีการประเมิน
ประเมนิ จากแบบสอบถามวา่ ผปู้ ่วยเขา้ ใจวิธกี ารดูแลตนเองอย่างเหมาะสมหรือไม่

6. ผ้รู บั ผิดชอบ
นางสาวมสั ตรู า ผดงุ ทันตแพทยป์ ฏิบัตกิ าร

เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หนา้ : 1/3

เร่ือง การนัดผรู้ ับบรกิ ารทางทนั ตกรรม วันทเ่ี ริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2559

รหสั เอกสาร WI – DEN - 008 ทบทวนคร้ังที่ 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ผู้จัดทำ (นายทันการณ์ บญุ พนั ธ์ ) ผทู้ บทวน (นายกรัษนยั พลไชยะ)
ตำแหนง่ ทันตแพทยป์ ฏิบัตกิ าร ตำแหนง่ ทันตแพทย์ชำนาญการ

1. วัตถปุ ระสงค์
เพอื่ เป็นแนวทางในการนดั ผปู้ ว่ ยของผปู้ ฏบิ ตั งิ านให้เปน็ ไปอยา่ งถกู ต้องเพือ่ การบรกิ ารอยา่ งราบร่นื และผู้ป่วย

ได้รับการรกั ษาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพ่ือใหก้ ารบรหิ ารนัดหมายเปน็ ไปอย่างถูกต้องและราบรน่ื

3. คำจำกดั ความ
นัดหมายผปู้ ่วย เพ่ือใหผ้ ู้ป่วยไดร้ บั การรักษาในระยะเวลาทเี่ หมาะสม ตามแผนการรักษาทคี่ วรได้รบั

4. ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงาน :
4.1 ผูป้ ่วยท่ไี ดร้ บั การนัดหมาย ได้แก่
4.1.1 ผู้ป่วยที่ตอ้ งไดร้ ับการรักษาเฉพาะทาง (เช่น การรกั ษาคลองรากฟนั การผ่าฟันคุด เกลารากฟัน
ครอบฟนั ) หรือหตั ถการทม่ี ีความซบั ซ้อน
4.1.2 ผู้ป่วยหญิงต้งั ครรภ์
4.1.3 ผปู้ ่วยท่ีมโี รคทางระบบ
4.1.4 ผู้ป่วยทใ่ี ช้สิทธิการรักษาจ่ายตรงและประกันสงั คม
4.2 ผู้ปว่ ยทีไ่ ด้รบั การนัดหมาย กรณีต้องการทำฟนั ปลอม
4.2.1 ผูป้ ว่ ยต้องได้รบั การรักษาอืน่ ๆ ในช่องปากจนเสรจ็ เรยี บร้อยแลว้ และได้รบั การประเมินจากทันต
แพทย์แล้ววา่ สภาพชอ่ งปากพร้อมในการทำฟันปลอม หากผู้ปว่ ยมีงานอ่นื ๆท่ีต้องรกั ษา ใหแ้ จง้ ให้
ผูป้ ่วยมารับการรกั ษาใหเ้ รยี บรอ้ ยก่อน

เอกสารฉบับนีเ้ ป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 2/3

เรื่อง การนัดผ้รู ับบริการทางทันตกรรม วนั ทีเ่ ริม่ ใช้ 1 ตลุ าคม 2559

รหสั เอกสาร WI – DEN - 008 ทบทวนครง้ั ท่ี 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

4.2.2 เมื่อผู้ป่วยไดร้ ับการประเมินจากทันตแพทย์แล้วว่าผูป้ ่วยมีสภาพช่องปากพร้อมทำฟนั ปลอม ให้
ขอ ชื่อ-สกุล HN และหมายเลขโทรศัพท์ของผูป้ ว่ ยและญาติ แล้วบันทึกในสมุดคิวผู้ป่วยทำฟัน
ปลอม

4.2.3 เมอ่ื ผู้ปว่ ยถงึ คิวทำฟนั ปลอม ให้ติดต่อผปู้ ว่ ยทางโทรศพั ท์ตามหมายเลขทใี่ ห้ไว้ พร้อมแจ้งวันและ
เวลานดั หมายแกผ่ ูป้ ว่ ย

4.3 การนัดผปู้ ่วย
4.3.1 ผู้ป่วยได้รับการตรวจเบ้ืองต้น และถา่ ยภาพรงั สี (ถ้าจำเป็น)
4.3.2 ทันตแพทย์อธิบายแนวทางการรกั ษาและคา่ ใช้จ่ายแกผ่ ปู้ ่วย
4.3.3 ทนั ตแพทย์เขียนระบงุ านทตี่ ้องการนัด โดยเขยี น N/V ระบงุ านท่ีต้องการนดั แล้วให้ผปู้ ่วยนำไป
ย่นื ที่เคาเตอร์เพอ่ื นดั วันที่ทำการรกั ษาและรบั ใบนดั
4.3.4 เจ้าหน้าที่ประจำเคาเตอร์นัดหมายผู้ป่วยตามงานที่ระบุไว้ บันทึกข้อมูลการนัดหมายในระบบ
HOSxP และโปรแกรม Excel (google sheets) แจ้งวันและเวลานัด ให้ใบนัดที่ปริ้นท์จาก
HOSxP แก่ผปู้ ่วย พร้อมเน้นขอ้ ความที่วันและเวลานดั หมาย
4.3.5 แจ้งใหผ้ ู้ป่วยทราบวา่ เมอ่ื ถงึ วันนดั ผปู้ ว่ ยสามารถนำใบนดั มายนื่ ที่ฝา่ ยทันตกรรมไดโ้ ดยตรง ตาม
เวลาทน่ี ดั ไว้ หากผปู้ ว่ ยมาชา้ กว่าเวลานดั เกิน 30 นาที จะไดร้ บั การนดั หมายใหม่
4.3.6 เจ้าหนา้ ที่โทรศัพทเ์ พื่อยนื ยันการนัดหมายกับผูป้ ว่ ยตามหมายเลขโทรศัพทท์ ีแ่ จ้งไว้ ล่วงหน้า 1
วัน
4.3.7 กรณีผปู้ ว่ ยตอ้ งการเลือ่ นนดั
- กรณผี ูป้ ว่ ยมาเลื่อนนดั ด้วยตนเองหรือทางโทรศัพท์ ใหเ้ จา้ หน้าที่ ทำการเล่ือนนัดและบันทึก
ข้อมูลการนัดหมายใหม่ใน HOSxP และ Excel (google sheets) พร้อมแจ้งวันและเวลานดั
ใหม่แก่ผ้ปู ว่ ย
- กรณีฝ่ายทันตกรรมตอ้ งการเลื่อนนัดผู้ป่วย ให้โทรแจ้งเหตุผลที่ขอเลือ่ นนัด วันและเวลานดั
หมายใหม่ และบันทกึ ขอ้ มูลการนดั หมายใหม่ใน HOSxP และ Excel (google sheets)

เอกสารฉบับนี้เป็นสมบัติของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ได้รับอนญุ าต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 3/3

เรื่อง การนดั ผู้รับบริการทางทันตกรรม วันทีเ่ ร่มิ ใช้ 1 ตุลาคม 2559

รหัสเอกสาร WI – DEN - 008 ทบทวนครั้งท่ี 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

5. วิธกี ารประเมิน
ข้อรอ้ งเรียนของผปู้ ่วย

6. ผู้รบั ผิดชอบ
นายทนั การณ์ บุญพันธ์ ทันตแพทย์ปฏบิ ตั กิ าร

เอกสารฉบบั น้ีเปน็ สมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 1/2

เรือ่ ง การส่งทำฟันปลอม และการรบั ฟนั วนั ทเี่ ริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2546
ปลอม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 009 ทบทวนครั้งที่ 3 วันที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ผู้จดั ทำ (นายทนั การณ์ บญุ พนั ธ์) ผทู้ บทวน (นายกรัษนัย พลไชยะ)
ตำแหน่ง ทนั ตแพทยป์ ฏิบัติการ ตำแหน่ง ทันตแพทย์ชำนาญการ

1. วัตถปุ ระสงค์
เพื่อใหม้ ีระบบการจดั การรับสง่ ฟนั ปลอม อำนวยใหแ้ ผนการรักษาคนไขฟ้ ันปลอมเปน็ ไปตามกำหนด

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพื่อให้มรี ะบบการจัดการรับสง่ ฟนั ปลอม ไดช้ ิน้ งานถูกตอ้ งและตรงตามเวลา อำนวยใหแ้ ผนการรักษาคนไข้ฟัน

ปลอมเปน็ ไปตามกำหนด

3. คำจำกัดความ
งานทนั ตกรรมประดิษฐห์ รือฟันปลอม เป็นงานทม่ี ีขั้นตอนในการรักษาหลายคร้งั ซ่งึ ตอ้ งใช้ชิน้ งานท่ีเป็นโมเดล

ฟันใหแ้ ลปเตรยี มใหใ้ นการรักษาคนไข้ครั้งตอ่ ไป การรับสง่ ปลอมจึงต้องอาศยั การประสานงานระหว่างบคุ ลากรห้องฟัน
และเจ้าหนา้ ที่จากแลปเพ่อื ให้การรบั สง่ ฟันปลอมเป็นไปตามขอ้ ตกลง รวมทั้งมกี ารตรวจสอบความถกู ต้องให้เรียบร้อย
เพอ่ื ป้องกันการไดร้ ับงานท่ีผดิ พลาด หรอื ลา่ ชา้ กวา่ กำหนด

4. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน :
4.1 หลังจากที่ทันตแพทย์พิมพ์ปากได้แบบพิมพ์ฟันที่ต้องการแล้วให้ทันตแพทย์หรือผู้ช่วยทันตแพทย์หรอื
เจ้าหนา้ ท่ีแผนกทันตกรรม นำแบบพิมพท์ ี่ได้ไปผา่ นการฆ่าเชอ้ื ท่ีเหมาะสม แล้วจงึ เทแบบพิมพ์ท่ีได้ด้วย
ปลาสเตอร์หินหรอื ปลาสเตอรห์ ินพิเศษแล้วแต่กรณีไป เขยี นช่อื และ HN ของผู้รบั บรกิ ารพรอ้ มชื่อทันต
แพทยใ์ สส่ ตกิ เกอร์ตดิ ท่ถี าดพิมพ์ปาก เพอ่ื ทำแบบศกึ ษาหรือทำฟันปลอม
4.2 เมื่อได้แบบจำลองแล้วทันตแพทย์ นำมาขูดแต่งและออกแบบฟันปลอม ลงในแบบจำลอง พร้อมเขียน
ชอ่ื ผู้ปว่ ยและชอื่ ทันตแพทยบ์ นแบบจำลอง
4.3 กรอก รายละเอียดตา่ งๆลงในใบสง่ ทำฟันปลอม

เอกสารฉบบั นี้เป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 2/2

เร่ือง การส่งทำฟนั ปลอม และการรบั ฟนั วันทเ่ี ริ่มใช้ 1 ตลุ าคม 2546
ปลอม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 009 ทบทวนครัง้ ที่ 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

4.4 ลงบันทึกการส่งทำฟันปลอมในบันทกึ การส่งทำฟันปลอมระบุ ชอ่ื -สกลุ อายุ ของผู้ปว่ ย งานฟันปลอมท่ี
ทำ ขั้นตอนการรักษา วนั ทส่ี ง่ แลปฟนั ปลอม

4.5 ห่อแลปเป็นพัสดุ รวบรวมสำหรับนำส่งทกุ วนั ศุกรบ์ ่าย โดยจะมีเจ้าหนา้ ทจี่ ากแลบมารบั งาน ที่ สำนักงาน
สาธารณสุขจังหวัดยะลา

4.6 เมอ่ื ได้รบั ฟนั ปลอมจากห้องปฏิบัตกิ ารใหท้ ันตแพทย์ ตรวจสอบความเรยี บร้อย และจดั เก็บฟนั ปลอมเพื่อ
รอใส่ในช่องเกบ็ ฟันปลอม โดยระบุชื่อ, HN, ชนดิ งานฟันปลอมและชือ่ ทันตแพทย์ท่เี ปน็ เจา้ ของ

4.7 ลงทะเบยี นรับฟนั ปลอมในทะเบียนฟันปลอมระบวุ ันรับงาน ราคาคา่ ทำฟนั ปลอม
4.8 แยกบลิ เงนิ สดและใบสง่ สินคา้ เก็บไวใ้ นบนั ทกึ การส่ง Lab เพอื่ ทำใบอนมุ ัติจา่ ยเงนิ ให้แกบ่ รษิ ัททกุ ส้ินเดอื น

ยื่นต่อฝา่ ยบรหิ ารเพอื่ ส่งั จ่ายต่อไป

5. วิธีการประเมิน
มีการตรวจสอบความถูกต้องของงานที่ได้รับทุกครั้ง จดบันทึกเมื่อมีงานจากที่อื่นที่ไม่ตรงกับผู้ป่วยใน

โรงพยาบาลเขา้ มา เมื่อมีแลปท่ีได้ล่าช้าจากกำหนดการจะตอ้ งหาสาเหตใุ นแต่ละครั้ง และหาวิธกี ารจดั การ

6. ผู้รับผดิ ชอบ
นายทนั การณ์ บุญพนั ธ์ ทนั ตแพทย์ปฏบิ ัติการ

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบัติของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หน้า : 1/4

เร่ือง การบำรุงรักษาเครอ่ื งมอื ทนั ตกรรม วันทเ่ี รม่ิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546

รหัสเอกสาร WI – DEN - 010 ทบทวนครั้งท่ี 3 วันท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ผู้จดั ทำ ผู้ทบทวน ( นายกรษั นยั พลไชยะ )
( นายมาลีกี เกษธมิ า ) ตำแหน่ง ทันตแพทยช์ ำนาญการ

ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทนั ตสาธารณสุขปฏบิ ัติงาน

1. วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อใหห้ นว่ ยงานมเี ครอ่ื งมือทมี่ ีประสทิ ธภิ าพและพร้อมใชง้ าน

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพ่อื ใหบ้ ุคลากรมเี คร่ืองมอื ท่ีพรอ้ มใช้งานและปลอดภยั ไม่เกดิ อนั ตรายตอ่ ตนเองและผปู้ ว่ ย

3. คำจำกดั ความ
การรกั ษาสภาพของเครอื่ งมือตา่ งๆใหม้ ีสภาพท่พี รอ้ มจะใชงานอยตู่ ลอดเวลา

4. ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ :
4.1 เก้าอ้ที ำฟัน ( Dental Chair )
4.1.1 ควรปรับเก้าอท้ี ำฟนั ให้อย่ใู นท่าจดั เก็บทกุ ครัง้ ก่อนปิด Main Switch ของยูนิต
4.1.2 ระบบขับเคลอ่ื นเก้าอ้ีทำฟนั ควรได้รบั การหลอ่ ลื่นจุดท่ีหมุน เชน่ เฟืองและเกียร์ อย่างน้อยใน
ทุก 6 เดือน
4.1.3 หากเก้าอีท้ ำฟนั เป็นระบบไฮดรอลกิ ส์ ควรตรวจสอบสภาพนำ้ มนั ไฮดรอลกิ ส์ อยา่ งน้อยในทุก 6
เดือนหากสกปรกควรเปล่ยี น หรอื ลดนอ้ ยลงก็ให้เตมิ เพิม่ ตามระบบ
4.1.4 ระบบดดู Suction ทุกหวั ควรดูดนำ้ เปลา่ ท้ิง 1-3 แก้ว ทุกครัง้ กอ่ นเลิกใช้งานในแต่ละวัน เพื่อ
ลา้ งระบบ เพ่อื ไมใ่ ห้เกดิ การอดุ ตนั
4.1.5 ควรถอดฟลิ เตอร์ ของระบบดดู นำ้ ลายไปทำความสะอาดอยา่ งน้อยอาทติ ย์ละครง้ั
4.1.6 หวั กรอทกุ หวั ควรถอดและทำความสะอาดทุกวนั หรอื ทกุ ๆ 3 - 4 ชั่วโมงการใชง้ าน โดยการใช้
น้ำยาทำความสะอาดฉีดในรูลมของหัวกรอและใช้แอลกอฮอล์ 75 % เช็ดทำความสะอาด
ภายนอก
4.1.7 กอ่ นต่อข้อตอ่ หัวกรอทุกครัง้ ควรทำความสะอาดสง่ิ สกปรกที่ตดิ อยบู่ นขอ้ ตอ่ เพอ่ื ปอ้ งกันไม่ให้
เกลยี ว ขอ้ ต่อเสีย

เอกสารฉบับนี้เป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ได้รับอนญุ าต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 2/4

เร่อื ง การบำรุงรกั ษาเครือ่ งมือทนั ตกรรม วนั ทเ่ี ร่มิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546

รหัสเอกสาร WI – DEN - 010 ทบทวนคร้งั ที่ 3 วันที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

4.1.8 คราบฝุ่นหรือสง่ิ สกปรกตดิ อยูโ่ ดยเฉพาะตามเกลยี วข้อต่อ
4.1.9 น้ำท่ีใช้เตมิ ใชก้ ับระบบหัวกรอต่าง ๆควรเป็นน้ำสะอาด ที่ปราศจากการตกตะกอนเพื่อป้องกัน

ไม่ใหร้ ะบบซึง่ เป็นทอ่ ขนาดเล็กเกิดการอุดตันได้
4.1.10 ควรเช็คทำความสะอาดแผ่นกระจกสะทอ้ นแสงด้วยผ้าแหง้ ที่อ่อนนมุ่ หากสกปรกมาก
4.1.11 ให้ใช้ผ้าชุบสบูอ่ อ่ นๆ เชค็ ถเู บา ๆได้ ห้ามใช้แอลกอฮอล์หรือสารเคมเี ชค็ โดยเด็ดขาด จะทำให้

กระจกมวั หมองได้
4.2 ด้ามกรอฟัน (Hand piece)

4.2.1 ทุกวนั หลงั เลิกงาน พน่ น้ำมนั โดยเคร่อื ง1ครงั้ / ฉีด Spray 1-2 วนิ าที ทกุ ครงั้ หลังการใชง้ าน เช็ด
น้ำมันท่ลี น้ ออกมา และเอาปลายด้านรลู มลงลา่ งเพือ่ ให้ตะกอนไหลออกมาพรอ้ มน้ำมนั

4.2.2 หา้ มทำหวั กรอตกพื้น
4.2.3 ห้ามกดหวั micro motor แรงจนหยดุ นานๆ จะทำให้ motor ไหม้ได้
4.3 เครื่องฉายแสง ( Dental light cure )
4.3.1 หลงั การใช้งานเกบ็ สายต่างๆ ใหเ้ รียบร้อย
4.3.2 ทำความสะอาดทุกครั้งหลงั ใชง้ าน
4.3.3 ปดิ สวติ ซแ์ ละดึงปลั๊กไฟออกเสมอเม่อื ไมใ่ ชง้ านเสรจ็
4.4 เครอื่ งปัน่ อมัลกัม ( Amalgamator )
4.4.1 ทกุ คร้ังทีป่ ั่นอมัลกัม ตอ้ งปิดฝาครอบเสมอ ไมค่ วรใช้งานต่อเนือ่ งกันเกิน 30 นาที
4.4.2 ปดิ สวิตซแ์ ละดึงปลก๊ั ไฟออกเสมอเมอ่ื ไมใ่ ชง้ านเสร็จ
4.4.3 ทำความสะอาดทกุ ครัง้ หลงั ใชง้ านเมอ่ื เลกิ
4.5 เครื่องขูดหนิ ปูน ( Ultrasonic Scaler )
4.5.1 เมือ่ จะใส่หวั ขูดใหจ้ บั ด้ามตอ่ ขนึ้ เหยยี บ foot switch จนกระทง่ั นำ้ เตม็ หวั ขดู ใสด่ า้ ม P 10

ให้ แน่น
4.5.2 หลงั การใช้งานทำความสะอาดทุกครง้ั และเกบ็ สายต่างๆ ดา้ มขดู ให้เรียบร้อย
4.5.3 ดึงปลั๊กไฟออกเสมอเมอ่ื ไม่ใช้งาน
4.5.4 ไม่ควรใหเ้ ครอ่ื งทำงานโดยไมม่ หี วั ขูด หรือ นำ้ ไม่ไหล
4.5.5 ตรวจทำความสะอาด ตวั กรองน้ำสปั ดาห์ละครงั้

เอกสารฉบบั นี้เปน็ สมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 3/4

เรือ่ ง การบำรงุ รักษาเครื่องมอื ทันตกรรม วันทเ่ี ร่ิมใช้ 1 ตลุ าคม 2546

รหัสเอกสาร WI – DEN - 010 ทบทวนครงั้ ที่ 3 วนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

4.6 เคร่อื งดูดนำ้ ลายเคล่อื นท่ี ( Mobile Suction )
4.6.1 ทุกครงั้ หลงั ใช้งานควร ดดู นำ้ ยาฆา่ เชื้อและน้ำสะอาดประมาณ 1-3 ถ้วย ทุกวันหลังเลกิ งาน
4.6.2 เทกำจดั สารคัดหล่งั ในถงั พรอ้ มทำความสะอาดถังและส่งน่งึ ฆา่ เชือ้ ไอน้ำ ทกุ วนั หลังใช้งาน

4.7 เครือ่ งทำความดนั ลม ( Compressor )
4.7.1 ตรวจปรมิ าณนำ้ มนั หล่อลนื่ ให้อย่ใู นระดับระหวา่ ง max – min Drain นำ้ ในถงั พกั ลม
4.7.2 Drain นำ้ ในถังลมสปั ดาห์ละ 1 คร้งั หรือทกุ วนั หลงั ใชง้ าน
4.7.3 ตรวจความตึงของสายพาน ไมใ่ ห้ตึงหรอื หยอ่ นจนเกินไป
4.7.4 ตรวจแผน่ กรองอากาศขาเข้าให้สะอาด โดยทำความสะอาดหรือเปลี่ยนใหมท่ ุกๆ 3-4 เดือน
4.7.5 เมื่อเลิกใช้ Unit ให้ปิดสวติ ซ์ให้หยุดจ่ายลมมาที่ Unit และเปิด Suction ทิ้งไว้เพื่อระบายลมท่ี
เหลอื วนั รุ่งขนึ้ คอ่ ยมาปิดกอ่ นเปิดสวิตซ์

4.8 เครื่องพ่นน้ำมนั ด้ามกรอ
4.8.1 ถอดปลั๊กไฟทุกครงั้ หลงั ใชง้ าน
4.8.2 ทำความสะอาดทกุ คร้งั หลังใชง้ าน
4.8.3 เปลย่ี นถา่ ยนำ้ มนั และน้ำ เดือนละครง้ั

4.9 เครอ่ื งนง่ึ ด้ามกรอฟนั
4.9.1 ตรวจปริมาณน้ำมนั ทกุ ครง้ั กอ่ นใช้
4.9.2 ปิดฝาใหส้ นทิ ระหวา่ งการใช้งานหลังการใชง้ าน

4.10 เครือ่ งทำน้ำกล่นั
4.10.1 ทกุ ครง้ั หลังใชง้ านถอดปล๊ักออก
4.10.2 ทำความสะอาดถัง และฝาปดิ บริเวณท่ีมีใบพดั ทกุ ครง้ั หลงั ใช้งาน
4.10.3 ควรใส่นำ้ ตามปริมาณทเ่ี ครอ่ื งกำหนด ห้ามใส่เกินขีด

4.11 เคร่อื งเอกซเรย์
4.11.1 ทุกคร้งั หลงั ใช้งาน จดั ต้ังลำกล้องในตำแหนง่ ปกติ
4.11.2 ทำความสะอาดทกุ คร้งั หลงั ใชง้ าน
4.11.3 ปิดสวิตซ์ตัวเครื่องและตัวตัดไฟอัตโนมัติทุกครั้งหลังใช้งาน และถอดปลั๊กเก็บสายไฟให้
เรยี บร้อย

เอกสารฉบบั นเี้ ปน็ สมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 4/4
วนั ที่เรมิ่ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546
เรอื่ ง การบำรุงรกั ษาเครอ่ื งมือทนั ตกรรม ทบทวนครงั้ ท่ี 3 วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

รหัสเอกสาร WI – DEN - 010

5. วธิ ีการประเมิน
จากการปฏบิ ัตงิ านทุก 6 เดือน

6. ผูร้ ับผดิ ชอบ
นายมาลีกี เกษธมิ า เจา้ พนักงานทันตสาธารณสขุ ปฏิบตั งิ าน

เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 1/4

เรือ่ ง การป้องกนั และควบคมุ การติดเช้ือทาง วันที่เริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2546
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN – 011 ทบทวนครง้ั ที่ 3 วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564

ผจู้ ดั ทำ (นายจฑุ ารพ ตุนภรณ์) ผทู้ บทวน (นายกรัษนัย พลไชยะ)
ตำแหน่ง ทันตแพทยช์ ำนาญการ ตำแหน่ง ทนั ตแพทย์ชำนาญการ

1. วัตถุประสงค์
เพื่อให้เจ้าหน้าที่ในฝ่ายทันตกรรมทุกคน ทุกตำแหน่งได้ใช้เป็นแนวทางในการควบคุมการติดเชื้อทาง

ทนั ตกรรมในการบริการทกุ ขัน้ ตอน ใหผ้ ูป้ ว่ ยไดร้ ับความปลอดภัยไม่เกดิ ภาวะแทรกซ้อนเร่ืองการตดิ เชอ้ื หลังการรักษา
และเพอ่ื ให้ผใู้ หบ้ ริการมีความปลอดภยั ในการให้บริการทันตกรรม

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพอ่ื ควบคุมการติดเช้ือและแพรก่ ระจายเชอ้ื โดยสามารถลดปริมาณจลุ ชีพทก่ี ่อโรคให้เหลอื นอ้ ยทส่ี ดุ เพื่อผู้ปว่ ย

และทันตบคุ ลากรต้องมีสขุ ภาพทีด่ ี มีภูมคิ มุ้ กันทเ่ี หมาะสม

3. คำจำกัดความ
การควบคุมการติดเชื้อ และแพร่กระจายเชื้อซึ่งเกิดจากการที่ผู้ป่วยได้รับเชื้อจุลชีพขณะได้รับการรักษาใน

โรงพยาบาล ซ่ึงเชือ้ จุลชีพอาจเป็นเช้ือท่ีมีอยู่ในตวั ผู้ปว่ ยเอง หรืออาจเปน็ เช้อื จากภายนอกรา่ งกายผปู้ ่วย

4. ขนั้ ตอนการปฏิบัติ :
4.1 การจำแนกผู้ป่วย จัดแยกผู้ปว่ ยเบื้องต้นโดยการซักประวัติ อ่านประวัติจาก ข้อมูลใน HOSxP หรือจาก
การประสานงานจากหนว่ ยงานอื่นผ้สู ่งต่อผูป้ ่วย
- ผู้ป่วยท่วั ไป ใหย้ ึดหลกั Universal precaution
- ผปู้ ่วยกลมุ่ เสยี่ ง (TB, HIV, HBV ฯลฯ) ให้ปฏิบตั ติ ามแนวทางการดูแลผ้ปู ่วยกลุ่มเสย่ี ง
- ผู้ป่วยที่มอี าการไข้ ไอ จาม หอบ มีน้ำมูก ให้แจ้งเจ้าหน้าที่เพือ่ ใส่หน้ากากอนามัยและนั่งแยกจาก
ผปู้ ว่ ยคนอนื่ หรือเลอื่ นการรกั ษาออกไปกอ่ น
4.2 หลกั Universal precaution ในงานทนั ตกรรม
4.2.1 การปอ้ งกันตัวของทันตบุคลากร ก่อนเร่มิ ปฏิบตั ิงาน
- ใสเ่ ส้อื คลมุ สำหรบั ปฏบิ ตั งิ าน, สวมหมวก และ ใส่ MASK ทสี่ ามารถปอ้ งกันเช้อื TB ได้

เอกสารฉบับนเี้ ปน็ สมบัติของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หน้า : 2/4

เรื่อง การป้องกนั และควบคมุ การตดิ เชอ้ื ทาง วันทีเ่ ริม่ ใช้ 1 ตุลาคม 2546
ทันตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN – 011 ทบทวนครง้ั ที่ 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

- ใส่ FACESHIELD สำหรับงานท่มี ีการฟงุ้ กระจาย (อุดฟัน, ขดู หินปูน, สะพานฟนั )
- ล้างมอื ให้สะอาด 7 ข้นั ตอนก่อนและหลงั การปฏบิ ตั ิงาน
4.2.2 การป้องกันการปนเปือ้ น ขณะให้บรกิ ารทันตกรรม
- ใหผ้ ู้ปว่ ยบว้ นน้ำกอ่ นเริ่มทำการรกั ษาทกุ คร้ังเพอ่ื ลดเชือ้ ในช่องปาก
- ล้างมอื ใหส้ ะอาดหลงั การถอดถงุ มือทุกครงั้
- ใช้เครื่องมอื และถุงมือในการปฏบิ ัตงิ านอย่างถูกตอ้ งไมเ่ กดิ การปนเป้อื น
- เครื่องมือ, วัสดุอุปกรณ์ หลังผ่านขบวนการทำลายเช้อื ใหจ้ ดั เกบ็ คงสภาพปลอดเช้ือจนกว่า

จะใชง้ าน
- เปลย่ี นถงุ มือเม่อื ปฏิบตั ิงานกบั ผปู้ ว่ ยรายต่อไปหรือเมือ่ พบการชำรุดของถุงมือ
- กอ่ นปฏบิ ตั งิ านกับผู้ปว่ ย และระหวา่ งปฏิบตั ิงาน ทันตบุคลากรไมใ่ ชม้ ือที่สวมถุงมือที่เปื้อน

ไปทำกจิ กรรม
4.3 การทำใหป้ ราศจากเชือ้ และการทำลายเช้อื ในงานทันตกรม

เคร่อื งมือ,วสั ดุอปุ กรณ์, วัสดทุ นั ตกรรมหลงั ใช้งาน ใหป้ ฏิบัติดงั ต่อไปนี้
4.3.1 ชุดเครื่องมือทุกชุด : ให้เช็ดคราบเลือดออกด้วยเศษgauze → ล้างน้ำสะอาด → ส่งไป
sterile ยงั จดุ จา่ ยกลาง
4.3.2 ยาชา , เขม็ ฉีดยา , ใบมีดผ่าตดั , เข็มเยบ็ ทห่ี มดอายใุ ช้งาน : ใชแ้ ลว้ ทงิ้ ในผปู้ ่วยแต่ละราย
โดยทง้ิ ลงกลอ่ งทง้ิ เคร่อื งมือมคี มติดเชือ้ โดยให้ผใู้ ชง้ านเปน็ ผถู้ อดเข็มและหลอดยาชาออกจาก
หลอดฉดี ยาเพ่อื พร้อมทิง้
4.3.3 ทอ่ ดูดน้ำลาย : ใชแ้ ล้วทง้ิ ในผปู้ ว่ ยแตล่ ะราย ในถังขยะติดเชอ้ื สำลี , Gauze , เศษฟันและเศษ
อน่ื ๆ : แยกทงิ้ ในถังขยะตดิ เชอ้ื
4.3.4 ชุดเครื่องมอื ทกุ ชดุ : ให้เช็ดคราบเลอื ดออกดว้ ยเศษgauze → ลา้ งนำ้ สะอาด → สง่ ไป
sterile ยงั จุดจา่ ยกลาง
4.3.5 หวั bur, หวั กรอฟันปลอม, แปรงและหวั ยางขัดฟัน, พูก่ ัน, band, Rubber dam sheet : ให้
เชด็ คราบออกด้วยผ้า gauze → แช่ Glutaraldehyde 2% 30 นาที → ขดั ด้วยแปรงทำ
ความสะอาด →ทำให้แหง้ → นงึ่ ด้วยเคร่ืองนง่ึ เพือ่ ฆ่าเช้ือ

เอกสารฉบับน้เี ป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 3/4

เรื่อง การปอ้ งกันและควบคุมการติดเชอ้ื ทาง วนั ทเ่ี รม่ิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN – 011 ทบทวนคร้งั ที่ 3 วันท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

4.3.6 cement spatular, glasslab, หลอดวสั ดสุ ีเหมอื นฟนั , amalgam carier : หลงั ใช้งานเช็ด
ด้วย gauze alcohol (cement spatular และ amalgam carier ใหเ้ ข้า autoclave ทกุ 1
สปั ดาห์ในวนั ศุกรบ์ ่าย)

4.3.7 ดา้ มจบั เครอ่ื งขูดหนิ นำ้ ลาย, tip เครอ่ื งฉายแสง, แผน่ กนั้ แสง, ทต่ี ่อ suction, tripple syringe
ที่จับโคมไฟ ส่องปาก, ที่จับถาดวางเครื่องมือ, ปุ่มโคมไฟ : - เช็ดคราบสกปรกออกด้วย
ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดและฆา่ เชอ้ื คาวีไวฟ์ (CaviWipes)

4.3.8 ด้ามกรอฟัน : หลังจากใช้งานในผู้ป่วยแต่ละราย เดินเครื่องพ่นน้ำออกจากหัวกรอเร็ว 15
วินาที ใช้เช็ดคราบสกปรก ออกด้วย ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อคาวีไวฟ์
(CaviWipes) →พน่ spray น้ำมนั →น่งึ ในเครือ่ งนึ่งเพื่อฆ่าเช้ือ

4.3.9 การทำลายเช้อื พ้ืนผิวทปี่ นเปื้อน
- บรเิ วณที่วางเครอ่ื งมือ (Cabinet) เบาะเก้าอี้ทำฟัน หลังใช้งาน เช็ดสิ่งสกปรกออก → แลว้
เชด็ ด้วย ผลิตภณั ฑท์ ำความสะอาดและฆ่าเชอื้ คาวไี วฟ์ (CaviWipes)
- พื้นห้อง เช็ดดว้ ยน้ำและ Sodium Lauryl Ether Sulfate →ทิ้งไวใ้ หแ้ ห้ง
- พื้นผวิ ท่ีเปอื้ นเลอื ด ใชก้ ระดาษเช็ดเลือดออกให้มากทส่ี ดุ และท้ิงกระดาษทเี่ ช็ดในถุงขยะติด
เชอื้ → เช็ดถูด้วยผงซกั ฟอก →เชด็ ดว้ ยน้ำสะอาด → ทิ้งไว้ใหแ้ ห้ง

4.3.10 การทำลายเชอ้ื ในรอยพมิ พป์ าก
- alginate / silicone / polysulfide : ล้างน้ำสบู่ → spray ด้วยน้ำยาฆ่าเชื่อ → วาง
พกั ไว้ 10 นาที

4.3.11 การทำลายเชื้อในฟันปลอม
- ฟันปลอมถอดได้จาก lab : ลา้ งดว้ ยนำ้ สะอาด → เชด็ ให้แห้ง → นำไปใสใ่ นผปู้ ่วย

4.3.12 การทำลายเช้ือในระบบน้ำของยูนิตทำฟนั
- ถังน้ำ : ให้ทำความสะอาดเดือนละ 1 ครั้ง : โดยล้างด้วยน้ำสบู่ → แช่ น้ำยาล้างที่ไม่
ทำลายเชอื้ ในระบบบำบัดน้ำเสียในถงั 10 นาที→ ล้างนำ้ สะอาด

เอกสารฉบบั นี้เปน็ สมบัติของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ได้รบั อนญุ าต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หนา้ : 4/4

เร่ือง การปอ้ งกนั และควบคมุ การติดเชือ้ ทาง วันทเี่ ร่ิมใช้ 1 ตลุ าคม 2546
ทันตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN – 011 ทบทวนคร้ังท่ี 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

- อ่างบ้วนปาก : ราดนำ้ ใหม้ ากหลังเสรจ็ งานในผู้รบั บรกิ ารแตล่ ะราย และเม่อื เสรจ็ งานแตล่ ะ
วัน ราดด้วย น้ำยาที่ไม่ทำลายเชื้อในระบบบำบัดน้ำเสีย อย่างช้าๆ 2 แก้ว ทิ้งไว้ 10
นาที→ราดนำ้ ตามทอ่ ดูดนำ้ ลาย : หลังเสร็จงานแต่ละ case ให้ดดู นำ้ ตาม 1 แก้ว และใน
แต่ละวันให้ ดูดด้วยน้ำยาล้างท่อที่ไม่ทำลายเชื้อในระบบบำบัดน้ำเสีย 2 แก้ว ทิ้งไว้ 10
นาที→ ดูดน้ำตาม 2 แก้ว

5. วธิ ีการประเมนิ
อนุกรรมการ IC ในหน่วยงาน ทำการ round ทุกวันทม่ี กี ารใหบ้ รกิ ารทางทันตกรรม

6. ผรู้ บั ผิดชอบ
นายจุฑารพ ตุนภรณ์ ทันตแพทย์ชำนาญการ

เอกสารฉบบั นเ้ี ปน็ สมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 1/9

เร่อื ง การบนั ทกึ เวชระเบยี นทางทันตกรรม วันท่ีเรมิ่ ใช้ 1 ตุลาคม 2557

รหัสเอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครัง้ ที่ 3 วันที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ผู้จัดทำ ผ้ทู บทวน
(นางสาวนาอมี ะห์ หามะ) (นายกรษั นัย พลไชยะ )

ตำแหนง่ : เจ้าพนกั งานทนั ตสาธารณสขุ ปฏบิ ตั งิ าน ตำแหน่ง : ทนั ตแพทย์ชำนาญการ

1. วตั ถปุ ระสงค์
เพื่อเป็นแนวทางในการบันทกึ เวชระเบียนให้เป็นมาตรฐานเดียวกนั ให้มีการสือ่ สารที่ดีระหว่างวิชาชีพ และ

ระหว่างการรกั ษาในแตล่ ะครงั้ เพอ่ื ใหผ้ ู้ป่วยไดร้ บั การดแู ลอยา่ งเหมาะสมและตอ่ เน่ือง

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพื่อให้การบันทึกข้อมูลทันตกรรมเป็นไปตามมาตรฐานการบันทึกเวชระเบียนเวชระเบียนตามสำนกั งานหลัก

ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติกำหนด

3. คำจำกัดความ
การบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยทันตกรรม หมายถึง การปฏิบัติงานของทันตบุคลากรในการบันทึกข้อมูลทาง

ทันตกรรมให้มคี วามสมบูรณค์ รบถ้วน และถูกต้องตามมาตรฐานสำนักงานหลักประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ

4. ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิ :
4.1 ให้ผ้ใู หก้ ารรกั ษาทันตกรรมเปน็ ผบู้ ันทึกรายละเอียดต่างๆ ลงในโปรแกรม HOSxP ทุกๆ คร้ังของการตรวจ
หรอื การรักษาดงั ต่อไปน้ี
1.1.1 Login เขา้ สรู่ ะบบ HOSxP

เอกสารฉบับน้เี ป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 2/9

เรือ่ ง การบันทกึ เวชระเบยี นทางทันตกรรม วนั ท่ีเร่ิมใช้ 1 ตลุ าคม 2557

รหัสเอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครั้งที่ 3 วันท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

1.1.2 จะเข้าสูห่ นา้ จอของการเลอื กแผนกที่เราจะเข้าใช้งานและประเภทของเวลาในการเข้าใช้งาน
(ในเวลา-นอกเวลา)แลว้ คลกิ ปมุ่ ตกลง

1.1.3 เลอื กระบบงานอ่นื ๆ > เลอื กทะเบียนทนั ตกรรม
1.1.4 เลือกช่อื ผปู้ ว่ ยแลว้ กด Enter หรอื ดบั เบ้ิลคลิกที่ชื่อผูป้ ่วยโดยขอ้ มลู จะแสดงตามวันทเี่ ลอื ก

เอกสารฉบับนีเ้ ปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หน้า : 3/9

เร่ือง การบันทกึ เวชระเบยี นทางทันตกรรม วนั ทเ่ี ร่มิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2557

รหัสเอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครง้ั ท่ี 3 วนั ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

4.2 บนั ทกึ หัตถการทนั ตกรรม ส่วน การรกั ษา
4.2.1 เลือก Tab “การรกั ษา [F1]”
4.2.2 ลงหัตถการทันตกรรม ในสว่ นของรหสั หรือชอื่ หัตการ

4.2.3 แล้วระบบจะเพม่ิ ข้อมลู ในสว่ นของรหสั ICD ตา่ งๆ ใหอ้ ตั โนมัติ
4.2.4 ระบตุ ำแหน่งทที่ ำหตั ถการทันตกรรม ดว้ ยการระบรุ หัสซฟ่ี นั (Code) หรือชอ่ื ตำแหนง่

จากนน้ั กด Enter ไปเรอ่ื ยๆ เพอื่ เพิ่มตำแหนง่ ทที่ ำหัตถการ

เอกสารฉบบั น้ีเปน็ สมบัติของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 4/9

เร่อื ง การบันทึกเวชระเบยี นทางทนั ตกรรม วันทเี่ ริม่ ใช้ 1 ตลุ าคม 2557

รหัสเอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครง้ั ท่ี 3 วันที่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

4.2.5 ใสช่ อ่ื ผู้รกั ษา ผูช้ ว่ ย เวลาเรมิ่ เวลาเสรจ็ และตรวจสอบรหสั ICD ใหต้ รงกบั หัตถการทท่ี ำ

4.2.6 กดเพิ่มรายการเพ่ือเสรจ็ สิน้ การเพม่ิ รายการหัตถการทนั ตกรรม 1 รายการ

หมายเหตุ : หากในผปู้ ว่ ยรายนั้น ได้รบั การรักษามากกวา่ 1 รายการใหท้ ำซำ้ ตั้งแตข่ ้อ 4.1-4.6 ทีละหตั ถการ

เอกสารฉบบั นเี้ ปน็ สมบัติของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 5/9

เร่ือง การบนั ทึกเวชระเบยี นทางทนั ตกรรม วนั ที่เรม่ิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2557

รหสั เอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครง้ั ท่ี 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

4.3 บนั ทกึ หัตถการทนั ตกรรม ส่วน PE HPI PMH Dental Note และ Diag text

4.3.1 คลกิ เมนู ตรวจสขุ ภาพช่องปาก และกรอกข้อมูลในช่องต่างๆ ใหค้ รบถ้วน จากน้นั กดบนั ทกึ

เอกสารฉบบั นเ้ี ป็นสมบัติของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ได้รบั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 6/9

เรอื่ ง การบันทกึ เวชระเบยี นทางทนั ตกรรม วนั ที่เริม่ ใช้ 1 ตลุ าคม 2557

รหสั เอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครง้ั ที่ 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

หมายเหตุ :
การกรอกข้อมูล “ฟนั แท้” เฉพาะกลุ่มเด็กนักเรียนประถมศึกษา หญิงตง้ั ครรภ์ ผู้สงู อายุและกลุ่มอื่นๆ
การกรอกข้อมลู “ฟันนำ้ นม” เฉพาะกลุม่ เด็กในคลินกิ เด็กด/ี ศพด
การกรอกข้อมูล “สถานศกึ ษา และระดับสถานศึกษา” เฉพาะกลมุ่ เดก็ใน ศพด.และประถมศกึ ษา

4.4 บนั ทึกหัตถการทนั ตกรรม สว่ น รายการยา/เวชภณั ฑ์
4.4.1 เลือก Tab “รายการยา/เวชภัณฑ์ [F3]” บันทกึ การสงั่ ยาในกรณีมจี ่ายยา และตรวจสอบความ
สมบรู ณ์ของรายการยาและค่ารกั ษา

เอกสารฉบับนีเ้ ปน็ สมบัติของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 7/9

เรือ่ ง การบันทกึ เวชระเบยี นทางทันตกรรม วันทีเ่ รม่ิ ใช้ 1 ตุลาคม 2557

รหสั เอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครั้งท่ี 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

4.5 บนั ทกึ หตั ถการทนั ตกรรม สว่ น รายละเอียด 1 และรายละเอียด 2
4.5.1 เลอื ก Tab “รายละเอียด 1” >> เลอื กบันทึกขอ้ มลู เพอ่ื เข้าหนา้ Dental Entry

4.5.2 เลือก Tab ท่ตี รงกบั รายละเอียดหัตถการทท่ี ำแลว้ ลงขอ้ มูล

เอกสารฉบบั นเ้ี ป็นสมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 8/9

เรอ่ื ง การบนั ทึกเวชระเบยี นทางทนั ตกรรม วันทีเ่ ริม่ ใช้ 1 ตุลาคม 2557

รหัสเอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครัง้ ท่ี 3 วันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

4.5.3 เลอื ก Tab “รายละเอียด 2” >> เลอื กบนั ทกึ ข้อมลู เพ่ือเขา้ หน้า Dental Entry

4.5.4 เลือก Tab ที่ตรงกบั รายละเอยี ดหัตถการทท่ี ำแล้วลงขอ้ มูล

เอกสารฉบับนีเ้ ปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ได้รับอนญุ าต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หน้า : 9/9

เรอื่ ง การบนั ทึกเวชระเบยี นทางทนั ตกรรม วนั ทเี่ ริม่ ใช้ 1 ตุลาคม 2557

รหัสเอกสาร WI – DEN - 012 ทบทวนครัง้ ที่ 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

4.6 ยืนยันการบันทึกข้อมลู
4.6.1 เลือกสง่ ต่อผปู้ ่วยไปทีป่ ลายทางทที่ า่ นตอ้ งการ
4.6.2 กดตกลง เปน็ การเสรจ็ การบันทกึ ขอ้ มลู งานทนั ตกรรม

5. วธิ กี ารประเมิน
สุ่มการบันทกึ เวชระเบียนของทนั ตบคุ ลากร สปั ดาห์ละ 3 ราย

6. ผรู้ ับผิดชอบ
นางสาวนาอีมะห์ หามะ เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏบิ ตั งิ าน

เอกสารฉบบั นี้เปน็ สมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 1/2

เรอ่ื ง กรณีเกิดเหตุฉกุ เฉนิ ในหน่วยงาน วนั ทเ่ี รม่ิ ใช้ 1 ตุลาคม 2559
ทนั ตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 013 ทบทวนครงั้ ท่ี 3 วันท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

ผู้จดั ทำ (นางสาวมัสตรู า ผดงุ ) ผู้ทบทวน (นายกรัษนัย พลไชยะ)
ตำแหน่ง ทันตแพทยป์ ฏบิ ตั ิการ ตำแหนง่ ทนั ตแพทยช์ ำนาญการ

1. วัตถปุ ระสงค์
เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องทุกคนสามารถปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติได้อย่างถูกต้องเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินใน

หนว่ ยงานทันตกรรม

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพือ่ ให้คนไขไ้ ดร้ ับการดแู ลรกั ษาอยา่ งเหมาะสมและทนั ทว่ งที

3. คำจำกดั ความ
เป็นแนวทางปฏบิ ัตทิ ี่เจ้าหนา้ ท่ที เ่ี กยี่ วขอ้ งพึงปฏบิ ตั อิ ย่างถูกต้องเมื่อเกิดกรณเี หตฉุ กุ เฉินในหน่วยงานทนั ตกรรม

4. ขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ : หนา้ ที่
เจา้ หนา้ ที่ ตรวจวัดสญั ญาณชพี ของผปู้ ่วย พร้อมเคลียร์ airway สง่ิ แปลกปลอมใน
ช่องปากออก พร้อมรอ้ งขอความช่วยเหลอื + ก้ชู ีพเบอื้ งต้น ด้วยการใช้
1.ทันตแพทย์ประจำห้องรกั ษา Ambu back
กดปุม่ intercom ไปยงั ER และเตรียม Ambu back มาใหท้ ันตแพทย์
2. ผู้ชว่ ยข้างเก้าอ้ี ประจำหอ้ งทเ่ี กดิ เหตุ พรอ้ มรอ้ งขอความช่วยเหลอื ฉุกเฉินจากห้องขา้ งๆ
รีบแจง้ เหตึฉกุ เฉนิ แกค่ นในฝ่าย พรอ้ มเคลียรช์ ่องทางสำหรับทมี กชู้ ีพ ใน
3. ผชู้ ว่ ยข้างเกา้ อี้ทีป่ ฏบิ ัติงานในหอ้ งขา้ งๆ การมาช่วยเหลอื คนไข้
วอ.แจง้ เหตุฉุกเฉิน ไปยงั รามนั 2
4. เจา้ หน้าทป่ี ระจำเคาทเ์ ตอร์ (นรู ียัน) โทรประสานไปยงั ER อีกหน พรอ้ มเปิดประตูบานหนา้ ทางเข้าแผนก
5. เจา้ หน้าทป่ี ระจำเคาท์เตอร์ คนท่ี 2 ทง้ั 2 บาน

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั หา้ มนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หน้า : 2/2

เรอื่ ง กรณีเกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ ในหน่วยงาน วันทเ่ี ริม่ ใช้ 1 ตุลาคม 2559
ทันตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 013 ทบทวนคร้ังที่ 3 วันท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

เจา้ หน้าท่ี หน้าท่ี
6. ทีม รามนั 2 เวชกจิ ER เขา้ มาปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ และเคล่อื นย้ายผู้ป่วยไปยงั หอ้ งฉกุ เฉนิ
7. จพ. บศุ รอ เซ็งมีดี และทันตแพทย์ เขียน NC รายงานเคสอบุ ตั กิ ารณท์ เี่ กดิ ขน้ึ
ผูเ้ ก่ียวข้อง

5. วธิ กี ารประเมิน
มีการตดิ ตามผปู้ ่วยว่าไดร้ ับการดูแลรกั ษาตามแนวปฏิบัติอยา่ งถกู ตอ้ งและทันทว่ งที

6. ผูร้ ับผิดชอบ
นางสาวมัสตรู า ผดงุ ทันตแพทย์ปฏบิ ตั กิ าร

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั หา้ มนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หนา้ : 1/4

เรอ่ื ง การจดั เตรียมชดุ มาตรฐานบรกิ าร วนั ทเ่ี ร่มิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546
ทันตกรรม ทบทวนครั้งท่ี 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

รหสั เอกสาร WI – DEN - 001

ผู้จัดทำ : ผทู้ บทวน : ( นายกรัษนัย พลไชยะ )
( นายมาลกี ี เกษธมิ า ) ตำแหน่ง : ทันตแพทยช์ ำนาญการ

ตำแหน่ง : เจา้ พนกั งานทันตสาธารณสุขปฏบิ ตั ิงาน

1. วัตถปุ ระสงค์
ใหห้ นว่ ยงานมเี ครอ่ื งมือทเี่ พียงพอและพร้อมใชง้ านสามารถดำเนนิ งานเป็นไปอย่างราบรืน่

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพ่ือใหบ้ คุ ลากรไดม้ เี ครื่องมือ เพียงพอ ตอ่ การให้บริการแกผ่ ปู้ ว่ ย คำกำจัดความ:การเตรียมชดุ เครอื่ งมือคอื การ

เตรียมความพร้อมของชุดเครื่องมอื ใหส้ ามารถนำมาใชง้ านไดเ้ พยี งพอตอ่ การใหบ้ รกิ ารในแตล่ ะวนั

3. คำจำกดั ความ
การจัดเตรยี มเครอื่ งมืออปุ กรณ์ทางทนั ตกรรมทกุ ชนิด ให้พรอ้ มต่อการใหบ้ รกิ ารทางทันตกรรม

4. ข้ันตอนการปฏบิ ัติ :

4.1 มาตรฐานขั้นต่ำการจดั เตรยี มเครอ่ื งมอื ในการบริการทันตกรรมในคลินกิ

4.1.1 คลินกิ ในเวลาราชการใหจ้ ดั เตรียมเคร่ืองมอื ใหพ้ รอ้ มสำหรับให้บรกิ ารของทกุ วัน ดงั นี้

- ชดุ ตรวจฟัน 30 ชุด

- ชดุ อดุ ฟัน 20 ชดุ

- ชุดขดู หนิ ปนู 15 ชดุ

- ชุดถอนฟนั 40 ชุด
(บน, ล่าง, Cow horn, 150s และ151sไม่ต้องเตรยี มเป็นชดุ )

- ชุดรกั ษารากฟนั 5 ชุด

- ชุดผา่ ฟนั คุด/ผ่าตดั เล็ก 4 ชุด

เอกสารฉบบั นเ้ี ป็นสมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 3/4

เรอ่ื ง การจดั เตรยี มชดุ มาตรฐานบรกิ าร วันท่เี ริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2546
ทนั ตกรรม ทบทวนครัง้ ที่ 3 วันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

รหสั เอกสาร WI – DEN - 001

4.2 รายละเอียดของชดุ เครอ่ื งมือตา่ งๆ
4.2.1 ชุดตรวจฟัน ประกอบดว้ ย
- Mouth mirror
- Explorer
- Cotton plier
4.2.2 ชุดอุดฟัน ประกอบดว้ ย
- Mouth mirror
- Explorer
- Cotton plier(2)
- Spoon excavator
- Plastic instrument
- Amalgam Plugger
- Dycal carrier
- Ball burnisher
- Proximal Carver ใน Case ทจ่ี ำเปน็
4.2.3 ชุดถอนฟัน ประกอบดว้ ย
- Mouth mirror
- Cotton plier
- Syringe ยาชา
- Elevator ชนิดตา่ งๆข้นึ กับซฟี่ ัน และลกั ษณะการใชง้ าน
- Forceps 150, 151, 150s, 151s หรอื Cow horn ขึ้นอยกู่ ับลกั ษณะการใช้งาน
4.2.4 ชดุ ขูดหนิ ปูน ประกอบด้วย
- Mouth mirror
- Explorer
- Cotton plier

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ได้รบั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 3/4

เร่ือง การจัดเตรยี มชดุ มาตรฐานบริการ วนั ทเ่ี รม่ิ ใช้ 1 ตุลาคม 2546
ทันตกรรม ทบทวนครัง้ ที่ 3 วันท่ี 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

รหสั เอกสาร WI – DEN - 001

- P10
- Hand Scaler ในกรณีเกลารากฟนั
4.2.5 ชดุ ผ่าฟันคดุ ประกอบดว้ ย
- Mouth mirror
- Explorer
- Cotton plier
- Blade holder & Blade # 15
- Periosteal elevator (Molt No.9)
- Periosteal retractor
- Elevator (straight, angle)
- Forceps & Cow horn
- Curette
- Bone file
- Needle holder & surgical needle
- Tissue Forceps
- Scissors
- Artery Forceps
- Silk no. 3-0
- ถ้วยใส่น้ำยา betadine
4.2.6 ชุดรักษารากฟัน ประกอบด้วย
- Mouth mirror
- Endodontic explorer
- Explorer
- Cotton plier
- Spoon

เอกสารฉบับนีเ้ ป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซำ้ โดยไม่ได้รบั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 4/4

เร่อื ง การจดั เตรยี มชดุ มาตรฐานบริการ วันท่ีเริม่ ใช้ 1 ตุลาคม 2546
ทนั ตกรรม ทบทวนครั้งท่ี 3 วันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

รหัสเอกสาร WI – DEN - 001

- Endodontic Ruler
- Ruber Dam Set ใน case ทจี่ ำเป็น
- Endodontic plugger ใน case อดุ
- Spreader ใน case อุด
- Scissor ใน case อุด
- Glick No.1 ในcase อุด
- Plate ชนดิ ต่างๆ

(Fileทุกความยาว, Lenturospiral, Brab broach, Gate & Peeso Drill, Paper point)
4.2.7 ชุดครอบ และสะพานฟนั ประกอบดว้ ย

- Mouth mirror
- Explorer
- Cotton plie
- Spoon
- Crown, Bridge Remover
4.2.8 ชุดฟนั ปลอม ประกอบดว้ ย
- Mouth mirror
- Explorer
- Cotton plier
- ถาดพิมพป์ าก

5. วธิ กี ารประเมนิ
จากการปฏบิ ัติงานทกุ 6 เดือน

6. ผ้รู ับผดิ ชอบ
นายมาลกี ี เกษธิมา เจ้าพนกั งานทันตสาธารณสุขปฏิบัตงิ าน

เอกสารฉบับนเ้ี ปน็ สมบัตขิ องโรงพยาบาลรามัน หา้ มนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไม่ได้รบั อนุญาต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 1/2

เร่ือง การเตรยี มความพร้อมเครื่องมือทนั ตกรรม วันท่เี รม่ิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546

รหสั เอกสาร WI – DEN - 002 ทบทวนคร้งั ท่ี 3 วนั ท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ผู้จดั ทำ (นายเอกราช อรุโณประโยชน์) ผทู้ บทวน (นายกรษั นยั พลไชยะ)
ตำแหน่ง ทนั ตแพทยช์ ำนาญการ ตำแหนง่ ทันตแพทยช์ ำนาญการ

1. วัตถุประสงค์
เพื่อเป็นแนวทางสำหรับเจ้าหน้าท่ีห้องฟันในการเตรียมความพร้อมของเครื่องมือก่อนการปฏิบัติงาน และ

เพ่ือให้การปฏิบตั ิงานเปน็ ไปอย่างราบรน่ื

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
เพ่อื ให้การบริการทนั ตกรรม เป็นไปอย่างราบรนื่ สะดวก รวดเรว็

3. คำจำกดั ความ
การจดั เตรียมเคร่ืองมอื อปุ กรณท์ างทันตกรรมทกุ ชนิด ใหพ้ รอ้ มตอ่ การใหบ้ รกิ ารทางทนั ตกรรม

4. ข้ันตอนการปฏบิ ัติ
ใหเ้ จ้าท่ีหอ้ งฟนั มกี ารเตรียมความพร้อมของเคร่อื งมอื ทันตกรรมในตอนเช้าของทกุ วนั ดังตอ่ ไปน้ี
4.1 ยูนติ ทำฟัน
4.1.1 เปิดสวิตซป์ ิด-เปิดของเกา้ อี้
4.1.2 ปรับตำแหนง่ เกา้ อพี้ รอ้ มทำงาน เช็คการทำงานของเกา้ อี้ การปรบั ขึ้น – ลงของเก้าอี้
4.1.3 เช็คระดับลมและนำ้
4.1.4 ตรวจสอบระบบไฟส่องปาก
4.1.5 ตรวจสอบระบบดูดนำ้ ลาย
4.1.6 ใสด่ ้ามกรอฟนั ให้ครบพรอ้ มใช้และตรวจสอบระบบหัวกรอฟัน
4.1.7 ตรวจสอบความสะอาดของลมว่ามนี ำ้ /น้ำมนั ปนเปื้อนหรือไม่
4.2 เครื่องทำความดันลม
4.2.1 เปดิ สวติ ซข์ องเครอ่ื งทำความดนั ลมของแตล่ ะยนู ิต
4.2.2 ตรวจดปุ รมิ าณน้ำมนั หล่อล่นื

เอกสารฉบบั น้เี ป็นสมบัติของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใช้ภายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หนา้ : 2/2

เรือ่ ง การเตรียมความพร้อมเครื่องมอื ทนั ตกรรม วนั ที่เร่มิ ใช้ 1 ตลุ าคม 2546

รหสั เอกสาร WI – DEN - 002 ทบทวนคร้ังท่ี 3 วนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

4.2.3 ความตึงของสายพาน
4.2.4 ตรวจดวู า่ ลมร่วั หรอื ไม่
4.3 เคร่ืองขดู หินปนู
4.3.1 เสยี บปลก๊ั ไว้พรอ้ มใช้
4.3.2 ต่อสายน้ำเข้ากับเก้าอี้ทำฟนั
4.3.3 ทดสอบการพ่นละอองน้ำของหวั ขูดหนิ ปนู
4.4 เครื่องฉายแสง
4.4.1 เสียบปลกั๊ ไฟพรอ้ มเปดิ สวิตซ์ของเครอื่ งพรอ้ ม
4.4.2 ปรับตั้งเวลาพรอ้ มใชง้ าน
4.4.3 วางเครื่องฉายแสงบนช้ันวางของชุดอดุ พรอ้ มใช้
4.4.4 ทดสอบการฉายแสงและต้ังค่าที่ 350 - 400

5. วธิ ีการประเมนิ
หัวหน้างาน round ทกุ เชา้ ในวันท่มี กี ารใหบ้ ริการทางทันตกรรม

6. ผู้รบั ผดิ ชอบ
นายเอกราช อรโุ ณประโยชน์ ทนั ตแพทย์ชำนาญการ

เอกสารฉบบั นเี้ ป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามัน ห้ามนำออกไปใชภ้ ายนอกหรือทำซ้ำโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 1/15

เรื่อง การลงทะเบียนผปู้ ว่ ยท่ีมารับบรกิ าร วันท่เี ริม่ ใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้งั ที่ 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพันธ์ 2564

ผูจ้ ัดทำ : ผู้ทบทวน : ( นายกรษั นยั พลไชยะ )
( นางสาวนาอมี ะห์ หามะ ) ตำแหนง่ : ทันตแพทย์ชำนาญการ

ตำแหน่ง : เจา้ พนักงานทันตสาธารณสุขปฏบิ ัติงาน

1. วตั ถุประสงค์
จัดทำประวัติเพ่ือจดั เก็บข้อมูลทั่วไปของผูร้ บั บริการ และบันทกึ คลนิ กิ ที่มารับบริการ เพื่อให้ทราบการมารับ

บรกิ ารในครั้งนน้ั รวมถึงใช้ในการดแู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยอย่างถูกต้องและตอ่ เน่อื ง

2. นโยบาย/เปา้ หมาย
ผ้รู บั บรกิ ารไดร้ บั การลงทะเบียนเข้ารบั บรกิ ารตามลำดับคิว

3. คำจำกดั ความ
3.1 ผปู้ ่วยเก่า หมายถงึ ผู้ปว่ ยเกา่ หมายถึง ผูป้ ่วยที่เคยมาตรวจรักษาทีโ่ รงพยาบาลรามนั และได้มาติดต่อกับ

โรงพยาบาล ภายใน 5 ปี เมอ่ื ต้องการมาใช้บริการไม่ตอ้ งทำทะเบยี นประวัติตรวจโรคใหม่ แต่ต้องมาย่ืนลงทะเบียนทุก
ครั้งเมื่อมาใช้บรกิ าร

3.2 ผปู้ ่วยนัด หมายถึง ผปู้ ว่ ยท่ีมาตรวจรักษาทีโ่ รงพยาบาลรามัน และไดร้ บั การนดั จากทีมผูด้ ูแล เพ่ือติดตาม
อาการ

4. ขัน้ ตอนการปฏิบัติ :
4.1 ให้ผูใ้ หก้ ารรักษาทนั ตกรรมเป็นผบู้ ันทึกรายละเอียดต่างๆ ลงในโปรแกรม HOSxP ทกุ ๆ คร้ังของการตรวจ

หรือการรกั ษาดงั ตอ่ ไปนี้
4.1.1 Login เขา้ สู่ระบบ HOSxP

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใช้ภายนอกหรือทาซ้าโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 2/15

เรอื่ ง การลงทะเบียนผูป้ ่วยทม่ี ารบั บริการ วนั ที่เริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนครั้งท่ี 3 วนั ที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

4.1.2 จะเขา้ สหู่ น้าจอของการเลือกแผนกทเี่ ราจะเข้าใชง้ านและประเภทของเวลาในการเข้าใชง้ าน (ใน
เวลา-นอกเวลา) แล้วคลิกป่มุ ตกลง

4.2 กรณที ่ผี ปู้ ่วยไม่เคยมี HN ทีโ่ รงพยาบาล
สามารถเข้าสรู่ ะบบลงทะเบียนผ้ปู ่วยใหม่ ได้ 2 วิธี ดังน้ี
วิธที ่ี 1 เลือกท่ี ICON ดา้ นบน หรอื กดปุ่ม “Ctrl+F1”

วิธที ่ี 2 รูปแบบของเมนแู บบ Menu & Toolbar โดยการคลกิ เลอื กทีร่ ะบบผ้ปู ่วยนอก
– ลงทะเบยี นผปู้ ่วยใหม่

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั หา้ มนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หน้า : 3/15

เรื่อง การลงทะเบียนผู้ปว่ ยทม่ี ารับบรกิ าร วนั ทเี่ รมิ่ ใช้ 1 ตลุ าคม 2557
ทนั ตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนครัง้ ท่ี 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

4.3 ระบบลงทะเบยี นผู้ป่วยนอก หน้าจอหลักของระบบลงทะเบียนผู้ป่วยนอก แสดงหน้าจอการลงทะเบียน
ใหม่ แถบแรก คอื “ทัว่ ไป 1”

4.4 การเพมิ่ ข้อมลู เวชระเบียนของผู้ปว่ ยใหม่
การลงข้อมลู ของผู้ป่วยใหม่มีทง้ั หมด ดงั นี้
1. แถบ “ทัว่ ไป 1” เปน็ การป้อนขอ้ มลู ทสี่ ำคัญของตัวผูป้ ว่ ย เชน่ คำนำหนา้ ชื่อ ช่ือ สกุล เพศ วันเกิด

อายุ สัญชาติ/ศาสนา เลขทบี่ ัตรประชาน ซ่งึ จะปรากฏใหอ้ ตั โนมตั ิ เมอ่ื นำบัตรประชาชนคนไขม้ าเสยี บกบั
อปุ กรณ์ Smart Card Reade (CDG) ทเ่ี ชอื่ มกบั คอมพวิ เตอร์

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั หา้ มนาออกไปใช้ภายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 4/15

เร่อื ง การลงทะเบยี นผปู้ ่วยทม่ี ารบั บรกิ าร วนั ที่เร่ิมใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทันตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนครง้ั ท่ี 3 วันท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

ข้อมลู ที่ต้องเพิ่ม
ชอ่ งของอาชีพ ถ้าไมท่ ราบรหสั ของอาชีพก็ใหเ้ คาะ Space bar เพอ่ื ทจ่ี ะเลอื กอาชพี

สว่ นในชอ่ งภาษา /เช้ือชาต/ิ สญั ชาต/ิ ศาสนา ถา้ เคาะ Enter ไปเรอ่ื ยๆโปรแกรมกจ็ ะขนึ้ เป็น ภาษาไทย
เชื้อชาติไทย, สัญชาติไทย, ศาสนาพุทธ, แต่ถ้าในช่องเหล่านี้เป็นชาวต่างชาติ ก็ให้เคาะ Space bar ในช่อง
ภาษา /เช้ือชาติ /สญั ชาติ /ศาสนา เพอ่ื ทำการเลือก หมู่เลือด ( A,B,O,AB ) /RH( -, +) / แพย้ า /ช่อื เลน่

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 5/15

เรอื่ ง การลงทะเบียนผู้ปว่ ยทม่ี ารับบรกิ าร วนั ทเ่ี ร่ิมใช้ 1 ตลุ าคม 2557
ทนั ตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้งั ท่ี 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

2. แถบ “ทว่ั ไป 2” จะเป็นส่วนทีอ่ ยขู่ องผปู้ ว่ ย ใสบ่ ้านเลขท่ี ,หมู่, ตรอก/ซอย/ถนน
สว่ นจงั หวัด,อำเภอ,ตำบล,ประเทศ ตามธรรมดาแลว้ ชอ่ งจังหวัดจะข้ึนตามจงั หวัดที่ รพ.น้ันๆ แต่ถา้ หากว่าตอ้ งการ
คน้ หาจงั หวดั ,อำเภอ,ตำบล,ประเทศ ก็ใหเ้ คาะ Space bar แตล่ ะชอ่ ง และกล็ งรายละเอยี ดแตล่ ะชอ่ งทางด้านลา่ ง

3.แถบ “ทั่วไป 3” เป็นการป้อนข้อมูลของผู้ที่มาติดต่อลงทะเบียนให้กับผู้ป่วย และเป็นข้อมูลของ
บุคคลที่สามารถติดต่อในกรณีที่ผู้ป่วยเกิดปัญหา ช่องชื่อผู้ติดต่อ ถ้าผู้ป่วยมาติดต่อเอง ก็ให้พิมพ์คำว่า “จอ” แล้ว
Enter โปรแกรมกจ็ ะดึงช่ือกับท่อี ยูท่ ่เี คยลงจาก “ท่วั ไป 1” กบั “ทั่วไป 2” มาให้

กรณที ี่ เปน็ คนอื่นมาแจง้ ให้พิมพ์ช่ือผู้ทมี่ าตดิ ตอ่

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั หา้ มนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 6/15

เร่อื ง การลงทะเบียนผูป้ ว่ ยท่มี ารับบรกิ าร วนั ท่เี รมิ่ ใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทันตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้ังที่ 3 วันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2564

กรณีที่ ผูท้ มี่ าติดตอ่ อย่บู า้ นเดยี วกันกบั ผปู้ ว่ ย กใ็ หพ้ มิ พ์วา่ “บดก” กด Enter โปรแกรมจะดงึ ขอ้ มลู ท่ี
อยผู่ ้ปู ว่ ยมาให้

สว่ นความสัมพันธ์ ก็จะมชี ่องใหเ้ ลอื ก

ช่องชอ่ื บิดา,มารดา,คู่สมรส,CID, ที่อยู่ สามารถระบุได้ถ้าอยกู่ ันคนละท่อี ยกู่ นั กใ็ ส่ไปได้เลย

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 7/15

เรอ่ื ง การลงทะเบยี นผู้ปว่ ยที่มารับบรกิ าร วันทีเ่ ร่ิมใช้ 1 ตลุ าคม 2557
ทนั ตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนครั้งท่ี 3 วนั ท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

หมายเหตุ ในการเพม่ิ ผปู้ ่วยใหม่ 1 ราย ขอ้ มลู ทีจ่ ำเป็นต้องกรอกของผปู้ ่วย มีในส่วนของ ทัว่ ไป 1 ทว่ั ไป 2 ท่วั ไป 3
สิทธิการรกั ษา และตัวเลอื กการพมิ พ์ โดยไมจ่ ำเป็นตอ้ งกรอกข้อมลู ให้ครบทง้ั 11 ส่วนกไ็ ด้ เสร็จแล้วใหท้ ำการกดปมุ่
“บนั ทึก”ที่อยู่ดา้ นบนไดเ้ ลย เพอื่ เป็นการลดระยะเวลาการทำงาน

4. แถบ "Family" เป็นการปอ้ นขอ้ มลู สถานะในครอบครัวของผู้ปว่ ยจากน้าจอนแี้ ต่ละช่องจะมี Drop
down list ใหเ้ ลือกขอ้ มลู ส่วนชอ่ งน้ำหนกั ใสก่ รณเี ปน็ เดก็ แรกเกดิ

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใช้ภายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หน้า : 8/15

เรื่อง การลงทะเบียนผปู้ ่วยที่มารับบรกิ าร วนั ที่เร่มิ ใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้งั ที่ 3 วันที่ 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

5. แถบ “Note” เปน็ การพิมพ์ขอ้ ความเกย่ี วกับผปู้ ว่ ย เพอื่ แจง้ ไปยงั จดุ ต่างทีผ่ ปู้ ว่ ยจะไปรบั บรกิ าร
คลิกที่เขียน Note

จากน้นั ก็พมิ พข์ ้อความลงในชอ่ ง และ คลกิ ทีป่ มุ่ ตกลง note นก้ี ็จะแสดงทุกจดุ ท่ีเรยี กชือ่
คนไขค้ นนี้

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใช้ภายนอกหรือทาซ้าโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 9/15

เรอ่ื ง การลงทะเบยี นผปู้ ่วยท่มี ารับบรกิ าร วันทเ่ี ร่มิ ใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้ังที่ 3 วนั ท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

หรือถ้าหากต้องการใหแ้ สดงแค่บางจดุ

หรอื ตอ้ งการกำหนดวันหมดอายุ

หรือตอ้ งการแสดงเฉพาะกลมุ่ ผู้ใชง้ าน

6. แถบ “โรคประจำตวั ” เป็นการเก็บขอ้ มูลในส่วนของโรคประจำตวั และเป็นการเพม่ิ ขอ้ มลู ผู้ป่วย
เข้าคลนิ ิกพเิ ศษด้วย

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใช้ภายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หนา้ : 10/15

เร่ือง การลงทะเบียนผูป้ ่วยทม่ี ารับบริการ วนั ทเ่ี ริ่มใช้ 1 ตลุ าคม 2557
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้ังท่ี 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

ถ้าทราบรหสั โรคก็ใสล่ งไปได้ โดยการเคาะ Space bar ที่ชอ่ งโรคประจำตวั และก็คน้ หา ICD10 กดตก
ลงเพ่อื เลือก หลงั จากนั้นกก็ ดปมุ่ เพม่ิ เพอ่ื บนั ทกึ

ถา้ หากว่าขอ้ มลู ทเี่ ราลงไปน้ี เราตอ้ งการลบก็ใหค้ ลิกขวาตรงชอ่ งที่เราต้องการลบ
หลงั จากลงขอ้ มูลเสร็จเรียบรอ้ ยแลว้

หมายเหตุ ถ้ามีการลงข้อมลู ในแถบโรคประจำตวั แลว้ ข้อมลู เหล่านกี้ ็จะถกู ลงทะเบียนในคลนิ กิ พิเศษดว้ ย

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใช้ภายนอกหรือทาซ้าโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หน้า : 11/15

เรื่อง การลงทะเบียนผปู้ ่วยทม่ี ารับบรกิ าร วันที่เริ่มใช้ 1 ตลุ าคม 2557
ทันตกรรม

รหัสเอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้ังที่ 3 วนั ที่ 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

4.5 สว่ นท่ี 2 การลงสิทธิประจำตัวคนไข้ กรอกรายละเอียดสามารถตรวจสอบสิทธิจาก NHSO

ถ้าหากตอ้ งการตรวจสอบสทิ ธิจ์ าก สปสช. กค็ ลิกท่ี NHSO และใส่ รหัสผูใ้ ช้งานและรหัสผา่ น
สุดทา้ ย ถา้ ลงรายละเอยี ดเรยี บร้อยแล้วก็บนั ทกึ ขอ้ มลู

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั หา้ มนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ตั ิ (Work Instruction) หน้า : 12/15

เรอื่ ง การลงทะเบยี นผ้ปู ว่ ยท่ีมารับบริการ วันทีเ่ ริม่ ใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้ังที่ 3 วนั ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2564

ข้นึ หน้าตา่ งให้ยืนยนั การบนั ทกึ กด “ตกลง”

ถา้ มีการคลกิ เลือก สง่ ตรวจหลงั จากบนั ทกึ กจ็ ะข้ึนหน้าจอดงั นี้ โดยการเลือกสิทธขิ์ องคนไข้

หน้าของการสง่ ตรวจคนไข
1. ขอ้ มลู ของไข้
2. การมาของคนไข้
3. สิทธ์ิของคนไข้ สามารถเปล่ยี นสิทธิ์ หรอื เพม่ิ แกไ้ ข ลบสิทธ์ิ จากหน้านี้ได้
4. สง่ ตรวจคนไขไ้ ปท่ีหอ้ งไหน เลขทบี่ ตั รประชาชนของคนไข้ หรือตอ้ งการพมิ พ์ใบสงั่ ยาบตั ร

ควิ หรือตอ้ งการตรวจสอบสทิ ธจิ์ ากหนา้ น้กี ็ได้เหมือนกนั จากปุม่ NHSO
5. ใสส่ ่วนของการแสดงรปู ภาพคนไข้ และสามารถถา่ ยภาพจากหนา้ จอนก้ี ไ็ ด้
6. เลอื กประเภทคนไข้ ความเรง่ ด่วนในการสง่ ตรวจ

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใช้ภายนอกหรือทาซ้าโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

แนวทางปฏิบตั ิ (Work Instruction) หนา้ : 13/15

เรอื่ ง การลงทะเบียนผปู้ ่วยทม่ี ารับบริการ วนั ทเ่ี ริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทันตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนครง้ั ท่ี 3 วันท่ี 23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

บนั ทึกเพื่อส่งตรวจ

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั หา้ มนาออกไปใช้ภายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏบิ ัติ (Work Instruction) หน้า : 14/15

เรือ่ ง การลงทะเบียนผู้ปว่ ยทมี่ ารบั บริการ วันที่เริ่มใช้ 1 ตุลาคม 2557
ทนั ตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนครง้ั ที่ 3 วันท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

กรณที ่เี ป็นทเี่ ป็นผปู้ ่วยรายเกา่
เลอื กท่ี ICON ดา้ นบน หรอื กดปุ่ม Ctrl+F1

หลังจากนนั้ ใส่ HN ของคนไข้ เพือ่ เรียกสง่ ตรวจ

เลอื กสง่ ต่อไปทห่ี อ้ งทันตกรรม และบนั ทกึ สง่ ตรวจคนไข้

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ิของโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

แนวทางปฏิบัติ (Work Instruction) หนา้ : 15/15

เรื่อง การลงทะเบียนผปู้ ว่ ยท่ีมารับบรกิ าร วนั ทเ่ี ริม่ ใช้ 1 ตลุ าคม 2557
ทันตกรรม

รหสั เอกสาร WI – DEN - 003 ทบทวนคร้งั ที่ 3 วันท่ี 23 กุมภาพนั ธ์ 2564

4.6 กรณที ส่ี ง่ ตรวจไปแลว้ ตอ้ งการเรยี กมาแก้ไข
ใส่ HN ทตี่ ้องการเรยี กมาแกไ้ ข หรือตอ้ งการลบการมาครง้ั น้ีของคนไข้ หรอื ว่าต้องการสง่ ตรวจเพ่มิ
กรณี เลอื กเพิม่ รายการใหม่ คอื เป็นการสง่ ตรวจผปู้ ว่ ยเพิม่ อีก Visit
กรณี เลอื กแก้ไขขอ้ มลู เกา่ คอื เปน็ การเลอื กรายช่ือผปู้ ว่ ยทส่ี ง่ ตรวจไปแล้ว กลบั มาส่งตรวจใหม่อีกครง้ั

หรอื ลบการมาคร้ังน้ีของผปู้ ่วย

5. วิธกี ารประเมนิ
การจากสมุ่ ตรวจ และรายงานอบุ ัตกิ ารณ์

6. ผูร้ บั ผดิ ชอบ
นางสาวนาอมี ะห์ หามะ เจ้าพนกั งานทันตสาธารณสขุ ปฏบิ ตั งิ าน

เอกสารฉบบั น้ีเป็นสมบตั ขิ องโรงพยาบาลรามนั ห้ามนาออกไปใชภ้ ายนอกหรือทาซ้าโดยไม่ไดร้ บั อนุญาต


Click to View FlipBook Version