The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กัญชาและกัญชงศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-06-07 09:46:34

กัญชาและกัญชงศึกษา

กัญชาและกัญชงศึกษา

226

ลาดบั รายการ สรรพคุณทางยา ผลขา้ งเคียง
6 กัญชา มรี สมึนเมาสบายดี มีความรนื่ เรงิ อยู่ในใจ อาหารและกาลงั ถอย
ทาให้จติ ใจ ฟุ้งซ่านใจขลาด เปน็ ยาชกู าลัง หรอื ทาใหต้ วั สั่นและเสีย
7 กญั ชา บ้างเลก็ น้อย สตเิ ปน็ คนจริตพิการไป
หมดถ้ารบั ประทานมาก
รบั ประทานน้อยๆ เปน็ ยาชูกาลงั เจริญ เกินขนาดอาจทาใหเ้ บอ่ื
อาหาร
เมา ทาให้ใจขลาด

รอ้ ยกรองเกีย่ วกับการเมากัญชา

กกกกกกกกัญชา ทาให้เมา เล่าหนา ช่ือว่ากัญชา ฤทธาคมขา สูบกินส้ินแรง ตาแดงตาดา
กลางคืนกลางค่า ตามคลาเพ้อไปหัวเราะงอหาย หัวเราะใบไม้ น่ังน้าลายไหล อยากแต่ ของ
หวาน ใคร่ได้รับประทาน ของหวานเพ้อไป พูดเองหัวเอง ไม่เกรงคนไหน เดินมาเดินไปยัก
ย้ายท่าทางด้วยฤทธิ์กัญชาเหมือนอย่างคนบ้า ทีท้ากีดขวาง ข้ีขลาดตาขาว ต้มเหล้าไม่พราง
แต่เพียงข้างๆ สัก 2 กระบุงมเหเดชา นอนทอดกายา เพ่ือนมาไม่ยุ่ง ละเห่ียเมียด่านอนทอด
กายา ชักผ้าปิดพุง ร้องเพลงหัวพลางสาเหนียกเรียกนาง ยักเงินเดินตุง ดุจเพศปีศาจเข้า
แผลงอานาจในท้องในพุง วิปริตผิดไป อาการเล่าไว้จิตใจใฝ่ยุ่งกะทกกะทุง ไปทั่วกายการหัน
เหเซซุดดุจโถนตกฉาเหยียบแก้วเหยียบกา ฉวยพร้าเป็นขวานจิตใจมัวยุ่ง คว้ามุ้งถูกม่าน
เจรญิ อาหาร ประเสริฐเลศิ ดี สาหรบั แทรกยาพระยากญั ชา จบลงเพียงนี้ ตาราใครมี ใหข้ น้ึ ใจ

227

ในส่วนของตารับยาพืน้ บ้าน กัญชาเข้ายาหลายชนิด ท่ีเด่นคือโรคนอนมหิ ลับ ตัวอย่างตารับยาเช่น

ลำดบั ชื่อยำ สว่ ยประกอบของยำ
1 ยาเจริญธาตุ เอากัญชา โสม อบเชยญวณ เอาสิ่งละ 1 สลึง ใบกระวาน
กานพลู สะค้าน เอาสิง่ ละ 2 สลึง ขงิ แหง้ 3 สลงึ เจต็ มลู เพลงิ
2 ยาหม้อต้มกนิ ดปี ลี ส่งิ ละ 1 บาท นา้ ตาลกรวด 6 สลงึ บดละลายน้าผ้ึงกิน
แก้นอนไมห่ ลบั แกก้ นิ ข้าวไม่ได้ นอนไม่หลบั

3 ยาแกโ้ รคนอน ตามตาราท่านใหใ้ ช้ตัวยาดังนี้ รากชะพลู กัญชา สมอเทศ สมอ
ไมห่ ลบั ขนานที่ 1 ไทย หนักอย่างละเท่า ๆ กัน ต้มรวมกนั กนิ แก้นอนไม่หลบั
กระสบั กระสาย ประสาทแข็ง ใจสั่น กินทงั้ เชา้
4 ยาแกโ้ รคนอน
ไม่หลับขนานท่ี 2 ท่านใหเ้ อาลูกมะตูมออ่ น 1 บอระเพด็ 1 พริกไทยลอ่ น 1 ขมน้ิ
ออ้ ย 1 ตัวยาทั้ง 4 อย่างนี้ เอาหนักอย่างละ 1 บาท เท่ากัน
นามาตาใหล้ ะเอียดผสมกับน้าผง้ึ แท้ ใชร้ ับประทานมีสรรพคุณ
ทาใหน้ อนหลับสนิทเคยใช้รักษาใหห้ ายมามากแล้ว ไดผ้ ลดี
อยา่ งชะงักนกั แล

ท่านให้เอา ลูกสมอไทย 1 ลกู สมอเทศ 1 รากชา้ พลู 1 กญั ชา 1
ตวั ยาทงั้ 4 อย่างนี้ เอาหนักอยา่ งละเทา่ ๆ กัน นามาใสห่ ม้อดนิ
ต้ม ใชน้ ้ายารบั ประทาน มีสรรพคณุ แกโ้ รคนอนไมห่ ลบั ไดผ้ ล
อย่างละงัดนักแล ฯ

กกกกกกกนอกจากนี้ในสามจังหวัดภาคใต้ก็ยังมีการใช้กัญชาเป็นยา โดยมีชื่อตามภาษามลายูท้องถ่ิน
เรียกต้นกญั ชาวา่ “กันยอ (Ganja)”โดยมสี รรพคณุ ส่วนและวิธีการใช้ ดังน้ี

กญั ชา ภมู ปิ ัญญาในแดนใต้

สรรพคุณ ส่วนและวิธกี ารใช้ แหล่งข้อมลู
แกท้ อ้ งเสีย ท้องรว่ ง
นารากมาฝนให้ขน้ ผสมนา้ ตม้ สุก นายนอิ มุ า นเิ งาะ
ชว่ ยรักษาผมร่วง
แก้อาการคันบนหนงั ศรี ษะ ประมาณ ½ แก้วชา แล้วนามากรอง ทอี่ ยู่ อีนอ ลาโละ

ก่อนดื่มทุกครง้ั เมื่อมีอาการ จังหวดั นราธวิ าส

นาใบขนาดพอประมาณ มาตาให้ นางมอื ลอ มะแซ และ

ละเอียดแลว้ นามาค้ันผสมนา้ ต้มสกุ นางซารีเปาะ แวกาจิ

ดืม่ และนามาชโลมศีรษะหมักทิง้ ไว้ ที่อยู่ จะกวะ๊ จังหวดั ยะลา

228

สรรพคณุ สว่ นและวธิ กี ารใช้ แหลง่ ข้อมูล

รักษาอาการปวดฟนั ประมาณ ½ ช่วั โมง แล้วลา้ งออก
เนื่องจากฟันผุ
รกั ษาอาการปวดเมอื่ ย ด้วยนา้ สะอาด แลว้ สระผมตามปกติ
แก้กระษยั เสน้ เปน็ ยาชกู าลัง
ทาใหข้ ยนั ทางานรูส้ ึกผอ่ น นาใบมาขย้ีใหพ้ อแหลก แล้วนามา นางตีเมาะ รงโซะ
คลาย สบายตัวช่วยลด
อาการ อุดหรือทา ถู บริเวณท่ีมอี าการปวด ทอ่ี ยู่ เมือง จังหวดั ยะลา
ตงึ เครียดได้ชว่ ยให้หลบั
สบาย ฟนั

เป็นอาหาร -นาใบสดประมาณ 3 ใบต่อน้า 1 นายอสั ฮาน คาเร็ง
เจริญอาหาร
ลิตร มาต้มให้เดือดประมาณ 20 ที่อยู่ เมือง จังหวดั ยะลา
ไมป้ ระดับ
นาที แล้วนามาด่ืมอุ่นๆวันละ 2-3

เวลา หลังอาหาร หรือด่ืมเม่ือมี

อาการ

-นาท้งั ตน้ ทไ่ี ดท้ าการตากจนแห้ง

แล้วประมาณ ½ กามือต่อนา้ 1 ลติ ร

มาตม้ ใหเ้ ดือด แลว้ นามาดื่มอุ่นๆ

เป็นชาตา่ งนา้ หรอื เมื่อมีอาการ

-ใบอ่อนสามารถนามารบั ประทาน นายมัสบูด หาแว

สดเปน็ ผกั กบั ข้าวจ้ิมน้าพริก น้าบูดู ทอ่ี ยู่ บ้านตาเปาะ รอื เสาะ

เป็นผักข้าวยาได้ จงั หวดั นราธวิ าส

-ส่วนใบเพสลาดสามารถนามาใสใ่ น

แกงหรอื เมนูอาหารชนดิ ต่างๆได้

เช่น ต้มซปุ แกงสม้ แกงกะทิ แกง

มสั ม่นั เมนูผัดต่างๆ และอื่นๆ เป็น

ตน้ โดยจะใชใ้ บเพยี งเล็กนอ้ ยหรอื

ประมาณ 1-2 ใบเท่าน้นั

เพอื่ เพ่มิ รสชาติอาหารให้อร่อย ซึ่ง

จะชว่ ยใหเ้ จริญอาหาร และรู้สกึ ผอ่ น

คลายอีกดว้ ย (แตก่ ็ไมแ่ นะนา)ใส่

มากเกนิ ไป เพราะอาจจะทาให้เกิด

อาการเมาได้)

-ในสมัยก่อนชาวบ้านนิยมนามาปลูก นายอัสฮาน คาเรง็

เพื่อประดบั สวนรอบบรเิ วณบ้านให้มี ท่อี ยู่ เมือง จงั หวัดยะลา

229

สรรพคุณ สว่ นและวธิ ีการใช้ แหลง่ ข้อมลู

ความสวยงามน่าอยู่ เพราะต้นกัญชา

เป็นต้นพชื ทีม่ ีความสวยงามอยใู่ นตวั

-นาใบมาจดั ใส่ชุดสารบั หมาก

ใชป้ ระโยชนต์ ่างๆ รับประทานยามวา่ งหรือสาหรับ

ต้อนรับแขกท่ีมาเยยี่ มเยียนบ้าน

กก

กกกกกกกกล่าวโดยสรุปภูมิภูเบศรศูนย์การเรียนรู้สมุนไพรครบวงจร ภายใต้แนวคิดการพ่ึงพาตนเอง

เก่ียวกับการดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ประกอบด้วย (1) เรือนหมอพลอย (2) สวนสมุนไพรภูมิภูเบศร

และ (3) อภยั ภเู บศรโมเดล

ภาพท่ี 76 โครงการปลูกกัญชาเพอ่ื ใช้ประโยชน์ทางการแพทยโ์ ดยระบบปิด

กกกกกกก5.ภมู ิปัญญาหมอพนื้ บ้านนายเดชา ศิรภิ ทั ร
ประวัติ ครอบครัวของนายเดชา ศิริภัทร หมอพื้นบ้านตารับยาพื้นบ้านไทยจากกระแสความนิยมท่ีมา
จากตะวันตก มีที่นานับหม่ืนไร่ และเป็นเจ้าของโรงสีที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัดสุพรรณบุรี นายเดชาได้
เข้าเรียนคณะสัตวบาล มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น เม่ือเรียนจบระดับปริญญาตรีแล้ว ได้เข้ารับราชการเป็น
เวลา 4 ปี และเม่ือเขามีอายุประมาณ 30 ปี นายเดชา ศิริภัทร ได้ทาตามความต้องการของแม่ที่
ต้องการให้บวชเรียน จากการที่นายเดชา ศิริภัทร เป็นคนอ่านมาก เขาจึงรู้ว่าวัดไหนเป็นอย่างไร ใคร
คือพระจริงพระปลอม เขาจงึ เลือกบวชท่ีวดั สวนโมกข์ รุ่นราวคราวเดยี วกับพระพศิ าลธรรมวาที หรือ
พระพะยอม กัลป์ยาโณนายเดชา ศิริภัทร บวชเป็นเวลา 3 - 4 เดือน ภายใต้การปกครองและพร่า
สอนของพระธรรมโกศาจารย์ (เง่ือม อินทปญฺโญ) หรือรจู้ ักในนาม พทุ ธทาสภิกขุ เขารู้สึกว่าตวั เองดวงตา

230

สว่าง มองเห็นทางเดินสู่ความพอดีของชีวิต เมื่อลาสิกขาบทออกมา จึงได้ประกาศขอแยกตัวออกจาก
ธุรกิจครอบครัว ไม่รับมรดกใดๆ ทั้งส้ิน มุ่งทางานด้านการเกษตร และเป็นนักเคลื่อนไหวด้าน
เกษตรกรรมย่ังยนื 1

ภาพท่ี 77 ภูมิปัญญานายเดชา ศริ ภิ ัทร

นายเดชา ศิริภัทร เปน็ ทีร่ ู้จักดีจากงานด้านการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรท่ีเหมาะสมกับท้องถ่ิน
และพัฒนาพันธุกรรมข้าว ที่เขาสนใจอย่างต่อเน่ืองมาร่วม 20 ปี เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2527 และ
ดาเนินการต่อเน่ืองมา จนกระท่ังมีอายุ 55 ปี นายเดชา ศิริภัทร ได้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการมูลนิธิ
ขา้ วขวญั จังหวดั สุพรรณบุรี ประกอบกบั มารดาได้เสียชีวติ ลงจากเหตโุ รคมะเรง็ ร้ายทคี่ ร่าชีวิตผเู้ ป็นแม่
เม่ือประมาณ 40 ปีก่อน เป็นประสบการณ์ท่ีทาให้ นายเดชา ศิริภัทร ผู้บุกเบิกเกษตรกรรมทางเลือก
ใน ป ร ะ เท ศ ไท ย ใน วั ย 7 1 ปี แ ร ง จู ง ใจ ที่ ท า ให้ น า ย เด ช า ส น ใจ ใน ก า ร ใช้ น้ า มั น
กัญชาในการรักษาโรคคือ“แม่ผมเป็นมะเร็งตับเสียชีวิต ท้ังที่เรามีเงินมีทุกอย่างพร้อมเม่ือปี พ.ศ.
2519 หลงั จากนั้นนา้ ชายผมอกี 4 คน เปน็ แบบเดียวกนั ทง้ั หมดเลย เปน็ มะเร็งตบั และตายกนั หมดทั้ง
ที่ทุกคนมีฐานะดีมาก” น่ันเป็นจุดเร่มิ ต้นของศึกษาการผลิตยากัญชาทางการแพทย์ เมื่อปี พ.ศ.2556
นายเดชา ศิริภัทร ได้เลือกศึกษาข้อมูลจากต่างประเทศถึงวิธีการสกัดกัญชา ออกมาในรูปแบบที่ทา
เป็นยาน้ามันกัญชา โดยใช้วิธีการท่ี ริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) นักเคลื่อนไหวชาวแคนาดาเพ่ือ
กัญชาทางการแพทย์ ในระยะแรกซ่ึงเม่ือพบว่าสารสกัดมีความไม่ปลอดภัย ก็ได้ใช้น้ามันมะพร้าวสกัด
เย็นมาสกดั
นายเดชามีความเช่ือว่า ใช่วา่ กัญชาเปน็ ยาวิเศษที่ทาให้ผู้ป่วยรอดพ้นการตาย หากการหายจากมะเร็ง
กต็ ้องมีปัจจยั ในการดูแลรักษาสุขภาพทางกายและจิต ต้องเข้าใจว่าทุกคนมันตายทุกคน เกดิ แล้วตาย
แต่จะตายแบบไหน ไม่ทรมานไม่ต้องเจ็บปวด ถึงจะหายด้วยโรคมะเร็งกต็ ายดว้ ยโรคอ่ืนอยู่ดี” นายเด
ชากล่าว ตามวิสัยท่ีใช้หลักธรรมของพุทธศาสนา เป็นหลักในการดาเนินชีวิต “ไม่ใช่ว่ามีกัญชาแล้วไม่

231

ตาย แต่ตายแบบไหน” อย่างไรก็ตาม องค์การเภสัชกรรม ให้ข้อมูลว่า สาหรับผู้ป่วยมะเร็งระยะ
สุดท้ายสารสกัดจากกัญชามีผลในแง่ของการใช้เพ่ือควบคุมอาการเท่านั้น ซ่ึงสอดคล้องกับ รอง
ศาสตราจารย์ นายแพทย์วโิ รจน์ ศรีอุฬารพงศ์ อดีตนายกสมาคมมะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย
และหัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์โรคมะเร็งครบวงจร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ที่บอกว่า
การวิจัยท่ีบอกว่าสารจากกัญชาฆ่าเซลล์มะเร็งได้ยังเป็นการทดลองในห้องปฏิบัติการ ส่วนการใช้
น้ามนั กญั ชาเพือ่ ลดผลข้างเคียงจากเคมบี าบัด ก็มปี ระสิทธภิ าพไมต่ า่ งจากยาแผนปจั จบุ ัน
ปัจจุบันตารับของนายเดชาได้รับการรับรองให้เป็นตารับยาหมอพื้นบ้านที่ได้รับการรับรองโดย
คณะกรรมการรับรองตารับยาแผนไทยที่ มีกัญชาปรุงผสม กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือกโดยตารับยาน้ีนายเดชา ศิริภัทร จะต้องเป็นผู้อนุญาตให้ผู้ป่วยใช้ได้เท่านั้น ผู้ป่วยจึงจะ
นามาใช้ไดม้ สี ่วนประกอบและข้อบง่ ใชค้ ือ

ตารับยาแผนไทยท่ี มกี ัญชาของนายเดชา ศริ ภิ ัทร หมอพนื้ บา้ น

ลาดบั สว่ นประกอบ สรรพคณุ รูปแบบยา ขนาด/วิธีการใช้
1 1.กัญชา 100กรัม 1. ช่วยให้นอนหลบั มีลกั ษณะเป็นยานา้ มนั
2. นา้ มันมะพรา้ ว 2. ช่วยเจรญิ อาหาร ขนาดและวธิ ใี ช้ เร่มิ ตน้ รบั ประทาน
1000มิลลลิ ติ ร 3. บรรเทาอาการปวดศีรษะ ครง้ั ละ 1-3 หยดตามคาส่งั ของ
ขา้ งเดียว (ลมปะกัง) แพทย์แผนไทย/แพทย์แผนไทย
4. บรรเทาอาการปวดเรื้อรัง ประยุกต์ หากติดตามอาการแลว้
5. บรรเทาอาการสัน่ จากกล่มุ ไม่ดขี ้นึ ให้ปรบั ขนาดยาเพ่ิมขึ้น
โรคระบบประสาท ครัง้ ละ1- 2 หยด
หรอื ใช้ กับอาการ, ภาวะอื่นๆ ค้าแนะน้าเพ่ิมเตมิ วธิ กี ารหยด
ตามดลุ พนิ ิจของ แพทย์ แผน น้ามนั กญั ชาให้หยดใส่ ช้อนก่อน
ไทยและแพทย์ แผนไทย รบั ประทานเพื่อป้องกันการใช้ ยา
ประยุกต์ทสี่ ่ังใช้ยาน้ามัน เกินขนาด
กัญชา

กล่าวโดยสรุปนายเดชา ศิริภัทร หมอพื้นบ้านประธานมูลนิธิข้าวขวัญ เป็นผู้ท่ีได้นากัญชามารักษา
โรคตามตารับยาพ้ืนบ้านไทยจากกระแสความนิยมท่ีมาจากตะวันตกได้เริ่มทดลองใช้กัญชารักษา
ตัวเอง โดยนาความรู้พ้ืนฐานในการสกัดท่ีเผยแพร่โดยRick Simpson (รคิ ซิมสัน) ชาวอเมริกนั ทปี่ ่วย
เป็นโรคมะเรง็ แล้วสกดั กญั ชารกั ษาโรคมะเร็งที่ตัวเอง มาผสมผสานกับความรพู้ ้ืนบ้าน เป็นน้ามันเดชา
(Decha Oil) นามาใช้กับตนเองในการช่วยให้นอนหลับได้ลึกข้ึน หลงลืมง่าย และต้อเนื้อในตาในช่วง

232

4-5 ปี ท่ีผ่านมา จึงขยายผลเผยแพร่ ทายาแจกให้ผู้ป่วยโรคต่าง ๆ โดยไม่เกิดค่าใช้จ่าย เป็นจานวน
มากกว่า 4,000 ราย ปัจจุบัน น้ามันเดชาได้รับการรับรองให้เป็นเป็นตารับยาพ้ืนบ้าน ของกระทรวง
สาธารณสุข ซึ่งหมอพ้ืนบ้านผู้เป็นเจ้าของตารับสามารถจ่ายให้กับผู้ป่วยของตนเองได้ และกระทรวง
สาธารณสุขอยู่ระหว่างทาการวิจัยเพื่อวิจัยพิสูจน์ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสูตรการรักษา
ดงั กล่าว

การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้

กกกกกกก1. กาหนดประเด็นศกึ ษาคน้ คว้าร่วมกัน
กกกกกกก2. ศึกษาค้นควา้ จากส่ือทห่ี ลากหลาย
กกกกกกก3. บนั ทกึ ผลการศึกษาคน้ คว้าท่ไี ดล้ งในเอกสารการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (กรต.)
กกกกกกก4. พบกลมุ่
กกกกกกก5. อภปิ ราย คดิ แลกเปล่ยี นเรียนรขู้ อ้ มลู ท่ไี ด้
กกกกกกก6. คดิ สรุปการเรียนรทู้ ่ีไดใ้ หม่ ร่วมกนั บนั ทึกลงในเอกสารการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (กรต.)
กกกกกกก7. นาข้อสรุปการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่ มาฝึกปฏิบัติด้วยการทาแบบฝึกหัดกิจกรรมตามที่มอบหมาย
บันทกึ ผลการปฏบิ ตั ิลงในเอกสารการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.)
กกกกกกก8. จัดทารายงานการศกึ ษา การนากัญชาไปใช้ทางการแพทยท์ างเลือกที่สนใจ
กกกกกกก9. นาเสนอผลการศกึ ษาการนากัญชาไปใช้ทางการแพทย์ทางเลอื กทส่ี นใจแกเ่ พื่อนผูเ้ รยี น
และครูผู้สอน
กกกกกกก10. บันทึกผลการเรยี นรู้ที่ได้จากการฝึกปฏิบัติลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.)
กกกกกกก11. บรรยายสรปุ

สื่อและแหล่งเรยี นรู้

กกกกกกก1. ส่อื เอกสารไดแ้ ก่
กกกกกกก1. 1.1 ใบความรู้ที่5
กกกกกกก1. 1.2 ใบงานท่ี 5
กกกกกกก1. 1.3 สื่อหนังสือเรียน สาระทักษะการดาเนินชีวิต รายวิชา ทช33098กัญชาศึกษาใช้
เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั กรงุ เทพมหานคร
กกกกกกก1. 1.4 หนังสือท่เี กีย่ วขอ้ ง

233

กกกกกกก1. 1.4.1 ช่อื หนังสือสรุ ิยันกัญชา อัมฤตย์โอสถแหง่ ความหวงั ช่ือผ้แู ต่ง ปานเทพ
พัวพงษ์พันธ์ ช่อื โรงพิมพ์ สานักพิมพบ์ า้ นพระอาทิตย์ ปที ่พี ิมพ์ 2562
กกกกกกก1. 1.4.2 ชอื่ หนังสอื กญั ชารักษามะเร็งชือ่ ผแู้ ตง่ สมยศ ศุภกจิ ไพบูลย์ ชื่อโรงพมิ พ์
สานักพิมพ์ปญั ญาชน ปที ี่พมิ พ์ 2562
กกกกกกก1. 1.4.3 ชอื่ หนงั สือประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรือ่ ง กาหนดตารับยาเสพติดให้
โทษในประเภท 5 ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ ทใี่ หเ้ สพเพื่อรกั ษาโรคหรอื การศึกษาวิจัยได้ ปที ่ีพิมพ์2562
กกกกกกก1. 1.4.4 ช่ือหนังสือขนาดยาจากกัญชาที่เหมาะสมในการรักษาโรค ชื่อผู้แต่ง
ผศ.ดร.นพ.ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เอกสารประกอบการ
บรรยาย ช่ือโรงพมิ พ์ กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กปที ่ีพิมพ์2562
กกกกกกก2. สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่

2.1 ชือ่ บทความประวัติศาสตร์กบั การใชก้ ัญชาทางการแพทยใ์ นอดีต ชื่อผู้เขยี น
Delivered by FeedBurnerสบื ค้นจาก https://www.กัญชาทางการแพทย์.
com/2019/05/marijuana-cannabis-drugs-medical-use-history.html

2.2 ชอ่ื บทความศลิ าจารึกตารายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหารที่สญู หาย ชือ่ ผเู้ ขียน
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สืบคน้ จาก http://digi.library.tu.ac.th/index/
0122/7-1-Jan-Apr-2552/08PAGE39-PAGE53.pdf

2.3 ชือ่ บทความองคค์ วามรู้กญั ชาอภยั ภเู บศรโมเดลสบื ค้นจาก
www.abhaiherb.com
กกกกกกก3. ส่ือบคุ คลหรอื ภูมปิ ญั ญา

- ภมู ิปัญญานายเดชาศริ ิภัทรท่อี ยู่ 13/1 หมทู่ ่ี 3 ถนนเทศบาลทา่ เสด็จ 1 ซอย 6 ตาบล
สระแก้ว อาเภอเมืองสพุ รรณบุรี จงั หวัดสุพรรณบุรี
กกกกกกก4. สือ่ แหล่งเรียนรูใ้ นชมุ ชน
กกกกกกก4. 4.1 วดั ราชโอรสารามราชวรมหาวหิ าร ถนนเอกชยั ซอย 2 แขวงบางค้อ เขตจอมทอง
กรุงเทพมหานคร 10150หมายเลขโทรศัพท์024152286, 028937274
กกกกกกก4. 4.2 วัดพระเชตุพนวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวิหาร (วัดโพธิ์) ถนนสนามไชย แขวง
พระบรมมหาราชวงั เขตพระนคร กรงุ เทพมหานคร10200 หมายเลขโทรศัพท0์ 22260335
กกกกกกก4. 4.3 โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร ท่ีอยู่ 32/7 หมู่ 12 ถนนปราจนี อนุสรณ์
ตาบลทา่ งาม จงั หวดั ปราจีนบุรี 25000 หมายเลขโทรศพั ท0์ 37211088 หมายเลขโทรสาร
037211243
กกกกกกก4. 4.4 ภูมภิ เู บศรตาบลบางเดชะ อาเภอเมืองปราจนี บรุ ี จงั หวัดปราจีนบรุ ี 25000
หมายเลขโทรศัพท์ 0970973582

234

กกกกกกก4.4.5 กระทรวงสาธารณสุขไดแ้ ก่
4.5.1 กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข 88/23 ถนนติวานนท์ ตาบลตลาดขวัญ

อาเภอเมือง จงั หวัดนนทบุรี 11000 หมายเลขโทรศพั ท์ 025906345 และ 025906060
4.5.2 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณสุข 88/23

ถนนติวานนท์ ตาบลตลาดขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 หมายเลขโทรศพั ท์025917007
4.5.3 โรงพยาบาล การแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสานยศเส 693 ถนน

บารงุ เมอื ง แขวงคลองมหานาค เขตปอ้ มปราบศัตรูพ่าย กรงุ เทพมหานคร 10100หมายเลขโทรศพั ท์
02 2243261

4.5.4 ห้องสมุดใกล้บา้ นผู้เรยี น

การวัดและประเมินผล

กกกกกกก1. ประเมินความก้าวหนา้ ดว้ ยวธิ ี
กกกกกกก1. 1.1 การสังเกต
กกกกกกก1. 1.2 การซักถาม ตอบคาถาม
กกกกกกก1. 1.3 การตรวจเอกสารการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.)
กกกกกกก1. 1.4 การตรวจเอกสารรายงานการศึกษาการนากัญชาไปใช้ในทางการแพทย์ทางเลือก
ตามทสี่ นใจ
กกกกกกก2. ประเมนิ ผลรวม ด้วยวธิ ี
กกกกกกก1. 2.1 ตอบแบบทดสอบวดั ความรู้ หัวเรื่องที่ 5กัญชากับการแพทย์ทางเลือก จานวน 8 ข้อ
กกกกกกก1. 2.2 ตอบแบบสอบถามวดั ทักษะในการแสวงหาความรู้ และทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
กกกกกกก1. 2.3 ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติ

235

หวั เร่ืองท่ี 6

กญั ชาและกัญชงกับการแพทยแ์ ผนปัจจบุ ัน

สาระสาคญั

1. ประวตั ิการใชก้ ญั ชาและกัญชงทางการแพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน
1.1 ต่างประเทศ
ในต่างประเทศ มีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในทางการแพทย์หลายรูปแบบ ได้แก่

น้ามันหยดใต้ล้ิน แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ลิ้น ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง
มกี ารศึกษาวิจยั และใชก้ ัญชาเป็นยารักษาโรค เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมรกิ า และแคนาดา เปน็ ต้น
นอกจากน้ีในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการจดสิทธิบัตร และพบฤทธ์ิของกัญชาที่อาจมีผลดีต่อโรคทาง
ระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคที่เกิดจากเซลล์ถูกท้าลาย
โดยอนุมลู อิสระ (Oxidative) เป็นตน้ แตย่ งั ตอ้ งการการศึกษาวจิ ยั ในมนุษยเ์ พ่มิ เติมอีกในอนาคต

1.2 ประเทศไทย
ประวัติการใช้กัญชาในการแพทย์แผนปัจจุบันในประเทศไทย ไม่ปรากฏข้อมูล

หลักฐาน สืบเนื่องจากกัญชา ได้ถูกบรรจุให้เป็นยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติ
ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 จึงท้าให้ขาดการศึกษาวิจัย มาพัฒนาเพื่อใช้เป็นยาในทางการแพทย์
แผนปัจจุบัน ส่งผลใหไ้ ม่มีประวตั ิการใช้กัญชาในประเทศไทย ท่ีถูกต้องตามกฎหมาย แต่ในปัจจุบันได้
มีการแก้ไขกฎหมายเพ่ิมเติม ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ก้าหนดให้
ใชเ้ พอื่ ประโยชน์ทางราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชน์การรกั ษาผ้ปู ว่ ย และประโยชน์ในการ
ศกึ ษาวจิ ยั ในปจั จบุ ันจึงอยู่ระหว่างการศกึ ษาวจิ ัย

2. กญั ชาและกัญชงทีช่ ว่ ยบรรเทาโรคแผนปจั จบุ นั
2.1 กัญชาและกัญชงกบั โรคพาร์กินสัน
สาร CBD เป็นสารสกัดท่ีได้จากกัญชงและกัญชา ไม่มีฤทธ์ิต่อจิตและประสาท

ช่วยใหผ้ ู้ป่วย ลดความวติ กกงั วล บรรเทาอาการเกรง็ ของกล้ามเนื้อ มฤี ทธริ์ ะงับปวด และมีกลไกที่เชื่อ
ว่าอาจท้าให้ลดอาการสั่นจากโรคพาร์กินสัน ท้าให้การเคลื่อนไหวดีขึ้น ปัจจุบันยังไม่ทราบกลไกการ
ออกฤทธ์ิท่ีชัดเจน คาดว่าสาร CBD มีส่วนช่วยชะลออาการของ โรคพาร์กินสัน จากฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
ลดการอักเสบ และปกป้องเซลล์สมอง ซึ่งต้องการงานวิจัยเพิ่มเติมในอนาคตถึงสดั ส่วนสารส้าคัญทใี่ ช้
ในโรคพาร์กนิ สัน

236

2.2 กัญชาและกัญชงกบั โรคมะเรง็
ในต่างประเทศ มีผลการศึกษาวิจัยสารในกัญชา สาร THC และสาร CBD ที่สามารถ

เชื่อถือได้ ในการรักษาโรคมะเร็งปอด และมะเร็งเม็ดเลือดขาว ในประเทศไทย มีการศึกษาการใช้
กญั ชาตอ่ ตา้ นมะเร็งพบว่า กัญชาสามารถออกฤทธิ์ฆ่าเซลล์มะเร็งในการเพาะเลย้ี งเซลล์ในห้องทดลอง
แต่ยังไม่มีการศึกษาถึงผลของกญั ชาต่อโรคมะเร็งในมนุษย์

2.3 กัญชาและกัญชงกับการลดอาการปวด
มีการศึกษาการน้ากัญชามาใช้ลดอาการปวด ส่วนใหญ่พบว่า สามารถบรรเทา

อาการปวดแบบเร้ือรัง (Chronic pain) ท่ีเป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic pain)
สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ สว่ นการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น หลงั ผ่าตัด ยงั ไมไ่ ดใ้ ห้ผล
ที่ดี ส้าหรับอาการปวดเรื้อรังในผู้ป่วยมะเร็ง ยังไม่มีข้อสรุปทางคลินิกท่ีชัดเจน สารสกัดกัญชาอาจมี
ประโยชน์ในการรักษาอาการปวด แต่ยังขาดข้อมูลจากงานวิจัยสนับสนุนที่ชัดเจนเพียงพอ ในด้าน
ความปลอดภยั และประสทิ ธผิ ล ซ่งึ ยงั ตอ้ งศกึ ษาวจิ ัยต่อไปเพื่อให้ผู้ป่วยไดร้ บั ประโยชนส์ งู สดุ

2.4 กญั ชาและกัญชงกบั โรคลมชัก
ส้าหรับกัญชาท่ีองค์การอาหารและยา (Food and Drug Administration) ของ

ประเทศสหรัฐอเมริกา อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชา ตัวแรก (ไม่ใช่สารสังเคราะห์) ชื่อการค้า
Epidiolex® ประกอบด้วยตัวยา CBD 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในรูปแบบสารละลายให้ทางปาก
(Oral solution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut
syndrome และ Dravet syndrome ในผู้ป่วยอายุ 2 ปีขึ้นไป

ในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถึงประโยชน์ของสารสกัดจากกัญชาทาง
การแพทย์ ในการน้าตัวยา CBD มาใช้กบั โรคลมชักทร่ี กั ษายาก และโรคลมชักท่ดี ื้อต่อยารักษาเท่านน้ั

2.5 กัญชาและกัญชงกับโรคผิวหนัง
นายแพทย์เวสารัช เวสสโกวิท ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการน้าน้ามันกัญชามาใช้ใน

โรคสะเก็ดเงิน และกรรมพันธุ์ผิวหนังชนิดหนังหนาแต่ก้าเนิด ส้าหรับในต่างประเทศ นายริค ซิมป์สัน
(Rick Simpson) มีการค้นพบการรักษาโรคมะเร็งผิวหนังด้วยกัญชา โดยผลิตน้ามันกัญชา เรียกว่า
ริค ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แล้วน้ามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาวสหรัฐอเมริกา และ
ประเทศองั กฤษ ทางอินเทอร์เนต็

2.6 กัญชาและกัญชงกับโรคตอ้ หิน
การศึกษาวิจัยเก่ียวกับการรักษาโรคต้อหิน ด้วยกัญชา พบว่าการใช้กัญชา ท้าให้

ความดันในลูกตาลดลงได้ มีฤทธ์ิอยู่ได้เพียง 3 ชั่วโมง และขึ้นอยู่กับปริมาณการใช้กัญชาด้วย ซ่ึงอาจ
เพิ่มการเกิดผลข้างเคยี ง จากการได้รับขนาดยากัญชามากเกินไป ไดแ้ ก่ ความดนั โลหิตต่้าลง และหวั ใจ
เต้นเร็วขึ้น ด้วยเหตุผลที่ว่ามีหลายปัจจัยเข้ามาเก่ียวข้องในการควบคุมความดันลูกตา ไม่ว่าจะเป็น

237

ระยะเวลาการออกฤทธ์ิ ความแรงของยากัญชา ท้าให้ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันยังไม่ยอมรับ
การน้ากัญชามาใช้รักษาโรคต้อหิน เนื่องจากยาแผนปัจจุบันสามารถคุมความดันในลูกตาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพคงที่ และสมา่้ เสมอมากกว่า

3. การใช้น้ามนั กัญชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนปัจจุบัน
น้ามันกัญชา คือ สารสกัดกัญชา (Cannabis extract) ท่ีเจือจางอยู่ในน้ามันตัวพา (Carrier

oils หรือ Diluent) สว่ นมากนิยมใช้น้ามนั มะกอก และน้ามันมะพร้าวสกดั เยน็ โดยหากผ่านการผลิตที่
ได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารส้าคัญ ปรมิ าณความเข้มข้นของตัวยา THC และ
CBD รูปแบบของน้ามนั กัญชามีสเี หลืองออ่ นจนถึงสนี ้าตาล ลักษณะ ข้นหนืด น้ามนั กัญชาท่ีมีการผลิต
อย่างได้มาตรฐาน ในประเทศไทยจากองค์การเภสัชกรรม และโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร
ปัจจุบนั มีอยู่ 3 สตู ร สตู รท่ี 1 นา้ มันสตู ร THC สูง สูตรที่ 2 นา้ มนั สตู ร THC : CBD ในอัตราสว่ นเท่า ๆ กัน
สูตรท่ี 3 น้ามันสูตร CBD สูง วิธีการสกัดน้ามันกัญชา ด้วยตนเองเป็นวิธีการท่ีไม่ปลอดภัย และเป็น
อันตรายต่อผู้ใช้ ควรใช้ผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาที่มีมาตรฐาน ได้รับจากคลินิกกัญชา ท่ีมีแพทย์อนุญาต
ให้ใช้น้ามันกัญชาในการรักษาโรคจึงจะมีความปลอดภัย ขนาดการใช้น้ามันกัญชาจะต้องอยู่ภายใต้
การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือ เร่ิมใช้น้ามันกัญชาท่ีขนาดต้่า ๆ โดยแนะน้าให้
เริ่มท่ี 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพ่ิมขนาดมากข้ึนตามคาแนะนาของแพทย์
เท่านั้น น้ามันกัญชาอาจจะท้าให้มีภาวะง่วงซึม จึงแนะน้าให้ใช้เวลาก่อนนอน และหลีกเล่ียงการ
ทา้ งานใกลเ้ ครอื่ งจกั ร หรือขบั รถ

4. ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงทางการแพทย์
ผลติ ภัณฑ์สา้ เรจ็ รปู จากกัญชาเพื่อใชป้ ระโยชน์ทางการแพทย์ สา้ หรบั คนมรี ปู แบบน้ามัน

หยดใต้ล้ิน แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ลิ้น ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง
ผลิตภัณฑ์กัญชาจะมีสูตรแตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารส้าคัญ THC และ CBD ผลิตภัณฑ์
กัญชาท่ีได้รับการขึ้นทะเบียน (Registered drug) ขณะน้ีมีอยู่ 3 รูปแบบ คือ ผลิตภัณฑ์ THC
สังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์สารสกัดแคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์สารสกัด CBD นอกจากนี้
ในตา่ งประเทศยงั มผี ลติ ภัณฑ์รักษาอาการเจบ็ ป่วยในสัตว์

5. การใชผลิตภัณฑกัญชาและกัญชงให้ได้ประโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจุบัน แนะน้าโดย
กรมการแพทย์ เพือ่ ใช้ในการดแู ลรกั ษา และควบคุมอาการของผู้ป่วย เน่อื งจากมหี ลักฐานทางวชิ าการ
ที่มีคุณภาพสนับสนุนชัดเจน โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ (1) ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบ้าบัด
(Chemotherapy induced nausea and vomiting) โดยแพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อ
รักษาภาวะคลน่ื ไสอ้ าเจยี นจากเคมีบ้าบดั ที่รักษาดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ แล้วไม่ได้ผล (2) โรคลมชกั ที่รักษายาก
และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา (Intractable epilepsy) ผู้สั่งใช้ควรเป็นแพทย์ผู้เช่ียวชาญด้านระบบ
ประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชาเพ่ือการรักษาผู้ป่วย (3) ภาวะกล้ามเนื้อ

238

หดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (Multiple sclerosis) แพทย์สามารถใช้
ผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อบรรเทาอาการปวดและเกร็งในกรณีท่ีรักษาด้วยวิธีอ่ืน ๆ แล้วไม่ได้ผล และ
(4) ภาวะปวดจากระบบประสาท (Neuropathic pain) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในกรณีที่
รกั ษาภาวะปวดจากระบบประสาทท่ดี ้ือต่อการรักษาดว้ ยยามาตรฐาน

6. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชน์ ในการควบคุมอาการ
ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยวิธีมาตรฐานแล้ว ไม่สามารถควบคุมอาการของโรคได้ หากจะน้า
ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง มาใช้กับผู้ป่วยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซิงกิ ของแพทยสมาคมโลก (ปี ค.ศ.
2013) ระบุว่า มีความเป็นไปได้หากไม่มีวิธีการรักษาอ่ืน ๆ หรือมีวิธีการรักษา แต่ไม่เกิดประสิทธิผล
ภายหลังจากได้ปรึกษากับผู้เช่ียวชาญ และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย หรือญาติโดยชอบธรรมแล้ว
แพทยอ์ าจเลือกวธิ ีการใชผ้ ลติ ภัณฑก์ ัญชาและกัญชงมาช่วยชีวติ ผปู้ ่วย ฟืน้ ฟสู ขุ ภาพ หรือลดความทุกข์
ทรมานของผูป้ ว่ ย

ตัวช้วี ัด

กกกกกกก1. บอกประวัติการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจุบันทั้งในต่างประเทศ และ
ประเทศไทยได้
กกกกกกก2. บอกการใช้กัญชาและกัญชงที่ช่วยบรรเทาโรคพาร์กินสัน มะเร็ง ลดอาการปวด ลมชัก
ผิวหนงั และโรคตอ้ หนิ ได้
กกกกกกก3. ประยุกตใ์ ช้ความรกู้ ญั ชาและกัญชงทช่ี ่วยบรรเทาโรคแผนปัจจุบัน ศึกษาโรคท่สี นใจได้
กกกกกกก4. วิเคราะห์หลักการใช้น้ามันกัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจุบันตามกรณีศึกษา
ท่กี ้าหนดให้ได้
กกกกกกก5. อธิบายผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกัญชงทางการแพทย์ได้
กกกกกกก6. บอกวธิ ีการใช้ผลิตภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงใหไ้ ด้ประโยชนท์ างการแพทย์ในปจั จบุ นั ได้
กกกกกกก7. บอกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ที่น่าจะได้ประโยชน์ในการควบคุม
อาการได้
กกกกกกก8. ตระหนักถึงความส้าคัญของการน้ากัญชาและกัญชงไปใช้รักษาโรค และลดอาการปวด
ในการแพทยแ์ ผนปัจจบุ ัน

239

ขอบขา่ ยเนอื้ หา

กกกกกกก1. ประวตั กิ ารใชก้ ญั ชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจุบัน
1.1 ตา่ งประเทศ
1.2 ประเทศไทย

กกกกกกก2. กญั ชาและกัญชงที่ช่วยบรรเทาโรคแผนปจั จบุ ัน
2.1 กญั ชาและกญั ชงกบั โรคพารก์ นิ สนั
2.2 กัญชาและกัญชงกับโรคมะเร็ง
2.3 กญั ชาและกัญชงกบั การลดอาการปวด
2.4 กญั ชาและกญั ชงกบั โรคลมชัก
2.5 กัญชาและกัญชงกบั โรคผวิ หนงั
2.6 กญั ชาและกัญชงกบั โรคตอ้ หนิ

กกกกกกก3. การใชน้ ้ามันกัญชาและกัญชงกบั การแพทย์แผนปัจจบุ นั
3.1 น้ามันกญั ชาคืออะไร
3.2 ลกั ษณะของนา้ มนั กญั ชา
3.3 สตู รของน้ามนั กัญชา
3.4 วิธีการสกดั น้ามนั กญั ชา
3.5 วธิ ีการใชน้ ้ามันกัญชา

กกกกกกก4. ผลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงทางการแพทย์
4.1 ผลิตภัณฑ์ THC สงั เคราะห์ (Synthetic THC)
4.1.1 ยาโดรนาบินอล (Dronabinal)
4.1.2 นาบิโลน (Nabilone)
4.2 ผลติ ภัณฑ์สารสกัดแคนนาบนิ อยดจ์ ากธรรมชาติ (Natural Purified Cannabinoid)
4.3 ผลติ ภัณฑ์สารสกดั CBD
4.4 ผลิตภัณฑ์ส้าหรบั สตั ว์

กกกกกกก5. การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กัญชาและกญั ชงให้ได้ประโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจบุ นั
5.1 ภาวะคล่ืนไส้อาเจยี นจากเคมบี า้ บดั
5.2 โรคลมชักท่รี กั ษายากและโรคลมชกั ท่ีดอื้ ต่อยารกั ษา
5.3 ภาวะกลา้ มเนื้อหดเกรง็ ในผ้ปู ว่ ยโรคปลอกประสาทเสื่อมแขง็
5.4 ภาวะปวดประสาท

กกกกกกก6. การใช้ผลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงทางการแพทยน์ ่าจะไดป้ ระโยชนใ์ นการควบคมุ อาการ

240

รายละเอียดเนอ้ื หา

1. ประวตั กิ ารใชก้ ญั ชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจบุ ัน
1.1 ต่างประเทศ
ในต่างประเทศใช้กัญชาเป็นยารักษาโรค ได้แก่ ประเทศอังกฤษ อนุญาตให้ใช้

กัญชาในลักษณะเป็นผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ทางการแพทย์ ในรูปของยาเม็ด ยาแคปซูล น้ามันกัญชา แต่ไม่
อนุญาตให้มีการสูบ ในประเทศเยอรมนี ใหใ้ ช้ในรูปแบบ สเปรย์ (Spray) ส้าหรบั รักษาอาการปวดเกร็ง
กลา้ มเนอ้ื ในประเทศสเปน มกี ารวจิ ัยทางคลนิ กิ การใช้กัญชารกั ษามะเรง็ หรือเนื้องอกชนิด กลยั
โอบลาสโตมา (Glioblastoma หรือ GBM) ผลการวิจัย ปรากฏว่าได้ผลดี ในประเทศสหรัฐอเมริกา มี
การจดสิทธิบัตรกัญชา และพบฤทธิ์ของกัญชาท่ีอาจมีผลดีต่อโรคทางระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์
พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคท่ีเกิดจากเซลล์ถูกท้าลายโดยอนุมูลอิสระ (Oxidative)
โรคหัวใจ โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง โรคเบาหวาน เป็นต้น โดยรัฐโคโลราโด อนุญาตให้ใช้กัญชา
อย่างถูกกฎหมาย และอีก 33 รัฐ อนุญาตให้ใช้น้ามันกัญชาทางการแพทย์ได้ นอกจากนี้ ประเทศ
อิสราเอล โคลัมเบยี และแคนาดา อนญุ าตให้ใช้ผลติ ภัณฑจ์ ากกญั ชาเปน็ ยารกั ษาโรค

ในปี ค.ศ. 1893 หรือ พ.ศ. 2382 นายแพทย์วิลเลียม บรูก โอชอเนสซี (William
Brooke O'Shaughnessy) ชาวอังกฤษ ปฏิบัตงิ านอยู่ในประเทศอินเดีย ไดท้ า้ การทดลอง และค้นพบ
ว่า กัญชามีสรรพคุณทางการแพทย์ สามารถใช้ระงับอาการปวด เพ่ิมความอยากอาหาร ลดการ
อาเจยี น คลายกล้ามเนื้อ และลดอาการชักได้ โดยไดต้ พี ิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารทางยาในสมัยน้ัน

ปี ค.ศ. 1937 หรือ พ.ศ. 2480 มีรายงานว่า การใช้กัญชาในประเทศสหรัฐอเมริกา
ท้าให้ผู้ใช้ขาดสติ เกิดอาการประสาทหลอน ประเทศอังกฤษจึงเพิกถอนกัญชาออกจากบัญชียา แต่ใน
ปัจจุบันรัฐบาลอังกฤษ ประกาศให้แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา เพื่อการรักษาทางการแพทย์ได้
อย่างถูกกฎหมาย และอนุญาตให้มีการปลูกกัญชาเพื่อใช้ในทางการแพทย์ ในทางตอนใต้ของกรุง
ลอนดอน

ปี ค.ศ. 1992 หรือ พ.ศ. 2535 ยาโดรนาบินอล (Dronabinol) ได้รับการรับรองให้
ใช้รักษาโรคเอดส์ ที่เกิดจากอาการน้าหนักลดมากจนผอมแห้ง (AIDS-wasting syndrome) ได้ใน
ประเทศสหรัฐอเมรกิ า

ปี ค.ศ. 1996 หรอื พ.ศ. 2539 รัฐแคลฟิ อร์เนีย (California) เปน็ รัฐแรกในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ทีอ่ นุญาตใหใ้ ชก้ ัญชาทางการแพทย์ จากน้ันจงึ ตามด้วยประเทศแคนาดา

ปี ค.ศ. 1997 หรือ พ.ศ. 2540 นายริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) ชาวแคนาดา
ซ่ึงเคยท้างานเป็นวิศวกรอยู่ในโรงพยาบาล ต่อมาประสบอุบัติเหตุในขณะปฏิบัติงาน ล้มหัวฟาดพื้น
เกิดอาการวิงเวียนศีรษะ และตาลาย จากการรักษาโดยแพทย์ทั่วไปไม่ดีขึ้น เขาได้ยินสรรพคุณของ
กญั ชาวา่ มปี ระโยชน์ จงึ แอบน้ามาใช้กบั ตนั เอง และพบว่าอาการต่าง ๆ ดขี ้นึ อย่างมาก

241

ปี ค.ศ. 1999 หรอื พ.ศ. 2542 รัฐบาลประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จดสทิ ธิบตั รกัญชา
หมายเลข US6630507 B1 อ้างสิทธิการใช้กัญชาในการรักษาโรคทางระบบประสาท เช่น อัลไซเมอร์
พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง โรคที่เกิดจากเซลล์ถูกท้าลายโดยอนุมูลอิสระ (Oxidative Stress)
เป็นตน้ แต่ในขณะเดียวกนั กฎหมาย และองค์การอาหารและยา ยงั คงปฏิเสธกัญชาเพอ่ื ใช้เป็นยา

ปี ค.ศ. 2003 หรือ พ.ศ. 2546 บริษัท GW Pharmaceuticals ในประเทศอังกฤษ
ได้รับอนุญาตให้ปลูกกัญชาเพ่ือการทดลอง ด้วยความหวังว่าจะได้รับอนุญาตให้ท้าการผลิต และ
จ้าหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ท้ามาจากกัญชา และมีตัวอย่างการใช้กัญชาในการรักษาโรคมะเร็งผิวหนัง
นายริค ซิมป์สัน (Rick Simpson) ได้สังเกตเห็น ตุ่ม ผิดปกติที่ผิวหนังบนแขน จ้านวน 3 ตุ่ม และเม่ือ
ไปพบแพทย์ ผลการตรวจช้ินเน้ือยืนยันว่าเป็น มะเร็งผิวหนัง เขาจึงตัดสินใจจะใช้กัญชาในการรักษา
มะเร็งผิวหนังด้วยตนเอง เพราะเคยอ่าน และได้ยินมาว่าสาร THC สามารถฆ่าเซลล์มะเร็งในหนู
ทดลองได้ เขาจึงสกัดกัญชาแล้วน้ามาประคบไว้บริเวณท่ีเป็นตุ่มเน้ือมะเร็งบนผิวหนัง หลังจากน้ัน
4 วัน พบว่าตุ่มเนื้อน้ันมีขนาดลดลงอย่างมาก จากนั้นจึงพัฒนาสูตรในการผลิตกัญชาสกัดเป็นของ
ตนเอง เรยี กวา่ รคิ ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แลว้ น้ามาเผยแพร่โดยรักษาประชาชน
ชาวสหรัฐอเมริกา ประมาณ 5,000 ราย โดยการสกัดกัญชา และใช้สารเอทานอล ท่ีมีความเข้มข้น
ร้อยละ 99 สกัดประมาณ 2 วัน จะได้คลอโรฟิลล์ติดออกมาด้วย ซ่ึงสารสกัดท่ีได้จากวิธีการน้ีจะมี
สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (THC รอ้ ยละ 90) แคนนาบิไดออลออยล์ (CBD ร้อยละ 2 - 6)

ปี ค.ศ. 2005 หรือ พ.ศ. 2548 บริษัท GP Pharmaceuticals ได้รับอนุญาตให้
จา้ หนา่ ยผลิตภณั ฑ์จากกญั ชาในประเทศแคนาดา (Canada)

ปี ค.ศ. 2013 หรือ พ.ศ. 2556 บริษัท โอซูก้า ฟาร์มาซูติคอล จ้ากัด โตเกียว
ประเทศญี่ปุ่น บริษัทยาในประเทศญ่ีปุ่น และประเทศอังกฤษ ได้จดสิทธิบัตรพบฤทธ์ิต้านมะเร็งของ
กญั ชาในหลอดทดลอง และหนทู ดลอง

ปี ค.ศ. 2014 หรอื พ.ศ. 2557 รัฐโคโลราโด ประเทศสหรฐั อเมริกา มีการใช้กัญชา
ถูกกฎหมายอย่างเต็มรูปแบบภายใต้การควบคุมทั้งการผลิต ซ้ือขาย และเสพ เป็นสัญญาณแห่งการ
จบสนิ้ ยคุ มดื ของกัญชา

ปี ค.ศ. 2018 หรือ พ.ศ. 2561 องค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา
(U.S.FDA) อนุมัติยาจากสารสกัดกัญชาตัวแรก (ไม่ใช้สารสังเคราะห์) ช่ือการค้า Epidiolex®
ประกอบดว้ ยตัวยา แคนนาบนิ อยด์ ออยล์ (Cannabinoid Oil) 100 มิลลิกรมั ตอ่ มิลลลิ ิตร ในรปู แบบ
สารละลายให้ทางปาก (Oralsolution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ
Lennox - Gastaut syndrome และ Dravet syndrome ในผ้ปู ่วยอายุ 2 ปขี ึน้ ไป

กล่าวโดยสรุป ประวัติการใช้กัญชาและกัญชงทางการแพทย์แผนปัจจุบัน
ในต่างประเทศ มีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในทางการแพทย์หลายรูปแบบ ได้แก่ น้ามันหยดใต้ลิ้น

242

แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่น ใต้ล้ิน ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง มีการศึกษาวิจัย
และใช้กัญชาเป็นยารักษาโรค เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา และแคนาดา เป็นต้น นอกจากนี้
ในประเทศสหรัฐอเมริกา มีการจดสิทธิบัตร และพบฤทธ์ิของกัญชาที่อาจมีผลดีต่อโรคทางระบบ
ประสาท เช่น อัลไซเมอร์ พาร์กินสัน โรคหลอดเลือดสมอง และโรคท่ีเกิดจากเซลล์ถูกท้าลายโดยอนุมูล
อสิ ระ (Oxidative) เป็นตน้ แต่ยงั ตอ้ งการการศึกษาวจิ ยั ในมนษุ ยเ์ พิ่มเติมอีกในอนาคต

1.2 ประเทศไทย
ประวัติการใช้กัญชาในการแพทย์แผนปัจจุบันในประเทศไทย ไม่ปรากฏข้อมูล

หลักฐาน สืบเน่ืองจากกัญชา ได้ถูกบรรจุให้เป็นยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยา
เสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 จึงท้าให้ขาดการศึกษาวิจัย มาพัฒนาเพ่ือใช้เป็นยาในทางการแพทย์
แผนปัจจุบัน ส่งผลใหไ้ ม่มีประวตั ิการใชก้ ัญชาในประเทศไทย ท่ีถูกต้องตามกฎหมาย แต่ในปัจจุบันได้
มีการแก้ไขกฎหมายเพิ่มเติม ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ก้าหนดให้
ใชเ้ พอื่ ประโยชนท์ างราชการ ประโยชนท์ างการแพทย์ ประโยชนก์ ารรกั ษาผปู้ ่วย และประโยชนใ์ นการ
ศึกษาวิจัยในปัจจบุ ันจึงอยู่ระหวา่ งการศึกษาวิจัย

2. กญั ชาและกญั ชงที่ช่วยบรรเทาโรคแผนปจั จุบนั
2.1 กัญชาและกัญชงกับโรคพาร์กินสัน
โรคพาร์กินสัน คือ โรคทางสมองท่ีเกิดจากเซลล์ประสาทในบางต้าแหน่ง เกิดมี

การตายโดยไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด ท้าให้สารส่ือประสาทในสมองท่ีช่ือว่า โดปามีน (Dopamine)
ซ่ึงเป็นสารท่ีมีหน้าท่ีควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกายมีปริมาณลดลง จึงส่งผลกระทบต่อ
การเคลื่อนไหวของผู้ป่วย และสาเหตุส้าคัญของการเกิดโรคพาร์กินสัน มี 10 สาเหตุ ได้แก่ (1) ความ
ชราของสมองโดยมากพบในผ้ทู ่มี อี ายุ 65 ปีขึน้ ไป ทั้งเพศชายและเพศหญิง (2) ยากลอ่ มประสาท หรอื
ยานอนหลับ ที่ออกฤทธ์ิกดหรือต้านการสร้างสารโดปามีน โดยมากพบในผู้ป่วยโรคทางจิตเวช ที่ต้อง
ไดร้ ับยากลมุ่ น้เี พ่อื ป้องกันการควบคมุ อาการ (3) ยาลดความดนั โลหติ สูง (4) ภาวะหลอดเลอื ดในสมอง
อุดตัน (5) สารพิษท้าลายสมอง ได้แก่ สารแมงกานีสในโรงงานถ่านไฟฉาย พิษจากสารคาร์บอนมอน
นอกไซด์ (6) ภาวะสมองขาดออกซเิ จน ในกรณีท่ีจมน้า ถกู บีบคอ เกดิ การอดุ ตนั ในทางเดินหายใจจาก
เสมหะหรืออาหาร (7) ศีรษะถูกกระทบกระเทือนจากอุบัติเหตุ (8) เกิดการอักเสบของสมอง (9) โรค
ทางพันธกุ รรม เช่น โรควลิ สนั เป็นตน้ และ (10) ผ้รู ับยากลมุ่ ต้านแคลเซียมทใี่ ช้ในโรคหวั ใจ โรคสมอง
ยาแกเ้ วียนศีรษะ และยาแกอ้ าเจียนบางชนดิ

การรักษาโรคพาร์กินสัน มี 3 วิธี คือ รักษาด้วยยา ส้าหรับยาท่ีใช้ในปัจจุบัน คือ
ยากล่มุ เลโวโดปา (LEVODOPA) และยากลุม่ โดพามีน อะโกนสิ ต์ (DOPAMINE AGONIST) เปน็ หลกั
(การใช้ยาแต่ละชนิดขึ้นอยู่กับการวินิจฉัยจากแพทย์ ตามความเหมาะสม) และการท้ากายภาพบ้าบัด

243

การผ่าตัด ผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน จ้าเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนรอบข้างในการพัฒนาฟื้นฟู
ทางด้านร่างกาย รวมถงึ จติ ใจ

ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธีระวฒั น์ เหมะจุฑา กล่าววา่ จากข้อมลู ภาวะ และโรคที่
ควรรวบรวมบรรจุเพ่ิมเติมอยู่ในรายการท่ีกัญชาจะสามารถน้ามาใช้ได้ในคนป่วยในประเทศไทย อาทิ
อาการแข็งเกร็ง ที่อาจร่วมกับการบิดของกล้ามเนื้อท่ีเกิดจากความผิดปกติของสมอง รวมถึงโรคทาง
สมอง เชน่ โรคพาร์กนิ สนั

จากการศึกษางานวิจัยพบว่า สาร THC ช่วยป้องกันเซลล์สมองจากอันตราย
โดยอนุมูลอิสระ ส่วนสาร CBD จะช่วยป้องกันเซลล์สมองจากการเสื่อมสภาพ และพบว่าหลังจากใช้
สารสกัดกัญชา 30 นาที ก็ท้าให้อาการของโรคดีข้ึน และหลาย ๆ งานวิจัยแสดงผลการวิจัยตรงกันว่า
สาร CBD ทา้ ใหอ้ าการของโรคดีขึน้ ชดั เจน หลงั จากใชย้ าไป 1 อาทติ ย์

กล่าวโดยสรุป สาร CBD เป็นสารสกัดท่ีได้จากกัญชงและกัญชา ไม่มีฤทธ์ิต่อจิต
และประสาท ช่วยให้ผู้ป่วย ลดความวิตกกังวล บรรเทาอาการเกร็งของกล้ามเน้ือ มีฤทธิ์ระงับปวด
และมีกลไกที่เช่ือว่าอาจท้าให้ลดอาการสั่นจากโรคพาร์กินสัน ท้าให้การเคล่ือนไหวดีขึ้น ปัจจุบันยังไม่
ทราบกลไกการออกฤทธิ์ที่ชัดเจน คาดว่าสาร CBD มีส่วนช่วยชะลออาการของ โรคพาร์กินสัน จาก
ฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระ ลดการอักเสบ และปกป้องเซลล์สมอง ซึ่งต้องการงานวิจัยเพ่ิมเติมในอนาคตถึง
สัดสว่ นสารส้าคญั ทีใ่ ช้ในโรคพาร์กนิ สนั

2.2 กัญชาและกัญชงกบั โรคมะเรง็
มะเร็ง เป็นโรคท่ีสามารถพบได้ในผู้ป่วยทุกเพศ ทุกวัย ต้ังแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึง

ผู้สูงอายุ แต่โดยส่วนใหญ่จะพบในผู้ป่วยท่ีเป็นผู้ใหญ่มากกว่าเด็ก และจะพบได้มากในผู้ป่วยท่ีอายุ
ตัง้ แต่ 50 ปีขึ้นไป

“มะเร็ง” หรือทางการแพทย์เรียกว่า “เนื้องอกท่ีเป็นเนื้อร้าย” เป็นกลุ่มโรค
ท่ีเก่ียวข้องกับการเจริญของเซลล์ที่มีความผิดปกติ คือ เซลล์จะแบ่งตัว และเจริญเติบโตอย่างควบคุม
ไม่ได้ก่อเป็นเน้ือร้าย และรุกรานไปยังอวัยวะส่วนข้างเคียง หรือแพร่กระจายไปยังส่วนต่าง ๆ ของ
ร่างกายที่อยู่ห่างไกล ผ่านระบบน้าเหลืองหรือกระแสเลือด แต่ไม่ใช่เนื้องอกทุกชนิดจะเป็นมะเร็ง
เพราะเนื้องอกไมร่ า้ ยจะไม่ลุกลามไปยังอวัยวะขา้ งเคียง และไมก่ ระจายไปทั่วร่างกาย

สาเหตุของการเกิดโรคมะเร็ง
ร้อยละ 90 - 95 ของสาเหตุหลักของการเกิดโรคมะเร็ง มาจากปัจจัยส่ิงแวดล้อม
ส่วนที่เหลืออีก ร้อยละ 5 - 10 มาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรม ค้าว่า “ส่ิงแวดล้อม” ที่ใช้โดย
นักวิจัยมะเร็ง หมายถึง ปัจจัยทางเศรษฐกิจ และพฤติกรรม ปัจจัยท่ีพบบ่อยท่ีน้าไปสู่การตายของ
โรคมะเร็ง ได้แก่ ยาสูบ ร้อยละ 25 - 30 อาหาร และโรคอ้วน ร้อยละ 30 - 35 การติดเช้ือ ร้อยละ

244

15 - 20 การสมั ผัสกบั รังสี ร้อยละ 10 นอกจากน้ียังมีสาเหตุมาจากความเครยี ด ขาดการออกก้าลังกาย
และมลพิษจากส่ิงแวดลอ้ มอกี ดว้ ย

อาการของโรคมะเร็ง
ในระยะแรกของการเกดิ โรคมะเร็งข้ึนในรา่ งกาย อาจไมท่ ราบไดว้ า่ มีอาการอย่างไร
แต่เมื่อระยะเวลานาน หรือหลายปี ผู้ป่วยโรคมะเร็งส่วนใหญ่จะมีอาการอ่อนเพลีย เบ่ืออาหาร
รับประทานอาหารไดน้ อ้ ยลง อ่มิ เรว็ ผอมซบู น้าหนักลด ร่างกายเรมิ่ ทรดุ โทรมลง ไม่สดชน่ื เหมือนเดิม
ต่อมาเม่ืออยู่ในระยะที่มะเร็งเริ่มลุกลามมากขึ้น จะเริ่มปรากฏอาการอย่างชัดเจน โดยในระยะน้ี
จะรู้สึกเจ็บปวด และทรมานเป็นอย่างมากตามจุดต่าง ๆ ที่เกิดมะเร็งข้ึน ทั้งนี้จะมีอาการมากน้อย
อย่างไรขึ้นอยู่กับเป็นมะเร็งชนิดนั้น ๆ และการกระจายของเซลล์มะเร็งภายในร่างกายไปเบียดบัง
อวยั วะสว่ นใดในขณะนั้น ๆ
2.2.1 กัญชาและกญั ชงกับโรคมะเร็งปอด

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภญ.สุรางค์ ลีละวัฒน์ ผู้อ้านวยการสถาบันวิจัยกัญชา
เพ่ือการแพทย์ กล่าวว่าเคยมีการรายงานวิจัยพบว่า สารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากกัญชา ได้แก่ สาร THC
และ สาร CBD ที่สามารถลดการเพ่ิมจ้านวนเซลล์มะเร็งปอดของมนุษย์ในหลอดทดลอง ดังนั้น
จึงได้น้าไปศึกษาต่อ ด้วยการฉีดสารทั้ง 2 ตัวลงไปท่ีเซลล์มะเร็งปอดของมนุษย์ ในหนูทดลองทุกวัน
เป็นเวลา 3 สัปดาห์ พบว่าหนูทดลองท่ีได้รับสารมีขนาดของก้อนมะเร็งเล็กลง จึงสรุปได้ว่า สารทั้ง
2 ตวั มฤี ทธิ์ต้านมะเรง็ ปอดของมนุษยใ์ นหลอดทดลอง และสัตวท์ ดลอง

2.2.2 กญั ชาและกัญชงกบั โรคมะเร็งเม็ดเลอื ดขาว
โรคมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวแบบรุนแรงเฉียบพลนั (Acute Leukemia) คอื กลมุ่

โรคมะเร็งทางโลหิตวิทยาทเ่ี กิดจากความผิดปกตขิ องเซลล์ต้นกา้ เนิดเมด็ โลหติ
กรณีศึกษาตีพิมพ์ในวารสาร Case Reports in Oncology ในหัวข้อ

Cannabis extract treatment for terminal acute lymphoblastic leukemia with a Philadelphia
chromosome mutation ซึ่งรายงานโดย Yadvinder Singh และ Chamandeep Bali เป็นการ
รายงานของผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว (Acute Lymphoblastic Leukemia) อายุ 14 ปี ซ่ึงผ่าน
การรักษาตามแพทย์แผนปัจจุบัน ท้ังการคีโมบ้าบัด และการฉายแสงเป็นเวลา 34 เดือน แต่ล้มเหลว
แพทย์จึงยอมให้ครอบครัวใช้สารสกัดแคนนาบินอยด์ ในรูปของน้ามันกัญชง (Hemp Oil) ครั้งแรก
ผู้ป่วยได้รับน้ามันกัญชงด้วยการหยดใต้ลิ้น ทยอยเพิ่มข้ึนจากน้อยไปหามาก ปรากฏว่า มะเร็งเม็ด
เลือดขาวลดลงหลังการใช้น้ามันกัญชงในระยะเวลาไม่ถึง 2 สัปดาห์ แต่เนื่องจากมีการเปล่ียนแปลง
แหล่งท่ีมาของกัญชงแต่ละช่วง พบว่าเซลล์มะเร็งกลับขยายตัวมากขึ้น และเซลล์มะเร็งกลับลดลงได้
อีกเม่ือเปลี่ยนแปลงแหล่งที่มาของกัญชง ซ่ึงรายงานดังกล่าวได้ระบุอาการอย่างละเอียด จนถึงวันท่ี
78 ปรากฏว่า แม้เซลล์มะเร็งจะลดลงอย่างเห็นได้ชัด แต่ผู้ป่วยกลับป่วยด้วยอีกโรคหน่ึง คือเกิดเลือด

245

ไหลในกระเพาะอาหาร และเสียชวี ิตดว้ ยโรคลา้ ไสท้ ะลใุ นที่สุด แมส้ ดุ ทา้ ยผ้ปู ว่ ยรายดังกล่าวจะเสียชีวิต
แต่ท้าให้รู้ตัวแปรการใช้น้ามันกัญชงในหลายมิติ ทั้งในเร่ืองความถ่ีและปริมาณที่ใช้ รวมถึงศักยภาพ
ของพันธุ์กัญชง ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส้าคัญอย่างยิ่งในการใช้กัญชงรักษาโรค และอย่างน้อยก็ท้าให้เห็นเรอ่ื ง
ของการลดปริมาณเซลล์มะเร็งเมด็ เลอื ดขาวได้จริง

ส้าหรับในประเทศไทย รองศาสตราจารย์ ดร.นพ.วโิ รจน์ ศรีอุฬารพงศ์ อดตี
นายกสมาคมมะเร็งวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย และหัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์
โรคมะเร็งครบวงจร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กล่าวถึงเรื่องบทบาทของ “กัญชา” กับโรคมะเร็งไว้ว่า
ในปัจจุบัน มีแรงผลักดันให้มีการน้ากัญชามาใช้ในประเทศไทยอย่างมาก จากหลายภาคส่วนเน้น
เป้าหมายว่า กัญชาไม่ควรที่จะถูกจัดกลุ่มอยู่ในสารเสพติด และควรเปิดกว้างให้มีการใช้อย่าง
แพร่หลายมากข้ึน เสียงเรียกร้องที่ออกมาคล้ายกับว่า กัญชาเป็นพืชท่ีมีแต่ประโยชน์สูงมาก มีผลเสีย
น้อย ไม่ควรที่จะถูกปิดกั้นให้อยู่ในกลุ่มสารเสพติด หนึ่งในประเด็นส้าคัญที่มีการอ้างอย่างมาก คือ
ประโยชนข์ องกญั ชาในการรกั ษาโรคมะเรง็

ด้านฤทธิ์ต่อต้านมะเร็ง มีการศึกษาในประเทศไทย พบว่า กัญชาสามารถ
ออกฤทธ์ิฆ่าเซลล์มะเร็ง ในการเพาะเลี้ยงเซลล์ในห้องทดลอง แต่ยังไม่มีการศึกษาถึงผลของกัญชาต่อ
โรคมะเร็งในมนุษย์ กล่าวคือ แม้ว่าจะมีการศึกษากัญชาในห้องปฏิบัติการมานานแล้ว กลับไม่มี
หลักฐาน การน้าเอากัญชามาใช้วิจัยเพื่อรักษามะเร็งในมนุษย์ นอกจากน้ีปัจจุบันยังไม่มีข้อมูล
การน้ากัญชามาใช้บรรเทาอาการ หรือผลข้างเคียงจากโรคมะเร็งได้อย่างมีประสิทธิภาพมากพอ
จากหลักฐานทตี่ ีพิมพ์เผยแพร่ทางวชิ าการ

กล่าวโดยสรุป ในต่างประเทศ มีผลการศึกษาวิจัยสารในกัญชา สาร THC
และสาร CBD ที่สามารถเชื่อถือได้ ในการรักษาโรคมะเร็งปอด และมะเร็งเม็ดเลือดขาว ในประเทศไทย
มีการศึกษาการใช้กัญชาต่อต้านมะเร็งพบว่า กัญชาสามารถออกฤทธ์ิฆ่าเซลล์มะเร็งในการเพาะเล้ียง
เซลลใ์ นหอ้ งทดลอง แต่ยงั ไม่มีการศกึ ษาถงึ ผลของกัญชาต่อโรคมะเรง็ ในมนุษย์

2.3 กญั ชาและกญั ชงกับการลดอาการปวด
มีการศึกษาการน้ากัญชามาใช้ลดอาการปวด ส่วนใหญ่พบว่า สามารถบรรเทา

อาการปวดแบบเรื้อรัง (Chronic pain) ที่เป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic pain) เช่น
ปวดเสียวแปลบเหมือนไฟช็อต แสบร้อน รู้สึกยิบ ๆ ชา ๆ ที่มีอาการรุนแรง หรือไม่ตอบสนองต่อการ
รักษาในยามาตรฐาน เป็นต้น สามารถบรรเทาอาการปวดได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน
เช่น หลังผ่าตัด เป็นต้น ยังไม่ได้ให้ผลที่ดีนัก เภสัชกรหญิง ดร.ผกาทิพย์ ร่ืนระเริงศักด์ิ กล่าวว่า มีการ
ทดลองทางคลินกิ พบวา่ สาร THC ในขนาด 2.5 หรือ 2.7 มิลลกิ รมั สามารถชว่ ยลดอาการปวดเรอ้ื รัง
ท่ีเกิดจากระบบประสาทส่วนกลาง (Central neuropathic pain) และช่วยให้ผู้ป่วยนอนหลับได้
เพิ่มข้ึน มีการต้ังต้ารับยาสเปรย์ (Oromucosal spray, Nabiximols) โดยใช้ส่วนผสมของสาร THC

246

และ สาร CBD ซ่ึงสามารถช่วยลดอาการปวดข้อ (Rheumatoid arthritis) แต่ส้าหรับอาการปวด
เรือ้ รังในผู้ป่วยมะเรง็ นั้น ยังไม่มีขอ้ สรปุ ทางคลนิ กิ ท่ีชดั เจน สารสกัดกัญชาอาจมีประโยชน์ในการรักษา
อาการปวด แต่ยังขาดข้อมูลจากงานวิจัยสนับสนุนที่ชัดเจนเพียงพอในด้านความปลอดภัย และ
ประสทิ ธผิ ล ซึ่งยงั ต้องศึกษาวิจัยต่อไปเพอื่ ให้ผ้ปู ่วยไดร้ ับประโยชนส์ งู สุด

กล่าวโดยสรุป มีการศึกษาการน้ากัญชามาใช้ลดอาการปวด ส่วนใหญ่พบว่า สามารถ
บรรเทาอาการปวดแบบเรื้อรัง (Chronic pain) ที่เป็นการปวดทางระบบประสาท (Neuropathic pain)
สามารถบรรเทาอาการปวดลงได้ ส่วนการบรรเทาอาการปวดเฉียบพลัน เช่น หลงั ผ่าตัด ยังไม่ได้ให้ผล
ที่ดี ส้าหรับอาการปวดเร้ือรังในผู้ป่วยมะเร็ง ยังไม่มีข้อสรุปทางคลินิกที่ชัดเจน สารสกัดกัญชาอาจมี
ประโยชน์ในการรักษาอาการปวด แต่ยังขาดข้อมูลจากงานวิจัยสนับสนุนท่ีชัดเจนเพียงพอในด้าน
ความปลอดภยั และประสทิ ธิผล ซ่งึ ยังต้องศึกษาวจิ ัยต่อไปเพื่อใหผ้ ปู้ ่วยไดร้ บั ประโยชน์สูงสุด

2.4 กัญชาและกัญชงกบั โรคลมชกั
โรคลมชักชนิดรุนแรงมี 2 ชนิด คือ Lennox - Gastaut syndrome และ

Dravet syndrome พบได้ในผู้ป่วยอายุ 2 ปีขึ้นไป อาการชักท่ีมักพบได้บ่อย มี 7 อาการซึ่งข้ึนอยู่กับ
แต่ละบุคคล ได้แก่ (1) อาการชักแบบเหม่อลอย (Absence Seizures) (2) อาการชักแบบชักเกร็ง
(Tonic Seizures) (3) อาการชักแบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง (Atonic Seizures) (4) อาการชักแบบชัก
กระตุก (Clonic Seizures) (5) อาการชักแบบชักกระตุกและเกร็ง (Tonic - clonic Seizures)
(6) อาการชักแบบชักสะดุ้ง (Myoclonic Seizures) และ (7) อาการชักเฉพาะส่วน (Partial หรือ
Focal Seizures

การใช้ยาผู้ป่วยโรคลมชักส่วนใหญ่ จะรักษาโดยการใช้ยาต้านอาการชัก (Anti -
Epileptic Drugs, AEDs) เพือ่ ควบคุมอาการชกั

ส้าหรับสรรพคุณกัญชาทางการแพทย์ท่ีใช้รักษาโรคลมชัก พบว่าในกัญชา
มีสาร CBD มีคุณสมบัติลดอาการชักเกร็ง ซึ่งมีงานวิจัยท่ีระบุว่า กัญชามีสรรพคุณรักษาโรคลมชัก
ในเด็กท่รี ักษายาก หรือในผ้ปู ่วยเด็กโรคลมชักทีด่ ื้อต่อการรักษาดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ โดยแพทย์หญิงอาภาศรี
ลสุ วสั ดิ์ กมุ ารประสาทวิทยา สถาบนั ประสาทวทิ ยา กล่าวว่า การใช้น้ามันกญั ชาทมี่ สี าร CBD สงู หรือ
แคนนาบินอยด์ ออยล์ (Cannabinoid Oil) ร้อยละ 99 ในผู้ป่วยโรคลมชักในเด็ก มีผลการศึกษาว่า
ใช้ได้ผลดีกับกลุ่มอาการชักรักษายาก คือ ชักเกร็งกระตุกทั้งตัวอย่างรุนแรง และชักแบบผงกหัว
ท่ีเสี่ยงต่อการหัวแตก ส่วนหลักเกณฑ์ในการขอใช้แคนนาบินอยด์ ออยล์ (Cannabinoid Oil)
นายแพทย์อรรถสิทธ์ิ ศรีสุบัติ ผู้อ้านวยการสถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
กรมการแพทย์ กล่าวว่า สถานพยาบาลที่จะใช้แคนนาบินอยด์ ออยล์ (Cannabinoid Oil) จะต้องขอ
อนุญาตกับส้านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ก่อนการน้ามาใช้กับผู้ป่วยต้องเป็นผู้ป่วยท่มี ี
ความจา้ เป็นจรงิ ๆ เช่น การใชย้ าหรือผา่ ตดั แล้วไมไ่ ดผ้ ล เปน็ ต้น

247

ในประเทศไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ประกาศเม่ือวันท่ี 8
พฤศจิกายน 2561 ถึงประโยชน์ของสารสกัดจากกัญชาทางการแพทย์ ในการน้าสาร CBD มาใช้กับ
โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ด้ือต่อยารักษา ซ่ึงกัญชาเองก็ไม่ได้ท้าให้โรคลมชักหายขาด
แตช่ ่วยลดความถขี่ องการชกั ได้

กล่าวโดยสรุป ส้าหรับกัญชาที่องค์การอาหารและยา ( Food and Drug
Administration) ของประเทศสหรฐั อเมริกา อนุมตั ยิ าจากสารสกัดกัญชาตัวแรก (ไมใ่ ช่สารสงั เคราะห์)
ช่ือการค้า Epidiolex® ประกอบด้วยตัวยา CBD 100 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ในรูปแบบสารละลายให้
ทางปาก (Oral solution) โดยมีข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคลมชักชนิดรุนแรง 2 ชนิด คือ Lennox -
Gastaut syndrome และ Dravet syndrome ในผู้ป่วยอายุ 2 ปีข้นึ ไป

ในประเทศไทย กรมการแพทย์ ประกาศถึงประโยชน์ของสารสกัดจากกัญชา
ทางการแพทย์ ในการน้าตัวยา CBD มาใช้กับโรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ด้ือต่อยารักษา
เท่านนั้

2.5 กญั ชาและกญั ชงกบั โรคผวิ หนงั
โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) คือ โรคผิวหนังเรื้อรัง เป็นสภาพผิวที่น้าไปสู่การสะสม

ของเซลล์บนพื้นผิวหนัง ท้าให้เกิดการอักเสบเป็นผื่นหนาหยาบขนาดใหญ่สีแดง และมีสะเก็ดสีเงิน
ปกคลุมท่ีผิวหนัง ซึ่งเกิดท่ีต้าแหน่งใดของร่างกายก็ได้ ผู้ป่วยจะมีอาการที่แตกต่างกันออกไปตามชนดิ
ของโรคสะเก็ดเงินท่ีผู้ป่วยเป็น ความผิดปกติท่ีพบได้บ่อยตามร่างกาย เช่น ผิวหนังมีลักษณะแดง
ตกสะเก็ดเป็นขุยสีขาว เป็นผื่นแดงนูน เกิดการอักเสบของผิว ผิวแห้งมากจนแตก และมีเลือดออก
หนังศีรษะลอกเป็นขุย เล็บมือและเล็บเท้าหนาข้ึน มีรอยบุ๋ม ผิดรูปทรง ปวดข้อต่อ และมีอาการบวม
ตามข้อต่อ และยังท้าให้ผู้ป่วยมีอาการเจ็บ คัน หรือรู้สึกแสบร้อนบริเวณผิวหนัง ซึ่งอาการของโรค
แต่ละชนิดมีความคล้ายคลึงกัน อาการอาจคงอยู่นานหลายวันไปจนถึงหลายสัปดาห์ แล้วค่อย ๆ
บรรเทาลง แตเ่ ม่ือมสี ง่ิ มากระตุ้นก็อาจทา้ ให้อาการของโรคกา้ เรบิ ขน้ึ มาได้ สาเหตกุ ารเกิดโรคสะเก็ดเงนิ
ยังไม่ชัดเจน แต่คาดการณ์ว่าปัจจัยส้าคัญ ที่ท้าให้เกิดการพัฒนาของโรคอาจมาจากเซลล์
เมด็ เลือดขาว ในระบบภูมิคุ้มกนั เกิดความผดิ ปกติ จงึ ได้ทา้ ลายเซลล์ผิวหนังแทนส่ิงแปลกปลอมที่เข้าสู่
ร่างกาย และยังมีปัจจัยอื่น ๆ ท่ีช่วยกระตุ้นให้เกิดโรคได้ เช่น การบาดเจ็บบริเวณผิวหนัง การติดเชื้อ
HIV ยาหรืออาหารบางชนิด ความเครยี ด เป็นต้น ซง่ึ ปจั จยั ที่เป็นตัวกระตุ้นเหล่าน้ีจะแตกต่างกันไปใน
แตล่ ะบคุ คล

การรักษา โรคสะเก็ดเงินไม่สามารถรักษาได้หายขาด แต่การรักษาท้าได้เพียง
บรรเทาอาการให้ผู้ป่วยรู้สึกดีขึ้น ลดการอักเสบ และผิวหนังที่ตกสะเก็ด ชะลอการเติบโตของเซลล์
ผิวหนัง และขจัดผิวหนังที่เป็นแผ่นแข็ง ซึ่งการรักษาสามารถท้าได้หลายวิธี ผู้ป่วยท่ีมีอาการ
เพียงเล็กน้อยถึงปานกลาง อาจรักษาด้วยการใช้ยาทาภายนอก ส่วนในรายที่มีอาการปานกลาง

248

ไปจนถึงรุนแรง แพทย์อาจรักษาด้วยการให้ยารับประทาน ยาฉีดหรือการฉายแสงด้วยรังสี
อัลตราไวโอเลต การรักษาอาจใช้หลายวิธีควบคู่กัน เพ่ือช่วยให้อาการดีขึ้น นอกจากน้ีผู้ป่วยควรมี
การดูแลเรื่องการรับประทานอาหาร ระมัดระวังการรับประทานวิตามินเสริม หลีกเล่ียงการด่ืม
แอลกอฮอล์ หรอื สูบบุหร่ี ควบคุมน้าหนักให้อยใู่ นเกณฑป์ กติ

ส้าหรับกัญชาที่ใช้รักษาโรคสะเก็ดเงิน นายแพทย์เวสารัช เวสสโกวิท ที่ปรึกษา
ผู้อ้านวยการด้านวิชาการ สถาบันโรคผิวหนัง กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ศึกษาวิจัย
เก่ียวกับการน้าน้ามันกัญชา เมดิคัลเกรด ท่ีองค์การเภสัชกรรมจะผลิตมาใช้ในการวิจัยรักษาโรค
โดยในส่วนของสถาบันโรคผิวหนัง เบื้องต้นจะด้าเนินการศึกษาวิจัยสารสกัดน้ามันกัญชา ส้าหรับโรค
ผิวหนัง 2 โรค ได้แก่ โรคสะเก็ดเงิน และกรรมพันธ์ุผิวหนัง ชนิดหนังหนาแต่ก้าเนิด ส้าหรับ
ในต่างประเทศ มีการค้นพบการรักษาโรคมะเร็งผิวหนังด้วยกัญชา ในปี ค.ศ. 2003 นายริค ซิมป์สัน
(Rick Simpson) สังเกตเห็น “ตุ่ม” ผิดปกติที่ผิวหนังบนแขน จ้านวน 3 ตุ่ม และเม่ือไปพบแพทย์
ผลการตรวจช้ินเน้ือยืนยันว่าเป็น “มะเร็งผิวหนัง” เขาจึงตัดสินใจจะใช้กัญชาในการรักษามะเร็ง
ผวิ หนงั ดว้ ยตวั เขาเอง เพราะเคยอา่ นได้ยนิ มาวา่ สาร THC สามารถฆา่ เซลลม์ ะเร็งในหนทู ดลอง เขาจึง
สกัดกัญชาแล้วน้ามาประคบไว้บริเวณที่เป็นตุ่มเนื้อมะเร็งบนผิวหนัง หลังจากนั้น 4 วัน เขาพบว่า
ตุ่มเน้ือ มีขนาดลดลงอย่างมาก จากนั้นมาเขาก็พัฒนาสูตรในการผลิตกัญชาสกัดเป็นของตนเอง
เรียกว่า ริค ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แล้วน้ามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาว
สหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษทางอินเทอร์เน็ต แต่ในประเทศไทย ยังไม่มีการวิจัยที่ชัดเจน
เกยี่ วกับประสทิ ธผิ ลของการใช้สารสกัดน้ามนั กญั ชารักษา ทัง้ 2 โรคนี้

กล่าวโดยสรุป นายแพทย์เวสารัช เวสสโกวิท ศึกษาวิจัยเก่ียวกับการน้าน้ามันกัญชา
มาใช้ในโรคสะเก็ดเงิน และกรรมพันธ์ุผิวหนังชนิดหนังหนาแต่ก้าเนิด ส้าหรับในต่างประเทศ นายริค
ซิมป์สัน (Rick Simpson) มีการค้นพบการรักษาโรคมะเร็งผิวหนังด้วยกัญชา โดยผลิตน้ามันกัญชา
เรียกว่า ริค ซิมป์สัน ออยล์ (Rick Simpson Oil, RSO) แล้วน้ามาเผยแพร่แก่ประชาชนชาว
สหรฐั อเมรกิ า และประเทศอังกฤษ ทางอนิ เทอร์เน็ต

2.6 กญั ชาและกัญชงกับโรคตอ้ หิน
การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการรักษาโรคต้อหินด้วยกัญชา พบว่าการใช้กัญชา ท้าให้

ความดันในลูกตาลดลงได้ มีฤทธ์ิอยู่ได้เพียง 3 ช่ัวโมง และข้ึนอยู่กับปริมาณการใช้กัญชาด้วย ซึ่งอาจ
เพม่ิ การเกิดผลข้างเคยี งจากการไดร้ ับขนาดยากญั ชามากเกินไป ได้แก่ ความดนั โลหติ ต้่าลง และหัวใจ
เต้นเร็วข้ึน ด้วยเหตุผลท่ีว่ามีหลายปัจจัยเข้ามาเก่ียวข้องในการควบคุมความดันลูกตา ไม่ว่าจะเป็น
ระยะเวลาการออกฤทธิ์ ความแรงของยากัญชา ท้าให้ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันยังไม่ยอมรับ
การน้ากัญชามาใช้รักษาโรคต้อหิน เน่ืองจากยาแผนปัจจุบันสามารถคุมความดันในลูกตาได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพคงท่ี และสม้า่ เสมอมากกวา่

249

ถาม

กญั ชาช่วยลดความดนั จรงิ หรือไม่

ตอบ

จรงิ สารในกญั ชามผี ลท้าใหห้ ลอดเลอื ดขยาย ดังนั้นจึงมีผลท้าใหค้ วามดนั
ลดลงได้จริง แต่ไมค่ วรใชแ้ ทนยาลดความดนั เนอื่ งจากยงั มผี ลข้างเคียงอื่น
ผู้ปว่ ยความดนั ควรรบั ประทานยาตามท่ีแพทยส์ ่ัง

3. การใช้นา้ มนั กัญชาและกัญชงกับการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั
3.1 น้ามนั กัญชาคอื อะไร
น้ามันกัญชา คือ สารสกัดกัญชา (Cannabis extract) ท่ีเจือจางอยู่ในน้ามันตัวพา

(Carrier Oils หรอื Diluent) ส่วนมากนยิ มใช้น้ามันมะกอก และนา้ มันมะพร้าวสกัดเย็น โดยหากผ่าน
การผลิตที่ได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารส้าคัญ หรือตัวยาให้มีสัดส่วน และ
ปริมาณตรงตามที่ระบุในฉลากหรือเอกสารก้ากับยา แต่น้ามันกัญชาท่ีผลิตขึ้นมาใช้เอง และไม่ผ่าน
การควบคุมคุณภาพ ผู้ใช้จะไม่สามารถทราบได้เลยว่าปริมาณความเข้มข้นของตัวยา THC และ CBD
มีอยู่ปรมิ าณเทา่ ใด เนือ่ งจากความเข้มข้นของตัวยาไม่ข้นึ อยู่กับความเขม้ ของสีนา้ มนั กัญชาแต่อย่างใด

3.2 ลกั ษณะของนา้ มันกัญชา
น้ามันกัญชาท่ีรู้จักกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ปัจจุบันมักจะเป็นรูปแบบ

ของน้ามันที่มีสีเหลอื งอ่อนไปจนถึงสนี ้าตาล ลักษณะข้นหนืด ข้ึนอยู่กับการเตรียมต้ารบั และการสกดั
ของผู้ผลติ และนิยมบรรจใุ นขวดแก้วทึบแสงทีม่ ีหลอดหยด

3.3 สูตรของน้ามนั กัญชา
น้ามันกัญชาที่มีการผลิตอย่างได้มาตรฐานในประเทศไทย มีท้ังจากองค์การ

เภสัชกรรม (GPO) และโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในที่นี้ขอน้าเสนอเฉพาะสูตรน้ามันกัญชา
ของโรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้

สูตรท่ี 1 น้ามันสูตร THC สูง (ร้อยละ 1.7 หรือ 0.5 มิลลิกรัมต่อหยด) ข้อบ่งใช้
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบ้าบัด กระตุ้นความอยากอาหารในผู้ป่วยโรคเอดส์ และอาจใช้ในภาวะ
ปวดจากระบบประสาท เพม่ิ คณุ ภาพชีวติ ในผปู้ ่วยมะเรง็ ระยะสดุ ทา้ ย หรือใชต้ ามแพทยส์ ง่ั

สูตรท่ี 2 น้ามันสูตร THC : CBD ในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน (ร้อยละ 2.7 : 2.5)
ข้อบ่งใช้ ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง และอาจใช้ในภาวะปวดจาก
ระบบประสาท หรือใช้ตามแพทย์ส่ัง

250
สูตรท่ี 3 น้ามันสูตร CBD สูง (มี CBD ร้อยละ 10) ข้อบ่งใช้ รักษาโรคลมชัก
ทร่ี กั ษายากหรือดอ้ื ตอ่ การรกั ษา โรคพารก์ นิ สนั หรอื ใช้ตามแพทย์สงั่

ภาพท่ี 78 ตวั อยา่ งน้ามันกัญชา โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภเู บศร
นอกจากนม้ี ตี วั อยา่ งน้ามันกญั ชาจากองค์การเภสชั กรรม (GPO) ใหไ้ ดศ้ กึ ษา ดังภาพ

ภาพที่ 79 ตวั อย่างน้ามนั กญั ชาทง้ั 3 สตู รขององค์การเภสัชกรรม (GPO)
ในต่างประเทศ อาจจะพบน้ามันกัญชาสูตรอื่น ๆ ที่แตกต่างกับประเทศไทย

เนื่องจาก ในบางประเทศมีการอนุญาตให้ใช้มานานมากกว่าในประเทศไทย น้ามันกัญชาจึงมี
การพฒั นา และคดิ คน้ ไว้หลากหลายสูตร แตโ่ ดยท่ัวไปแล้วผลติ ภัณฑ์ที่มกี ารวางขายอย่างถูกต้อง จะมี
การควบคุมคุณภาพ และระบุปริมาณตัวยาส้าคัญคือ THC และ CBD อย่างชัดเจน เช่น ในประเทศ

251

แคนาดา มีน้ามันกัญชาสูตรท่ีมี THC สูงกว่า ร้อยละ 20 มีสูตร THC : CBD ในอัตราส่วนแตกต่างกัน
ตง้ั แต่ 0 : 1, 1 : 2, 1 : 1, 2 : 1, 1 : 0, 30 : 1 และ 1 : 30 เปน็ ตน้

3.4 วธิ กี ารสกัดนา้ มนั กญั ชา
การสกัดน้ามนั กญั ชาด้วยตนเองเป็นวธิ ีการที่ไม่ปลอดภยั และเป็นอนั ตรายต่อผู้ใช้

ควรใช้ผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาท่ีมีมาตรฐาน ได้รับจากคลินิกกัญชาที่มีแพทย์อนุญาตให้ใช้น้ามันกัญชา
ในการรกั ษาโรค จึงจะมคี วามปลอดภัย

3.5 วธิ ีการใชน้ ้ามันกัญชา
ขนาดการใช้น้ามันกัญชา จะอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมี

หลักการ คอื เรม่ิ ใช้นา้ มันกัญชาท่ีขนาดต้่า ๆ โดยแนะน้าให้เริ่มที่ 0.05 - 0.1 ซีซี หรอื เท่ากบั 1 - 2 หยด
และปรับเพ่ิมขนาดช้า ๆ ตามค้าแนะน้าของแพทย์ การหยดน้ามันให้หยดก่อนนอน บริเวณใต้ล้ิน
เพื่อให้ตัวยาสามารถซึมผ่านเส้นเลือดใต้ลิ้น และออกฤทธ์ิอย่างรวดเร็ว เพ่ือหลีกเล่ียงการถูก
เปล่ียนแปลงยาที่ตับ เน่ืองจากอาจท้าให้ประสิทธิภาพของยาลดลง หลังหยดน้ามันกัญชา ห้ามด่ืมน้า
กลนื น้าลาย และรบั ประทานอาหาร หลงั หยดน้ามันกัญชาทนั ที ควรเว้นระยะใหต้ วั ยาดูดซึมประมาณ
5 นาที หากลมื ใช้ยาไมค่ วรเพ่ิมขนาดยาเป็น 2 เทา่ น้ามันกญั ชาอาจจะทา้ ให้มีภาวะงว่ งซึม จงึ แนะน้า
ใหใ้ ช้เวลาก่อนนอน และหลกี เล่ียงการท้างานใกล้เคร่ืองจกั ร หรือขบั รถ

กลา่ วโดยสรปุ นา้ มันกญั ชา คือ สารสกดั กญั ชา (Cannabis extract) ทีเ่ จือจางอยู่
ในน้ามันตัวพา (Carrier oils หรือ Diluent) ส่วนมากนิยมใช้น้ามันมะกอก และน้ามันมะพร้าวสกัดเย็น
โดยหากผ่านการผลิตท่ีได้มาตรฐานจะมีการควบคุมคุณภาพของปริมาณสารส้าคัญ ปริมาณความ
เข้มข้นของตัวยา THC และ CBD รูปแบบของน้ามันกัญชามีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีน้าตาล ลักษณะ
ข้นหนืด น้ามันกัญชาที่มีการผลิตอย่างได้มาตรฐาน ในประเทศไทยจากองค์การเภสัชกรรม และ
โรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภเู บศร ปจั จบุ ันมอี ยู่ 3 สตู ร สูตรที่ 1 น้ามันสตู ร THC สงู สตู รท่ี 2 นา้ มนั สูตร
THC : CBD ในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน สูตรที่ 3 น้ามันสูตร CBD สูง วิธีการสกัดน้ามันกัญชา ด้วยตนเอง
เป็นวิธีการที่ไม่ปลอดภัย และเป็นอันตรายต่อผู้ใช้ ควรใช้ผลิตภัณฑ์น้ามันกัญชาที่มีมาตรฐาน ได้รับ
จากคลินิกกัญชา ท่ีมีแพทย์อนุญาตให้ใช้น้ามันกัญชาในการรักษาโรคจึงจะมีความปลอดภัย ขนาด
การใช้น้ามันกัญชาจะต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเภสัชกร โดยมีหลักการ คือ เร่ิมใช้น้ามัน
กัญชาท่ีขนาดต่้า ๆ โดยแนะน้าให้เริ่มที่ 0.05 - 0.1 ซีซี หรือเท่ากับ 1 - 2 หยด และปรับเพิ่มขนาด
มากข้ึนตามคาแนะนาของแพทย์เท่านน้ั นา้ มนั กัญชาอาจจะทา้ ใหม้ ีภาวะง่วงซึม จึงแนะนา้ ให้ใชเ้ วลา
ก่อนนอน และหลีกเล่ยี งการทา้ งานใกล้เครื่องจกั ร หรือขับรถ

252

ถาม

การดม่ื หรอื กนิ ผลิตภัณฑ์ทีม่ กี ัญชาเป็นส่วนประกอบท้าให้เมาคา้ งนาน
มากกวา่ การสูบกัญชาหรือใชน้ ้ามนั กญั ชาหยดใต้ล้ิน จริงหรือไม่

ตอบ

จรงิ ในปรมิ าณท่ีเท่ากนั การดื่มหรือกินผลิตภณั ฑ์ท่มี กี ัญชาเปน็
ส่วนประกอบจะถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับ ท้าให้เปล่ียนแปลงไปเป็นสารที่มี
ฤทธิ์เมาแรงข้นึ และเกิดการขับออกจากร่างกายไดช้ ้ากวา่

ถาม

การด่มื หรอื รับประทานผลติ ภัณฑ์ทมี่ กี ัญชาเปน็ ส่วนประกอบท้าให้ออก
ฤทธ์ชิ า้ กวา่ การสบู กญั ชาหรอื ใช้น้ามนั กญั ชาหยดใต้ลิ้น จรงิ หรือไม่

ตอบ

จรงิ เนอ่ื งจากการดื่มหรอื รบั ประทานผลติ ภณั ฑ์ที่มกี ัญชาเป็น
ส่วนประกอบจะต้องผ่านทางเดินอาหารก่อนจึงจะเกิดการดูดซึม ท้าให้
ออกฤทธ์ชิ ้า แตก่ ารสูบกญั ชาหรอื ใชน้ า้ มนั กญั ชาหยดใตล้ ้นิ จะซึมเข้าส่กู ระแสเลือดโดยตรง
จึงออกฤทธิ์เร็วกว่า

4. ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์
ผลิตภัณฑ์ส้าเร็จรูปจากกัญชาเพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ส้าหรับคน ปัจจุบัน

ผลิตภัณฑ์กัญชา ท่ีได้รับการขึ้นทะเบียนในประเทศสหรัฐอเมริกา หรือผลิตภัณฑ์กัญชาท่ีใช้ในทาง
การแพทย์มีหลายรูปแบบ เช่น รูปแบบน้ามันหยดใต้ล้ิน ที่มีการส่ังใช้โดยแพทย์ในประเทศอิสราเอล
และประเทศไทย รูปแบบแคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ล้ิน ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบน
ผิวหนัง ซ่ึงผลิตภัณฑ์กัญชาจะมีสูตรแตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารส้าคัญ สาร THC และ
สาร CBD และใช้ในกลุ่มโรคท่ีแตกต่างกัน ผลิตภัณฑ์กัญชาที่ได้รับการขึ้นทะเบียน (Registered drug)
ขณะน้ีมีอยู่ 3 รูปแบบ นอกจากน้ียังมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส้าหรับสัตว์เพื่อใช้ในการรักษาโรคใน
ต่างประเทศด้วย

253
4.1 ผลิตภัณฑ์ THC สงั เคราะห์ (Synthetic THC)

4.1.1 ยาโดรนาบินอล (Dronabinol) ช่ือการค้าคือ มารนิ อล (Marinol®) เปน็ เมด็
เจลลาตินแคปซูล บรรจุตัวยา THC มีความแรงต้ังแต่ 2.5 - 10 มิลลิกรัม มีข้อบ่งใช้ เพ่ือลดอาการ
คล่ืนไส้อาเจียนจากยาเคมบี ้าบัดในผู้ปว่ ยมะเรง็ ในกรณีที่ใชย้ าอนื่ แล้วไม่ไดผ้ ล และกระตุน้ ความอยาก
อาหารในผูป้ ่วยเอดส์ ท่มี ีภาวะนา้ หนกั ลด และเบอ่ื อาหารรนุ แรง (Anorexia)

ภาพที่ 80 โดรนาบนิ อล (Dronabinol)
4.1.2 นาบิโลน (Nabilone) ช่ือการค้า คือ ซีซาเมท (Cesamet®) เป็นผลิตภัณฑ์
รูปแบบแคปซูลตัวยา คือ อนาล็อก ของสาร THC ขนาดความแรง 1 มิลลิกรัมต่อเม็ด ใช้ป้องกัน
การคลื่นไส้ การอาเจยี น ท่ีเกิดจากยารกั ษาโรคมะเร็ง ใช้ในกรณีท่ใี ช้ยาอ่นื ไม่ไดผ้ ล

ภาพที่ 81 นาบโิ ลน (Nabilone)

254
4.2 ผลิตภัณฑ์สารสกัดแคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ (Natural purified cannabinoid)
ไดแ้ ก่ นาบกิ ซีมอล (Nabiximol) ช่อื การค้า คอื ซาติเวกซ์ (Sativex®) เป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบสเปรย์ใช้
ในช่องปากบริเวณฉีดพ่นใต้ล้ิน ปริมาณ THC : CBD อัตราส่วน 1.08 : 1 ใช้บรรเทาอาการเกร็งและ
ปวด ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง (Multiple sclerosis) ในกรณีที่ใช้ยาอ่ืนแล้วไม่ได้ผล
และบรรเทาอาการปวดในมะเรง็ ระยะรกุ ราน ทีไ่ ม่ตอบสนองตอ่ ยาในกลุ่ม Opioids

ภาพท่ี 82 ซาตเิ วกซ์ (Sativex)
4.3 ผลิตภัณฑ์สารสกดั CBD

ช่ือการค้า คือ เอพิดิโอเล็กซ์ (Epidiolex®) เป็นยาน้า (Oral Solution) ที่สกัด
สาร CBD และ THC จากต้นพืชกัญชา พัฒนาโดยบริษัท GW Pharmaceuticals (UK) เป็นยาที่ใช้ใน
การรักษาควบคุมอาการของโรคลมชัก (Epilepsy) ลมชักชนิดรุนแรง คือ Lennox - Gastaut
syndrome และ Dravet syndrome ในผู้ใหญ่ และเด็กทมี่ อี ายุต้ังแต่ 2 ปีขึน้ ไป ท่ไี ม่ตอบสนองต่อยา
รักษามาตรฐาน EPIDIOLEX® เป็นยาที่สกัดมาจากพืชกัญชาโดยมีความเข้มข้น CBD 100 มิลลิกรัม
ตอ่ มิลลลิ ติ ร ไดร้ ับการอนุมตั ิจาก องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา เม่ือเดอื น มิถนุ ายน ค.ศ.2018

ภาพที่ 83 เอพิดโิ อเลก็ ซ์ (Epidiolex)

255

4.4 ผลติ ภณั ฑ์สา้ หรับสตั ว์
ในต่างประเทศ มีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือรักษาอาการเจ็บป่วยในสัตว์ ข้อบ่งใช้

จะคล้ายกับการรักษาในมนุษย์ คือ ใช้ในสัตว์ที่ได้รับผลกระทบจากการได้รับเคมีบ้าบัด เพ่ือเพ่ิม
ความอยากอาหาร ลดอาการเจ็บปวดหรืออักเสบ รักษาอาการชัก ช่วยให้สัตว์เล้ียงผ่อนคลาย ไม่ตื่น
ตกใจ มีท้ังรูปแบบเป็นน้ามันหยด ท่ีมีสูตร THC และ CBD ในอัตราส่วนต่าง ๆ และผลิตภัณฑ์เสริม
อาหารสา้ หรบั สตั วเ์ ลย้ี ง โดยใช้นา้ มันจากกัญชาผสมในคกุ กสี้ ้าหรับสุนัข เพ่อื ให้สนุ ัขกินได้งา่ ย รูปแบบ
คล้ายกับขนมปังกรอบ (Snack) แต่ในประเทศท่ีมีการอนุญาตให้ใช้ในสัตว์ เช่น ประเทศแคนาดา
การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือการรักษาในสัตว์ ห้ามใช้เพ่ือเป็นขนมทานเล่นของสัตว์ แต่อนุญาตใช้เพ่ือ
วตั ถุประสงค์ในการรกั ษาเท่านัน้

เภสัชกรหญิง ดร.สภุ าภรณ์ ปิตพิ ร เลขาธกิ ารมูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภูเบศร
ให้ข้อมูลว่า ในอดีตทางกลุ่มชาติพันธ์ุกะเหร่ียงมีการใช้พืชกัญชาในการขุนหมู เพื่อให้หมูกินอาหารได้
มลี ักษณะอว้ นพี แต่ไม่ระบุว่ามีการใช้เพื่อเปน็ การรักษาโรคในสัตว์

ภาพท่ี 84 นา้ มนั กญั ชาในรปู แบบคกุ กสี้ า้ หรับสุนัข

256

ภาพที่ 85 น้ามนั กัญชาส้าหรับรักษาสัตว์
กล่าวโดยสรุป ผลิตภัณฑ์ส้าเร็จรูปจากกัญชาเพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ส้าหรับคน
มีรูปแบบน้ามันหยดใต้ล้ิน แคปซลู สเปรย์ฉีดพน่ ใตล้ ้ิน ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรปู แบบแผ่นแปะบน
ผิวหนัง ผลิตภัณฑ์กัญชาจะมีสูตรแตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารส้าคัญ THC และ CBD
ผลิตภัณฑ์กัญชาที่ได้รับการข้ึนทะเบียน (Registered drug) ขณะน้ีมีอยู่ 3 รูปแบบ คือ ผลิตภัณฑ์
THC สังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์สารสกัดแคนนาบินอยด์ จากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์สารสกัด CBD
นอกจากนใ้ี นต่างประเทศยังมผี ลติ ภัณฑ์รกั ษาอาการเจ็บป่วยในสตั ว์

ถาม

กัญชาและกัญชงสามารถใช้ในการรักษาโรคในสัตว์ได้จริงหรือไม่

ตอบ

จริง ในตา่ งประเทศมีการใช้กัญชาและกัญชงในการรักษาโรคในสัตว์โดย
กล่มุ โรค เหมือนกับการใชร้ ักษาในคน เชน่ ชว่ ยลดการปวดจากการรับ
คีโม เพิม่ การอยากอาหารในสัตวป์ ว่ ย และในอดตี ประเทศไทยมกี ารใช้กญั ชาและกญั ชง
เพอื่ ช่วยในการขนุ หมูให้อ้วนพี และเคยมกี ารน้ามาใช้ในการรกั ษาอาการเจบ็ ป่วยในสัตว์
ด้วยเช่นกัน

257

5. การใชผลิตภัณฑกัญชาและกัญชงให้ได้ประโยชน์ทางการแพทย์ในปัจจุบัน แนะน้าโดย
กรมการแพทย์ เพอ่ื ใช้ในการดแู ลรกั ษา และควบคมุ อาการของผ้ปู ว่ ย เน่ืองจากมีหลักฐานทางวชิ าการ
ท่ีมคี ุณภาพสนบั สนนุ ชัดเจน โดยแบง่ เปน็ 4 กล่มุ ได้แก่

5.1 ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบ้าบัด (Chemotherapy induced nausea and
vomiting) โดยแพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือรักษาภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบ้าบัดได้
ภายใต้ขอ้ พิจารณาดงั ต่อไปนี้

5.1.1 ไม่แนะนา้ ให้ใช้ผลติ ภณั ฑก์ ัญชาเปน็ การรักษาเร่มิ ต้น
5.1.2 แนะน้าใหป้ รกึ ษากบั ผปู้ ่วยถึงประโยชน์ และความเส่ียงของผลิตภัณฑ์กญั ชา
กอ่ นใช้
5.1.3 ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อรักษาอาการคลื่นไส้จากเคมีบ้าบัดท่ีรักษาด้วยวิธี
ต่าง ๆ แลว้ ไม่ได้ผล
5.1.4 ไมแ่ นะน้าใหใ้ ชใ้ นกรณขี องภาวะคลื่นไสอ้ าเจยี นทว่ั ไป
5.1.5 ไม่แนะน้าให้ใช้ในกรณีของภาวะคลื่นไส้อาเจียนในหญิงต้ังครรภ์ หรือ
มอี าการแพท้ อ้ งรุนแรง
5.1.6 แนะน้าใหใ้ ช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาเป็นการรักษาเสรมิ หรอื ควบรวมกับการรักษา
ตามมาตรฐาน
5.2 โรคลมชักท่ีรักษายาก และโรคลมชักท่ีดื้อต่อยารักษา (Intractable epilepsy)
ผู้สั่งใช้ควรเป็นแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชา
เพ่อื การรกั ษาผปู้ ว่ ย ภายใตข้ อ้ พิจารณาดังตอ่ ไปน้ี
5.2.1 ใช้ในโรคลมชักที่รักษายากในเด็ก ได้แก่ ดราเวท (Dravet) และเลนนอค
แกสโท ซนิ โดรม (Lennox - Gastaut Syndrome)
5.2.2 โรคลมชักท่ีดื้อต่อยารักษา ต้ังแต่ 2 ชนิดขึ้นไป หากคาดว่าจะเ กิด
ดรกั อนิ เตอร์แอคชนั่ (Drugs interaction) อาจพิจารณาใช้ผลิตภัณฑ์กญั ชาท่ีมี CBD สงู
5.2.3 แพทย์ผู้ดูแลผู้ป่วยโรคลมชักที่เข้าเกณฑ์โรคลมชักท่ีรักษายาก ควรส่งต่อ
ผู้ป่วยไปยังสถานบริการสุขภาพระดับตติยภูมิ เพ่ือพบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางระบบประสาท
เพอื่ ประเมิน และใหก้ ารรกั ษาต่อไป ในกรณตี ่อไปนี้

1) ลมชกั ทยี่ งั ควบคุมดว้ ยยาไมไ่ ด้
2) ผู้ปว่ ยเดก็ ทมี่ ีอายตุ ้า่ กวา่ 2 ปี
3) ผู้ป่วยลมชักท่ีมีความเส่ียง หรือไม่สามารถทนต่อผลข้างเคียงของ
การรักษาลมชักได้
4) มีความผิดปกติทางจิต หรือมีโรคจิตรว่ มด้วย

258

5) มขี อ้ สงสยั ในการวนิ จิ ฉยั ลักษณะลมชัก หรือกลุม่ อาการลมชกั
5.3 ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
(Multiple sclerosis) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา เพื่อบรรเทาอาการปวดและเกร็ง ในกรณีที่
รกั ษาภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งทดี่ ือ้ ตอ่ การรักษาภายใต้ข้อพิจารณาดังต่อไปน้ี

5.3.1 ไม่แนะน้าให้ใช้ผลิตภณั ฑ์กญั ชาเป็นการรกั ษาเรม่ิ ตน้
5.3.2 แนะน้าใหป้ รึกษากับผปู้ ว่ ยถึงประโยชน์ และความเสย่ี งของผลิตภัณฑ์กัญชา
ก่อนใช้
5.3.3 แนะน้าให้ใช้ในกรณีที่รักษาด้วยวิธีมาตรฐานอย่างเหมาะสม (รวมถึงวิธีท่ี
ไม่ใช้ยา) แล้วไม่ไดผ้ ล
5.4 ภาวะปวดจากระบบประสาท (Neuropathic pain) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์
กัญชาในกรณีท่ีรักษาภาวะปวดจากระบบประสาทท่ีดื้อต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน ภายใต้
ขอ้ พิจารณาต่อไปนี้
5.4.1 ไม่แนะน้าให้ใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาเปน็ การรกั ษาเริ่มต้น
5.4.2 แนะนา้ ให้ปรกึ ษากับผู้ปว่ ยถึงประโยชน์ และความเสย่ี งของผลติ ภัณฑ์กญั ชา
ที่ใช้
5.4.3 แนะน้าให้ใช้ในกรณีท่ีทดลองใช้ยาบรรเทาอาการปวด อย่างสมเหตุผลแลว้
แต่ผู้ป่วย ยงั คงมอี าการปวด
5.4.4 แนะน้าให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา เป็นการรักษาเสริม หรือควบรวมกับวิธี
มาตรฐาน
กล่าวโดยสรุป การใชผลิตภัณฑกัญชาและกัญชงให้ได้ประโยชน์ทางการแพทย์
ในปจั จุบนั แนะน้าโดยกรมการแพทย์ เพอื่ ใช้ในการดูแลรกั ษา และควบคุมอาการของผ้ปู ว่ ย เน่อื งจาก
มีหลักฐานทางวิชาการที่มีคุณภาพสนับสนุนชัดเจน โดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ (1) ภาวะคล่ืนไส้
อาเจียนจากเคมีบ้าบัด (Chemotherapy induced nausea and vomiting) โดยแพทย์สามารถใช้
ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือรักษาภาวะคล่ืนไส้อาเจียนจากเคมีบ้าบัดท่ีรักษาด้วยวิธีต่าง ๆ แล้วไม่ได้ผล
(2) โรคลมชักท่ีรักษายาก และโรคลมชักที่ด้ือต่อยารักษา (Intractable epilepsy) ผู้ส่ังใช้ควรเป็น
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบประสาท และได้รับการอบรมการใช้สารสกัดจากกัญชาเพื่อการรักษา
ผู้ป่วย (3) ภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเส่ือมแข็ง (Multiple
sclerosis) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพ่ือบรรเทาอาการปวดและเกร็งในกรณีท่ีรักษาด้วยวิธี
อื่น ๆ แล้วไม่ได้ผล และ (4) ภาวะปวดจากระบบประสาท (Neuropathic pain) แพทย์สามารถใช้
ผลิตภณั ฑก์ ัญชาในกรณีทีร่ กั ษาภาวะปวดจากระบบประสาททด่ี ้ือต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน

259

6. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชน์ ในการควบคุม
อาการ ผลิตภัณฑ์กัญชาประเภทน้ีมีหลักฐานทางวิชาการท่ีมีคุณภาพสนับสนุน มีจ้านวนจ้ากัด
ซง่ึ ตอ้ งการขอ้ มูลการศกึ ษาวจิ ยั เพ่ือสนบั สนนุ ต่อไป

อย่างไรก็ตาม ในกรณีท่ีผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยวิธีมาตรฐานแล้ว ไม่สามารถควบคุม
อาการของโรคได้ หากจะน้าผลิตภัณฑ์กัญชามาใช้กับผู้ปว่ ยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซิงกิ ของแพทยสมาคม
โลก (ปี ค.ศ. 2013) ข้อ 37 ระบุว่ามีความเป็นไปได้หากไม่มีวิธีการรักษาอื่น ๆ หรือมีวิธีการรักษาแต่
ไม่เกิดประสิทธิผล ภายหลังจากได้ปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย หรือญาติ
โดยชอบธรรมแล้ว แพทย์อาจเลือกวิธีการที่ยังไม่ได้พิสูจน์ หากมีดุลยพินิจว่า วิธีการน้ัน ๆ อาจ
ช่วยชีวิตผู้ป่วย ฟ้ืนฟูสุขภาพ หรือลดความทุกข์ทรมานของผู้ป่วยได้ วิธีการดังกล่าว ควรน้าไปเป็น
วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย โดยออกแบบใหป้ ระเมินความปลอดภยั และประสิทธผิ ลควบคู่กนั ไป รวมถึง
ตอ้ งบันทึกขอ้ มลู ผปู้ ว่ ยทกุ ราย และหากเหมาะสมควรเผยแพร่ให้สาธารณชนไดท้ ราบ

การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อรักษาผู้ป่วยเฉพาะราย และด้าเนินการเก็บข้อมูลวิจัยควบคู่
กันไป อาจมีรูปแบบการวิจัยในลักษณะการวิจัยเชิงสังเกต (Observational study) หรอื การวิจัยจาก
สถานการณ์ท่ีใช้รักษาผู้ปว่ ยจริง (Actual used Research) โรคและภาวะของโรค ในกลุ่มนี้ อาทิเช่น
ผูป้ ่วยทไ่ี ดร้ บั การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care) ผปู้ ่วยมะเร็งระยะสดุ ท้าย (End - State
cancer) โรคพาร์กินสัน โรคอัลไซเมอร์ โรควิตกกังวลไปท่ัว (Generalized anxiety disorders)
โรคปลอกประสาทอักเสบ (Demyelinating diseases) เป็นต้น

การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา เพ่ือบรรเทาความปวดในผู้ป่วยท่ีได้รับการดูแลแบบ
ประคับประคอง หรือผู้ป่วยในวาระสุดท้ายของชีวิต (End of Life) ซึ่งเป็นการตัดสินใจของผู้รักษา
มขี อ้ แนะน้าดงั นี้

ข้อแนะน้าท่ี 1 ไม่แนะน้าใหใ้ ชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาเป็นการรักษาเริม่ ตน้
ข้อแนะน้าท่ี 2 ผู้ป่วยท่ีได้รับยาแก้ปวดอย่างสมเหตุผลแล้วยังมีอาการปวดมาก ท้ังท่ี
ยาแก้ปวดที่ได้รบั อย่ใู นปรมิ าณที่เหมาะสมแลว้
ขอ้ แนะน้าที่ 3 แนะน้าให้ใชผ้ ลิตภัณฑก์ ญั ชาเป็นการรักษาเสริม หรือควบรวมกับวิธกี าร
รกั ษาตามมาตรฐาน
กล่าวโดยสรุป การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ น่าจะได้ประโยชน์ใน
การควบคุมอาการ ในกรณีที่ผปู้ ่วยได้รบั การรักษาด้วยวิธีมาตรฐานแล้ว ไม่สามารถควบคุมอาการของ
โรคได้ หากจะน้าผลิตภัณฑ์กัญชามาใช้กับผู้ป่วยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซิงกิ ของแพทยสมาคมโลก
(ปี ค.ศ. 2013) ระบุว่ามีความเป็นไปได้หากไม่มีวิธีการรักษาอื่น ๆ หรือมีวิธีการรักษาแต่ไม่เกิด
ประสิทธิผล ภายหลังจากได้ปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ และได้รับความยินยอมจากผู้ป่วย หรือญาติ

260

โดยชอบธรรมแล้ว แพทย์อาจเลือกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชามาช่วยชีวิตผู้ป่วย ฟ้ืนฟูสุขภาพ หรือ
ลดความทุกขท์ รมานของผู้ปว่ ย

การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้

1. บรรยายสรุป
2. กา้ หนดประเด็นศกึ ษาค้นคว้ารว่ มกนั
3. ศกึ ษาค้นควา้ จากส่อื ทหี่ ลากหลาย
4. บนั ทกึ ผลศกึ ษาค้นคว้าท่ีไดล้ งในเอกสารการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (กรต.)
5. พบกลุม่
6. อภิปราย แลกเปลีย่ นเรียนร้ขู ้อมูลท่ไี ด้
7. คิดสรุปการเรยี นร้ทู ี่ไดใ้ หมร่ ่วมกัน บันทึกลงในเอกสารการเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง (กรต.)
8. น้าขอ้ สรปุ การเรยี นร้ทู ่ีได้ใหมม่ าฝึกปฏิบตั ิด้วยการทา้ แบบฝกึ หัด
9. จัดทา้ รายงานการศึกษาการน้ากัญชาและกัญชงไปใชท้ างการแพทย์แผนปจั จบุ นั
10. น้าเสนอผลการศึกษาการน้ากัญชาและกัญชงไปใช้ทางการแพทย์แผนปัจจุบันท่ีสนใจ
แก่เพือ่ นผูเ้ รยี นและครูผสู้ อน
11. บันทกึ ผลการเรียนรูท้ ่ีได้จากการปฏิบัตลิ งในเอกสารการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (กรต.)

สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้

1. สื่อเอกสาร
1.1 ใบความรูท้ ่ี 6
1.2 ใบงานท่ี 6
1.3 ส่ือหนังสือเรียนสาระทักษะการด้าเนินชีวิต ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา

เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั กรงุ เทพมหานคร

1.4 หนังสือทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
1.4.1 ชื่อหนังสือ สุริยัญกัญชา อัมฤตย์โอสถแห่งความหวัง ชื่อผู้แต่ง ปานเทพ

พวั พงษพ์ นั ธ์ โรงพมิ พ์ บคุ๊ ด็อท คอม ปที ่พี มิ พ์ 2562
1.4.2 ช่ือหนังสือ กญั ชารักษาโรคมะเรง็ ช่ือผแู้ ต่ง สมยศ ศุภกจิ ไพบูลย์ และ

พรรคเขียว จรรโลงโลก โรงพิมพ์ ปัญญาชน ปีทพี่ ิมพ์ 2562
1.4.3 ช่ือหนังสือ รักษาโรคด้วยกัญชงและกัญชา

261

ชอื่ ผแู้ ต่ง นายแพทยส์ มยศ กติ ตมิ ั่นคง โรงพิมพ์ บรษิ ัท โกกรนี โซเชยี ล เวนเจอร์ จ้ากดั
ปีที่พมิ พ์ 2562

1.4.4 ชื่อหนังสอื กัญชายาวเิ ศษ ชอ่ื ผ้แู ตง่ สมยศ ศุภกจิ ไพบลู ย์
โรงพิมพ์ ปัญญาชน ปีทพี่ ิมพ์ 2562

2. ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์
2.1 ชื่อบทความ กัญชากับการรักษาโรค ช่ือผู้เขียน ดร.ภญ.ผกาทิพย์ ร่ืนระเริงศักด์ิ

สบื ค้นจาก https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/453/กัญชา/
2.2 ชื่อบทความ แพทยแ์ นะ 4 ข้อควรปฏิบัตผิ ู้ป่วยโรคพาร์กนิ นสนั ชอ่ื ผู้เขียน

Porraphat Jutrakul สืบค้นจาก https://www.thaihealth.or.th/Content/42483-.html
2.3 ช่ือบทความ โรคพาร์กินสนั กบั ผู้สูงอายุ ชื่อผู้เขยี น ศ.นพ.นิพนธ์ พวงวริทร์

สืบคน้ จาก https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=112
2.4 ชื่อบทความ โรคใช้กัญชารกั ษาได้ทั้งพาร์กินสนั อัลไซเมอร์ ปวดจากระบบประสาทผดิ ปกติ

ชอ่ื ผเู้ ขยี น ศ.นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/main/detail/14376
2.5 ชื่อบทความ โรคลมชัก ช่อื ผู้เขียน Pobpad สบื คน้ จาก https://www.pobpad.com/
2.6 ชอ่ื บทความ กัญชง กญั ชา กบั ฤทธก์ิ นั ชักโรคลมบา้ หมู

ช่ือผเู้ ขยี น นพ.ภาสนิ เหมะจฑุ า สืบคน้ จาก https://www.thairath.co.th/news/society/1570550
2.7 ชอ่ื บทความ เคาะใช้ น้ามนั กัญชา สูตร CBD สงู ของ อภ.กลมุ่ ลมชักในเด็ก

ชื่อผู้เขียน ผู้จดั การออนไลน์ สืบค้นจาก https://mgronline.com/qol/detail/9620000048452
2.8 ชอ่ื บทความ แนวทางการใชส้ ารสกดั กญั ชาเมดิคัลเกรดกบั โรคผวิ หนงั ชื่อผู้เขยี น

นพ.เวสารัส เวสสโกวทิ สืบคน้ จาก https://www.gpo.or.th/LinkClick.aspx?fileticket=PX
EM8lbhJM%3D&tabid=414&mid=1297

2.9 ชอ่ื บทความ สถานการณก์ ารใช้ยาผลิตจากพืชกญั ชา ช่ือผู้เขยี น นพ.สมนึก ศิริพานทอง
สืบค้นจาก https://www.gpo.or.th/Default.aspx?tabid=338&language=th-TH

3. สื่อแหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน
3.1 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” เขตคลองสามวา สถานท่ตี ้ัง 168

ถนนพระยาสเุ รนทร์ แขวงสามวาตะวนั ตก เขตคลองสามวา กรงุ เทพมหานคร
หมายเลขโทรศัพท์ 02 171 0002

3.2 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เขตตลิ่งชัน สถานที่ต้ัง ซอยโชคสมบัติ
ถนนพุทธมณฑลสาย 1 แขวงบางละมาด เขตตลง่ิ ชัน กรงุ เทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02 448 6028

3.3 ห้องสมุดของมหาวทิ ยาลัยตา่ ง ๆ ท่ตี ั้งอยูใ่ นกรุงเทพมหานคร
3.4 หอ้ งสมดุ ใกล้บ้านผู้เรียน

262

3.5 คลินิกกัญชาโรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภูเบศร สถานที่ต้งั 32/7 หมู่ 12 ต.ทา่ งาม
อ.เมือง จ.ปราจนี บุรี 25000 หมายเลขโทรศัพท์ 037 211 088

3.6 คลินกิ กญั ชาโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทยผ์ สมผสาน ยศเส
สถานที่ตง้ั 693 ถนนบ้ารุงเมอื ง แขวงคลองมหานาค เขตป้อมปราบศตั รพู า่ ย กรุงเทพมหานคร
หมายเลขโทรศพั ท์ 02 224 3261

3.7 กระทรวงสาธารณสุข ไดแ้ ก่
3.7.1 กรมการแพทย์
3.7.2 ส้านักงานคณะกรรมการอาหารและยา

การวัดและประเมนิ ผล

1. ประเมินความกา้ วหนา้ ดว้ ยวิธีการ
1.1 การสงั เกต
1.2 การซกั ถาม ตอบค้าถาม
1.3 การตรวจเอกสารการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง (กรต.)
1.4 การตรวจเอกสารรายงานการศึกษาการน้ากัญชาไปใช้ในทางการแพทย์แผนปัจจุบัน

ตามทีส่ นใจ
2. ประเมินผลรวม ดว้ ยวิธีการ
2.1 ตอบแบบทดสอบวัดความรู้ หัวเร่ืองที่ 6 กัญชาและกัญชงกับการแพทย์แผนปัจจุบัน

จา้ นวน 7 ขอ้
2.2 ตอบแบบสอบถามวดั ทักษะการแสวงหาความรู้ และทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
2.3 ตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ

263

หวั เรื่องท่ี 7
ใช้กัญชาและกญั ชงเปน็ ยาอย่างร้คู ุณค่าและชาญฉลาด

สาระสาคญั

1. ความเชือ่ และความจริงเกีย่ วกับกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์
1.1 ความเช่ือเก่ียวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพรโบราณ

กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือบางอย่าง
ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเชื่อบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควรปฏิบัติตาม
จนกวา่ จะมผี ลการวจิ ยั ความเช่ือท่ไี ดศ้ กึ ษา ในหวั ข้อดังกล่าว

1.2 ความจริงเก่ียวกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ จากการวิจัยเกี่ยวกับการใช้กัญชา
และกญั ชงช่วยในการรักษาอาการ และโรคดงั น้ี (1) อาการปวดเรื้อรังจากเส้นประสาท (2) อาการคลื่นไส้
อาเจยี น และเพิ่มความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเส่อื ม และ (4) โรคลมชัก

2. การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น โรคมะเรง็
โรคสมองเส่ือม โรคเบาหวาน และโรคไตเรื้อรัง เป็นต้น จาเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยถึงความปลอดภัย
และประสิทธิผลอย่างละเอียด ซ่ึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ยังมีข้อมูลหลักฐานทางวิชาการไม่เพียงพอ
ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบันหากเลือกใช้ เฉพาะผลิตภัณฑ์
กญั ชาและกญั ชงในการรักษาแลว้ อาจทาให้ผ้ปู ว่ ยเสยี โอกาสในการรักษาได้

3. ข้อแนะนาก่อนตัดสินใจใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ มี 8 ข้อ ได้แก่
(1) ความสัมพันธ์ ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย เป็นพ้ืนฐานในการยอมรับการรักษาพยาบาล รวมถึงการ
ประเมิน ผู้ป่วยว่าเหมาะสมท่ีจะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงหรือไม่ (2) การประเมินผู้ป่วย ข้อมูล
ประวัติท่ีเก่ยี วขอ้ งกับอาการของผู้ป่วย (3) การแจ้งให้ทราบ และตดั สินใจร่วมกัน (4) ข้อตกลงการรักษา
ร่วมกัน (5) เงอ่ื นไขทีเ่ หมาะสม ในการตดั สนิ ใจของแพทย์ในการส่ังใช้ผลติ ภัณฑก์ ัญชาและกัญชง (6) การ
ติดตามอย่างต่อเน่ืองและปรับแผนการรักษา (7) การให้คาปรึกษา และการส่งต่อ และ (8) การบันทึก
เวชระเบียน จะชว่ ยสนบั สนนุ การตดั สินใจในการแนะนาการใช้ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกัญชง

4. การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง แนะนาให้ใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและ
กญั ชงในการทดลองรักษาระยะสั้น เพ่อื ประเมนิ ประสิทธิผลในการรักษาผ้ปู ว่ ย แผนการรักษาควรมีความ
ชัดเจน ใน 6 ประเด็น ได้แก่ (1) วางเป้าหมายการเริ่มรักษา และการหยุดใช้ แพทย์ควรหารือร่วมกับ
ผปู้ ่วยให้ชดั เจน (2) การบรหิ ารจดั การโดยแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (3) มกี ระบวนการจัดการความเสี่ยง

264

(4) กากบั ตดิ ตาม ทบทวนทุกสปั ดาห์ โดยแพทย์ หรือเภสัชกรผ้เู ช่ยี วชาญ (5) ให้ผ้ปู ่วยลงนามยินยอม และ
(6) ใหค้ าแนะนาผปู้ ่วยเม่ือใชผ้ ลติ ภัณฑ์กัญชาและกญั ชงทางการแพทย์

5. การเร่ิมใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยในทางการแพทย์ ต้องคานึงถึงข้อปฏิบัติ
2 ประการ ได้แก่ (1) การซักประวัติอาการป่วยในปัจจุบัน ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ประวตั ิเจ็บป่วย
ทางจิต และโรคทางจิตเวช และอาการทางจิตจากการได้รับยารักษาโรคพาร์กินสัน ยารักษาโรคสมอง
เสื่อม และพฤติกรรมเสี่ยงที่สัมพันธ์กับการติดสารเสพติด และ (2) การกาหนดขนาดยา และการ
บรหิ ารยา ไม่มขี นาดยาเริ่มต้นท่ีแน่นอนในผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงแต่ละชนดิ ขนาดยาทีเ่ หมาะสมข้ึน
กับลักษณะของผู้ป่วยแต่ละคน โดยเริ่มต้นขนาดต่า และปรับเพ่ิมขนาดช้า ๆ จนได้ขนาดยาที่เหมาะสม
ส่งผลตอ่ การรักษาสงู สดุ และเกิดผลข้างเคียงต่าสดุ ขนาดยาในระดบั ต่ามีโอกาสเกดิ ผลข้างเคียงนอ้ ย

6. ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ท่ีมีสาร THC และ CBD เป็นส่วนประกอบมี 4 ข้อ ได้แก่ (1) ผู้ท่ีมี
ประวัติแพ้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากสารสกัดกัญชาและกัญชง (2) ผู้ที่มีอาการรุนแรง หรือมีปัจจัยเส่ียงของ
โรคหลอดเลือดหัวใจ (3) ผู้ที่เป็นโรคจิต หรืออาการของโรคอารมณ์แปรปรวน หรือโรควิตกกังวลมาก่อน
และ 4) สตรีมคี รรภ์ สตรที ่ใี หน้ มบตุ ร รวมท้งั สตรวี ัยเจรญิ พันธทุ์ ี่ไม่ได้คุมกาเนิด หรอื สตรวี างแผนท่ีจะ
ตั้งครรภ์

7. ข้อควรระวงั เก่ยี วกับการใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและกัญชง
7.1 ข้อควรระวังทางการแพทย์ ไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในผู้ป่วยที่มีอายุ

ต่ากว่า 25 ปี เพราะมีผลข้างเคียงต่อสมองที่กาลังพัฒนา และไม่ควรใช้กับผู้ป่วยโรคตับ ผู้ติดสารเสพตดิ
รวมถึงนิโคติน ผู้ด่ืมสุราอย่างหนัก ผู้ใช้ยาในกลุ่มโอปิออยด์ (opioids) ยากล่อมประสาท เด็กและ
ผสู้ ูงอายุ เน่อื งจากยงั ไม่มีขอ้ มลู ทางวชิ าการมากเพยี งพอ

7.2 ขนาดของกัญชาและกัญชงที่ใช้ในทางการแพทย์ ในการรักษาโรค ยังไม่สามารถ
กาหนดขนาดการใช้ที่แน่นอนได้ โดยต้องปรบั ใหเ้ หมาะกบั แตล่ ะบุคคล และมีหลกั สาคญั คอื เริ่มทลี ะน้อย
แลว้ ค่อย ๆ เพ่มิ ขนาด ซ่ึงผู้ป่วยท่ีเปน็ โรค หรอื มีอาการต่างกนั จะใช้ขนาดยาต่างกัน โดยหากใชข้ นาดยา
กญั ชาและกัญชงท่ไี มถ่ ูกต้องจะเกิดการด้ือยา

7.3 ห้ามใช้น้ามันกัญชาและกัญชงทาบุหรี่ เพราะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อระบบ
ทางเดนิ หายใจ และไม่ควรใช้กบั บหุ ร่ไี ฟฟา้ อาจทาให้ปอดอักเสบเป็นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพ

7.4 สารตกค้างจากการสกัดน้ามันกัญชาและกัญชง ในการเลือกผลิตภัณฑ์กัญชาและ
กัญชงต้องศึกษาว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวใช้สารสกัดชนิดใด มีความปลอดภัยมากน้อยเพียงใด การสกัด
โดยตัวทาละลายแนฟทา หรือปโิ ตรเลียมอีเทอร์ มีความปลอดภัยน้อยกว่าการสกัดด้วยเอทานอล หรอื
การตม้ ในน้ามันมะกอก เนอ่ื งจากพบการตกค้างของตัวทาละลายที่มีความเสี่ยงท่ีทาให้เกดิ โรคมะเร็งได้
และวิธีการสกัดใหม่ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่ การสกัดโดยใช้คาร์บอนไดออกไซด์เหลว และเอทานอล
สกดั เย็น เนื่องจากมคี วามปลอดภัยสูง สามารถสกดั ไดป้ ริมาณมาก และได้สารแคนนาบนิ อยด์เขม้ ขน้

265

7.5 ความปลอดภัยของน้ามันกัญชาและกัญชง ต้องคานึงถึงแหล่งท่ีมา ผลิตภัณฑ์ที่ได้
มาตรฐานการผลิตท่ีดี ต้องผ่านการตรวจควบคุมคุณภาพ และส่ังจ่ายภายใต้แพทย์ เภสัชกร และ
แพทย์แผนไทยทีผ่ ่านการอบรมการใช้กัญชาและกัญชง เพือ่ ประโยชน์ทางการแพทยม์ าแล้ว

7.6 สายพันธุ์กัญชาและกัญชงเหมาะกับบางโรค จากการสังเกตการณ์เก็บข้อมูลจาก
งานวิจัย สารเคมีที่แตกต่างกันในกัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธ์ุ และผลการรักษาในผู้ปว่ ยแต่ละโรค
ในต่างประเทศ พบว่ากัญชาและกัญชงแต่ละสายพันธุ์มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับแต่ละโรคไม่เท่ากัน
แต่ยงั เปน็ งานวจิ ัยขนั้ ต้น ตอ้ งมกี ารศึกษาในเชงิ ลึกต่อไป

7.7 หลกั ธรรมนาชีวิตพ้นพิษภัยจากกัญชาและกัญชง การใชพ้ ุทธธรรมเพ่ือสร้างภูมิคุ้มกัน
ทางดา้ นจิตใจให้มีความเข้มแข็ง โดยใช้ภูมคิ ุ้มกันทางครอบครวั ท่ีเปน็ ความรักความอบอุ่น ความเขา้ ใจ
ซึ่งกันและกัน ภูมิคุ้มกันจากสังคมส่ิงแวดล้อม ภูมิคุ้มกันจากกัลยาณมิตร รวมถึงการเสริมสร้างการ
เรียนรู้ท่ีเกิดจากตนเองเป็นผู้กาหนด เยาวชนของชาติส่วนใหญ่ที่หลงเข้าไปเสพยา หรือเก่ียวข้องกับ
ยาเสพติด รวมทั้งกัญชาและกัญชง อาจเนื่องจากขาดความรักความอบอุ่น ขาดความรู้ความเข้าใจต่อ
สงั คม เขา้ ใจวา่ ตนเองไม่มคี ุณค่า และขาดความรู้ทางธรรมะพืน้ ฐาน หากเราตอ้ งการแก้ปัญหาเร่ืองยา
เสพติดของเยาวชน เราจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของเยาวชน รวมท้ังตัวเราควรได้เรียนรู้ปรับ
ทัศนคติมุมมองด้วยการใช้ปัญญา เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในการแก้ปัญหาของตนเอง ในด้านครอบครัว
สังคม และมิตร ให้ประสานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เสมือนเฟืองสามตัวขับเคลื่อนกลไกให้ทางาน
ในเวลาเดียวกัน ดังน้ันการป้องกันมิให้เยาวชน รวมทั้งตัวเราได้มีโอกาสเข้าไปยุ่งเกี่ยว กับยาเสพติด
เป็นการป้องกันในลักษณะการสร้างความพร้อมในการใช้ชีวิตเตรียมความพร้อมในการเป็นผู้ใหญ่ หรือ
เป็นผู้ดูแลตนเองได้ โดยใช้ปัญญาเป็นเคร่ืองมือท่ีจะนาพาตนเองให้อยู่ในสังคมเป็นพลเมือง ท่ีมีคุณภาพ
ซ่งึ จะเปน็ ปัจจยั สาคัญท่ีจะทาให้เราใชช้ วี ติ ในสังคมได้อยา่ งภาคภูมิใจ เปน็ พลเมืองที่มีคุณภาพ มคี วาม
เข้มแข็งท่ีเกิดจากกระบวนการใช้ปัญญาเป็นหลักที่ยึดเหนี่ยว ซึ่งจะเป็นพ้ืนฐานสาคัญท่ีจะทาให้
ประเทศไทยมีพลเมอื งที่มีคุณภาพนาพาประเทศให้มีความสุขสงบ เจริญร่งุ เรอื งสืบไป

8. ข้อห้ามในการใช้กัญชาและกัญชงกับบุคคลต่อไปนี้ ได้แก่ ผู้ป่วยท่ีมีอาการทางระบบ
ประสาทผิดปกติ ผู้ปว่ ยโรคหัวใจข้ันรนุ แรงทมี่ ีอาการความดันโลหติ ต่าลง หรอื หวั ใจเต้นเร็ว สตรีต้งั ครรภ์
หรือให้นมบุตร บุคคลที่มีอายุต่ากว่า 25 ปี ผู้ป่วยโรคตับ โดยถ้าจาเป็นต้องใช้ต้องอยู่ในความดูแล
ของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

9. การถอนพิษเบื้องต้นจากการเมากัญชาและกัญชง ที่มีอาการมึนศีรษะ โคลงเคลง แน่น
หน้าอกจากการใช้กัญชาและกัญชงเกินขนาด มีอยู่ 3 วิธี ได้แก่ วิธีที่ 1 ให้ดื่มน้ามะนาวผสมน้าผ้ึง หรือ
น้าตาลทราย วิธีที่ 2 ดื่มสมุนไพรรางจืด และวิธีท่ี 3 รับประทานกล้วยน้าว้าสุก วันละ 3 เวลา เวลาเช้า
กลางวนั และเยน็

266

ตวั ช้ีวดั

1. บอกความเช่อื และความจรงิ เกีย่ วกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ได้
2. บอกวธิ ีการใช้ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกัญชงทางการแพทยใ์ นอนาคตให้ไดป้ ระโยชน์ได้
3. บอกข้อแนะนากอ่ นตัดสินใจใช้ผลิตภณั ฑ์กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ได้
4. บอกวิธีการวางแผนการรกั ษาด้วยผลติ ภัณฑก์ ญั ชาและกัญชงได้
5. อธบิ ายวธิ ีการเร่ิมใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกญั ชงในทางการแพทยไ์ ด้
6. บอกขอ้ ห้ามใชผ้ ลิตภณั ฑ์ที่มสี าร THC และ CBD เปน็ สว่ นประกอบได้
7. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ และหลักการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาอย่างรู้คุณค่าและ
ชาญฉลาดได้
8. ให้คุณค่าหลกั ธรรมนาชีวิต พ้นพษิ ภยั จากกญั ชาและกญั ชงได้
9. บอกขอ้ ห้ามในการใชก้ ัญชาและกัญชงได้
10. บอกวธิ กี ารถอนพิษเบ้ืองตน้ จากการเมากัญชาและกัญชงได้
11. สามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษาการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาไปแนะนาบุคคล
ในครอบครวั หรอื เพ่ือน หรือชุมชนได้
12. ตระหนักถึงคุณค่าของการนากญั ชาและกญั ชงไปใช้เปน็ ยา

ขอบขา่ ยเนอ้ื หา

1. ความเชอ่ื และความจรงิ เก่ยี วกับกัญชาและกญั ชงทางการแพทย์
1.1 ความเช่ือเกี่ยวกบั กัญชาและกัญชงทางการแพทย์
1.2 ความจริงเก่ยี วกับกญั ชาและกัญชงทางการแพทย์

2. การใชผ้ ลติ ภณั ฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตใหไ้ ดป้ ระโยชน์
3. ขอ้ แนะนาก่อนตัดสนิ ใจใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์
4. การวางแผนการรักษาด้วยผลิตภณั ฑ์กัญชาและกัญชง
5. การเรม่ิ ใช้ผลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงในทางการแพทย์
6. ขอ้ ห้ามใช้ผลติ ภณั ฑ์ทมี่ ีสาร THC และ CBD เป็นส่วนประกอบ
7. ข้อควรระวังเกยี่ วกับการใชผ้ ลิตภัณฑ์กญั ชาและกัญชง

7.1 ข้อควรระวงั ทางการแพทย์
7.2 ขนาดของกัญชาและกัญชงทใี่ ช้ในทางการแพทย์

7.2.1 ขนาดยากญั ชาและกัญชงที่เหมาะสม
7.2.2 ปัจจยั ท่ีมผี ลต่อขนาดกัญชาและกัญชงท่ีเหมาะสม

267

7.2.3 คาแนะนาการใช้ขนาดของน้ามนั กญั ชาและกญั ชง
7.3 หา้ มใช้น้ามนั กัญชาและกัญชงทาบหุ ร่ี
7.4 สารตกคา้ งจากการสกัดนา้ มนั กัญชาและกญั ชง
7.5 ความปลอดภัยของน้ามันกญั ชาและกญั ชง
7.6 สายพนั ธก์ุ ญั ชาและกัญชงเหมาะกบั บางโรค
7.7 หลักธรรมนาชวี ิต พน้ พษิ ภยั จากกญั ชาและกญั ชง
8. ข้อห้ามในการใช้กญั ชาและกัญชง
9. การถอนพิษเบ้อื งตน้ จากการเมากัญชาและกัญชง

รายละเอยี ดเน้ือหา

1. ความเช่อื และความจรงิ เกี่ยวกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์
1.1 ความเช่ือเกีย่ วกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์
1.1.1 ตาราสมุนไพรโบราณ
ตาราสมุนไพรโบราณท่ีช่ือ ‘มักข์ซาน’ ท่ีเกิดจากการผสมผสานความรู้ด้าน

สมุนไพรของอาหรับ และกรีกไว้ด้วยกัน กล่าวถึงกัญชาไว้ว่า “คาเนห์บอส (กัญชา) คือผู้ประทานความ
ปีติสุข ผู้โบยบินสู่ฟากฟ้า ผู้ชี้ทางสวรรค์ เป็นสวรรค์ของคนยาก และผู้ปลอบประโลมยามทุกข์ระทม”
ในคติความเชื่อของศาสนาฮินดู เรยี กสมนุ ไพรชนิดน้ีว่า ภังค์ (bhang หรอื bhanga) เช่อื วา่ เปน็ สมุนไพร
ทพ่ี ระศวิ ะเจา้ ทรงประทานแดม่ วลมนุษย์

1.1.2 คนมคี วามเชื่อวา่ กญั ชาและกญั ชงรักษาโรคมะเรง็ ได้
1) นายแพทย์วีรวุฒิ อิม่ สาราญ ไดก้ ลา่ ววา่ ในปจั จุบนั (พ.ศ. 2562) ยังไม่มี

ข้อมูลยืนยันว่ากัญชาและกัญชงสามารถรักษามะเร็งในมนุษย์ได้ จะมีก็แต่เพียงการศึกษา และวิจัยใน
ระดับขัน้ ทดลองตามกระบวนการ ได้แก่ (1) ทดสอบกับเซลล์มีชีวิตในหลอดทดลอง (2) ทดสอบใน
สัตว์ทดลอง และ (3) ทดสอบในมนุษย์ โดยล่าสุดอยู่ในขั้นตอนกาลังทาการวิจัยว่า กัญชาและกัญชง
จะสามารถรักษามะเร็งในมนุษย์ได้หรือไม่ นอกจากน้ี นายแพทย์วีรวุฒิ อิ่มสาราญ ได้ระบุถึงวิธีการใช้
กัญชารักษาโรคมะเร็งด้วยวิธีการนาเตารีด หรือท่ีหนีบผมมานาบกับกัญชา ว่าในฐานะที่เป็นแพทย์
แผนปัจจุบันน้ัน การที่แพทย์จะนาอะไรก็ตามไปใช้กับผู้ป่วยเพ่ือทาการรักษา แพทย์ต้องมีความรู้
ความเข้าใจวิธีการรักษาโดยละเอียด ในกรณีท่ีแพทย์แนะนาผู้ป่วยให้ใช้กัญชารักษาโรคมะเร็ง ผู้ป่วยจะ
ทราบได้อย่างไรว่าความร้อนของเตารีดต้องมีอุณหภูมิเท่าไร ปริมาณของกัญชาต้องอยู่ในระดับใด ใน
การรักษาโรคครั้งน้ีขณะน้ียงั ไม่มีผลงานวจิ ยั ใด ๆ ออกมายนื ยันวา่ กัญชาสามารถรักษาโรคมะเร็งได้

268

2) นายแพทย์สมยศ กิตติม่ันคง ผู้เขียนหนังสือกัญชา คือยารักษาโรคมะเร็ง
ได้ให้ข้อมูลว่าตนเองไม่ได้เห็นกับตาว่ากัญชาสามารถรักษาโรคมะเร็งได้จริงหรือไม่ แต่มีผู้ป่วย หรือ
ญาติผปู้ ่วย เข้ามาพูดคุยบอกเลา่ ให้ฟังวา่ เคยใช้กญั ชารกั ษาโรคมะเรง็ แล้วไดผ้ ลดี

1.1.3 มนษุ ยม์ ีความเชื่อว่ากญั ชาและกญั ชงเป็นยารักษาชีวติ ได้
นายณรงค์ รัตนานุกูล อดีตเลขาธิการสานักงานป้องกันและปราบปราม

ยาเสพติด ได้ให้สัมภาษณ์เม่ือวันท่ี 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ว่าจากการศึกษาข้อมูลของสานักงาน
ปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติดในชว่ งทีผ่ า่ นมา พบวา่ กัญชามีโทษมากกว่าประโยชน์ แตใ่ นทางกลับกัน
หากทาการศึกษาวิจัยแล้วพบว่า สารในกัญชาสามารถรักษาชีวิตได้ หรือสามารถใช้ประโยชน์ในทาง
การแพทย์ ก็จะดึงประโยชน์นั้น ๆ มาใช้ และในขณะเดียวกันต้องอยู่ในขอบเขตท่ีควบคุมได้ ในส่วน
ของประโยชน์ทางสาธารณสุขไม่มีใครกีดกัน หรือขวางประโยชน์ของประชาชน แต่บางท่านควรอ่าน
เนื้อหาของข้อมูล หรือข่าวให้ครบถ้วน เพราะการอ่านแค่พาดหัวข่าวอาจสร้างความเข้าใจผิด หรือ
หลงเช่ือในข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนได้ การเสาะหาข้อมูลเพ่ิมเติมอย่างละเอยี ด และรบั ฟังอย่างมีวจิ ารณญาณ
เป็นสิ่งสาคัญ และจาเป็นอย่างย่ิง นอกจากนี้หากจะทาการรักษาด้วยแพทยท์ างเลอื กท่ีมีอยู่ ส่ิงสาคัญ
คือไม่ควรท้ิงการรักษามาตรฐาน เพราะจากประสบการณ์ที่พบมา หากละทิ้งการรักษามาตรฐานแล้ว
จะเกดิ ผลเสยี กับผู้ป่วยมากกวา่ ผลดี หรอื อาจถงึ ข้นั เสยี ชีวติ

1.1.4 ความเช่ือกญั ชากับแอลกอฮอล์

ถาม 1

จรงิ หรือไม่ กญั ชาเสพติดยาก ส่วนเครอื่ งดม่ื แอลกอฮอลเ์ สพตดิ งา่ ยกว่า

ตอบ

จริง เพราะแอลกอฮอลเ์ สพติดไดง้ ่ายกวา่ แต่ไม่ใชแ่ ปลว่ากัญชาไมเ่ สพติด
กญั ชามโี อกาสตดิ โดยเฉลย่ี ประมาณร้อยละ 10 แต่ถ้าเปน็ เยาวชนวยั ทางาน
หากเรม่ิ ตน้ เสพกัญชาโอกาสติดจะเพ่ิมจากร้อยละ 10 เป็นรอ้ ยละ 16

ถาม 2

จรงิ หรอื ไม่ กญั ชารักษาสขุ ภาพ แต่แอลกอฮอลท์ าลายสขุ ภาพ

ตอบ

ไมจ่ รงิ เพราะทั้งกัญชาและแอลกอฮอลต์ ่างก็ทาลายสุขภาพ

269

ถาม 3

จริงหรอื ไม่ กญั ชารักษาโรคมะเร็ง แตส่ รุ าทาให้เกิดโรคมะเร็ง

ตอบ

จริง เพราะแอลกอฮอล์ทาให้เกิดโรคมะเร็งตับ และจากการศึกษาวิจัยทดลอง
ในสัตว์ พบวา่ สัตวม์ คี วามเสีย่ งเกดิ โรคมะเร็งบางชนิดไดเ้ ช่นกนั

ถาม 4

จริงหรือไม่ กัญชาไม่เคยทาให้มีผู้เสียชีวิต แต่แอลกอฮอล์ทาให้มีผู้เสียชีวิต
ปีละลา้ นคน

ตอบ

ไม่จริง เพราะเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์ทาให้เสียชวี ิตได้ จากหลายสาเหตุ ส่วนกญั ชา
จากงานวิจัยพบว่าที่รัฐโอเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา ปี ค.ศ. 2015 - 2017
(พ.ศ. 2558 - 2560) มีผู้เสพกัญชาต้องถูกนาส่งโรงพยาบาล 250 กว่าราย
ในจานวนน้ี 8 ราย ต้องนอนห้องไอซยี ู และมี 1 รายเสียชีวิต เป็นผ้ชู าย อายุ 70 ปี

ถาม 5

จริงหรอื ไม่ กัญชาคุ้มคา่ ราคาไม่แพง แต่แอลกอฮอล์ทาให้เสียทรพั ย์

ตอบ

ไม่จรงิ เพราะกญั ชาไม่มคี วามคมุ้ ค่า ในรฐั โคโลราโด สหรัฐอเมรกิ าได้ปลดล็อก
กัญชาทางการแพทย์ และเปิดเสรีกัญชา ทุก ๆ 1 ดอลลาร์ ท่ีเก็บภาษีจากการ
คา้ ขายกัญชา ประชาชนตอ้ งเสียค่าใช้จา่ ย ประมาณ 4.5 ดอลลาร์ เพื่อไป
ช่วยเหลือ หรือช่วยแก้ไขผลกระทบที่เกิดข้ึนจากกัญชาทาให้ได้ไม่คุ้มเสีย
ส่วนแอลกอฮอล์ก็มโี ทษจานวนมากเชน่ กัน

270

ถาม 6

จรงิ หรอื ไม่ กัญชาไม่มีผลกระทบเม่ือเสพเกินขนาด แตก่ ารดืม่ สรุ ามีผู้เสียชีวิต
เพราะดม่ื เกนิ ขนาด

ตอบ

ไม่จริง เพราะการเสพกัญชามีผลกระทบต่อสุขภาพมากเช่นกัน ดังตัวอย่าง
ประเทศฝรัง่ เศสหลังปลดลอ็ กกญั ชาอตั ราเดก็ และเยาวชน เสพกญั ชาแลว้
ต้องมารับการรกั ษาที่โรงพยาบาลเพิ่มข้ึนอย่างชดั เจน

ถาม 7

จรงิ หรือไม่ กัญชากระตุน้ เศรษฐกจิ แตแ่ อลกอฮอลก์ ่อเหตุวิวาท

ตอบ

ไมจ่ ริง เพราะท้ังกัญชาและแอลกอฮอล์ก่อใหเ้ กิดปัญหาอาชญากรรม และ
ทะเลาะวิวาทได้

ถาม 8

จรงิ หรือไม่ กัญชาชว่ ยปอ้ งกันรักษาและเสริมสร้างเซลล์ในมนษุ ย์ได้

ตอบ

ไม่จริง เพราะไม่มีหลักฐาน และงานวิจัยท่ีบ่งบอกว่ามีผลดีต่อเซลล์มนุษย์
แต่หากเสพกัญชาในระยะยาวจะพบโครงสรา้ งสมองมีการเปล่ียนแปลงไป เป็น
การทาลายสมอง

ถาม 9

จริงหรอื ไม่ กัญชามีสารในการซ่อมแซมรา่ งกายของมนุษย์

ตอบ

ไม่จริง เพราะไมม่ ีหลักฐานเพียงพอว่ากญั ชามีสารซ่อมแซมร่างกายมนุษย์ แต่มี
สารที่ทาให้นอนหลับสบาย คลายเครียด เคลิบเคล้ิม

271

ถาม 10

จริงหรอื ไม่ กัญชาชว่ ยลดความดนั ในลกู ตาของผปู้ ่วยตอ้ หนิ

ตอบ

จริง เพราะต้อหินเป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมของข้ัวประสาทตา ส่งผลให้เกิด
การสูญเสียการมองเห็น เน่ืองจากมีความดันในตาสูง มีการศึกษา ความสามารถ
ของสาร THC ร้อยละ 0.01-0.1 ในยาหยอดตา เพ่ือช่วยลดความดันในตา
และพบว่าขนาดร้อยละ 0.05 - 0.1 ของสาร THC สามารถช่วยลดความดันใน
ตาของผปู้ ว่ ยต้อหินได้ แตเ่ ป็นการออกฤทธิ์ในระยะสั้น 2 - 3 ช่ัวโมงเท่าน้ัน
อย่างไรก็ตามพบว่ายานี้ก่อให้เกดิ ผลอนั ไม่พงึ ประสงคใ์ นระหว่างใช้ หากยา
ไมไ่ ด้มาตรฐานอาจทาใหต้ าบอดได้

ถาม 11

จริงหรอื ไม่ กัญชาป้องกันและรกั ษาอาการสมองฝอ่

ตอบ

ยงั ไม่มีคาตอบว่าจริง เนอื่ งจาก ในปี ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) และจากผลการ
วจิ ยั ตอ่ เน่ืองจนถึงปจั จุบัน พบความเปน็ ไปไดใ้ นการใช้สารกลุม่ เอซดิ แคนนาบินอยด์
(acid cannabinoids) และ เอ็นโดแคนนาบินอยด์ (endocannabinoids) ในการ
รักษาความผดิ ปกตทิ างสมอง เช่น โรคฮนั ตงิ ตัน (Huntington disease)
โรคพาร์กินสนั (Parkinson disease) โรคอลั ไซเมอร์ (Alzheimer disease)
และโรคหลอดเลือดสมองขาดเลอื ด (Cerebral ischemia /stroke) เป็นต้น
ยังไม่มีการสรุปที่ชดั เจน

กล่าวโดยสรุป ความเช่ือเกี่ยวกับกัญชาและกัญชงในทางการแพทย์ ได้แก่ ตาราสมุนไพร
โบราณ กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็งได้ และกัญชาและกัญชงเป็นยารักษาชีวิตได้ ซ่ึงความเช่ือ
บางอย่าง ยังไม่มีผลการศึกษาวิจัยรองรับ แต่ความเชื่อบางอย่างยังอยู่ในการศึกษาวิจัย จึงไม่ควร
ปฏบิ ัตติ ามจนกว่าจะมผี ลการวจิ ัยความเช่ือท่ีได้ศกึ ษา ในหวั ข้อดงั กลา่ ว

1.2 ความจริงเก่ียวกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ การศึกษาวิจัยเก่ียวกับการใช้
กัญชาและกญั ชงในการรักษาอาการ และโรคตา่ ง ๆ มีดังนี้

272

1.2.1 อาการปวดเร้อื รังจากเสน้ ประสาท
ยาจากกัญชาและกัญชงยังถือว่าเป็นยาใหม่ซึ่งในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา

การวิจัยทางคลินิกส่วนมากมุ่งเนน้ ไปที่การวิจัยเก่ียวกับสารแคนนาบินอยดท์ ี่ให้ผลดี สาหรับการระงับ
อาการปวดเรื้อรังจากโรคเส้นประสาท รวมถึงรูปแบบของยากระตุ้นความอยากอาหารในผู้ป่วย
โรคมะเร็ง และการรักษาภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็งจากโรคปลอกประสาทเส่ือม และเมื่อไม่นานมาน้ี
มีการค้นพบสารแคนนาบิไดออล (CBD) ว่าเป็นสารแคนนาบินอยด์เด่ียว ซ่ึงมีแนวโน้มจะมีฤทธ์ิบาบัด
รักษาโรคลมชักในเด็กได้ การทดลองทางคลินิกช่วยให้ได้รบั ข้อมูลเชิงลกึ เก่ียวกับภาวะโรคที่เกี่ยวขอ้ ง
และปริมาณการใหย้ า ขณะท่ีข้อมลู สนบั สนุนใหม่ท่ีตีพมิ พ์ออกมาเกีย่ วกบั สารเคมีในพชื การเพาะปลูก
การวเิ คราะห์ คณุ ภาพ และการบรหิ ารยา ชว่ ยเพิม่ คณุ ค่าให้กับความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัย
ของผลิตภัณฑ์ และหลักปฏิบตั ิในการสัง่ จา่ ยยา ในที่นี้จะสรุปเนื้อหาในส่วนของภาวะโรคทีก่ ัญชาและ
กัญชงน่าจะมีประโยชน์ในการรักษาอาการปวดเร้ือรังอย่างรุนแรง ถือได้ว่าเป็นสาเหตุหลักที่ผู้ป่วยใช้
กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ อาการปวดมีอยู่หลายประเภท และสารแคนนาบินอยด์ไม่สามารถ
รักษาอาการปวดได้ทุกประเภท จากการศึกษาในปัจจุบันแคนนาบินอยด์จะได้ผลดีต่ออาการปวดจาก
เสน้ ประสาทเท่านนั้ ซ่งึ เปน็ อาการปวดที่เกดิ จากการบาดเจ็บ หรอื โรคซง่ึ ส่งผลกระทบตอ่ เส้นประสาท
การรับรู้ เม่ือเทียบกันแล้วการศึกษาที่วัดผลต่ออาการปวดรุนแรง ดังตัวอย่าง อาการปวดหลังการผ่าตัด
มักพบว่าไม่มีประโยชน์ต่อการรักษา อย่างไรก็ตามกลไกเบ้ืองหลังความแตกต่างท่ีเกิดข้ึนนี้ยังต้องการ
การศึกษาวิจัยในเชิงลึกต่อไป อาการปวดเรื้อรังจากเส้นประสาทเป็นอาการที่พบได้บ่อย และยากต่อ
การรักษา รวมไปถึงทางเลือกในการรักษาท่ีจากัด จึงทาให้ยาจากกัญชาและกัญชงจาเป็นต่อผู้ป่วย
กล่มุ น้ี จากการศึกษาในผปู้ ่วยแสดงให้เห็นว่า ผปู้ ่วยสามารถทนต่ออาการข้างเคียงจากสารแคนนาบินอยด์
ได้ดีกว่าการให้ยาประเภทโอปิออยด์ท่ีมีฤทธิแ์ ก้ปวดรุนแรง แน่นอนว่ามีผู้ศึกษาการใช้กัญชาและกัญชง
ทางการแพทย์ร่วมกับยาอ่ืน ๆ มากมาย ดังตัวอย่าง มอร์ฟีน ซึ่งพบว่าสารแคนนาบินอยด์ และโอปิออยด์
ทางานร่วมกันได้ฤทธ์ิแก้ปวดได้ดขี ้ึน

1.2.2 อาการคลืน่ ไสอ้ าเจยี นและเพ่ิมความอยากอาหาร
สารแคนนาบินอยด์ให้ผลที่ดีมากต่อการรักษาอาการคล่ืนไส้ และอาเจียน

ซึ่งเป็นผลมาจากการใช้เคมีบาบัด หรือรังสีบาบัดรักษาโรคมะเร็ง โรคตับอักเสบซี หรือการรักษาโรค
เอดส์ ยา THC สังเคราะห์ในชื่อการค้า Marinol® มีการใช้ในหลายประเทศทั่วโลกเพ่ือเป็นยาแก้
อาเจียน สาหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งที่อยู่ในระหว่างการให้เคมีบาบัด มีงานศึกษาวิจัยสนับสนุนข้อมูลว่า
การให้ THC โดยตรงก่อน และหลังการทาเคมีบาบัดจะส่งผลดีมากกว่าการใช้ยาแก้อาเจียนแผน
ปัจจุบันแบบเดิม (อย่างไรก็ตามการศึกษาเหล่านี้ไม่ได้เปรียบเทียบกับการให้ยาแก้อาเจียนแผน
ปัจจุบันล่าสุดซึ่งมีประสิทธิภาพมากกว่ายาแผนปัจจุบันแบบเดิมมาก) สารแคนนาบินอยด์จะช่วย
กระตุ้นความอยากอาหารท่ีมีไขมัน และน้าตาลสูง ตั้งแต่ ค.ศ. 1980 (พ.ศ. 2523) มีการใช้ Marinol®

273

เปน็ ยากระตนุ้ ความอยากอาหารในผปู้ ว่ ยโรคเอดส์ ที่น้าหนกั ลดลง สาหรบั ผู้ปว่ ยที่รู้สกึ เบอื่ อาหารการ
รับประทานอาหารท่ีให้พลังงานสูงอาจส่งผลให้น้าหนักตัวเพ่ิมขึ้น และเพิ่มการดูดซึมสารอาหารได้ดี
ขึ้น มีการใช้ในภาวะโรคผอมแหง้ (ภาวะผอมหนังหุ้มกระดูก) แม้ว่าจะมียาอ่ืน ๆ ให้เลือกใช้เพื่อรักษา
อาการคลื่นไส้ อาเจียน แต่มักจะทาให้ความอยากอาหารลดลง แต่แคนนาบินอยด์ช่วยรักษาอาการ
เหล่านี้ได้ท้ังหมด ทาให้ยากัญชาและยากัญชงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง เพ่ือช่วยในการเพ่ิมคุณภาพชีวิต แก่
ผูป้ ่วยได้

1.2.3 โรคปลอกประสาทเสอ่ื ม
โรคปลอกประสาทเส่ือม (MS) เป็นโรคชนิดหนึ่งซ่ึงมีอาการปวดเร้ือรัง

ร่วมด้วย จากการศึกษาฤทธ์ิของสารแคนนาบินอยด์ในระยะยาวต่อโรคนี้แสดงให้เห็นว่าผู้ป่วยไม่มี
การต้านฤทธ์ิการรักษาโรค และไม่ต้องเพิ่มปริมาณยา เพื่อให้ผลการรักษาเท่าเดิม เมื่อมีการใช้ยามา
เป็นระยะเวลาหนึ่ง แม้ว่าหลักฐานทางการแพทย์ท่ีสนับสนุนการใช้กัญชาและกัญชงสาหรับโรค MS
ยังมีข้อจากัด แต่การรักษาโรค MS ด้วยยาแผนปัจจุบันส่วนใหญ่ก็มีอยู่อย่างจากัดเช่นกัน ผู้ป่วยโรค
MS มักมปี ระสบการณร์ ักษาด้วยทางเลือกอ่ืนรว่ มด้วย รวมถึงการใชก้ ัญชาและกัญชงเพ่ือเพมิ่ คุณภาพ
ชีวิตของตนเอง การรักษาแบบมาตรฐานมักไม่สามารถบรรเทาอาการได้ตามต้องการ และอาจถูก
จากัดด้วยอาการข้างเคียงของยา หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ท่ีมีอยู่ต่างสนับสนุนการใช้กัญชาและ
กัญชงทางการแพทย์ในการรักษาอาการปวดท่ีเก่ียวข้องกับโรคกลุ่มอาการเก่ียวกับทางเ ดินปัสสาวะ
อาการส่ัน และภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง นอกจากน้ันในผู้ป่วยหลายราย สารแคนนาบินอยด์ยังมีส่วน
ชว่ ยในการนอนหลบั โดยทาให้สามารถนอนหลบั ไดล้ ึก และนานย่ิงขน้ึ

1.2.4 โรคลมชกั
โรคลมชักโดยทั่วไปสามารถควบคุมอาการได้ด้วยการให้ยา อยา่ งไรก็ตามมี

ผู้ป่วยโรคลมชักจานวนมากท่ีไม่สามารถควบคุมอาการชักได้ดี ในช่วงต้นปี ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522)
มีผลการศึกษาจากห้องปฏิบัติการยืนยันว่าฤทธิ์ต้านอาการชักของสารบริสุทธ์ิ CBD ในการศึกษาทาง
คลินิกขนาดเล็ก และในสัตว์ทดลองพบว่าสาร CBD สามารถลดความถ่ี และความรุนแรงของอาการ
ชกั ได้ และสาร CBD ยงั ไมก่ อ่ ให้เกิดผลต่อจิตประสาทดว้ ยแล้ว แสดงใหเ้ ห็นถึงศักยภาพของสาร CBD
ในการพัฒนาเป็นยาใช้ในการรักษาโรคลมชักในมนุษย์ได้ อย่างไรก็ดีข้อมูลงานวิจัยยังมีไม่มากพอ ซ่ึง
ทาให้ไม่สามารถหาข้อสรุปที่แน่นอนเก่ียวกับศักยภาพของสารแคนนาบินอยด์ในการรักษาโรคลมชักได้
นอกจากน้นั ข้อมูลดา้ นความปลอดภัย และการทนต่อยาแคนนาบินอยด์ในผู้ปว่ ยเด็กยงั ไม่เป็นท่ีแน่ชัด
แม้ว่าสาร CBD จะมีประสิทธิภาพในการลดอาการชกั ในผู้ป่วยโรคลมชัก แต่ก็ยังจาเป็นต้องมีการวิจยั
ที่มีการควบคุมอย่างรัดกุมมากข้ึน เพื่อทาความเข้าใจประโยชน์ทางคลินิกของผลิตภัณฑ์ประเภทน้ีได้
อยา่ งสมบรู ณ์

274

กล่าวโดยสรุป ความจริงเก่ียวกับกัญชาและกัญชงทางการแพทย์ จากการวิจัยเกี่ยวกับการ
ใช้กัญชาและกัญชงช่วยในการรักษาอาการ และโรคดังนี้ (1) อาการปวดเร้ือรังจากเส้นประสาท (2) อาการ
คล่ืนไส้อาเจียน และเพ่ิมความอยากอาหาร (3) โรคปลอกประสาทเสื่อม และ (4) โรคลมชัก

2. การใชผ้ ลติ ภัณฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตใหไ้ ดป้ ระโยชน์
ปัจจุบันมีการวิจัย และพัฒนายาจากกัญชาและกัญชง เพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์

มากขึ้น หลังจากหลายประเทศมีการอนุญาตให้ใช้ผลติ ภณั ฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ได้มีงานวจิ ยั
และรายงานการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ใช้กับผู้ป่วยบางโรคที่เห็นว่าผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง
อาจจะมปี ระโยชนไ์ ด้ เชน่ โรคมะเร็ง โรคสมองเสอ่ื ม โรคเบาหวาน โรคไตเรื้อรัง เปน็ ตน้

แต่ท้ังน้ีการใช้กัญชาและกัญชงรักษาโรคมะเร็ง และโรคอื่น ๆ ที่ยังไม่ได้มีประกาศให้ใช้
จากกรมการแพทย์ และยังมีความจาเปน็ ต้องศึกษาวจิ ัยถึงประสิทธผิ ลของกัญชาและกญั ชงในหลอดทดลอง
เพือ่ ตรวจสอบความปลอดภัย และประสิทธิผลในสัตว์ทดลอง กอ่ นการศึกษาวจิ ัยในมนุษย์เป็นลาดับต่อไป
เนื่องจากในปัจจุบันข้อมูลหลักฐานทางวิชาการที่สนับสนุนว่ากัญชาและกัญชงมีประโยชน์ในการรักษา
โรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ หรอื โรคอน่ื ๆ ยังมีไมเ่ พียงพอ แตส่ มควรได้รับการศึกษาวิเคราะห์อย่างละเอียด
ดังน้ัน ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบัน หากเลือกใช้เฉพาะ
ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในการรักษาแล้ว อาจทาให้ผู้ป่วยเสียโอกาสในการรักษาที่มีประสิทธิผล
ดว้ ยวธิ มี าตรฐานได้

กลา่ วโดยสรุป การใช้ผลติ ภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ในอนาคตให้ได้ประโยชน์ เช่น
โรคมะเร็ง โรคสมองเสื่อม โรคเบาหวาน และโรคไตเร้อื รงั เปน็ ต้น จาเป็นต้องมกี ารศกึ ษาวจิ ัยถึงความ
ปลอดภัย และประสิทธิผลอย่างละเอียด ซ่ึงปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) ยังมีข้อมูลหลักฐานทางวิชาการ
ไม่เพียงพอ ผู้ป่วยจึงควรได้รับการรักษาตามวิธีมาตรฐานทางการแพทย์ในปัจจุบันหากเลือกใช้ เฉพาะ
ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและกญั ชงในการรักษาแลว้ อาจทาให้ผู้ป่วยเสยี โอกาสในการรักษาได้

ถาม

รับประทานกญั ชาเพื่อลดนา้ ตาลในผู้ปว่ ยโรคเบาหวานได้จริงหรอื ไม่

ตอบ

ไม่จริง เพราะไม่มีผลการวิจัยท่ียืนยันมากพอ ดังน้ันผู้ป่วยโรคเบาหวานควร
รับประทานยาและอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์

275

3. ขอ้ แนะนาก่อนตดั สนิ ใจใชผ้ ลิตภณั ฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์
3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย (Physician-patient relationship) เป็น

พื้นฐานในการใหก้ ารยอมรับการรักษาพยาบาล แพทย์ควรมั่นใจวา่ มีความสัมพันธก์ ับผู้ป่วยดีเพียงพอ
ก่อนการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ผู้ป่วยควรได้รับการตรวจร่างกายจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และ
บันทึกในเวชระเบียนผู้ป่วย รวมถึงการประเมินผู้ป่วยว่ามีความเหมาะสมที่จะใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและ
กญั ชงหรือไม่

3.2 การประเมินผู้ป่วย (Patient evaluation) ควรบันทึกข้อมูลการตรวจทางการแพทย์
และรวบรวมขอ้ มลู ประวตั ิที่เก่ียวขอ้ งกับอาการทางคลินิกของผปู้ ่วย

3.3 การแจ้งให้ทราบและตัดสินใจร่วมกัน (Informed and shared decision making)
โดยใหข้ ้อมลู รายละเอียดของการรักษาที่ไดร้ บั อยู่ในปจั จบุ ันดา้ นประสิทธิผล ผลข้างเคียง และคุณภาพ
ชีวิต การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงกับผู้ป่วยควรเป็นการตัดสินใจร่วมกันระหว่างแพทย์ผู้รักษา
และผู้ป่วย แพทย์ควรอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจถึงความเสี่ยง และประโยชน์ของผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง
ความหลากหลาย และมาตรฐานการเตรียมผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง อาจทาให้ผลท่ีเกิดกับผู้ป่วยมี
ความแตกต่างกัน กรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง แพทย์ควรแจ้งให้ญาติ หรือผู้ดูแล
ทราบถึงความเสี่ยง และผลที่คาดว่าจะได้รับจากการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ซึ่งส่งผลต่อการ
วางแผนการรักษา และการยนิ ยอมรกั ษา

3.4 ข้อตกลงการรักษารว่ มกนั (Treatment agreement) วัตถปุ ระสงค์ และแผนการ
รกั ษาควรแจ้งใหผ้ ปู้ ่วยทราบตง้ั แต่แรก และทบทวนอย่างสม่าเสมอ รวมถึงความเหมาะสมในการเลือก
วธิ รี ักษาของแตล่ ะบุคคล

3.5 เงื่อนไขท่ีเหมาะสม (Qualifying condition) ปัจจุบันยังไม่มีหลกั ฐานทางวิชาการ
ด้านประสิทธิผลของการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์เพียงพอ การตัดสินใจสั่งใช้
ข้ึนอยู่กับความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ของแพทย์ในประเด็นข้อบ่งใช้ ความเหมาะสม และความ
ปลอดภยั ของผปู้ ่วยแต่ละคน

3.6 การติดตามอย่างต่อเนื่องและปรับแผนการรักษา (Ongoing monitoring and
adapting the treatment plan) แพทย์ควรประเมินการตอบสนองของการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและ
กัญชงกับผู้ป่วยอย่างสม่าเสมอ ท้ังสุขภาพในภาพรวม และผลลัพธ์เฉพาะด้าน รวมถึงผลข้างเคียงท่ี
อาจเกดิ ขึ้น

3.7 การให้คาปรึกษาและการส่งต่อ (Consultation and referral) ผู้ป่วยท่ีมีประวัติ
การใช้สารเสพติด และปญั หาโรคทางจิต จาเปน็ ต้องได้รับการประเมนิ และให้การรักษาเป็นกรณีพิเศษ
แพทย์ผรู้ ักษาควรขอคาปรึกษา หรอื สง่ ตอ่ ผูป้ ่วยไปพบผเู้ ชยี่ วชาญเฉพาะดา้ น


Click to View FlipBook Version