The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กัญชาและกัญชงศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-06-07 09:46:34

กัญชาและกัญชงศึกษา

กัญชาและกัญชงศึกษา

126

2.3 ชื่อบทความ ประโยชน์และโทษของกัญชา ช่ือหน่วยงาน Chiang Mai News
สบื ค้นจาก http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1009011

2.4 ชื่อบทความ โทษของกญั ชา ไมร่ ะบุผู้แตง่ สืบคน้ จาก https://sites.google.com
/site/thepenaltyfordrugna/thos-khxng-kay

2.5 ช่ือบทความ ความรู้ - วิชาการเกี่ยวกับยาเสพติด ชื่อผู้เขียน สยาม มุสิกไชย
สบื ค้นจาก http://sdtc.go.th/paper/74

2.6 ชื่อบทความ โทษของยาเสพติด ชื่อผู้เขียน นายจตุภูมิ แจ่มหม้อ สืบค้นจาก
http://www.cwkpy.ac.th/datashow_90400

2.7 ชื่อบทความ ยาเสพติด : เยาวชนไทยต้องรู้...แต่ไม่ต้องลอง ชื่อผู้เขียน Noom
Santi Saelee สบื ค้นจาก https://1th.me/fjn3m
กกกกกกก3. แหล่งเรียนรูใ้ นชุมชน

3.1 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เขตคลองสามวา สถานที่ตั้ง 168
ถนนพระยาสเุ รนทร์ แขวงสามวาตะวนั ตก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศพั ท์
02 171 0002

3.2 ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เขตตล่ิงชัน สถานท่ีตง้ั ซอยโชคสมบัติ
ถนนพทุ ธมณฑลสาย1 แขวงบางละมาด เขตตล่ิงชัน กรุงเทพมหานคร หมายเลขโทรศัพท์ 02 448 6028

3.3 หอ้ งสมุดของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทีต่ ั้งอยู่ใน กรงุ เทพมหานคร ไดแ้ ก่
3.3.1 มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล

3.4 หอ้ งสมดุ ใกล้บา้ นผู้เรยี น
3.5 กระทรวงสาธารณสขุ ไดแ้ ก่

3.5.1 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก
3.5.2 องค์การเภสชั กรรม

การวดั และประเมนิ ผล

กกกกกกก1. ประเมินความก้าวหน้า ดว้ ยวิธีการ
1.1 การสงั เกต
1.2 การซักถาม ตอบคาถาม
1.3 การตรวจเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.)

กกกกกกก2. ประเมินผลรวม ดว้ ยวิธีการ

127

2.1 ตอบแบบทดสอบวดั ความรู้ หวั เรอ่ื งที่ 3 รจู้ กั โทษและประโยชนข์ องกญั ชา จานวน 5
ข้อ

2.2 ตอบแบบสอบถามวัดทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคดิ วเิ คราะห์
2.3 ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติ

128

หัวเรอื่ งที่ 4

กฎหมายทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั กญั ชาและกญั ชง

สาระสาคัญ

กกกกกกก1. พระราชบัญญัตยิ าเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้ความหมายคาว่า “ยาเสพติดให้โทษ”

หมายถงึ สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซ่งึ เม่อื เสพเขา้ สู่รา่ งกายไมว่ า่ จะโดยรับประทาน ดม สบู ฉีด หรือ
ด้วยประการใด ๆ แลว้ ท าใหเ้ กดิ ผลต่อรา่ งกายและจิตใจในลักษณะส าคัญ เชน่ ต้องเพ่มิ ขนาดการเสพ
ข้ึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพ ท้ังร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรง
ตลอดเวลา และสุขภาพโดยทว่ั ไปจะทรดุ โทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืชที่เป็นหรือให้
ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและสารเคมีที่ ใช้ในการผลิต
ยาเสพติดให้โทษด้วย นอกจากนี้ยังแบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท โดยกัญชาถูกบัญญัติไว้
ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 โดยกาหนดไว้ว่าห้ามปลูก ห้ามเสพ
หา้ มจ าหนา่ ยและมไี ว้ครอบครอง
กกกกกกก2. พระราชบญั ญัติวัตถอุ อกฤทธิต์ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559
กกก พระราชบัญญัติวัตถุเพื่อออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559 มีเหตุผลในการ
ประกาศใช้เพ่ือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซ่ึงมีสภาพปัญหาเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธ์ิท่ีทวีความ
รุนแรงย่ิงข้ึน สมควรปรับปรุงบทบัญญัตเิ กีย่ วกับองคป์ ระกอบของคณะกรรมการวัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิต
และประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับวัตถุออกฤทธ์ิ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
หน้าท่ีของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าท่ี รวมทั้งเพ่ิมเติมบทบัญญัติ
เก่ียวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธ์ิ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ หรือเสพและมีไว้ในครอบครอง หรือ
เสพและมีไว้ในครอบครองเพ่ือขาย หรือเสพและขายซ่ึงวัตถุออกฤทธิ์ ได้สมัครใจเข้ารับการ
บาบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษ และอัตราค่าธรรมเนียมให้เหมาะสม
ย่ิงขึ้น ท้ังนี้กัญชามีสารวัตถุออกฤทธ์ิชื่อว่า “เตตราไฮโดรแคนนาบินอล” (tetrahydrocannabinol,
THC) และถกู บัญญตั ิไวใ้ นประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ืองระบุชอ่ื วัตถอุ อกฤทธใิ์ นประเภท 1
กกกกกกก3. พระราชบญั ญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 เป็นฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติมจาก
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาและพืชกระท่อมไป
ทาการศึกษาวิจัย เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์และสามารถนาไปใช้ในการรักษาภายใต้การดูแลและ

129

ควบคุมของแพทย์ผู้ได้รับอนุญาตได้ เพื่อให้ถูกต้องตามหลักวิชาการให้ทาได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
เพ่ือสร้างความมั่นคงทางด้านยาของประเทศ และป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาดทางด้านยา นอกจากน้ี
ส่งผลให้อนาคตผู้ป่วยในประเทศ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพได้อย่างมาก และส่งผลทางด้าน
เศรษฐกิจของประเทศ เปิดทางให้ใช้ในอุตสาหกรรมยา สมุนไพร อาหารและเครื่องสาอาง
เพ่ือประโยชนข์ องประเทศชาติ พร้อมสนับสนุนผปู้ ระกอบการภายในประเทศ ใช้ประโยชน์จากกญั ชง
นอกเหนือจากเสน้ ใย หวังเพ่ิมมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ น ารายไดเ้ ข้าประเทศ
กกกกกกก พระราชบัญญัติฉบับน้ี กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ห้ามมิให้
ผู้ใดเสพ เว้นแต่เสพเพ่ือรักษาโรคตามคาส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพ
เพ่ือศึกษาวิจัย และยังสามารถใชป้ ระโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ในกรณีจาเป็น คือ ประโยชน์ของทาง
ราชการ ประโยชน์ทางการแพทย์ ประโยชน์ในการรักษาผู้ป่วย ประโยชนใ์ นการศึกษาวิจยั และพัฒนา
และประโยชน์ในการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรม อีกท้ังในมาตรา
26/5 ยังกาหนดผู้มีสิทธ์ิท่ีจะขอออกใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครอง
ผู้ขออนุญาตต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สถาบันอุดมศึกษาตาม
กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่รวมกลุม่ เป็นวิสาหกิจ
ชุมชน ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ และผู้ขอ
อนุญาตอ่ืนตามท่ีรัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกาหนดในกฎกระทรวง ซ่ึงในวาระ
เร่ิมแรกภายในระยะเวลา 5 ปี การขอรับใบอนุญาตสาหรับวัตถุประสงค์ผลิต นาเข้า ส่งออก
เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษาผู้ป่วย ให้อนุญาตได้ คือ ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีที่ผู้ขอ
อนุญาตเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 ซ่ึงดาเนินการร่วมกับ
ผขู้ ออนุญาตทีเ่ ป็นหน่วยงานของรัฐ
กกกกกกก4. ประกาศกระทรวงสาธารณสุขท่เี กย่ี วขอ้ งกับกัญชาและกัญชง

ประกาศ และระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชงทาให้
เกิดความชัดเจนตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยทุกด้าน ท้ังนี้เพื่อใช้
ประโยชนจ์ ากสารส าคญั ในกัญชา และกญั ชง มีจ านวน 5 ฉบับ ดังนี้ (1) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพ่ือรักษาโรคหรือ
การศึกษาวิจัยได้ (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผน
ไทยและหมอ พ้ืนบ้านตามกฎหมายว่าด้ว ยวิช าชีพการแพทย์แผนไทย ที่จะสามารถ
ปรุง หรือสั่งจ่ายตารับยาท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (3) ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก เรื่อง กาหนดแบบตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับรองหมอพื้นบ้าน
พ.ศ. 2562 (4) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง ระบชุ ่อื ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พ.ศ. 2561
มสี าระส าคญั โดยกาหนดให้ กัญชา (cannabis) เปน็ ยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 ล าดบั ที่1 ซ่ึงมีชื่อ

130

พฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ทั้งน้ีให้หมายความรวมถึง ทุก
สว่ นของพชื กญั ชา เชน่ ใบ ดอก ยอด ผล ล าตน้ และ วัตถหุ รอื สารต่าง ๆ ทม่ี อี ยใู่ นพชื กัญชา เชน่ ยาง
น้ามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตจากเปลอื กแห้ง แกนลาต้น
แห้ง เสน้ ใยแหง้ และ (5) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง ระบชุ ่อื ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5 (ฉบบั ที่
2) พ.ศ. 2562 มีสาระสาคัญคือ กาหนดยกเลิกและแก้ไขเพ่ิมเติม ลาดับ 1 กัญชา (cannabis) ซึ่งเป็น
พืชในสกุล Cannabis ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น
และวัตถุหรือสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน และ ลาดับที่ 5 คือ กัญชง (hemp) ซึ่งมี
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา
(Cannabis sativa L.) ทั้งน้ีให้หมายความรวมถงึ ทกุ ส่วนของพชื กัญชง เชน่ ใบ ดอก ยอด ผล ล าตน้
ทมี่ ีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) และลกั ษณะเปน็ ไปตามที่
คณะกรรมการประกาศก าหนด
กกกกกกก5. ประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ
กกกกกก ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง
ที่สาคัญมีจานวน 6 ฉบับ ได้แก่ (1) ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง การแสดง
ความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความจานงเป็นผู้รับอนุญาตต้ังแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย
(2) เร่ือง กาหนดแบบการจัดทาบัญชีรับจ่ายและรายงานเกี่ยวกับการผลิต การนาเข้า
การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา
(3) เรอ่ื ง ก าหนดฉลากและเอกสารก ากบั ยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 หรือค าเตอื นหรือข้อควรระวัง
การใช้ที่ภาชนะบรรจุหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ท่ีผลิต นาเข้า หรือส่งออก
สาหรับยาแผนปัจจุบันซึ่งมีกัญชาปรุงผสมอยู่ (4) เรื่อง กาหนดเมล็ดพันธ์ุเฮมพ์เป็นเมล็ดพันธ์ุรับรอง
ตามกฎกระทรวง การขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติด
ให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2559 (5) เร่อื ง ก าหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศเม่ือวันท่ี 27
สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดลักษณะกัญชง เพ่ือเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก
จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชง ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดร
แคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ต่อน้าหนักแห้ง และ
เ ม ล็ ด พั น ธุ์ รั บ ร อ ง มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น เ ม ล็ ด พั น ธุ์ กั ญ ช ง ท่ี มี ป ริ ม า ณ ส า ร เ ต ต ร า ไ ฮโ ด ร แ ค น น า บิ น อ ล
(tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.3 ต่อน้าหนักแห้ง และ (6) เรื่อง
กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดย
ก าหนดใหม้ กี ารยกเลิกประกาศฉบับเดมิ ซง่ึ สาระส าคญั ของประกาศฉบับนี้ คอื ก าหนดลักษณะกัญชง
(Hemp) มีลกั ษณะเปน็ พืชซึ่งมชี อื่ ทางวิทยาศาสตร์ วา่ Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนดิ ยอ่ ย
ของพืชกัญชา (Cannabis sativa L.) ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol,

131

THC) ในใบและช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้งโดยตรวจวิเคราะห์ ตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด และ เมล็ดพันธุ์รับรองมีลักษณะเป็นเมล็ดพันธ์ุกัญชง
(Hemp) ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบ และช่อดอก
ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง ทั้งน้ี ตามท่ีคณะกรรมการประกาศกาหนด โดยการตรวจวเิ คราะห์
ตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารท่ีคณะกรรมการประกาศก าหนด และเป็นพันธุพ์ ืชขึ้นทะเบียนตามกฎหมาย
ว่าด้วยพันธุ์พืช โดยประกาศฉบับนี้จะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงที่ปลูกอยู่ก่อนประกาศดังกล่าว
มีผลบังคับใช้ รวมถึงเมล็ดพันธ์ุที่รับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้ เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาสายพันธ์ุ
กญั ชง โดยเฉพาะพันธุพ์ ้นื เมือง เปดิ กว้างใหเ้ กิดการใชป้ ระโยชนก์ ญั ชงอย่างคุ้มคา่
กกกกกกก6. พระราชบญั ญตั ิสทิ ธิบตั รกบั กัญชาและกัญชง

ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สิทธิบัตร” หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพื่อ
คุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามท่ีกฎหมายกาหนด ทั้งน้ี
ข้ันตอนการยื่นคาขอจดสิทธิบัตรท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง มี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1
กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรในมาตรา 9 (1) ซึ่งกาหนดว่า
สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติหรือ หากขัดกับ
มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถยื่นจดสิทธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชาไม่สามารถจดได้.ข้ันตอนท่ี 2
หากการย่ืนคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้รักษาโรคต่าง ๆ กรม
ทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามหลักการ คือ ต้อง
เป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีข้ันตอนการประดิษฐ์ที่สูงข้ึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิต
อุตสาหกรรม หตั ถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ และขั้นตอนท่ี 3 เมอ่ื ผา่ นการพจิ ารณาใน
ข้ันตอนท่ี 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้
เม่ือประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องยื่นขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ เจ้าหน้าที่จะนาข้อคัดค้านหรือ
ข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบการประดิษฐ์อีกคร้ัง ก่อนจะพิจารณาว่า
สามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ปัจจุบันนี้มีผู้ขอจดสิทธิบัตรท่ีเก่ียวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สินทาง
ปัญญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมีจานวน 10 คาขอ ซึ่งอยู่ในข้ันตอนการดาเนินการ และการขอจด
สทิ ธบิ ัตร
กกกกกกก7. ขอ้ ปฏบิ ัตทิ ่ีตอ้ งทาตามกฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ งกับกัญชาและกญั ชง
กกกกกกกกก ข้อปฏบิ ตั ิที่ส าคัญตามกฎหมายกญั ชาและกญั ชง มขี อ้ ที่ควรปฏิบัตดิ ังนี้
กกกกกกกกก 7.1 โพสต์ภาพ หรือข้อความ เพือ่ โฆษณายาเสพตดิ มีโทษจ าคกุ ไมเ่ กนิ 2 ปี ปรบั ไม่เกิน
200,000 บาท

132

กกกกกกกกก 7.2 ใช้อุบายหลอกลวง ข่เู ข็ญ ใช้ก าลงั ประทุษร้าย ข่มขนื ใจให้ผอู้ ่นื เสพ มีโทษดังน้ี
กกกกกกกกกกกกก7.2.1 จ าคกุ 1 - 10 ปี และปรบั ตั้งแต่ 100,000 - 1,000,000 บาท
กกกกกกกกกกกกก7.2.2 ถ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนขึ้นไป จาคุก 2 - 15 ปี และปรับตั้งแต่
200,000 - 1,500,000 บาท
กกกกกกกกกกกกก7.2.3 ถ้ากระทาต่อหญิงหรือผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือเพื่อจูงใจให้ผู้อ่ืนทาผิด
อาญา หรือเพื่อประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อ่ืนในการทาผิดอาญา จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ
300,000 - 5,000,000 บาท
กกกกกกกกก 7.3 ยุยงส่งเสริมให้ผู้อื่นเสพ มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
หรือทง้ั จ าทัง้ ปรบั
กกกกกกกกก 7.4 ใชอ้ ุบายหลอกลวง ขูเ่ ข็ญ ใช้ก าลงั ประทษุ ร้าย ขม่ ขืนใจให้ผูอ้ น่ื ผลิต น าเขา้ ส่งออก
จาหน่าย ครอบครองเพ่ือจาหน่าย มีโทษเป็นสองเท่าของโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้สาหรับความผิด
นนั้ ๆ
กกกกกกกกก ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นจานวนมาก ซึ่งกระทรวง
ยุติธรรม ได้กาหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคิด “ผู้เสพ คือ
ผู้ป่วย” ท่ีจะต้องได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ
ทุกแห่งท่ัวประเทศ และหลังจากที่ผู้เสพได้รับการบาบัดรักษาแล้ว ก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคม
อย่างปกติสุข โดยรัฐบาลจะให้การตดิ ตามชว่ ยเหลือส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อใหผ้ ู้เสพได้เร่ิมต้น
ชีวิตใหม่ “เปล่ยี นเพื่อครอบครัว เพอ่ื อนาคตท่ีดกี ว่า”
กกกกกกก8. โทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับกัญชาและกัญชง

บทลงโทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกัญชาและกัญชง มี 5 กลมุ่ ดังน้ี
8.1 กลุ่มผู้เสพ (นอกเหนือเพ่ือรักษาตามคาส่ังแพทย์) มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี
หรอื ปรบั ไม่เกนิ 20,000 บาท หรือทงั้ จ าทัง้ปรับ
8.2 กลุ่มครอบครอง หรือจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม)
มีบทลงโทษ จ าคุกไม่เกนิ 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรอื ทัง้ จ าทัง้ปรับ
8.3 กลุ่มจาหนา่ ยโดยไม่ได้รับอนุญาต (ปริมาณ 10 กิโลกรัมข้ึนไป) มีบทลงโทษ จาคุก
ตัง้ แต่ 1 - 15 ปี และปรบั 100,000 - 1,500,000 บาท
8.4 กลุ่มผู้ฝ่าฝืนผลิต นาเข้า หรือส่งออก มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่
เกนิ 500,000 บาท
8.5 กลุ่มกรณีเพื่อจาหน่าย มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 - 15 ปี และปรับ 100,000 -
1,500,000 บาท

133

ในส่วนผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 มีสิทธิที่จะขอใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก
จ าหน่ายหรอื มีไวใ้ นครอบครองซง่ึ ผู้ขออนุญาตตามข้อ 2,3,4 และ 7 มีบคุ คลอยู่ 2 กล่มุ ดงั นี้

กลมุ่ ที่ 1 กรณีบุคคลธรรมดา สัญชาตไิ ทย มีถ่นิ ทอ่ี ยู่ในไทย
กลุ่มที่ 2 กรณีนิติบุคคล จดทะเบียนตามกฎหมายไทย 2 ใน 3 กรรมการ หุ้นส่วน
ผ้ถู ือห้นุ มสี ัญชาติไทย มสี านักงานในไทย
นอกจากนี้การนากัญชามาโฆษณาชวนเชื่อ บดิ เบือนฉลากอาหาร - ฉลากยา มีความผิด
ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หากเข้าข่ายเป็นอาหารท่ีมีการแสดงฉลากเพ่ือลวง หรือ
พยายามลวงให้เข้าใจผิดเร่ืองคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานที่ผลิต จัดเป็นอาหารปลอม
ตอ้ งระวางโทษจ าคุกตัง้ แต่ 6 เดอื น - 10 ปี และปรบั ต้ังแต่ 5,000 - 100,000 บาท
ต่อมาไดม้ ีการนิรโทษกรรม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสขุ 3 ฉบับ ซึ่งประกาศใช้ใน
ราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ดังน้ี ฉบับท่ี 1 เร่ือง การกาหนดให้ยาเสพติด
ให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรือให้ทาลายกัญชาท่ีได้รับมอบ
จากบคุ คล ซ่ึงไม่ต้องรับโทษ ตามมาตรา 22 แห่ง พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562
โดยรายละเอียดผู้ที่ได้รบั การนิรโทษกรรม หรือการครอบครองก่อนหน้านไี้ ม่ผิด และให้มาแจ้งภายใน
90 วัน ฉบับที่ 2 เร่ืองการครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา สาหรับผู้ป่วยที่มี
ความจาเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7)
พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ ซ่ึงในกรณีน้ีผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้กัญชารักษาตัว และมี
ครอบครองกอ่ นกฎหมายใช้บงั คับ และฉบับที่ 3 เรือ่ ง การแจง้ การมไี วใ้ นครอบครองกัญชา ส าหรับผู้มี
คุณสมบัติตามมาตรา 26/5 และบุคคลอื่นท่ีมิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพ
ติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ กล่าวคือ บุคคลท่ีไม่ใช่กลุ่มท่ี 1 และกลุ่ม
ท่ี 2 โดยในฉบับนี้ ให้หน่วยงานหรือบุคคลผู้ครอบครองกัญชาก่อนกฎหมายมีผลใช้บังคับเพื่อประ
โยชนท์ างการแพทย์การรักษาผปู้ ่วย การใช้รักษาโรคเฉพาะตัวหรอื การศึกษาวจิ ัย
กกกกกกก9. กฎหมายระหว่างประเทศเก่ยี วกบั กญั ชาและกัญชง
กกกกกกกกก ประเทศไทยในมิติด้านความร่วมมือระหวา่ งประเทศ ได้เข้าเป็นรัฐภาคี จานวน 4 ฉบับ
ดว้ ยกนั คือ ฉบบั ท่ี 1 อนุสัญญาเดี่ยววา่ ด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 และพธิ แี กไ้ ขอนุสัญญาเดี่ยว
ว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961, ค.ศ. 1972 ฉบับท่ี 2 อนุสัญญาว่าด้วยวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตและ
ประสาท ค.ศ. 1971 ฉบับที่ 3 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติด
และวัตถุท่ีออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988 และฉบับที่ 4 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการ
ตอ่ ต้านอาชญากรรมข้ามชาติท่ีจดั ต้ังในลักษณะองค์กร ค.ศ. 2000
กกกกกกกกก ตามอนุสัญญาเด่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 ได้บัญญัติกัญชา สารสกัดจาก
กัญชา จัดให้อยู่ในตารางการควบคุมในบัญชเี ป็นยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 1 และยางกัญชาเป็นยา

134

เสพติดให้โทษในประเภท 4 โดยห้ามปลูก ผลิต ส่งออก นาเข้า ค้าขาย ครอบครองหรือใช้
ประโยชน์ เว้นแต่เพ่ือใช้ทางการแพทย์หรือการศึกษาวิจัยเท่าน้ัน ภาคีประเทศต้องกาหนดมาตรการ
ควบคมุ ปอ้ งกนั มิใหม้ ีการน าใบของพชื กญั ชาไปในทางทผี่ ดิ หรือท าการคา้ ทีผ่ ดิ กฎหมาย
กกกกกกกกกนอกจากนีอ้ นสุ ัญญาของสหประชาชาติ (United Nation, UN) เป็นข้อตกลงสากลสูงสุด
ในเร่ืองการควบคุมยาเสพติดอย่างเช่น กัญชา อนุสัญญาดังกล่าวกาหนดความรับผิดชอบร่วมกันใน
ระดบั สากล ส าหรบั การควบคมุ การผลติ การคา้ และการใช้ยาควบคมุ โดยทวั่ ไปแลว้ แตล่ ะประเทศจะ
กาหนดกฎหมายว่าด้วยยาซึ่งสัมพันธ์กับการออกกฎหมายและข้อบังคับเก่ียวกับยารักษาโรค สาหรับ
กัญชาทางการแพทย์ อานาจและมาตรการควบคุมของประเทศอ่ืน ๆ มีเป้าหมาย 3 ประการ ดังนี้
ประการที่ 1 ควบคุมการเข้าถึงและการใช้กัญชาทางการแพทย์ที่ชอบด้วยกฎหมาย ประการ
ที่ 2 เปิดโอกาสใหส้ ามารถเข้าถึงกัญชาที่มาจากวธิ กี ารทางเภสชั กรรมเพ่ือวัตถุประสงค์ทางการแพทย์
บางกรณีในปริมาณที่เพียงพอ ประการที่ 3 อนุญาตให้สามารถมีการเพาะปลูก และผลิตกัญชาเพ่ือ
วตั ถปุ ระสงคด์ งั กล่าว โดยประเทศทล่ี งนามในอนสุ ญั ญามภี าระหนา้ ทใ่ี นการควบคุมการสง่ ออก น าเขา้
และการขายส่งกัญชา และยาเตรยี มจากกัญชาอย่างระมดั ระวงั กกกกกกก
กกกกกกก ข้อกาหนดดังกล่าวท่ีมีผลผูกมัด ให้ประเทศท่ีลงนามอนุสัญญานี้ต้องควบคุมการส่งออก
นาเข้า และขายส่งกัญชาและยาท่ีผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวัง แต่สาหรับประเทศไทยเรายังไม่มี
ความพร้อมเรื่องระบบการควบคุม ถึงเราจะมีความพร้อมด้านการปลูกกัญชา แต่องค์การ
สหประชาชาติ มีข้อกาหนดเร่ืององค์กรกลางในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ ซึ่งขณะน้ี
ประเทศไทยมสี านักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นองคก์ รกลางทีร่ ับผิดชอบอยู่ แตป่ ัญหา
ท่ีเกิดข้ึนภายหลังจากที่กฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาทาง
การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ไม่มีกัญชาในปริมาณท่ีเพียงพอ
สาหรับรักษาผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคต้องไปหากัญชามาจากแหล่งท่ีไม่
อาจเปดิ เผยได้ หรือตลาดมดื ท าให้เกดิ ความสบั สนแยกไม่ออกระหว่างพวกธุรกิจที่ถูกและผดิ กฎหมาย
พวกที่เสพเพื่อนันทนาการสนุกสนาน หรือผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้ในการรักษา ซ่ึงสานักงาน
ปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพตดิ (ป.ป.ส.) จะด าเนนิ การปราบปรามก็ท าได้ไมค่ ่อยถนัดนัก เพราะเป็น
เรื่องของจริยธรรม มนุษยธรรม และยากที่จะแยกแยะออกได้ว่าบุคคลใดเป็นผู้เสพ บุคคลใดเป็น
ผู้ครอบครอง และบคุ คลใดเป็นผจู้ าหนา่ ยได้ มรี ะบบก ากับควบคมุ ส่งออก ขายสง่ กญั ชาและยาท่ีผลิต
จากกญั ชา เป็นยาท่ีมีประสทิ ธิภาพ จงึ เป็นสิ่งทร่ี ฐั ตอ้ งด าเนนิ การใหช้ ัดเจน เข้มงวด กวดขัน และทั่วถงึ
ให้มีประสิทธิภาพโดยทาให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้จริง และต้อง
แยกแยะผู้ป่วยกับผู้ที่แอบแฝงเป็นผู้ป่วยใหไ้ ด้ เมื่อถึงจุดน้ันการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดกจ็ ะ
สามารถท าไดอ้ ย่างประสบผลส าเร็จ

135

ตัวชี้วดั

กกกกกกก1. บอกกฎหมายที่เก่ยี วข้องกับกัญชาและกญั ชงได้
กกกกกกก2. อธิบายสาระท่ีส าคัญของกฎหมายท่เี กยี่ วข้องกับกญั ชาและกัญชงได้
กกกกกกก3. สามารถบอกข้อปฏิบัติทต่ี ้องท าตามกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องกับกญั ชาและกญั ชงได้
กกกกกกก4. วิเคราะห์หลักการเก่ียวกบั โทษของการฝ่าฝนื กฎหมายท่เี กี่ยวข้องกบั กัญชาและกญั ชง
ตามกรณีศึกษาที่ก าหนดได้
กกกกกกก5. บอกกฎหมายระหวา่ งประเทศทเี่ กีย่ วกบั กัญชาและกัญชงได้
กกกกกกก6. ตระหนกั ถึงโทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั กญั ชาและกญั ชง

ขอบข่ายเนื้อหา

กกกกกกก1. พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522
กกกกกกก2. พระราชบัญญัติวตั ถอุ อกฤทธ์ติ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559
กกกกกกก3. พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562
กกกกกกก4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ทเี่ ก่ยี วข้องกบั กัญชาและกัญชง
กกกกกกก5. ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโ้ ทษ
กกกกกกก6. พระราชบัญญัติสิทธิบัตรกับกัญชาและกญั ชง
กกกกกกก7. ข้อปฏบิ ตั ิท่ีต้องท าตามกฎหมายทเี่ กยี่ วข้องกับกัญชาและกญั ชง
กกกกกกก8. โทษของการฝ่าฝืนกฎหมายทเ่ี ก่ยี วข้องกบั กัญชาและกญั ชง
กกกกกกก9. กฎหมายระหวา่ งประเทศเกยี่ วกับกัญชาและกัญชง

รายละเอยี ดเน้อื หา

กกกกกกก1. พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522
กกกกกกกกก กฎหมายฉบับน้ีได้ใหค้ วามหมายคาว่า “ยาเสพติดให้โทษ” หมายถึง สารเคมีหรือวตั ถุ
ชนิดใด ๆ ซ่ึงเม่ือเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใด ๆ แล้วทา
ให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญ เช่น ต้องเพ่ิมขนาดการเสพข้ึนเป็นลาดับ มีอาการ
ถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพ ท้ังร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพ
โดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือส่วนของพืชที่เป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติด
ให้โทษหรืออาจใชผ้ ลิตเปน็ ยาเสพตดิ ให้โทษและสารเคมีท่ีใชใ้ นการผลิตยาเสพตดิ ให้โทษดว้ ย

136

ภาพท่ี 41 ความหมายของยาเสพติด
กกกกกกกกก นอกจากน้ียังได้แบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท เพ่ือประโยชน์ในการกาหนด
วิธีการควบคุมท่ีแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสม เนื่องจากแต่ละประเภทมีอันตราย และความ
จ าเป็นในทางการแพทยไ์ มเ่ หมอื นกัน ประเภทยาเสพติดให้โทษและรายชอื่ ยาเสพตดิ ทีส่ าคัญ มีดังน้ี
กกกกกกกกก ประเภท 1 ยาเสพติดใหโ้ ทษชนิดรา้ ยแรง เชน่ เฮโรอนี ยาบ้า ยาอี ยาเลิฟ
กกกกกกกก ประเภท 2 ยาเสพติดใหโ้ ทษทั่วไป เชน่ ใบโคคา โคคาอนี ยาสกัดเข้มข้นของตน้ ฝิน่ แห้ง
เมทาโดน มอร์ฟนี ฝ่นิ ยา (ฝิ่นที่ผา่ นกรรมวิธปี รงุ แต่งเพ่ือใชใ้ นทางยา) ฝ่นิ (ฝ่ินดบิ ฝ่ินสุก มูลฝิ่น)
กกกกกกกกก ประเภท 3 ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นต้นตารับยาและมียาเสพติดให้โทษประเภท 2
ผสมอยู่ เชน่ ยาแก้ไอ ยาแก้ทอ้ งเสยี
กกกกกกกกก ประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือ 2 เช่น อาเซติค
แอนไฮโดรด์ อาเซตลิ คลอไรด์
กกกกกกกกก ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษทไ่ี ม่เข้าอยูใ่ นประเภท 1 ถงึ 4 เชน่ กัญชา (ทุกส่วนของพืช
กัญชา) พชื กระท่อม (ทุกส่วนของพืชกระท่อม) และพืชเหด็ ขค้ี วาย

137

กกกกกกกกก กัญชาถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 แห่ง
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 โดยกาหนดไว้ว่าห้ามปลูก ห้ามเสพ ห้ามจาหน่ายและมี
ไว้ครอบครอง
กกกกกกกกก กล่าวโดยสรุป พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ให้ความหมายคาว่า
“ยาเสพติดให้โทษ” หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุชนิดใด ๆ ซ่ึงเม่ือเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดย
รบั ประทาน ดม สูบ ฉีด หรอื ด้วยประการใด ๆ แลว้ ท าใหเ้ กิดผลตอ่ ร่างกายและจิตใจในลักษณะสาคัญ
เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพข้ึนเป็นลาดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพ ท้ังร่างกาย
และจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง กับให้รวมตลอดถึงพืชหรือ
ส่วนของพืชท่ีเป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษหรืออาจใช้ผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษและ
สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย นอกจากนี้ยังแบ่งยาเสพติดให้โทษออกเป็น 5 ประเภท
โดยกัญชาถูกบัญญัติไว้ในกฎหมายว่าเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามมาตรา 7 โดยกาหนดไว้ว่า
ห้ามปลูก ห้ามเสพ ห้ามจ าหนา่ ยและมไี ว้ครอบครอง
กกกกกกก2. พระราชบญั ญัติวตั ถอุ อกฤทธต์ิ ่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559

จากสภาวการณ์ ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
การปกครอง วัฒนธรรม ตลอดจนความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้
บทบัญญัติบางประการในพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2518 ซ่ึงได้ใช้
บังคับมาเป็นเวลานานแล้วไม่เหมาะสมกับสภาพปัญหาการระบาดและการนาวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิต
และประสาทไปใช้ในทางท่ผี ิด

กกกกสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซ่ึงเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบพระราชบัญญัติ
วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท จึงได้มีการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติดังกล่าวอยู่เป็นระยะ ๆ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้มีการแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติในหลายมาตรา ซึ่งหากประกาศเป็น
พระราชบัญญัติฉบับแก้ไขเพ่ิมเติมเช่นที่ผา่ นมา อาจทาให้ผู้ใชก้ ฎหมายเกิดความสับสนหรือมีโอกาสท่ี
จะใช้กฎหมายผิดได้ ดังนั้น จึงได้ดาเนินการปรับปรงุ ใหม่ท้ังฉบับและมีการประกาศ “พระราชบัญญตั ิ
วัตถอุ อกฤทธ์ติ อ่ จิตและประสาท พ.ศ. 2559” ในราชกจิ จานเุ บกษา เม่ือวันท่ี 20 ธันวาคม พ.ศ. 2559
มีผลให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนด 180 วันนับแต่วันประกาศ คือวันท่ี 18 มิถุนายน พ.ศ. 2560
เป็นต้นไป โดยใหย้ กเลิกพระราชบญั ญตั วิ ัตถุที่ออกฤทธ์ติ ่อจติ และประสาท ท้ัง 4 ฉบบั คือ พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2535 และ พ.ศ. 2543 และปรับปรุงบทบัญญัติเก่ียวกับองค์ประกอบของ
คณะกรรมการวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกีย่ วกับวัตถุ
ออกฤทธิ์ หน้าท่ีของผู้รับอนุญาต หน้าที่ของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าที่ของพนักงาน
เจ้าหน้าท่ี รวมท้ังเพ่ิมเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธิ์ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ
หรือเสพและมีไว้ในครอบครอง หรือเสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อขาย หรือเสพและขายซึ่งวัตถุ

138
ออกฤทธิ์ ได้สมัครใจเข้ารับการบาบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรุงบทกาหนดโทษ
และอตั ราคา่ ธรรมเนียมให้เหมาะสมย่งิ ขน้ึ

ภาพท่ี 42 พระราชบัญญัติวตั ถุออกฤทธ์ิต่อจติ และประสาท พ.ศ. 2559
กกกกกกกกก โดยมาตรา 7 ให้รัฐมนตรีโดยคาแนะนาของคณะกรรมการมีอานาจประกาศกาหนด
ระบุชื่อและจัดแบ่งประเภทวัตถุออกฤทธ์ิว่าวัตถุออกฤทธิ์อยู่ในประเภทใดประเภทหน่ึง โดยแบ่ง
ประเภทวัตถอุ อกฤทธิ์ที่ไมใ่ ช้ในทางการแพทย์

139



ภาพท่ี 43 ประเภทของวตั ถุออกฤทธติ์ ่อจติ และประสาท
กกกกกกกกก ท้ังนี้ กัญชาถูกบัญญัติไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ืองระบุชื่อวัตถุออกฤทธ์ิ
ในประเภท 1 พ.ศ. 2561 ในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 24 สิงหาคม พ.ศ. 2561 ในลาดับท่ี 22
ชอื่ วตั ถุออกฤทธิ์วา่ เตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC)
กกกกกกกกก กล่าวโดยสรุป พระราชบัญญัติวัตถุเพ่ือออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พ.ศ. 2559
มีเหตุผลในการประกาศใช้เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งมีสภาพปัญหาเก่ียวกับ
วัตถุออกฤทธิ์ที่ทวีความรุนแรงย่ิงขึ้น สมควรปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของ
คณะกรรมการวัตถุท่ีออกฤทธ์ิต่อจิตและประสาท การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเก่ยี วกับวัตถุ
ออกฤทธ์ิ หน้าที่ของผู้รับอนุญาต หน้าที่ของเภสัชกร การโฆษณาและอานาจหน้าท่ีของพนักงาน
เจ้าหน้าที่ รวมทั้งเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับด้านตรวจสอบวัตถุออกฤทธ์ิ และการให้โอกาสแก่ผู้เสพ
หรือเสพและมีไว้ในครอบครอง หรือเสพและมีไว้ในครอบครองเพื่อขาย หรือเสพและขายซ่ึงวัตถุออก
ฤทธิ์ ได้สมัครใจเข้ารับการบ าบัดรักษาในสถานพยาบาล ตลอดจนปรับปรงุ บทกาหนดโทษ และอัตรา

140

ค่าธรรมเนียมให้เหมาะสมยิ่งข้ึน ทั้งนี้กัญชามีสารวัตถุออกฤทธ์ิช่ือว่า “เตตราไฮโดรแคนนาบินอล”
(tetrahydrocannabinol, THC) และถูกบัญญัติไว้ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องระบุช่ือวัตถุ
ออกฤทธิ์ในประเภท 1
กกกกกกก3. พระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562
กกกกกกกกกกัญชาถูกใช้มาอย่างยาวนานตั้งแต่ในอดีตมาโดยตลอด ท้ังผู้ท่ีใช้ในลักษณะของ
การแพทย์และผู้ท่ีใช้ในลักษณะของยารักษาโรคกันอย่างลับ ๆ ถึงแม้ว่าจะเป็นสิ่งผิดกฎหมายก็ตาม
แต่ในปัจจุบันน้ีภาครัฐได้เล็งเห็นถึงคุณประโยชน์ของการวิจัยสารสกัดท่ีได้จากกัญชาเพื่อมาใช้เป็นยา
รักษาโรคอีกทั้งยังพบว่าในหลายประเทศได้มีการแก้ไขกฎหมายและนากัญชาเพ่ือมาใช้ประโยชน์ทาง
การแพทย์เช่นเดียวกัน ดังน้ัน ประเทศไทยจึงจาเป็นจะต้องพัฒนากฎหมายของประเทศเพ่ือให้
ทันสมยั และสอดคล้องกับสภาวการณใ์ นปจั จุบันท่มี ีความต้องการนาคุณประโยชน์จากกัญชามาช่วยใน
การรักษาโรคต่าง ๆ ท่ีนับวันจะทวีความรุนแรง ซ่ึงยารักษาโรคต่าง ๆ น้ันล้วนมีราคาแพงหลายชนิด
ต้องนาเข้ายาจากต่างประเทศ ทาให้ประเทศชาติต้องสูญเสียงบประมาณในการนาเข้ายาดังกล่าว
อีกท้ังยังส่งผลกระทบทางด้านสังคมและเศรษฐกิจในวงกว้างอีกด้วย จึงนับได้ว่านี่เป็นโอกาสและ
จุดเริ่มต้นของการพัฒนาการรักษาโรค เพ่ือให้คนในประเทศมีสุขภาพที่แข็งแรง มีทางรอดชีวิตจาก
โรคร้ายต่าง ๆ มากข้ึน ดังน้ันเพ่ือกาหนดมาตรการในการควบคุมยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ให้
เหมาะสมกบั สถานการณ์ปจั จบุ นั และสอดคลอ้ งตามหลักสากล จึงได้มปี ระกาศพระราชบัญญัติยาเสพ
ติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ในวนั ท่ี 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 โดยมีรายละเอียดทีส่ าคญั ดงั น้ี

ภาพที่ 44 กัญชายงั คงเป็นยาเสพตดิ

141

กกกกกก  กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตาม พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
พ.ศ. 2562
กกกกกก  ห้ามมิให้ผู้ใดเสพ ยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เว้นแต่เสพเพื่อรักษาโรคตามคาสั่ง
ของผปู้ ระกอบวชิ าชีพเวชกรรม หรอื เปน็ การเสพเพือ่ ศึกษาวจิ ัยกกกกกก
  สามารถนากัญชามาใช้ประโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ท่ีกาหนดในมาตรา 26/2 ได้
ระบุไว้ว่า ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่ายหรือมีไว้ในครอบครองเสพติดให้โทษประเภท 5
เว้นแต่ ได้รบั ใบอนุญาตในกรณจี าเป็นเพอื่ ประโยชน์ดงั ตอ่ ไปนี้
กกกกกกก ข้อ 1 ประโยชน์ของทางราชการ
กกกกกกก ขอ้ 2 ประโยชนท์ างการแพทย์

ขอ้ 3 ประโยชน์การรักษาผู้ปว่ ย
ข้อ 4 ประโยชน์ในการศกึ ษาวจิ ัยและพัฒนา
ขอ้ 5 ประโยชนใ์ นการเกษตรกรรม พาณชิ ยกรรม วทิ ยาศาสตร์ หรืออตุ สาหกรรม
เพ่อื ประโยชนท์ างการแพทย์ ซง่ึ จะตอ้ งไดร้ ับอนญุ าตจากผ้อู นุญาตโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการการยาเสพติดใหโ้ ทษ
 มาตรา 26/5 กาหนดผมู้ ีสิทธิท์ ี่จะขอออกใบอนญุ าตใหผ้ ลิต น าเขา้ สง่ ออก จ าหนา่ ย
หรือมไี ว้ครอบครองซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษประเภท 5 ได้ ก็ต่อเม่อื ผู้ขออนุญาตตอ้ งเป็น
กกกกกกก ข้อ 1 หน่วยงานของรัฐ ท่ีมีหน้าท่ีศึกษาวิจัย หรือจัดการเรียนการสอนทาง
การแพทย์ เภสัชศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือเกษตรศาสตร์ หรือมีหน้าท่ีให้บริการทางการแพทย์
เภสัชกร หรือวิทยาศาสตร์ หรือมีหน้าที่ให้บริการทางเกษตรกรรมเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์หรือ
เภสัชกรรม หรือหน่วยงานของรัฐทม่ี หี นา้ ท่ีในการป้องกนั ปราบปราม และแก้ไขปญั หายาเสพตดิ หรอื
สภากาชาดไทย
ข้อ 2 ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพ
ทันตกรรม ผู้ประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์ช้ันหน่ึง ผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย ผู้ประกอบ
วิชาชีพแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์ หรือหมอพื้นบ้านตามกฎหมายว่าดว้ ยวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทย ทัง้ นี้
ผ้ปู ระกอบวิชาชพี การแพทยแ์ ผนไทยและหมอพ้ืนบ้าน ใหเ้ ป็นไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงอ่ื นไขท่ี
รัฐมนตรีประกาศก าหนดโดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการ
ขอ้ 3 สถาบนั อุดมศกึ ษาตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ทีม่ หี น้าท่ี
ศึกษาวิจัยและจัดการเรียนการสอนเกีย่ วกบั ทางการแพทยห์ รือเภสัชศาสตร์
ข้อ 4 ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่รวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน ซึ่งจดทะเบียน
ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน วิสาหกิจเพ่ือสังคมตามกฎหมายว่าด้วยการน้ัน หรือ
สหกรณ์การเกษตรซ่ึงจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ซ่ึงดาเนินการภายใต้ความร่วมมือและ

142
กากับดูแลของผู้ขออนุญาต ตาม ข้อ 1 หรือ ข้อ 3 ท้ังน้ี ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดังกล่าว
สามารถร่วมผลิตและพัฒนาหลักสูตรตารับยาแผนโบราณหรือยาสมุนไพรได้เพ่ือประโยชน์ทาง
การแพทย์ ภายใตค้ วามร่วมมอื และก ากบั ดูแลของผขู้ ออนุญาตตาม ข้อ 1 หรอื ขอ้ 3 ด้วย

ข้อ 5 ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ
ข้อ 6 ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ ท่ีมีความจาเป็นต้องพกนายาเสพติดให้โทษ
ประเภท 5 ติดตวั เขา้ มาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักรเพ่ือใชร้ กั ษาโรคเฉพาะตวั
ข้อ 7 ผู้ขออนญุ าตอ่นื ตามท่ีรฐั มนตรี โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการกาหนด
ในกฎกระทรวง

ภาพท่ี 45 ใครปลกู กัญชาได้บ้าง

143

ในวาระเร่ิมแรกภายในระยะเวลา 5 ปี การขอรับใบอนุญาตสาหรับวัตถุประสงค์ผลิต
นาเข้า ส่งออก ยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะกัญชา เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษา
ผปู้ ่วย ใหอ้ นุญาต ดงั น้ี

ข้อ 1 ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีท่ผี ู้ขออนุญาตเป็นหนว่ ยงานของรัฐ
ข้อ 2 หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 ซ่ึงดาเนินการร่วมกับผู้ขออนุญาตที่เป็น
หน่วยงานของรฐั

ถาม
คนไทยสามารถปลูกกญั ชาได้บา้ นละ 6 ต้น จรงิ หรือไม่

ตอบ
ไมจ่ รงิ เพราะยงั ไมส่ ามารถท าได้ ณ ขณะนี้ (พฤศจกิ ายน 2562)
กฎหมายไทยยังไมอ่ นุญาตให้ประชาชนปลกู กญั ชาอยา่ งเสรีได้

กกกกกกกกกกล่าวโดยสรุป พระราชบญั ญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 เป็นฉบับท่ีแก้ไข
เพ่ิมเติมจากพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เปิดโอกาสให้สามารถนากัญชาและพืช
กระท่อมไปทาการศึกษาวิจัย เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์และสามารถนาไปใช้ในการรักษาภายใต้
การดูแลและควบคุมของแพทย์ผู้ไดร้ ับอนุญาตได้ เพ่ือใหถ้ กู ต้องตามหลักวิชาการใหท้ าได้โดยชอบด้วย
กฎหมาย เพ่ือสร้างความมั่นคงทางด้านยาของประเทศ และป้องกันไม่ให้เกิดการผูกขาดทางด้านยา
นอกจากน้ีส่งผลให้อนาคตผู้ป่วยในประเทศ ลดภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพได้อย่างมาก และส่งผล
ทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เปิดทางให้ใช้ในอุตสาหกรรมยา สมุนไพร อาหารและเครื่องสาอาง
เพ่ือประโยชน์ของประเทศชาติ พร้อมสนับสนุนผู้ประกอบการภายในประเทศ ใช้ประโยชน์จากกญั ชง
นอกเหนือจากเสน้ ใย หวังเพม่ิ มูลคา่ ทางเศรษฐกิจ น ารายไดเ้ ข้าประเทศ
กกกกกกก พระราชบัญญัติฉบับน้ี กัญชา ยังคงเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ห้ามมิให้
ผู้ใดเสพ เว้นแต่เสพเพ่ือรักษาโรคตามคาส่ังของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือเป็นการเสพ
เพื่อศึกษาวิจัย และยังสามารถใชป้ ระโยชน์ได้ ตามวัตถุประสงค์ในกรณีจาเป็น คือ ประโยชน์ของทาง
ราชการ ประโยชนท์ างการแพทย์ ประโยชน์ในการรักษาผปู้ ่วย ประโยชน์ในการศึกษาวิจยั และพัฒนา
และประโยชน์ในการเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรม อีกท้ังในมาตรา
26/5 ยังกาหนดผู้มีสิทธิ์ท่ีจะขอออกใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย หรือมีไว้ครอบครอง
ผู้ขออนุญาตต้องเป็นหน่วยงานของรัฐ ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม สถาบันอุดมศึกษาตาม

144

กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่รวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจ
ชุมชน ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วยเดินทางระหว่างประเทศ และผู้ขอ
อนุญาตอื่นตามที่รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการกาหนดในกฎกระทรวง ซ่ึงในวาระ
เริ่มแรกภายในระยะเวลา 5 ปี การขอรับใบอนุญาตสาหรับวัตถุประสงค์ผลิต นาเข้า ส่งออก
เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์หรือการรักษาผู้ป่วย ให้อนุญาตได้ คือ ให้อนุญาตได้เฉพาะกรณีที่ผู้ขอ
อนุญาตเป็นหน่วยงานของรัฐ หรือเป็นผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 ซ่ึงดาเนินการร่วมกับ
ผู้ขออนุญาตทเี่ ปน็ หนว่ ยงานของรัฐ
กกกกกกก4. ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ ท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กัญชาและกัญชง
กกกกกกกกก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข และระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขท่ีเก่ียวข้องกับ
กัญชาเพ่ือทาให้เกิดความชัดเจนตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยทุกด้าน
ทงั้ นเ้ี พื่อใช้ประโยชน์จากสารส าคัญในกัญชา และกัญชง มีจ านวน 5 ฉบบั ดังน้ี

4.1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดตารับยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5
ท่ีมีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพื่อรักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 เน้ือหา
ส าคญั คือการแก้ไขข้อความจากประกาศฉบับแรก ทีย่ งั ระบขุ อ้ ความเรื่องวัตถุดิบกัญชาต้องไม่สามารถ
แยกเปน็ ช่อ ดอก ใบ เพอ่ื น าไปใช้ในทางทผี่ ิดได้ มาเปน็ “ข้อ 5 ต ารบั ยาท่ีผปู้ ระกอบวิชาชีพการแพทย์
แผนไทย ผูป้ ระกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์ และหมอพื้นบ้านตามกฎหมายว่าดว้ ยวิชาชีพ
การแพทย์แผนไทยปรุงข้ึนจากองค์ความรู้และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยที่ชัดเจน และได้รับการ
รบั รองจากกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก”

ภาพที่ 46 ก าหนดต ารบั กญั าชทใ่ี ห้เสพเพื่อรักษาโรคได้

145
4.2 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทย
และหมอพ้ืนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ท่ีจะสามารถปรุง หรือสั่งจ่าย
ตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 เนื้อหาสาคัญคือ การแก้ไขข้อความจาก
ประกาศฉบับแรก ที่ห้ามแยก ช่อดอก ใบ ของกัญชาเช่นกัน มาเป็น “ข้อ 4 แนวทางการปรุงยา
สาหรับผู้ป่วยของตนของผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยและหมอพ้ืนบ้าน ต้องมีการระบุองค์
ความรู้และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยท่ีชัดเจนและได้รับการรับรองจากกรมการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลอื ก”

ภาพท่ี 47 ผู้ประกอบวชิ าชีพแผนไทยทส่ี ามารถปรุงหรอื สง่ั จ่ายต ารับยาทมี่ ีกญั ชาผสมอยไู่ ด้

146

4.3 ประกาศกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เร่อื ง ก าหนดแบบตาม
ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุข วา่ ด้วยการรับรองหมอพืน้ บ้าน พ.ศ. 2562

โดยประกาศจานวน 3 ฉบับข้างต้น เผยแพร่ประกาศและระเบียบของกระทรวงสาธารณสุข
ในราชกจิ จานเุ บกษา เม่อื วนั ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2562

4.4 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษประเภท 5 พ.ศ. 2561
ประกาศ เม่ือวันท่ี 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561 มีสาระสาคัญโดยกาหนดให้ กัญชา (cannabis)
เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ลาดับที่ 1 ซ่ึงมีชื่อพฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ
Cannabis indica Lam. ทั้งน้ีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล
ลาต้น และ วัตถุหรือสารต่างๆ ที่มีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง น้ามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง
เส้นใยแหง้ และผลติ ภัณฑท์ ีผ่ ลิตจากเปลือกแห้ง แกนล าตน้ แห้งเสน้ ใยแหง้ เปน็ ต้น

4.5 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษประเภท 5
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562
เพอื่ ปลดลอ็ กใชป้ ระโยชนจ์ ากสารส าคญั ในกัญชา และกญั ชง โดยมีการยกเลกิ แกไ้ ขเพม่ิ เติมดังน้ี

4.5.1 ยกเลิกชื่อ ลาดับท่ี 1 ของประกาศ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
และกาหนดให้ กัญชา (cannabis) ซึ่งเป็นพืชในสกุล Cannabis ทั้งนี้ให้หมายความรวมถึง ทุกส่วน
ของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น และวัตถุหรือสารต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในพืชกัญชา เช่น ยาง
น้ ามนั ยกเว้น
กกกกกกกกกกกกกกกกก 1) กัญชง (hemp) ที่ได้ประกาศเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ตาม
กฎหมาย
กกกกกกกกกกกกกกกกกก 2) แคนนาบิไดออล (cannabidiol, CBD) ท่ีสกัดจากกัญชาซึ่งมีความบริสุทธิ์
มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 99 โดยมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC)
ไมเ่ กินร้อยละ 0.01 โดยน้ าหนกั
กกกกกกกกกกกกกกกกก 3) สารสกดั หรอื ผลิตภัณฑ์จากสารสกดั ที่มีสารแคนนาบิไดออล (cannabidiol,
CBD) เป็นส่วนประกอบหลักและมีสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ไม่เกินร้อย
ละ 0.2 โดยน้าหนัก ซึ่งเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามกฎหมายว่าด้วยยาหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพร
และตอ้ งใชต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ทางยาหรอื ผลิตภัณฑส์ มนุ ไพร เท่าน้ัน

ทั้งนี้ ภายในระยะเวลา 5 ปีแรก นับต้งั แต่วันท่ปี ระกาศนี้มผี ลใชบ้ ังคบั (วนั ที่ 27
สิงหาคม 2562) การยกเวน้ ให้ใชบ้ ังคับเฉพาะการผลิตในประเทศของผู้รับอนุญาตตามกฎหมายนั้น ๆ

4) เปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นแห้ง และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจาก
เปลือกแห้ง แกนล าตน้ แหง้ เส้นใยแหง้

147

4.5.2 เพ่ิมช่ือยาเสพติดให้โทษ คือ ลาดับที่ 5 กัญชง (Hemp) ซ่ึงมีชื่อทาง
วิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis
sativa L.) ทั้งน้ีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชง เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ลาต้น ที่มีปริมาณ
สารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) และลักษณะเป็นไปตามท่ีคณะกรรมการ
ประกาศก าหนด ยกเวน้

1) แคนนาบไิ ดออล (cannabidiol, CBD) ซง่ึ สกัดจากกัญชง ซึง่ มคี วาม
บริสทุ ธิ์มากกวา่ หรอื เทา่ กบั รอ้ ยละ 99 โดยมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol,
THC) ไมเ่ กินร้อยละ 0.01 โดยน้ าหนกั

2) สารสกัดหรือผลิตภัณฑ์จากสารสกัดท่ีมีสารแคนนาบิไดออล
(cannabidiol, CBD) เป็นส่วนประกอบหลักและมีสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol,
THC) ไม่เกินร้อยละ 0.2 โดยน้าหนัก ซ่ึงเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์สมุนไพรตามกฎหมายว่าด้วยยาหรือ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร และต้องใชต้ ามวัตถุประสงคท์ างยาหรือผลิตภณั ฑ์สมุนไพรเท่าน้ัน

3) เมล็ดกญั ชง (hemp seed) หรือน้ ามันจากเมลด็ กัญชง (hemp seed
oil) ซึง่ เป็นอาหารตามกฎหมายวา่ ดว้ ยอาหารและตอ้ งใชต้ ามวัตถุประสงคท์ างอาหารเทา่ นน้ั

4) น้ามันจากเมล็ดกัญชง (hemp seed oil) หรือสารสกัดจากเมล็ด
กัญชง ซึ่งเป็นเครื่องสาอางตามกฎหมายว่าด้วยเครื่องสาอางและต้องใช้ตามวัตถุประสงค์ทาง
เครื่องส าอางเทา่ น้ัน

ทั้งนี้เมล็ดกัญชงที่นาไปเป็นอาหาร หรือเคร่ืองสาอางต้องเป็นเมล็ดท่ีไม่สามารถ
นาไปเพาะพันธ์ุได้ (non - viable seed) หรือถูกทาให้ไม่มีชีวิต ซ่ึงเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงอ่ื นไขตามทคี่ ณะกรรมการประกาศก าหนด

148

ภาพที่ 48 เงือ่ นไขการยกเลกิ กญั ชาและกญั ชง ออกจากกยาเสพติดให้โทษ ประเภท 5
กกกกกกกกกกล่าวโดยสรปุ ประกาศ และระเบียบของกระทรวงสาธารณสุขท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและ
กัญชงทาให้เกิดความชัดเจนตามกฎหมายสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพ การแพทย์แผนไทยทุกด้าน ท้ังนี้
เพ่ือใช้ประโยชน์จากสารสาคัญในกัญชา และกัญชง มีจานวน 5 ฉบับ ดังน้ี (1) ประกาศกระทรวง
สาธารณสุข เรื่อง กาหนดตารับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ ท่ีให้เสพเพื่อ
รักษาโรคหรือการศึกษาวิจัยได้ (2) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง กาหนดผู้ประกอบวิชาชีพ
การแพทย์แผนไทยและหมอพ้ืนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ท่ีจะสามารถ
ปรุง หรือส่ังจ่ายตารับยาที่มีกัญชาปรุงผสมอยู่ได้ (3) ประกาศกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก เรื่อง กาหนดแบบตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยการรับรองหมอพื้นบ้าน
พ.ศ. 2562 (4) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง ระบุชอ่ื ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษในประเภท 5 พ.ศ. 2561
มสี าระส าคัญโดยกาหนดให้ กญั ชา (cannabis) เป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ล าดับท่ี1 ซ่ึงมีชื่อ
พฤกษศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. และ Cannabis indica Lam. ท้ังนี้ให้หมายความรวมถึง ทุก
สว่ นของพชื กญั ชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล ล าต้นและ วัตถุหรือสารต่าง ๆ ที่มอี ยูใ่ นพชื กัญชา เช่น ยาง

149

น้ามัน ยกเว้นเปลือกแห้ง แกนลาต้นแห้ง เส้นใยแห้ง และผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากเปลอื กแห้ง แกนลาต้น
แห้ง เส้นใยแห้ง และ (5) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุช่ือยาเสพติดให้โทษประเภท 5
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มสี าระส าคญั คือ ก าหนดยกเลิกและแก้ไขเพมิ่ เติม ล าดับ1 กัญชา (cannabis)
ซ่ึงเป็นพืชในสกุล Cannabis ทั้งน้ีให้หมายความรวมถึง ทุกส่วนของพืชกัญชา เช่น ใบ ดอก ยอด ผล
ล าต้นและวตั ถหุ รอื สารต่าง ๆ ทีม่ ีอยูใ่ นพืชกัญชา เช่น ยาง น้ ามนั และ ล าดับท่ี5 คอื กญั ชง (hemp)
ซ่ึงมีช่ือทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา
(Cannabis sativa L.) ทง้ั นใ้ี หห้ มายความรวมถงึ ทกุ สว่ นของพืชกัญชง เชน่ ใบ ดอก ยอด ผล ล าต้น
ทีม่ ีปรมิ าณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) และลกั ษณะเปน็ ไปตามท่ี
คณะกรรมการประกาศก าหนด
กกกกกกก5. ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโ้ ทษ

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ก าหนดใหม้ ีคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด
ให้โทษ โดยมีหน้าท่ีต่าง ๆ อาทิเช่น ให้ความเห็นชอบต่อผู้อนุญาตในการส่ังพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิก
ถอนใบอนุญาต วางระเบียบปฏิบัติราชการ กับกระทรวง ทบวงกรมอ่ืน ให้ความเห็นชอบในการ
อนุญาตให้ผลิต จาหน่าย นาเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบ ครอง ซึ่งยาเสพติดให้โทษ
ในประเภท 4 และในประเภท 5 เป็นต้น ท้ังนี้ ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษท่ี
เกีย่ วขอ้ งกับกัญชาและกญั ชง มจี านวน 6 ฉบบั ดงั น้ี

5.1 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง การแสดงความจานงและ
การตรวจสอบผู้แสดงความจานงเปน็ ผรู้ บั อนุญาตตัง้ แต่วนั ทีผ่ ้รู บั อนุญาตตาย พ.ศ. 2562 ประกาศเมื่อ
วันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
โดยกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขในการแสดงความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความ
จานงเป็นผู้รับอนุญาตเพื่อประกอบกิจการของผู้รับอนุญาตที่ตายเพ่ือให้การควบคุมยาเสพติดให้ โทษ
ในประเภท 5 เฉพาะกญั ชา เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

5.2 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง กาหนดแบบการจัดทา
บญั ชรี บั จา่ ยและรายงานเกยี่ วกับการผลิต การน าเขา้ การส่งออก การจ าหน่ายการมไี วใ้ นครอบครอง
ซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันท่ี 4 กรกฎาคม
พ.ศ. 2562 โดยประกาศฉบบั นี้เป็นการสมควรก าหนดแบบการจัดท าบญั ชีรับจา่ ยและรายงานเก่ียวกับ
การผลิต การนาเข้า การส่งออก การจาหน่าย การมีไว้ครอบครอง ซ่ึงยาเสพติดให้โทษประเภท 5
เฉพาะกญั ชา เพอ่ื ให้การควบคมุ เป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ปอ้ งกนั การรวั่ ไหลไปนอกระบบ

5.3 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เร่ือง กาหนดฉลากและเอกสาร
กากับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 หรือคาเตือนหรือข้อควรระวังการใช้ท่ีภาชนะบรรจุหรือหีบห่อ
บรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่ผลิต นาเข้า หรือส่งออก สาหรับยาแผนปัจจุบันซ่ึงมีกัญชา

150

ปรุงผสมอยู่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันท่ี 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยประกาศฉบับน้ี
กาหนดให้มีฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษ ในประเภท 5 โดยอยู่ในตาแหน่งที่เห็นได้ง่าย
และชดั เจน

5.4 ประกาศคณะกรรมการควบคมุ ยาเสพติดให้โทษ เรอื่ ง ก าหนดเมลด็ พนั ธฮ์เุ มพ์เป็น
เมล็ดพันธ์ุรับรองตามกฎกระทรวงการขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ใน
ครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ในวันท่ี 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 โดยเป็นการกาหนดเมล็ดพันธ์ุเฮมพ์เป็นเมล็ดพันธุ์รับรองตาม
กฎกระทรวงการขออนญุ าต และการอนุญาตผลิต จ าหน่าย หรือมีไวค้ รอบครองซึง่ ยาเสพตดิ ให้โทษใน
ประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2558 เพื่อเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต จาหน่าย หรือมีไว้
ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรัดกุม
มากยิง่ ข้ึน

5.5 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง กาหนดลักษณะกัญชง
(Hemp) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดลักษณะกัญชง
เพอื่ เป็นประโยชนใ์ นการควบคุมการผลิต น าเข้าส่งออก จ าหนา่ ย หรือมไี ว้ครอบครองซึ่งยาเสพติดให้
โทษในประเภท 5 เฉพาะกญั ชง ท่มี ีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบนิ อล (tetrahydrocannabinol,
THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ต่อน้าหนักแห้ง และเมล็ดพันธุ์รับรองมีลักษณะเป็นเมล็ด
พันธุ์กัญชงที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและ
ชอ่ ดอกไม่เกนิ ร้อยละ 0.3 ต่อน้ าหนกั แห้ง

151

กก
กกก

ภาพท่ี 49 ลกั ษณะกญั ชง
5.6 ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ เรื่อง กาหนดลักษณะกัญชง
(Hemp) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใช้ ในวันที่ 25
ตุลาคม 2562 โดยกาหนดให้มีการยกเลิกประกาศฉบับเดิม ซ่ึงสาระสาคัญของประกาศฉบับน้ี
คือ กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) มีลักษณะเป็นพืชซ่ึงมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Cannabis sativa
L. subsp. sativa อันเปน็ ชนดิ ยอ่ ยของพชื กัญชา (Cannabis sativa L.) ทีม่ ีปริมาณสารเตตราไฮโดร
แคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้ง
โดยตรวจวิเคราะห์ ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่คณะกรรมการประกาศกาหนด และเมล็ดพันธุ์รับรอง
มีลักษณะเป็นเมล็ดพันธ์ุกัญชง (Hemp)ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol,
THC) ในใบและชอ่ ดอก ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 1.0 ตอ่ น้ าหนักแหง้ ทง้ั นี้ ตามท่คี ณะกรรมการประกาศกาหนด
โดยการตรวจวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศกาหนด และเป็นพันธ์ุพืช
ขึ้นทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยพันธ์ุพืช โดยประกาศฉบับน้ีจะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงท่ีปลูก

152

อยู่ก่อนประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ รวมถึงเมล็ดพันธุ์ที่รับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้ เพื่อ

ส่งเสริมการพัฒนาสายพันธุ์กัญชง โดยเฉพาะพันธ์ุพ้ืนเมือง เปิดกว้างให้เกิดการใช้ประโยชน์กัญชง
อย่างคุม้ ค่า

อนึ่ง ก่อนหน้านี้ คณะกรรมการควบคุมยาเสพติดให้โทษ ได้ประกาศกาหนดลักษณะ
กัญชง (Hemp) พ.ศ. 2562 ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 30 สิงหาคม พ.ศ 2562 ซ่ึงมี
การกาหนดว่ากัญชงท่ีไม่ถือเป็นยาเสพติดประเภท 5 ในใบและช่อดอกมีปริมาณสารเตตราไฮโดร
แคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ไม่เกินร้อยละ 0.5 และเมล็ดพันธุ์รับรองที่จะใช้ใน
การปลูก ต้องเป็นเมล็ดพันธุ์ท่ีมีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol,
THC) ไม่เกินร้อยละ 0.3 แต่ถูกกระแสวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมออนไลน์อย่างมาก จึงต้องให้มีการ

ทบทวนประกาศ เพ่อื ให้มกี ารเปิดกว้างต่อการพฒั นาสายพนั ธุ์กัญชงในประเทศไทยท าให้ออกประกาศ

เปน็ ฉบับน้ี
ลกั ษณะกัญชง (Hemp)

กาหนดลกั ษณะกัญชง (Hemp) THC ในใบและชอ่ ดอก ไมเ่ กนิ ร้อยละ 1.0 ตอ่ นา้ หนักแหง้

เมลด็ พนั ธร์ุ ับรอง THC ในใบและช่อดอก ไมเ่ กิน รอ้ ยละ 1.0 ต่อนา้ หนกั แหง้

(ข้อมลู ณ วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2562)

กกกกกกกกกกล่าวโดยสรุป ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโ้ ทษที่เก่ยี วข้องกับกัญชาและ
กญั ชง ทส่ี าคัญมจี นาวน 6 ฉบบั ไดแ้ ก่ (1) ประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติดใหโ้ ทษ เร่อื ง การ
แสดงความจานงและการตรวจสอบผู้แสดงความจานงเป็นผู้รับอนุญาตตั้งแต่วันที่ผู้รับอนุญาตตาย
(2) เรื่อง กาหนดแบบการจัดทาบัญชีรับจ่ายและรายงานเกี่ยวกับการผลิต การนาเข้า การส่งออก
การจาหน่าย การมีไว้ในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา (3) เรื่อง กาหนด
ฉลากและเอกสารกากับยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 หรือคาเตือนหรือข้อควรระวังการใช้ที่ภาชนะ
บรรจุหรือหีบห่อบรรจุยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ที่ผลิต นาเข้า หรือส่งออก สาหรับยาแผน
ปจั จุบนั ซงึ่ มีกัญชาปรุงผสมอยู่ (4) เรอื่ ง ก าหนดเมล็ดพนั ธุเ์ ฮมพเ์ ปน็ เมล็ดพันธุ์รับรองตามกฎกระทรวง
การขออนุญาตและการอนุญาตผลิต จาหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษประเภท 5
เฉพาะเฮมพ์ พ.ศ. 2559 (5) เร่ือง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp) ประกาศเมื่อวันท่ี 27 สิงหาคม
พ.ศ. 2562 โดยกาหนดลักษณะกัญชง เพื่อเป็นประโยชน์ในการควบคุมการผลิต นาเข้า ส่งออก จาหน่าย
หรือมีไว้ครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชง ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบนิ อล

153

(tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.5 ต่อน้าหนักแห้ง และเมล็ดพันธ์ุ
รบั รองมลี ักษณะเปน็ เมล็ดพันธุ์กญั ชงที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol,
THC) ในใบและช่อดอกไม่เกินร้อยละ 0.3 ต่อน้าหนักแห้ง และ (6) เร่ือง กาหนดลักษณะกัญชง (Hemp)
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดยกาหนดให้มีการยกเลิกประกาศ
ฉบับเดมิ ซงึ่ สาระส าคญั ของประกาศฉบับนี้ คือ ก าหนดลกั ษณะกัญชง (Hemp) มีลกั ษณะเป็นพืชซึ่งมี
ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Cannabis sativa L. subsp. sativa อันเป็นชนิดย่อยของพืชกัญชา (Cannabis
sativa L.) ที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบและช่อดอก
ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อน้าหนักแห้งโดยตรวจวิเคราะห์ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีคณะกรรมการ
ประกาศก าหนดและ เมล็ดพันธุร์ บั รองมลี ักษณะเปน็ เมลด็ พันธุ์กญั ชง (Hemp) ทม่ี ปี รมิ าณสารเตตรา
ไฮโดรแคนนาบินอล (tetrahydrocannabinol, THC) ในใบ และช่อดอก ไม่เกินร้อยละ 1.0 ต่อ
น้าหนักแห้ง ทั้งน้ี ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด โดยการตรวจวิเคราะห์ตามหลักเกณฑ์และ
วิธีการท่คี ณะกรรมการประกาศก าหนด และเป็นพนั ธุพ์ ืชขึ้นทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยพันธุ์พืช โดย
ประกาศฉบับน้ีจะไม่มีผลบังคับใช้กับกรณีกัญชงท่ีปลูกอยู่ก่อนประกาศดังกล่าวมีผลบังคับใช้ รวมถึง
เมล็ดพันธุ์ท่ีรับรองแล้วก่อนประกาศมีผลบังคับใช้ เพ่ือส่งเสริมการพัฒนาสายพันธุ์กัญชง โดยเฉพาะ
พนั ธุพ์ ื้นเมอื ง เปดิ กวา้ งให้เกิดการใช้ประโยชน์กญั ชงอยา่ งคมุ้ คา่
กกกกกกก6. พระราชบญั ญตั สิ ทิ ธบิ ัตรกบั กญั ชาและกัญชง
กกกกกกกกก ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535
และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2542 ประกาศเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สิทธิบัตร”
หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออกให้เพ่ือคุ้มครองการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ท่ีมีลักษณะ
ตามที่กฎหมายก าหนด

154

ภาพท่ี 50 ความหมายของ สทิ ธบิ ตั ร
การท่ีรัฐให้ความคุ้มครองการประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ผู้ทรงสิทธิบัตร
มสี ิทธเิ ดด็ ขาด และไดก้ าหนดการประดษิ ฐ์ท่ขี อรบั สิทธิบตั รไดแ้ ละไม่ได้ ในกรณตี ่าง ๆ ดังน้ี
กกกกก มาตรา 5 กกาหนดการประดิษฐท์ ่ขี อรับสทิ ธบิ ตั รได้ ประกอบดว้ ยลกั ษณะดังตอ่ ไปนี้
ข้อ 1 ต้องเป็นการประดิษฐ์ข้ึนใหม่ คอื เป็นการประดษิ ฐท์ ี่แตกตา่ งไปจากเดิม ยงั ไม่เคย
มใี ช้ หรือแพรห่ ลายมาก่อนหรอื ไมเ่ คยเปิดเผยสาระส าคญั ในเอกสาร หรือสง่ิ พิมพ์มาก่อน
ข้อ 2 ต้องเป็นการประดิษฐ์ที่มีขั้นการประดิษฐ์สูงขึ้น คือ ไม่เป็นท่ีเข้าใจได้โดยง่ายแก่
บุคคลทมี่ คี วามช านาญในระดบั สามัญส าหรับงานประเภทน้นั
ข้อ 3 ต้องเป็นการประดิษฐท์ ่ีสามารถน าไปใช้ประโยชนไ์ ดใ้ นทางอุตสาหกรรม
เกษตรกรรม พาณิชยกรรมหรือหัตถกรรม

155

กกกกกกก การประดษิ ฐ์ทข่ี อรับสิทธบิ ัตรไมไ่ ด้ (ไม่ไดร้ บั การคุม้ ครองตามมาตรา 9)
ข้อ 1 จุลชีพและส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งของจุลชีพที่มีอยู่ตามธรรมชาติ สัตว์ พืช

หรอื สารสกดั จากสตั ว์หรือพชื
ขอ้ 2 กฎเกณฑแ์ ละทฤษฎีทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
ขอ้ 3 ระเบยี บขอ้ มลู ส าหรบั การท างานของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์
ข้อ 4 วิธกี ารวินิจฉยั บ าบดั หรือรักษาโรคมนษุ ย์ หรือสัตว์
ข้อ 5 การประดิษฐ์ที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดี อนามัยสวัสดิภาพ

ของประชาชน
กก

กก
ภาพที่ 51 ความหมายของ สิทธบิ ตั รการประดิษฐ์

กกกกกกกการจดสิทธบิ ตั รในต่างประเทศและในประเทศไทย จะใชข้ อ้ ตกลงลงบนพน้ื ฐานเดียวกันโดย
ประเทศไทยยึดหลักการตามข้อตกลงทรัพย์สินทางปัญญาท่ีเก่ียวกับการค้าภายใต้องค์การค้าโลก
(WTO)
กก ขนั้ ตอนการยืน่ คาขอจดสิทธิบตั รทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับกัญชา มีดังนี้
กกกกกกก ขั้นตอนท่ี 1 กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรใน
มาตรา 9 (1) ซึ่งกาหนดว่า สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตาม

156
พระราชบญั ญัติหรือ หากขดั กับมาตราดังกล่าวจะไมส่ ามารถย่ืนจดสทิ ธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชา
ไม่สามารถจดได้ก
กก ข้ันตอนท่ี 2 หากการยื่นค าขอไมข่ ัดกบั มาตรา 9 (1) เชน่ ต ารบั ยาจากกัญชาสาหรับใช้
รักษาโรคตา่ ง ๆ กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตาม
หลักการ คือ ต้องเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ มีข้ันตอนการประดิษฐ์ท่ีสูงข้ึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ในการผลติ อตุ สาหกรรม หัตถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้
กกกกกกก ข้ันตอนที่ 3 เม่ือผ่านการพิจารณาในข้ันตอนที่ 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้ เม่ือประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องย่ืนขอให้ตรวจสอบการ
ประดิษฐ์ เจ้าหน้าท่ีจะนาข้อคัดค้านหรือข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบ
การประดิษฐอ์ กี คร้ัง ก่อนจะพิจารณาว่าสามารถจดสิทธบิ ัตรได้หรอื ไม่ ดังภาพ

ภาพที่ 52 ขนั้ ตอนการด าเนนิ การขอรับสิทธบิ ตั ร

157
ตัวอยา่ ง “สิทธิบัตร”

กกกกกก

ภาพที่ 53 ตวั อย่างสิทธบิ ตั รการประดิษฐ์
กกกกกกก ปัจจุบันนี้มีผู้ขอจดสิทธิบัตรท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สินทางปัญญา มีจานวน
3 บรษิ ัท โดยมีจ านวน 10 ค าขอ ซ่งึ อยู่ในข้นั ตอนการด าเนนิ การและการขอจดสทิ ธบิ ัตร ดงั ภาพ

158

ภาพที่ 54 ค าขอสิทธิบตั รกญั ชา ที่กรมทรัพย์สินทางปญั ญายังไมย่ กเลิก
กกกกกกก กล่าวโดยสรุป ตามพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2535 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 ให้ความหมาย “สิทธิบัตร” หมายถึง หนังสือสาคัญที่รัฐออก
ให้เพ่ือคุ้มครองการประดิษฐ์ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะตามท่ีกฎหมายกาหนด ทั้งนี้
ขั้นตอนการย่ืนคาขอจดสิทธิบัตรที่เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง มี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนท่ี 1
กรมทรัพย์สินทางปัญญาจะพิจารณาว่าขัดต่อพระราชบัญญัติสิทธิบัตรในมาตรา 9 (1) ซึ่งกาหนดว่า
สัตว์ พืช หรือสารสกัดจากสัตว์หรือพืชไม่ได้รับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัติหรือ หากขัดกับ
มาตราดังกล่าวจะไม่สามารถยื่นจดสิทธิบัตรได้ เช่น สารสกัดจากกัญชาไม่สามารถจดได้.ขั้นตอนที่ 2

159

หากการยื่นคาขอไม่ขัดกับมาตรา 9 (1) เช่น ตารับยาจากกัญชาสาหรับใช้รักษาโรคต่าง ๆ กรม
ทรัพย์สินทางปัญญาจะเป็นผู้ตรวจสอบว่าสามารถจดได้หรือไม่ โดยพิจารณาตามหลักการ คือ ต้อง
เป็นส่ิงประดิษฐ์ใหม่ มีข้ันตอนการประดิษฐ์ท่ีสูงข้ึน และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการผลิต
อุตสาหกรรม หตั ถกรรม เกษตรกรรม และพาณิชยกรรมได้ และขนั้ ตอนท่ี 3 เมื่อผา่ นการพจิ ารณาใน
ขั้นตอนที่ 2 จะประกาศโฆษณาให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถคัดค้านหรือให้ข้อเสนอแนะได้
เมื่อประกาศโฆษณาแล้วผู้ขอต้องย่ืนขอให้ตรวจสอบการประดิษฐ์ เจ้าหน้าที่จะนาข้อคัดค้านหรือ
ข้อเสนอแนะมาประกอบการพิจารณาร่วมกับการตรวจสอบการประดิษฐ์อีกคร้ัง ก่อนจะพิจารณาว่า
สามารถจดสิทธิบัตรได้หรือไม่ ปัจจุบันนี้มีผู้ขอจดสิทธิบัตรที่เก่ียวข้องกับกัญชากับกรมทรัพย์สินทาง
ปัญญา มีจานวน 3 บริษัท โดยมีจานวน 10 คาขอ ซ่ึงอยู่ในข้ันตอนการดาเนินการ และการขอจด
สิทธบิ ัตร
กกกกกกก7. ข้อปฏบิ ตั ทิ ่ีตอ้ งทาตามกฎหมายที่เกยี่ วขอ้ งกบั กญั ชาและกญั ชง
กกกกกกกกก กัญชาทางการแพทย์ ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวางตลอดหลายปีที่ผ่านมา สาหรับ
ประเทศไทยได้มีการปรับเปล่ียนกฎหมายและระเบียบต่าง ๆ เพื่อให้สามารถศึกษาวิจัยตลอดจนการ
น ากญั ชามาใช้ประโยชน์ได้ ในกระแสของการเปลีย่ นแปลงดงั กล่าวบุคลากรทางการแพทย์ ผูป้ ว่ ยและ
ประชาชนทั่วไปจาเป็นต้องได้รับข้อมูลอย่างรอบด้าน ท้ังประโยชน์และข้อควรระวังของการใช้กัญชา
ทางการแพทย์ และความเสี่ยงหรืออันตรายจากการใช้กัญชา รวมถึงข้อปฏิบัติท่ีควรระวังต้องทาตาม
กฎหมายกญั ชาและกญั ชง ดังภาพ

ภาพที่ 55 โทษของการโพสต์ภาพ หรือ ข้อความ เพอื่ โฆษณายาเสพติด

160

กกกกกกก นอกเหนือจากน้ี โทษอาญาของการฝ่าฝืนกฎหมาย ในเรอ่ื งของการใช้อุบายหลอกลวง
ขู่เข็ญ ใชก้ าลังประทุษร้าย ข่มขืนใจใหผ้ ู้อ่ืนเสพ ยยุ งสง่ เสริมให้ผูอ้ นื่ เสพ ผลติ น าเข้าสง่ ออก จ าหน่าย
หรือครอบครองเพ่อื จ าหน่าย ดงั ตาราง

ขอ้ หา ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภท 5
(กัญชา ฝน่ิ เห็ดขคี้ วาย)

ใช้อบุ ายหลอกลวง  จ าคุก1 - 10 ปี และปรบั ตงั้ แต่ 100,000 - 1,000,000 บาท

ขเู่ ขญ็ ใชก้ าลัง  ถ้าท าโดยมีอาวุธหรือรว่ มกนั 2 คนขนึ้ ไป จ าคกุ 2 - 15 ปี และ

ประทุษร้าย ข่มขนื ใจให้ ปรับตัง้ แต่ 200,000 - 1,500,000 บาท
ผูอ้ น่ื เสพ
 ถา้ กระท าต่อหญงิ หรอื ผูย้ ังไม่บรรลุนิติภาวะ หรอื เพื่อจงู ใจให้ผูอ้ ืน่

ท าผิดอาญา หรือเพือ่ ประโยชน์แก่ตนเองหรอื ผ้อู นื่ ในการท าผดิ อาญา

จ าคุก3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรบั 300,000 - 5,000,000 บาท

ยุยงสง่ เสริมใหผ้ ู้อนื่ เสพ  จ าคกุ ไม่เกิน 1 ปี หรอื ปรับไมเ่ กิน 20,000 บาท หรอื

ทั้งจ าทงั้ปรบั

ใช้อุบายหลอกลวง  โทษเป็น 2 เท่าของโทษท่ีกฎหมายบัญญัติไว้สาหรับความผิด

ขู่เขญ็ ใช้ก าลงั นน้ั ๆ

ประทุษร้าย ขม่ ขืนใจ

ให้ผู้อน่ื ผลติ น าเขา้

ส่งออก จ าหนา่ ย

ครอบครองเพอ่ื

จ าหนา่ ย

กกกกกกกกกปัจจุบันประเทศไทยมีผู้เข้าไปเก่ียวข้องกับยาเสพติดเป็นจานวนมากซึ่งกระทรวง
ยุติธรรม ได้กาหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคิด “ผู้เสพ คือ
ผู้ป่วย” ท่ีจะต้องได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ
ทุกแห่งทั่วประเทศ และหลังจากที่ผู้เสพได้รับการบาบัดรักษาแล้ว ก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคม
อย่างปกติสุข โดยรัฐบาลจะให้การตดิ ตามช่วยเหลือส่งเสรมิ การประกอบอาชพี เพ่ือให้ผู้เสพได้เริ่มต้น
ชีวติ ใหม่ “เปลี่ยนเพื่อครอบครัว เพือ่ อนาคตทดี่ ีกวา่ ”

161

ภาพท่ี 56 นโยบายการแก้ไขปัญหายาเสพตดิ แนวใหม่
กกกกกกกกกกล่าวโดยสรุป ข้อปฏบิ ตั ิทส่ี าคัญตามกฎหมายกญั ชาและกัญชง มขี อ้ ทคี่ วรปฏิบัติดังน้ี
กกกกกกกกก 7.1 โพสต์ภาพ หรือขอ้ ความ เพื่อโฆษณายาเสพติด มโี ทษจ าคกุ ไม่เกิน 2 ปี ปรับไม่เกิน
200,000 บาท
กกกกกกกกก 7.2 ใชอ้ ุบายหลอกลวง ข่เู ข็ญ ใชก้ าลงั ประทุษร้าย ขม่ ขนื ใจให้ผอู้ ่นื เสพ มีโทษดงั นี้
กกกกกกกกกกกกก7.2.1 จ าคุก 1 - 10 ปี และปรับตั้งแต่ 100,000 - 1,000,000 บาท
กกกกกกกกกกกกก7.2.2 ถ้าทาโดยมีอาวุธหรือร่วมกัน 2 คนข้ึนไป จาคุก 2 - 15 ปี และปรับตั้งแต่
200,000 - 1,500,000 บาท
กกกกกกกกกกกกก7.2.3 ถ้ากระทาต่อหญิงหรือผู้ยังไม่บรรลุนิติภาวะ หรือเพื่อจูงใจให้ผู้อ่ืนทาผิด
อาญา หรือเพื่อประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นในการทาผิดอาญา จาคุก 3 ปี ถึงตลอดชีวิต และปรับ
300,000 - 5,000,000 บาท

162

กกกกกกกกก 7.3 ยุยงส่งเสริมให้ผู้อ่ืนเสพ มีโทษจาคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท
หรอื ทง้ั จ าทั้งปรบั
กกกกกกกกก 7.4 ใชอ้ บุ ายหลอกลวง ขู่เขญ็ ใชก้ าลังประทษุ ร้าย ข่มขนื ใจให้ผอู้ ื่นผลติ น าเขา้ สง่ ออก
จาหน่าย ครอบครองเพ่ือจาหน่าย มีโทษเป็นสองเท่าของโทษที่กฎหมายบัญญัติไว้สาหรับความผิด
น้ัน ๆ
กกกกกกกกก ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเป็นจานวนมาก ซ่ึงกระทรวง
ยุติธรรม ได้กาหนดแนวทางการช่วยเหลือผู้เสพยาเสพติดแนวใหม่ ภายใต้กรอบความคิด “ผู้เสพ คือ
ผู้ป่วย” ท่ีจะต้องได้รับการบาบัดรักษาอย่างถูกต้อง โดยแพทย์และพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐ
ทุกแห่งทั่วประเทศ และหลังจากที่ผู้เสพได้รับการบาบัดรักษาแล้ว ก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตในสังคม
อย่างปกติสขุ โดยรัฐบาลจะให้การตดิ ตามชว่ ยเหลือส่งเสริมการประกอบอาชีพ เพื่อให้ผู้เสพได้เรม่ิ ต้น
ชวี ติ ใหม่ “เปล่ยี นเพือ่ ครอบครัว เพ่ืออนาคตทดี่ ีกว่า”
กกกกกกก8. โทษของการฝา่ ฝนื กฎหมายท่เี กีย่ วขอ้ งกับกัญชาและกัญชง

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ที่ใช้เป็นหลักอยู่ และได้มีการแก้ไข
เพ่ิมเติมมาหลายคร้ังจนกระทั่งล่าสุดจึงมี พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
กาหนดการกระทาความผิด และบทลงโทษทางอาญาของผู้เสพ ผลิต นาเข้า ส่งออก ครอบครองหรือ
จ าหนา่ ยกญั ชา ดังภาพ

163

บทลงโทษการฝ่าฝืนกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกบั กัญชา

ภาพท่ี 57 บทลงโทษการฝา่ ฝืนกฎหมายท่เี กย่ี วข้องกบั กัญชา
ขอ้ ควรรู้ : การผลิต เสพ น าขเ า้ ส่งออก ครอบครองหรอื จาหน่ายกญั ชา

หมายรวมถงึ ทุกส่วนของพืชกัญชา ยกเว้นตามท่กี ฎหมายก าหนด ยงั ไม่มี
การแยกฐานความผิดในการแยก ใบ ดอก ยอด ผล ล าตน้ รวมถึงยาง
และน้ ามัน ผใู้ ดกระท าความผดิ ดงั กล่าวถือว่ามีความผดิ

164

ถาม
การตรวจหาสารกัญชาในปสั สาวะสามารถตรวจพบหลงั จาก
ใชก้ ัญชาไปแล้วนานถงึ 2 สัปดาห์ จริงหรือไม่
ตอบ
จริง เพราะการตรวจหาสารกญั ชาจากปสั สาวะ สามารถตรวจหา
หลงั จากใช้ 2 - 5 ชัว่ โมง และในผใู้ ชบ้ อ่ ย ๆ หรือใชใ้ นปรมิ าณสูง ๆ
จะสามารถตรวจพบได้หลังจากใชไ้ ปแล้ว 15 - 30 วันหลงั จากหยดุ ใช้
หรือจนกวา่ รา่ งกายจะขับออกหมด
นอกจากนี้ ถ้านากัญชามาโฆษณาชวนเชื่อ บิดเบือนฉลากอาหาร - ฉลากยา มีความผิด
ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หากเข้าข่ายเป็นอาหารที่มีการแสดงฉลากเพื่อลวง หรือ
พยายามลวงให้เข้าใจผิดเรื่องคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานที่ผลิต จัดเป็นอาหารปลอม
ต้องระวางโทษจ าคุกต้ังแต่ 6 เดอื น - 10 ปี และปรบั ตัง้ แต่ 5,000 - 100,000 บาท ดงั ภาพ

ภาพที่ 58 บดิ เบือนฉลากอาหาร ฉลากยา มคี วามผิด

165

การนริ โทษกรรมผคู้ รอบครองกัญชา

หลังจากมีประกาศพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ต่อมา
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันท่ี 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
มีสาระส าคัญเกย่ี วกับการนิรโทษกรรมผคู้ รอบครองกัญชา จ านวน 3 ฉบบั ดงั น้ี

ฉบับท่ี 1 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่ือง การกาหนดให้ยาเสพติดให้โทษใน
ประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรอื ใหท้ าลายกัญชาที่ได้รับมอบจากบุคคล
ซึ่งไม่ต้องรับโทษ ตามมาตรา 22 แห่ง พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562
โดยรายละเอียดผู้ท่ีได้รบั การนิรโทษกรรม หรือการครอบครองก่อนหน้าน้ีไม่ผดิ และให้มาแจ้งภายใน
90 วัน

ฉบับท่ี 2 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องการครอบครองยาเสพติดให้โทษใน
ประเภท 5 เฉพาะกัญชา สาหรับผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้เพ่ือรักษาโรคเฉพาะตัวก่อน
พระราชบัญญตั ยิ าเสพติดให้โทษ (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับใหไ้ ม่ตอ้ งรับโทษ ซึ่งในกรณีนีผ้ ูป้ ่วยที่
มีความจาเป็นต้องใช้กัญชารักษาตัว และมีครอบครองก่อนกฎหมายใช้บังคับ ให้แสดงเอกสาร
หลกั ฐานทแี่ สดงอาการเจ็บป่วยจากแพทย์ ภายใน 90 วนั

ฉบับที่ 3 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การแจ้งการมีไว้ในครอบครองกัญชา
สาหรับผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา 26/5 และบุคคลอื่นที่มิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อน
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ กล่าวคือ บุคคล
ทไี่ มใ่ ช่กลุม่ ที่ 1 และกลุ่มที่ 2 โดยในฉบับน้ี ใหห้ น่วยงานหรือบุคคลผ้คู รอบครองกัญชาก่อนกฎหมายมี
ผลใช้บังคับ เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ การรักษาผู้ป่วย การใช้รักษาโรคเฉพาะตัว หรือการ
ศึกษาวิจัย ดังต่อไปนี้ต้องแจ้งลักษณะและปริมาณกัญชาท่ีมีไว้ในครอบครองภายใน 90 วันนับต้ังแต่
พระราชบัญญัติดังกล่าวใช้บังคับ อาทิหน่วยงานของรัฐท่ีสอนทางการแพทย์ แพทย์ ทันตแพทย์
แพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัย เกษตรกรรม ท่ีเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนภายใต้ความร่วมมือ และกับกับ
ดแู ลของผขู้ ออนุญาตตามหน่วยงานของรฐั หรือ สถาบนั อดุ มศึกษา เชน่ หน่วยงานรัฐหรือแพทย์ และ
ผู้ประกอบการขนส่งสาธารณะระหว่างประเทศ ผู้ป่วยเดินทาง และผู้ขออนุญาตตามที่รัฐมนตรี
เห็นชอบ

สาหรับการแจ้งครอบครองกัญชาของทั้ง 3 กลุ่ม สามารถไปแจ้งได้ ดังนี้
กรงุ เทพมหานคร แจ้งไดท้ ่ีศนู ย์บรกิ ารเบด็ เสร็จ (One Stop Service) ส านกั งานคณะกรรมการอาหาร
และยาพ้ืนที่ต่างจังหวัด สามารถแจ้งได้ที่สานักงานสาธารณสุขจังหวัด หรือ สสจ. ทั่วประเทศ หรือ
หากมีข้อสงสัยสามารถสอบถามรายละเอียดได้ที่สายด่วน 1556 กด 3 ในวันและเวลาราชการ
ซึ่งใหบ้ รกิ ารตอบขอ้ ซกั ถามในประเดน็ ทเี่ ก่ียวข้องกับกญั ชาโดยตรง

166

กล่าวโดยสรุป บทลงโทษของการฝ่าฝืนกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกัญชาและกัญชง มี 5 กลุ่ม
ดงั น้ี

8.1 กลุ่มผู้เสพ (นอกเหนือเพื่อรักษาตามคาสั่งแพทย์) มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 ปี
หรอื ปรบั ไม่เกิน 20,000 บาท หรือทัง้ จ าทัง้ปรับ

8.2 กลุ่มครอบครอง หรือจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ไม่ถึง 10 กิโลกรัม)
มบี ทลงโทษ จ าคุกไมเ่ กนิ 5 ปี หรือปรับไมเ่ กิน 100,000 บาท หรือท้ังจ าทง้ัปรบั

8.3 กลุ่มจาหน่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต (ปริมาณ 10 กิโลกรัมขึ้นไป) มีบทลงโทษ จาคุก
ต้งั แต่ 1 - 15 ปี และปรับ 100,000 - 1,500,000 บาท

8.4 กลุ่มผู้ฝ่าฝืนผลิต นาเข้า หรือส่งออก มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่
เกิน 500,000 บาท

8.5 กลุ่มกรณีเพ่ือจาหน่าย มีบทลงโทษ จาคุกไม่เกิน 1 - 15 ปี และปรับ 100,000 -
1,500,000 บาท

ในส่วนผู้ขออนุญาตตามมาตรา 26/5 มีสิทธิที่จะขอใบอนุญาตให้ผลิต นาเข้า ส่งออก
จ าหน่ายหรอื มไี วใ้ นครอบครองซ่ึงผ้ขู ออนุญาตตามข้อ 2,3,4 และ 7 มีอยู่ 2 กลมุ่ ดังนี้

กลุม่ ที่ 1 กรณบี ุคคลธรรมดา สญั ชาตไิ ทย มีถิน่ ที่อยูใ่ นไทย
กลุ่มท่ี 2 กรณีนิติบุคคล จดทะเบียนตามกฎหมายไทย 2 ใน 3 กรรมการ หุ้นส่วน
ผ้ถู ือหุ้น มีสัญชาติไทย มสี านกั งานในไทย
นอกจากนกี้ ารนากัญชามาโฆษณาชวนเช่ือ บิดเบือนฉลากอาหาร - ฉลากยา มคี วามผิด
ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 30,000 บาท หากเข้าข่ายเป็นอาหารท่ีมีการแสดงฉลากเพ่ือลวง หรือ
พยายามลวงให้เข้าใจผิดเรื่องคุณภาพ ปริมาณ ประโยชน์ สถานท่ีผลิต จัดเป็นอาหารปลอม
ตอ้ งระวางโทษจ าคกุ ต้งั แต่ 6 เดอื น - 10 ปี และปรับตงั้ แต่ 5,000 - 100,000 บาท
ตอ่ มาไดม้ ีการนิรโทษกรรม โดยประกาศกระทรวงสาธารณสขุ 3 ฉบับ ซึง่ ประกาศใช้ใน
ราชกจิ จานุเบกษา ลงวันท่ี 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 ดงั น้ี ฉบบั ท่ี 1 เร่ือง การก าหนดใหย้ าเสพติดให้
โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชาตกเป็นของกระทรวงสาธารณสุข หรอื ใหท้ าลายกัญชาทีไ่ด้รบั มอบจาก
บคุ คล ซงึ่ ไม่ต้องรับโทษ ตามมาตรา 22 แหง่ พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562
โดยรายละเอียดผู้ท่ีได้รบั การนิรโทษกรรม หรือการครอบครองก่อนหน้านไี้ ม่ผิด และให้มาแจ้งภายใน
90 วัน ฉบับที่ 2 เร่ืองการครอบครองยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 เฉพาะกัญชา สาหรับผู้ป่วยที่มี
ความจาเป็นต้องใช้เพื่อรักษาโรคเฉพาะตัว ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7)
พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ต้องรับโทษ ซึ่งในกรณีนี้ผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้กัญชารักษาตัว และมี
ครอบครองกอ่ นกฎหมายใช้บงั คบั และฉบับที่ 3 เรอื่ ง การแจง้ การมไี ว้ในครอบครองกัญชา ส าหรบั ผ้มู ี
คุณสมบัติตามมาตรา 26/5 และบุคคลอื่นท่ีมิใช่ผู้ป่วยตามมาตรา 22 (2) ก่อนพระราชบัญญัติยาเสพ

167

ติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ใช้บังคับให้ไม่ตอ้ งรับโทษ กล่าวคือ บุคคลท่ีไม่ใช่กลุ่มที่ 1 และกลุ่ม
ท่ี 2 โดยในฉบับน้ี ให้หน่วยงานหรือบุคคลผู้ครอบครองกัญชาก่อนกฎหมายมีผลใช้บังคับเพื่อ
ประโยชนท์ างการแพทย์การรกั ษาผ้ปู ว่ ย การใชร้ กั ษาโรคเฉพาะตัวหรือการศกึ ษาวจิ ยั
กกกกกกก9. กฎหมายระหวา่ งประเทศเก่ยี วกับกัญชาและกญั ชง
กกกกกกก ปจั จบุ ันสถานการณย์ าเสพติดของโลกยงั รนุ แรงและต้องการหาแนวทางในการแก้ปัญหา
โดยเน้นท่ีการป้องกันการใช้ยาเสพติดท่ีไม่ได้มีวัตถุประสงค์ทางการแพทย์ โดยเฉพาะในเยาวชน ด้วย
ความตระหนักดีว่าปัญหายาเสพติดอาจมีส่วนชักนาให้เกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น ปัญหาอาชญากรรม
ปัญหาวัยรุ่น ปัญหาโสเภณี ซ่องโจร และการพนัน เป็นต้น ซ่ึงปัญหาท่ีกล่าวมามีผลกระทบกระเทือน
ต่อความม่ันคงของประเทศ ความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนตลอดจนถึงด้าน
เศรษฐกิจด้วย จึงได้มีความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดยาเสพติด ดังนั้น ในเวที
ระหว่างประเทศจึงได้มีความตกลงเพื่อเป็นการหยุดยั้งการแพร่ระบาดของยาเสพติด ด้วยเหตุน้ี
องค์การสนั นบิ าตชาติ และองค์การสหประชาชาติ ไดม้ กี ฎหมายระหวา่ งประเทศทเี่ กย่ี วกบั การควบคุม
ยาเสพติดหลายฉบับ สาหรับประเทศไทยในมิติด้านความร่วมมือระหว่างประเทศน้ัน ประเทศไทยได้
เข้าเป็นรัฐภาคี จานวน 4 ฉบับด้วยกัน คือ ฉบับท่ี 1 อนุสัญญาเดี่ยวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ.
1961 และพิธีสารแก้ไขอนุสัญญาเก่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961, ค.ศ. 1972 ฉบับท่ี 2
อนุสัญญาว่าด้วยวัตถุท่ีออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1971 ฉบับที่ 3 อนุสัญญาสหประชาชาติวา่
ด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดและวัตถุท่ีออกฤทธ์ติ ่อจิตและประสาท ค.ศ. 1988 และฉบับ
ท่ี 4 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดต้ังในลักษณะองค์กร ค.ศ.
2000

ตามอนุสัญญาเด่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 ได้บัญญัติ สารสกัดจากกัญชา
จัดให้อยู่ในตารางการควบคุมในบัญชีเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 1 และยางกัญชาเป็นยาเสพ
ติดให้โทษในประเภท 4 โดยห้ามปลูก ผลิต ส่งออก นาเข้า ค้าขาย ครอบครองหรือใช้ประโยชน์ เว้น
แต่เพ่ือใช้ทางการแพทยห์ รือการศึกษาวิจัยเท่านั้น ภาคปี ระเทศตอ้ งก าหนดมาตรการควบคุมปอ้ งกันมิ
ให้มีการน าใบของพืชกัญชาไปในทางทผี่ ิด หรอื ท าการคา้ ที่ผิดกฎหมาย

อนสุ ัญญาของสหประชาชาติ (United Nation, UN)

กกกกกกก อนุสัญญาว่าด้วยการควบคุมยาสากลขององค์การสหประชาชาติเป็นข้อตกลงสากล
สงู สดุ ในเรอ่ื งการควบคุมยาเสพตดิ อย่างเชน่ กัญชา อนสุ ัญญาดงั กล่าวกาหนดความรับผดิ ชอบร่วมกัน
ในระดบั สากล ส าหรับการควบคุมการผลติ การค้า และการใชย้ าควบคุม

โดยทั่วไปแล้วแต่ละป ร ะเ ทศจ ะก าหน ดกฎห ม ายว่า ด้วยย าซ่ึ งสัม พั นธ์กั บก า ร อ อ ก
กฎหมายและขอ้ บังคบั เกยี่ วกับยารักษาโรค ส าหรับกัญชาทางการแพทย์ อ านาจและมาตรการควบคุม
ของประเทศอน่ื ๆ มีเป้าหมาย 3 ประการ ดงั น้ี

168

กกกกกกก ประการท่ี 1 ควบคมุ การเขา้ ถงึ และการใช้กญั ชาทางการแพทย์ทชี่ อบด้วยกฎหมาย
กกกกกกก ประการท่ี 2 เปิดโอกาสให้สามารถเขา้ ถงึ กัญชาทมี่ าจากวธิ กี ารทางเภสัชกรรมเพ่ือ
วัตถุประสงค์ทางการแพทย์บางกรณใี นปริมาณท่ีเพยี งพอ
กกกกกกก ประการที่ 3 อนุญาตให้สามารถมีการเพาะปลูก และผลติ กญั ชาเพื่อวัตถุประสงค์
ดังกล่าว
กกกกกกก ประเทศท่ีลงนามในอนุสัญญามีภาระหน้าที่ในการควบคุมการส่งออก นาเข้า และ
การขายส่งกัญชา และยาเตรียมจากกญั ชาอยา่ งระมดั ระวงั ซ่ึงสว่ นมากแล้วมกั จะเป็นหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ
ของกระทรวงสาธารณสุขของประเทศ ซึ่งร่วมงานอย่างใกล้ชิดกับคณะกรรมการควบคุมสารเสพติด
นานาชาติ (INCB) ในกรุงเวียนนา
กกกกกกก ทุกชาติต่างจ าเป็นตอ้ งท างานรว่ มกันกบั INCB ซ่ึงเป็นผู้ควบคุมการหมนุ เวียนของกัญชา
และยาควบคุมชนิดอ่ืน ๆ ท่ีมีเจตนาเพื่อการใช้ทางการแพทย์ทั่วโลกแต่ละประเทศจะเสนอจานวน
คาดการณ์ของความจาเป็นส าหรับกัญชาทางการแพทย์ในระดับชาติเปน็ รายปี การคาดการณ์ดังกล่าว
นี้จะจากัดปริมาณของกัญชาท่ีจะสามารถเข้าถึงได้ในแต่ละปี ซ่ึงเป็นการสร้างความมั่นใจว่าการผลิต
การคา้ และการใชก้ ัญชาโดยชอบดว้ ยกฎหมายจะเพียงพอส าหรบั ความจ าปเ น็ ทางการแพทย์ และทาง
วิทยาศาสตร์ของชาติ โดยไม่จ าเปน็ ตอ้ งหนั ไปอาศยั ตลาดมืด
กกกกกกก ข้อกาหนดดังกล่าวท่ีมีผลผูกมัด ให้ประเทศที่ลงนามอนุสัญญาน้ีต้องควบคุมการส่งออก
นาเข้า และขายส่งกัญชาและยาท่ีผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวัง แต่สาหรับประเทศไทยเรายังไม่มี
ความพร้อมเร่ืองระบบการควบคุม ถึงเราจะมีความพร้อมด้านการปลูกกัญชา แต่องค์การสหประชาชาติ
มีข้อกาหนดเร่ืององค์กรกลางในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ กล่าวคือ ในกรณีท่ีมีการ
เพาะปลกู กัญชา หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดตั้งองคก์ รกลาง หรือหนว่ ยงานกญั ชาแห่งชาตขิ ึ้นมากากับ
ดูแลเขตพื้นที่และที่ดินท่ีจะปลูกกัญชาและจัดต้ังระบบการออกใบอนุญาต ซ่ึงขณะนี้ประเทศไทยมี
สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เป็นองค์กรกลางท่ีรับผิดชอบอยู่ แต่ปัญหาที่เกิดข้ึน
ภายหลังจากท่ีกฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใชก้ ัญชาทางการแพทยเ์ ปน็
ประเทศแรกในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ตามพระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ.
2562 มีผลบังคับใช้ต้ังแต่วันท่ี 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ปัญหาที่เกิดข้ึนมาตามคือ ไม่มีกัญชาใน
ปริมาณท่ีเพียงพอสาหรับรักษาผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นต้องใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคต้องไปหากัญชา
มาจากแหล่งท่ีไม่อาจเปิดเผยได้ หรอื ตลาดมืดท าให้เกิดความสบั สนแยกไม่ออกระหวา่ งพวกธุรกิจที่ถูก
และผิดกฎหมาย พวกที่เสพเพื่อนันทนาการสนุกสนาน หรือผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้ในการรกั ษา
คือ แยกไม่ออกแล้วว่าใครเป็นผู้ป่วยหรือพวกแอบแฝงเป็นผู้ป่วย ปัญหาตามมาคือ สานักงานป้องกัน
และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จะดาเนินการปราบปรามก็ทาได้ไม่ค่อยถนัดนัก เพราะเป็นเรื่อง
ของจริยธรรม มนษุ ยธรรม และยากที่จะแยกแยะออกไดว้ ่าบุคคลใดเป็นผู้เสพ บุคคลใดเปน็ ผู้ครอบครอง

169

และบุคคลใดเป็นผ้จู าหนา่ ยได้ มีระบบก ากับควบคุมส่งออก ขายส่ง กัญชาและยาทผี่ ลติ จากกัญชา ที่
ผลติ ภณั ฑย์ า ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ จงึ เปน็ ส่ิงที่รัฐต้องดาเนินการใหช้ ัดเจน เข้มงวด กวดขนั และทัว่ ถึง ให้
มีประสิทธิภาพโดยทาให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้จริง และต้องแยกแยะ
ผู้ป่วยกับผู้ท่ีแอบแฝงเป็นผู้ป่วยให้ได้ เม่ือถึงจุดนั้นการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดก็จะสามารถ
ท าไดอ้ ยา่ งประสบผลส าเร็จ

กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยในมิติด้านความร่วมมือระหว่างประเทศ ได้เข้าเป็นรัฐภาคี
จ านวน 4 ฉบับดว้ ยกัน คอื ฉบบั ท่ี 1 อนุสัญญาเดี่ยววา่ ด้วยยาเสพตดิ ให้โทษ ค.ศ. 1961 และพิธีแก้ไข
อนุสัญญาเด่ียววา่ ด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961, ค.ศ. 1972 ฉบับท่ี 2 อนุสัญญาว่าด้วยวัตถุท่ีออก
ฤทธิ์ต่อจิตและประสาท ค.ศ. 1971 ฉบับที่ 3 อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบ
ค้ายาเสพติดและวัตถทุ อ่ี อกฤทธต์ิ อ่ จติ และประสาท ค.ศ. 1988 และฉบบั ท่ี 4 อนุสญั ญาสหประชาชาติ
ว่าด้วยการต่อตา้ นอาชญากรรมข้ามชาติทจ่ี ัดตงั้ ในลักษณะองค์กร ค.ศ. 2000
กกกกกกกกก ตามอนุสัญญาเด่ียวว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ค.ศ. 1961 ได้บัญญัติกัญชา สารสกัดจาก
กัญชา จัดให้อยู่ในตารางการควบคุมในบัญชเี ป็นยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 1 และยางกัญชาเปน็ ยา
เสพติดให้โทษในประเภท 4 โดยห้ามปลูก ผลิต ส่งออก นาเข้า ค้าขาย ครอบครองหรือใช้
ประโยชน์ เว้นแต่เพ่ือใช้ทางการแพทย์หรือการศึกษาวิจัยเท่านั้น ภาคีประเทศต้องกาหนดมาตรการ
ควบคุมปอ้ งกนั มใิ หม้ กี ารน าใบของพชื กญั ชาไปในทางทีผ่ ิด หรือท าการค้าทีผ่ ดิ กฎหมาย
กกกกกกกกกนอกจากนีอ้ นุสญั ญาของสหประชาชาติ (United Nation, UN) เปน็ ขอ้ ตกลงสากลสูงสุด
ในเร่ืองการควบคุมยาเสพติดอย่างเช่น กัญชา อนุสัญญาดังกล่าวกาหนดความรับผิดชอบร่วมกันใน
ระดับสากล ส าหรับการควบคมุ การผลติ การคา้ และการใชย้ าควบคมุ โดยทว่ั ไปแล้วแตล่ ะประเทศจะ
กาหนดกฎหมายว่าด้วยยาซึ่งสัมพันธ์กับการออกกฎหมายและข้อบังคับเกี่ยวกับยารักษาโรค สาหรับ
กัญชาทางการแพทย์ อานาจและมาตรการควบคุมของประเทศอื่น ๆ มีเป้าหมาย 3 ประการ ดังน้ี
ประการที่ 1 ควบคุมการเข้าถึงและการใช้กัญชาทางการแพทย์ท่ีชอบด้วยกฎหมาย ประการ
ที่ 2 เปดิ โอกาสใหส้ ามารถเข้าถึงกัญชาท่ีมาจากวิธีการทางเภสัชกรรมเพ่ือวตั ถุประสงค์ทางการแพทย์
บางกรณีในปริมาณที่เพียงพอ ประการที่ 3 อนุญาตให้สามารถมีการเพาะปลูก และผลิตกัญชาเพื่อ
วัตถปุ ระสงคด์ งั กลา่ ว โดยประเทศทล่ี งนามในอนสุ ญั ญามภี าระหน้าทีใ่ นการควบคุมการส่งออก น าเขา้
และการขายส่งกญั ชา และยาเตรยี มจากกญั ชาอยา่ งระมัดระวงั กกกกกกก
กกกกกกก ข้อกาหนดดังกล่าวท่ีมีผลผูกมัด ให้ประเทศท่ีลงนามอนุสัญญานี้ต้องควบคุมการส่งออก
นาเข้า และขายส่งกัญชาและยาที่ผลิตจากกัญชาอย่างระมัดระวัง แต่สาหรับประเทศไทยเรายังไม่มี
ความพร้อมเร่ืองระบบการควบคุม ถึงเราจะมีความพร้อมด้านการปลูกกัญชา แต่องค์การ
สหประชาชาติ มีข้อกาหนดเรื่ององค์กรกลางในการกากับดูแลการใช้กัญชาทางการแพทย์ ซ่ึงขณะน้ี
ประเทศไทยมีส านกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปน็ องค์กรกลางทร่ี บั ผดิ ชอบอยู่ แต่ปญั หา

170

ที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่กฎหมายมีผลใช้บังคับแล้ว คือประเทศไทยมีการเปิดเสรีให้ใช้กัญชาทาง
การแพทย์เป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทาให้ไม่มีกัญชาในปริมาณที่เพียงพอ
สาหรับรักษาผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้กัญชาเพื่อการรักษาโรคต้องไปหากัญชามาจากแหล่งท่ีไม่
อาจเปิดเผยได้ หรือตลาดมดื ท าให้เกดิ ความสบั สนแยกไม่ออกระหว่างพวกธุรกิจที่ถูกและผิดกฎหมาย
พวกที่เสพเพื่อนันทนาการสนุกสนาน หรือผู้ป่วยที่มีความจาเป็นต้องใช้ในการรักษา ซ่ึงสานักงาน
ปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติด (ป.ป.ส.) จะด านเ ินการปราบปรามกท็ าได้ไม่ค่อยถนดั นัก เพราะเป็น
เร่ืองของจริยธรรม มนุษยธรรม และยากที่จะแยกแยะออกได้ว่าบุคคลใดเป็นผู้เสพ บุคคลใดเป็นผู้
ครอบครอง และบุคคลใดเป็นผู้จาหน่ายได้ มีระบบกากับควบคุมส่งออก ขายส่ง กัญชาและยาท่ีผลิต
จากกัญชา ที่ผลิตภัณฑ์ยา ท่ีมีประสิทธิภาพ จึงเป็นสิ่งท่ีรัฐต้องดาเนินการให้ชัดเจน เข้มงวด กวดขัน
และท่ัวถึง ให้มีประสิทธิภาพโดยทาให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงการใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้จริง และ
ต้องแยกแยะผู้ป่วยกับผู้ที่แอบแฝงเป็นผู้ป่วยให้ได้ เม่ือถึงจุดน้ันการป้องกันและปราบปรามยาเสพตดิ
กจ็ ะสามารถท าได้อยา่ งประสบผลส าเร็จ

การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้

กกกกกกก1. ก าหนดประดเ น็ ศกึ ษาค้นควา้ รว่ มกัน
กกกกกกก2. ศกึ ษาคน้ คว้าจากส่อื ท่หี ลากหลาย
กกกกกกก3. บันทกึ ผลการศึกษาคน้ ควา้ ทไ่ี ดล้ งในเอกสารการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (กรต.)
กกกกกกก4. พบกลุ่ม
กกกกกกก5. อภิปราย คดิ แลกเปลี่ยนเรียนรขู้ ้อมลู ทไี่ ด้
กกกกกกก6. คดิ สรุปการเรียนรูท้ ่ีไดใ้ หม่รว่ มกนั บันทึกลงในเอกสารการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.)
กกกกกกก7. น าข้อสรปุ การเรียนรูท้ ่ไี ด้ใหม่มาฝึกปฏิบตั ดิ ้วยการท าแบบฝึกหัด กิจกรรมตามที่
มอบหมาย
กกกกกก 8. น าเสนอผลการศึกษาแก่เพอ่ื นผเู้ รียน และครูผ้สู อน
กกกกกกก9. บนั ทึกผลการเรียนรู้ทีไ่ ด้จากการฝึกปฏิบตั ลิ งในเอกสารการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.)

สอื่ และแหล่งเรียนรู้

กกกกกกก1. ส่อื เอกสาร ได้แก่
กกกกกกกกก 1.1 ใบความรู้ท่ี 4 กฎหมายทเี่ กยี่ วข้องกบั กัญชาและกญั ชง
กกกกกกกกก 1.2 ใบงานท่ี 4 กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับกญั ชาและกัญชง

171

กกกกกกกกก 1.3 หนังสือเรียนสาระทกั ษะการด าเนินชวี ิต รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชง
ศึกษา เพ่ือใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ส านักงานส่งเสริมการศกึ ษานอก
ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยกรุงเทพมหานคร
กกกกกกกกก 1.4 หนงั สือที่เกี่ยวข้องกกกกกกกกก 1.4 หนังสือที่เกยี่ วข้อง
กกกกกกกกกกกกก1.4.1 ชอ่ื หนงั สอื กัญชาสุดยอดยาวเิ ศษ ชื่อผู้แต่ง บริษทั ไซเบอรบ์ ุคส์ แอนด์
ปริน้ ท์ จ ากดั บริษทั อเ กพิมพ์ไท จ ากดั ไมร่ ะบโุ รงพิมพ์ ไมร่ ะบุปีท่ีพมิ พ์
กกกกกกกกกกกกก1.4.2 ช่ือหนงั สอื กัญชายาวิเศษ ชื่อผู้แต่ง สมยศ ศุภกิจไพบลู ย์ โรงพิมพ์
ส านกั พมิ พป์ ัญญาชน ปีทีพ่ ิมพ์ 2562กกกกกก กกกกกกก
กกกกกกก2. สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกส์ ได้แก่
กกกกกกกกก 2.1 เวบ็ ไซด์ ได้แก่
กกกกกกกกกกกกก2.1.1 ชื่อบทความ สทิ ธิบัตรกับกัญชา ชื่อผ้เู ขยี น ดร.รจุ ิระ สบื คน้ จาก
martbunnag.com/artide/607/ กกกกกกกกกกกก
กกกกกกกกกกกกก2.1.2 ชอ่ื บทความ เจาะลึกระบบสขุ ภาพ ปลดล็อกใชป้ ระโยชน์จากสาระส าคัญ
ใน “กัญชา – กัญชง” ได้ ยกเว้นไม่เป็นยาเสพติด สืบค้นจาก https://www.hfocus.org
กกกกกกกกกกกกก2.1.3 ช่อื บทความ กัญชาทางการแพทย์ ชอื่ ผเู้ ขียน แพทยสภา สืบค้นจาก
tmc.ot.th/cannabis.php

กกกกกกกกกกกกก2.1.5 ชื่อบทความ กฎหมายเกี่ยวกบั กัญชา ชื่อผู้เขียน จฬุ าพฒั น์ ช่างเกตุ
สืบคน้ จาก https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.
php?nid=2247

กกกกกกกกกกกกก2.1.6 ชือ่ บทความ กญั ชา : กฎหมายยาเสพตดิ อันเป็นอุปสรรคต่อการพฒั นา
กัญชาการแพทย์ ชือ่ ผู้เขียน พีรพจน์ ป่นิ ทองดี สบื คน้ จาก https://www.tci-thaijo.org/
กกกกกกกกกกกกก2.1.7 ช่ือบทความ กฎหมายเกย่ี วกบั กัญชา ช่ือผู้เขียน ส านกั งานคณะกรรมการ

ปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ สืบคน้ จาก https://media.oncb.go.th/index.php/th/23-

2018-02-20-07-04-07/2018-02-20-07-05-01/64-content5-21-5-61-1

กกกกกกกกกกกกก2.1.8 ชอ่ื บทความ พระราชบัญญตั ิวตั ถุที่ออกฤทธิต์ อ่ จติ และประสาท พ.ศ. 2559
ช่อื ผู้เขยี น กองควบคุมวัตถเุ สพติด ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา สบื ค้นจาก
http://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics/SitePages/Psychotropic.aspx

กกกกกกกกกกกก 2.1.9 ชื่อบทความ กฎหมายส าคัญ/กฎหมายออกใหม่ ชอ่ื ผเู้ ขียน กองควบคมุ วตั ถุ
เสพติด ส านกั งานคณะกรรมการอาหารและยา สบื คน้ จาก http://www.fda.moph.go.th/sites/
Narcotics /SitePages/AllNewlaw.aspx#

172

กกกกกกกกกกก 2.1.10 ชอ่ื บทความ กฎหมายทรพั ย์สินทางปัญญาไทย ชื่อผเู้ ขยี น กรมทรัพย์ทาง
ปัญญา สบื คน้ จาก https://www.ipthailand.go.th/th/dip-law-2/category/acts.html
กกกกกกก3. ส่อื แหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชน
กกกกกกกกก 3.1 หอ้ งสมดุ ประชาชนเฉลิมราชกมุ ารี เขตตล่ิงชนั ซอยโชคสมบตั ิ ถนนพทุ ธมณฑล
สาย 1 แขวงบางระมาด เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร 10170 โทรศัพท์ 02 448 6028
กกกกกกกกก 3.2 ห้องสมุดเพื่อการเรยี นรวู้ ดั ราชโอรสาราม ที่ตงั้ 712/33 ซอยเอกชยั 2
ถนนเอกชยั แขวงบางขุนเทยี น เขตจอมทอง กรงุ เทพมหานคร 10150 โทรศพั ท์ 02 416 0816
กกกกกกกกก 3.3 กระทรวงสาธารณสุข ได้แก่
กกกกกกกกก กกก3.3.1 สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ที่อยู่ 88/24
ถนนตวิ านนท์ ต าบลตลาดขวญั จงั หวัดนนทบรุ ี 11100 โทรศัพท์ 02 590 7000
กกกกกกกกก กกก3.3.2 ส านกั งานเลขาธิการแพทยสภา ทีอ่ ยู่ ส านกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ
กระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ ต าบลตลาดขวญั จังหวดั นนทบุรี 11100
กกกกกกกกก กกก3.3.3 องคก์ ารเภสชั กรรม กระทรวงสาธารณสขุ ทอ่ี ยู่ 75/1 ถนนพระราม 6
แขวงทงุ่ พญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ 02 203 8000
กกกกกกกกก กกก3.3.4 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ท่ี 88/23 หมู่ 4
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข ต าบลตลาดขวัญ
จงั หวดั นนทบรุ ี 11100 โทรศัพท์ 02 591 7007
กกกกกกกกก 3.4 ส านกั งานปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพตดิ (ป.ป.ส.) กระทรวงยตุ ธิ รรม
ทีอ่ ยู่ 213 ซอยวิภาวดี 25 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักส่ี กรุงเทพมหานคร 10210
โทรศัพท์ 098 985 2262
กกกกกกกกก 3.5 แหล่งเรียนรู้ใกลบ้ ้านผเู้ รยี น

การวดั และประเมินผล

กกกกกกก1. ประเมนิ ความก้าวหน้า ด้วยวธิ กี าร
กกกกกกกกก 1.1 การสังเกต
กกกกกกกกก 1.2 การซกั ถาม ตอบค าถาม
กกกกกกกกก 1.3 การตรวจเอกสารการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (กรต.)
กกกกกกก2. ประเมินผลรวม ด้วยวธิ กี าร
กกกกกกกกก 2.1 ตอบแบบทดสอบวดั ความรู้ หวั เร่ืองท่ี 4 กฎหมายทเี่ ก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง
จ านวน 5 ข้อ

173

กกกกกกกกก 2.2 ตอบแบบสอบถามวดั ทักษะการแสวงหาความรู้ และทักษะการคดิ วิเคราะห์
กกกกกกกกก 2.3 ตอบแบบสอบถามวัดเจตคติ กกกกกกก4

174

หัวเร่ืองที่ 5

กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

สาระสาคัญ

กกกกกกก1.ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาเปน็ ยาทางการแพทย์ในตา่ งประเทศ
กกกกกกก1. ในต่างประเทศ พบหลักฐานบันทึกไวว้ ่า มีการใช้กัญชาเป็นยารักษา หรือควบคุมอาการของ
โรคต่าง ๆ ในทวีปยุโรป ได้แก่ โปรตุเกส สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ในทวีปเอเชีย ได้แก่ ประเทศจีน อินเดีย
และอิหรา่ น มาอย่างชา้ นาน ในบางประเทศมหี ลกั ฐานวา่ เคยมีการใชก้ ัญชามานานกว่า 4,700 ปี
กกกกกกก2. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาในการแพทย์ทางเลือกของไทย
กกกกกกก1. ในประเทศไทยมีหลักฐานการใช้กัญชาในการรักษา หรือควบคุมอาการของโรคต่าง ๆ
ต้ังแต่สมัยอยุธยาตอนปลาย สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ สมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยมีการรวบรวมไว้เป็นตารายาหลายเล่ม และสูตรยา
หลายขนาน เช่น ตาราพระโอสถพระนารายณ์ ตาราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ พระคัมภีร์ปฐมจินดา
พระคัมภีร์มหาโชตรัต พระคัมภีร์ชวดาร และพระคัมภีร์กษัย เป็นต้น มีการระบุตารับยาที่ใช้กัญชา
หรอื มกี ัญชาเปน็ สว่ นประกอบท่ีใชใ้ นการรกั ษา นับแต่ในอดีตสืบเนือ่ งกันมา
กกกกกกก3. ตารับยาที่มีกัญชาเป็นส่วนประกอบที่ได้มีการคัดเลือก และรับรองโดยกระทรวง
สาธารณสุขในปัจจุบนั พ.ศ. 2562ประกาศใชท้ ั้งหมด 16 ตารับ ได้แก่(1) ยาอัคคินวี คณะ (2) ยาศุขไสยาศน์(3)
ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย (4) ยาน้ามันสนั่นไตรภพ(5) ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง (6) ยาไฟอาวุธ(7) ยาแก้นอนไม่
หลับหรือยาแก้ไข้ผอมเหลือง (8) ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง(9) ยาอัมฤตย์โอสถ (10) ยาอไภยสาลี(11) ยา
แก้ลมแก้เส้น(12) ยาแก้โรคจิต (13) ยาไพสาลี(14) ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนัง(15) ยา
ทาลายพระสุเมรุและ (16) ยาทพั ยาธคิ ุณ
กกกกกกก4.ภูมิภเู บศรรวบรวมและเผยแพรภ่ มู ิปัญญาไทย
กกกกกกก4.ภมู ิภเู บศรศนู ย์การเรียนร้สู มนุ ไพรครบวงจร ภายใตแ้ นวคิดการพึ่งพาตนเอง เกี่ยวกับการ
ดูแลสุขภาพด้วยสมุนไพร ประกอบด้วย (1) เรือนหมอพลอย (2) สวนสมุนไพรภูมิภูเบศร และ (3)
อภัยภเู บศรโมเดล
กกกกกกก5.ภูมปิ ัญญาหมอพืน้ บา้ นนายเดชา ศิริภทั ร
กกกกกกก4.นายเดชา ศิริภัทร หมอพ้ืนบ้าน ประธานมูลนิธิข้าวขวัญ เป็นผู้ท่ีได้นากัญชามารักษา
โรคตามตารับยาพ้ืนบ้านไทยจากกระแสความนิยมท่ีมาจากตะวันตก ได้เริ่มทดลองใช้กัญชารักษา
ตัวเอง โดยนาความรู้พ้ืนฐานในการสกัดที่เผยแพร่โดย ริค ซิมป์สัน (Rick Simpson)ชาวอเมริกันที่
ป่วยเป็นโรคมะเร็งแล้วสกัดกัญชารักษาโรคมะเร็งที่ตัวเองเป็นมาผสมผสานกับความรู้พ้ืนบ้าน เป็น

175

นา้ มันเดชา (Decha Oil) นามาใช้กับตนเองในการช่วยให้นอนหลับไดล้ ึกขึ้น หลงลืมง่าย และต้อเนื้อในตา
ในช่วง 4-5 ปี ท่ีผ่านมา จึงขยายผลเผยแพร่ ทายาแจกให้ผู้ป่วยโรคต่าง ๆ โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เป็น
จานวนมากกว่า 4,000 ราย ปัจจุบัน น้ามันเดชาได้รับการรับรองให้เป็นตารับยาพ้ืนบ้าน ของกระทรวง
สาธารณสุข ซึ่งหมอพื้นบ้านผู้เป็นเจ้าของตารับยาสามารถจ่ายให้กับผู้ป่วยของตนเองได้ และกระทรวง
สาธารณสุขอยู่ระหว่างทาการวิจัยเพ่ือวิจัยพิสูจน์ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสูตรการรักษา
ดังกล่าว

ตัวชี้วดั

กกกกกกก1.บอกประวตั ิความเป็นมาการใช้กญั ชาเป็นยาทางการแพทย์ในต่างประเทศได้
กกกกกกก2. บอกประวตั คิ วามเปน็ มาการใช้กัญชาในการแพทย์ทางเลอื กของไทยได้
กกกกกกก3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ และหลักการในตารับยาท่มี ีกญั ชาเป็นสว่ นประกอบทีไ่ ด้มีการ
คดั เลือกและรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุขตามกรณีศึกษา ทีก่ าหนดให้ได้
กกกกกกก4. อธิบายการนาตารับยาทม่ี ีกัญชาเปน็ สว่ นประกอบที่ได้มีการคัดเลอื กและรับรองโดย
กระทรวงสาธารณสุขไปใชใ้ นโรคทสี่ นใจศึกษาได้
กกกกกกก5. ตระหนักถงึ คณุ คา่ ของตารับยาท่ีมีกัญชาเปน็ สว่ นประกอบ
กกกกกกก6. อธบิ ายขอ้ มูลที่เกย่ี วข้องกับภมู ิภูเบศรรวบรวมและเผยแพรภ่ ูมปิ ญั ญาไทยได้
กกกกกกก7.บอกขอ้ มูลทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ภูมปิ ัญญาหมอพ้นื บ้านนายเดชา ศริ ิภทั ร ได้
กกกกกกก8.ตระหนกั ถึงคุณค่า ความสาคัญ ของภมู ิปัญญาภมู ิภเู บศรรวบรวมและเผยแพรภ่ ูมิปัญญา
ไทยและตระหนักถงึ ภูมิปัญญาหมอพน้ื บ้านนายเดชา ศริ ิภัทร กับการใช้กญั ชาเปน็ ยา

ขอบขา่ ยเน้อื หา

กกกกกกก1.ประวตั ิความเปน็ มาการใช้กัญชาเป็นยาทางการแพทย์ในตา่ งประเทศ
กกกกกกก2. ประวัติความเป็นมาการใช้กัญชาในการแพทย์ทางเลือกของไทย
กกกกกกก3. ตารับยาที่มีกัญชาเปน็ ส่วนประกอบทไี่ ด้มีการคดั เลอื ก และมีการรบั รองโดยกระทรวง
สาธารณสขุ

3.1 ยาอัคคินวี คณะ
3.2ยาศุขไสยาศน์
3.3 ยาแก้ลมเนาวนารวี าโย
3.4ยานา้ มันสนน่ั ไตรภพ
3.5ยาแกล้ มข้นึ เบ้อื งสงู


Click to View FlipBook Version