The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 023phatcharee, 2022-03-05 06:26:25

Portfolio

Portfolio

P RT

FLIO

Miss. Phatcharee
Singdet

นางสาวพัชรี สิงห์เดช สาขาการศึกษาปฐมวัย
รหัสนักศึกษา
63111562023

คำนำ

รายวิชาการฝึ กปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2 นี้มีจุดมุ่งหมายให้นักศึกษาได้
สามารถมีโอกาสเข้าไปศึกษาเรียนรู้ คุณลักษณะของครูที่แสดงออกถึง ความรัก
และศรัทธาในวิชาชีพครู การปฏิบัติตนของครูที่สะท้อนถึงการมีจิตวิญญาณ
ความเป็ นครู การมีจรรยาบรรณต่อตนเองและวิชาชีพ ในสถานศึกษาจริง ดังนี้
1. ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ การดำเนินงานเกี่ยวกับการ
ประกันคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องกับสถานศึกษาแต่ละระดับ
2. ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ในการวางแผนออกแบบเนื้อหาสาระและกิจกรรมการจัด
การเรียนรู้ สื่อและเทคโนโลยี การวัดและประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ในรายวิชาเฉพาะด้าน
3. เข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปั ญญา
ท้องถิ่นของสถานศึกษา
4. นำผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับ (AAR) เป็ นราย
บุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC)

หวังอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้คงเป็ นประโยชน์แล้เป็ นข้อมูลสำหรับผู้อ่าน
ในการให้ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาโครงกานฝึ กสังเกตประสบการณ์
การเรียนการสอนต่อไป หากมีข้อผิดพลาดประการใด ข้าพเจ้าขอน้อมรับคำ
แนะนำมา ณ โอกาสนี้

สารบัญ

ข้อมูลสถานศึกษา

การเรียนรู้และปฏิบัติ
หน้าที่ผู้ช่วยครูร่วมกับครู
พี่เลี้ยง

รายงานผลการเข้าร่วม
โครงการที่เกี่ยวกับส่งเสริม
อนุรักษ์วัฒนธรรมและ
ภูมิปั ญญาท้องถิ่น

สะท้อนคิดและประยุกต์ใช้

ที่อยู่ - ช่องทางติดต่อ Profile
672 / 3 ม.7 ต.ท่าตะโก
อ.ท่าตะโก จ.นครสวรรค์ ชั้นปี ที่ 2 ห้อง 1
Phatcharee Singdet
ID: earn_1644 ประวัติส่วนตัว
ชื่อ-สกุล: นางสาวพัชรี สิงห์เดช
ประวัติการศึกษา ชื่อเล่น: เอิร์น
ระดับอนุบาล 1-3 อายุ: 20 ปี
วัน เดือน ปี เกิด: 16 วิงหาคม 2544
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กท่าตะโก ภูมิลำเนาเดิม: บ้านเลขที่ 70 ม.8
ระดับชั้นประถมศึกษา
บ้านโนนศิลา ต.ท่าใหญ่ อ.หนองบัวแดง
โรงเรียนอนุบาลท่าตะโก จ.ชัยภูมิ
ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปั จจุบันกำลังศึกษา: คณะครุศาสตร์
โรงเรียนท่าตะโกพิทยาคม สาขาการศึกษาปฐมวัย
ระดับอุดมศึกษา (ปั จจุบัน) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
มีพี่น้องร่วมบิดา-มารดา: 1 คน
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

ทักษะความสามารถพิเศษ คติประจำใจ
อย่าพึ่งท้อ ขอให้ลงมือทำก่อน
Microsoft Word
Microsoft PowerPoint
Canva

ตอนที่
1

ข้อมูลสถาน

ศึกษา

ก.ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
1. ชื่อโรงเรียน อนุบาลท่าตะโก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์เขต 3
ที่ตั้งเลขที่ 500/2 ตำบลท่าตะโก อำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์

รหัสไปรษณีย์ 60160 โทรศัพท์ 0-5624-9386

E-mail: [email protected]

2. ปรัชญาของโรงเรียน มีวินัย ใฝ่ กีฬา หาประสบการณ์ ต่อต้าน

อบายมุข

3. วิสัยทัศน์ของโรงเรียน

มุ่งสู่ระบบมาตรฐาน วิชาการก้าวหน้า

สิ่งแวดล้อมงามตา รักษาวัฒนธรรมไทย

ประสานใจชุมชน ทุกคนมีสุขภาพดี

4.พันธกิจของโรงเรียน

โรงเรียนอนุบาลท่าตะโก ให้บริการทางการศึกษารวมทั้งดูแลสุขภาพ
อนามัยรักษาสิ่งแวดล้อม สร้างเสริมคุณธรรมที่ดีงาม ปลูกฝั งความรัก

ชาติการเสียสละและการตอบแทนบุญคุณแผ่นดินไทย บริหารงาน

โปร่งใส รวมใจสะสางงานต่อต้านอบายมุข ล้ำเลิศทางวิชาการด้วย
เทคโนโลยีที่ทันสมัย เน้นการสอนคนไม่ใช่การสอนหนังสือ เพื่อให้

นักเรียนเป็ นคนดีเก่ง มีความสุขและมีวิถีชีวิตพอเพียง

ข้อมูลสถาน

ศึกษา

5.ยุทธศาสตร์ของโรงเรียน
1. พัฒนาคุณภาพนักเรียน
2. พัฒนาผู้บริหารและบุคลากร
3. พัฒนาสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา
4. จัดหาและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
5. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน

6. อัตลักษณ์ของโรงเรียน สุขภาพกาย - ใจดี มีจิตสาธารณะ
7. ข้อมูลบุคลากร
1. ผู้บริหารและรองผู้บริหาร จำนวน 3 คน ชาย 3 คน หญิง 0 คน
2. ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 42 คน ชาย 9 คน
หญิง 33 คน แยกตามวุฒิการศึกษา ดังนี้

ปริญญาเอก จำนวน 1 คน
ปริญญาโท จำนวน 8 คน
ปริญญาตรี จำนวน 33 คน
ภารโรงและพนักงานจ้างตามภารกิจ จำนวน 7 คน

ข้อมูลสถาน
ศึกษา

8.ข้อมูลนักเรียน

นักเรียนทั้งหมด จำนวน 919 คน ชาย 450 คน หญิง 469 คน

ชั้นอนุบาล 2 จำนวน 87 คน

ชั้นอนุบาล 3 จำนวน 89 คน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1 จำนวน 136 คน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2 จำนวน 137 คน

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 จำนวน 107 คน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 จำนวน 128 คน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5 จำนวน 121 คน

ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จำนวน 114 คน

9.ประวัติโรงเรียน (โดยสังเขป)
โรงเรียนอนุบาลท่าตะโกตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2464 โดยหลวงศรี

สิทธิรักษ์ นายอำเภอท่าตะโก ได้รับความร่วมมือจากพ่อค้า ประชาชน
และข้าราชการ สร้างอาคารเรียนชั้นเดียว หลังคามุงด้วยแฝก

ตั้งอยู่ริมคลองท่าตะโก ดำรงอยู่ด้วยเงินรายได้ที่พ่อค้า ประชาชนบริจาค

ให้เป็ นเงินเดือนครู จัดการสอนแบบสหศึกษาปี พ.ศ.2465 ได้
เปลี่ยนแปลงเป็ นโรงเรียนประชาบาล โดยนายอำเภอจัดตั้งอยู่ด้วยเงิน

ศึกษาพลี

ข้อมูลสถาน

ศึกษา

ปี พ.ศ.2469 ได้ย้ายจากสถานที่เดิมไปเปิ ดทำการสอนที่วัด
ท่าตะโก เพราะอาคารชำรุดมาก

ปี พ.ศ.2473 ขุนอนุกูลประชากร ( วงค์พยัฆวิเชียร ) นายอำเภอ
ท่าตะโกได้ขอความร่วมมือจากประชาชน
ในตำบลนี้ จัดปลูกสร้างโรงเรียนเอกเทศทรงปั้ นหยา 2 ชั้น มีมุขกลาง
สิ้นค่าก่อสร้าง 8,200 บาท และเปิ ดสอนที่อาคารหลังนี้ เมื่อวันที่ 16
สิงหาคม 2474โดยย้ายเด็กที่เรียนอยู่ที่ศาลาวัดท่าตะโก และมีโรงเรียน
วัดเขาน้อย โรงเรียนวัดดอนคามาเรียนรวมกันด้วยวันที่ 22 พฤษภาคม
พ.ศ. 2499 นายถวิลแก้วอินทร์ ศึกษาธิการอำเภอท่าตะโก เห็นว่า
โรงเรียนบ้านท่าตะโก(ท่าตะโกพิทยาคาร) กับโรงเรียนท่าตะโก(ฝ่ าย
มัธยม) ควรจะเป็ นโรงเรียนเดียวกันจึงเสนอเรื่องไป พิจารณาและได้รับ
ความเห็นชอบให้รวมกันได้โดยให้ครูใหญ่โรงเรียนท่าตะโก เป็ นผู้รับผิด
ชอบเพียงผู้เดียว ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2499 เป็ นต้นไป
เรียกว่า โรงเรียนบ้านท่าตะโกวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2503 นายวินัย
มั่นยุติธรรม ศึกษาธิการอำเภอท่าตะโก

ข้อมูลสถาน
ศึกษา

ได้ขอแยกโรงเรียนกับโรงเรียนท่าตะโกออกจากกันเพื่อความ
เหมาะสมบางประการทางราชการพิจารณาแล้วอนุมัติให้แยกจากกัน
ได้ตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2503เรียกว่า โรงเรียนบ้านท่าตะโก
วันที่ 27มิถุนายน พ.ศ. 2520 นายอำเภอได้สั่งให้ทางโรงเรียนบ้าน
ท่าตะโก และโรงเรียนท่าตะโก รวมเป็ นโรงเรียนเดียวกัน ตามคำสั่งของ
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ให้ครูใหญ่โรงเรียนบ้านท่าตะโก
(ท่าตะโก พิทยาคาร) เป็ นผู้รับผิดชอบทั้งหมด และให้เรียกชื่อโรงเรียน
ว่า “โรงเรียนบ้านท่าตะโก”

ข้อมูลหลักสูตร

สถานศึกษา

1. ชื่อหลักสูตรสถานศึกษา : หลักสูตรโรงเรียนอนุบาลท่าตะโก
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พุทธศักราช 2561) ให้สอดคล้องกับ ASEAN Curriculum
Sourcebook และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
บูรณาการ

2. วิสัยทัศน์หลักสูตร : หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็ นกำลังของชาติให้เป็ นมนุษย์ที่มีความ
สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรมมีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมือง
ไทยและเป็ นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอัน
มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง
เจตคติ ที่จำเป็ นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอด
ชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

ข้อมูลหลักสูตร

สถานศึกษา

หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหลักการที่สำคัญ ดังนี้
1.เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและ
มาตรฐานการเรียนรู้ เป็ นเป้ าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มี
ความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรม บนพื้นฐานของความเป็ นไทยควบคู่
กับความเป็ นสากล
2.เป็ นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับ
การศึกษาอย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ
3.เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วม
ในการจัดการศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของ
ท้องถิ่น
4. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้
เวลาและการจัดการเรียนรู้
5.เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
6. เป็ นหลักสูตรการศึกษาที่สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และ
ประสบการณ์

ข้อมูลหลักสูตร

สถานศึกษา

จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็ นคนดี
มีปั ญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ จึงกำหนดเป็ นจุดหมาย
เพื่อให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาระดับประถมศึกษาดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง
มีวินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ความสามารถในการสื่อสารการคิดการแก้ปั ญหาการใช้
เทคโนโลยีและมีทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลกยึดมั่น
ในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
5.มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปั ญญาไทย การอนุรักษ์
และพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดี
งามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

ข้อมูลหลักสูตร

สถานศึกษา

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์: หลักสูตรโรงเรียนอนุบาล
ท่าตะโก มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถ
อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและ
พลโลก ดังนี้

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่ เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทำงาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

ข้อมูลหลักสูตร

สถานศึกษา

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน: หลักสูตรโรงเรียนอนุบาล
ท่าตะโก มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ
5 ประการ ดังนี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็ นความสามารถในการรับและ
ส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ
ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้ง
การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปั ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับ
หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์
การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมี
วิจารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปั ญหา เป็ นความสามารถในการแก้
ปั ญหาและอุปสรรคต่าง ๆที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐาน
ของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม

ข้อมูลหลักสูตร

สถานศึกษา

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็ นความสามารถในการนำ
กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหา
และความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการ
เลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทาง
เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้
การสื่อสารการทำงาน การแก้ปั ญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง
เหมาะสม และมีคุณธรรม

ข้อมูลหลักสูตร
สถานศึกษา

6. สาระ/ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปี :
มาตรฐานการเรียนรู้

การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการ
ทางสมองและพหุปั ญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานจึง
กำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังนี้

ข้อมูลหลักสูตร

สถานศึกษา

1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพ
8. ภาษาต่างประเทศ
- ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียน
ในแต่ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะ
เจาะจงและมีความเป็ นรูปธรรมนำไปใช้ ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำ
หน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็ นเกณฑ์สำคัญสำหรับการ
วัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ตัวชี้วัดชั้นปี เป็ นเป้ าหมาย
ในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปี ในระดับการศึกษาภาคบังคับ (ป. 1 –ม.3)
สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ทักษะหรือกระบวนการเรียน
รู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ซึ่งกำหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการ
ศึกษาขั้นพื้นฐานจำเป็ นต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็ น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ดังนี้

ข้อมูลหลักสูตร

สถานศึกษา

องค์ความรู้ ทักษะสำคัญและคุณลักษณะในหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพื้นฐาน

ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะและวัฒนธรรมการใช้ภาษา เพื่อการ
สื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคุณค่าภูมิปั ญญา ไทย และภูมิใจในภาษา
ประจำชาติ

คณิตศาสตร์ : การนำความรู้ทักษะและกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปั ญหา การดำเนินชีวิต และศึกษาต่อ การมี
เหตุมีผล มีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ พัฒนาการ

วิทยาศาสตร์ : การนำความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไป
ใช้ในการศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ แลแก้ปั ญหาอย่างเป็ นระบบ การคิด
อย่างเป็ นเหตุเป็ นผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์

ภาษาต่างประเทศ : ความรู้ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม การใช้
ภาษา ต่างประเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ และ การประกอบ
อาชีพ

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม : การอยู่ร่วมกันในสังคมไทย
และสังคมโลกอย่างสันติสุข
การเป็ นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ความรักชาติ และภูมิใจในความเป็ นไทย

การงานอาชีพ: ความรู้ ทักษะ และเจตคติในการทำงาน การจัดการ
การดำรงชีวิต การประกอบอาชีพและการใช้เทคโนโลยี

ข้อมูลหลักสูตร
สถานศึกษา

ศิลปะ : ความรู้และทักษะในการคิดริเริ่ม จินตนาการ สร้างสรรค์
งานศิลปะ สุนทรียภาพและการเห็นคุณค่าทางศิลปะ

สุขศึกษาและพลศึกษา : ความรู้ ทักษะและเจตคติในการสร้าง
เสริมสุขภาพพลานามัยของตนเองและผู้อื่น การป้ องกันและปฏิบัติต่อสิ่ง
ต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพอย่างถูกวิธีและทักษะในการดำเนินชีวิต

การมีส่วนร่วมใน
การจัดบรรยากาศ

ชั้นเรียน

การจัดพื้นที่ให้นักเรียน โดยมี
การเว้นระยะห่างระหว่าง
บุคคล

การจัดโต๊ะทำงานครู

การจัดตกแต่งห้องเรียน

การมีส่วนร่วมใน
การจัดบรรยากาศ

ชั้นเรียน

ป้ ายนิเทศน์ภายในห้องเรียน

มุมศิลปะ

มุมผลงานนักเรียน

อาคารเรียน และอาคาร
ประกอบการอื่น ๆ

อาคารสหัสนัยน์

อาคารศรีพิรุณ

อาคารไตรศุลี

อาคารล้อพูลศรี

อาคารเรียน และอาคาร
ประกอบการอื่น ๆ

อาคารภานุมาศ

อาคารณัฐญา

อาคารพยาบาล

อาคารปรเมษฐ์

อาคารเรียน และอาคาร
ประกอบการอื่น ๆ

อาคารสหกรณ์

อาคารแปดเหลี่ยม

อาคารสระว่ายน้ำ

อาคารโดมเอนกประสงค์

อาคารเรียน และอาคาร
ประกอบการอื่น ๆ

อาคารศูนย์เรียน LD

อาคารห้องสมุด

อาคารเรียนคอมพิวเตอร์

อาคารโรงอาหาร

ตอนที่
2

การศึกษาและเรียนรู้
บทบาทหน้าที่ครูพี่เลี้ยง

การเล่านิทานให้เด็ก
นักเรียนฟั ง

การแสดงออกถึงความเป็ น
ประชาธิปไตย

ช่วงพักรับประทานอาหาร
กลางวัน

การมอบของขวัญให้แก่
นักเรียนเพื่อให้นักเรียนไว้ใจ

ครูมากขึ้น

การศึกษาและเรียนรู้
บทบาทหน้าที่ครูพี่เลี้ยง

ภาพการทำกิจกรรมปั้ นดิน
น้ำมันกับเด็ก

ภาพกิจกรรมวันตรุษจีน

การมีส่วนร่วมในการจัด
บรรยากาศชั้นเรียน

พื้นที่ในการนั่งเรียน

โต๊ะทำงานครู

ภาพมุมบ้าน

ป้ ายนิเทศน์

การมีส่วนร่วมในการจัด
บรรยากาศชั้นเรียน

มุมศิลปะ

มุมผลงานนักเรียน

มุมกระเป๋ า

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 17 วันที่ 13 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ วันสำคัญ หน่วย วันครู วันเด็ก เรื่อง วันครู
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
สาระสำคัญ

การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่างอิสระเพื่อพัฒนา
กล้ามเนื้อมัดเล็ก-ใหญ่และพัฒนาทักษะในการฟั งจังหวะและปฏิบัติ
ตามคำสั่งได้อย่างถูกต้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างมีอิสระ
ม.ฐ. 1 บ.ช 1 (1.1)
2. ส่งเสริมความกล้าแสดงออกและความคิดสร้างสรรค์ ม.ฐ. 1 บ.ช
4 (4.4)
3. พัฒนาทักษะการฟั งจังหวะ ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.1)
4. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายตามคำสั่ง ม.ฐ. 1 บ.ช 5 (5.1)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้
2. การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง
3. การฟั งจังหวะ ช้า เร็ว หยุด
2. ประสบการณ์สำคัญ
1. มีทักษะในการเคลื่อนไหว
2. การเริ่มต้นและการหยุดเคลื่อนไหวโดยการใช้สัญญาณ
3. การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปรอบ ๆ บริเวณห้องตามจังหวะ ช้า เร็ว
หยุด เมื่อได้ยินสัญญาณเคาะ 2 ครั้ง ให้หยุดทันที
2. เด็กฟั งข้อตกลงในการเคลื่อนไหวตามคำบรรยายโดยให้เด็ก ๆ
ฟั งคำบรรยายจากครู เช่น เด็กมาโรงเรียนพบครูประจำชั้นและ
นักศึกษาฝึ กสอนเด็กทำความเคารพ เดินผ่านห้องเรียนที่ใกล้กับ
ห้องของตนเองก็สามารถทำความเคารพครูและเดินเข้าห้องตนเอง
ได้ นำรองเท้าวางในชั้นของห้องตนเอง สางกระเป๋ าในชั้นของ
ตนเองเสร็จแล้วไปนั่งเล่นกับเพื่อน ๆ ได้
3. เด็กปฏิบัติซ้ำอีก
4. เมื่อเล่นเสร็จแล้วให้เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดยการนั่งเหยียดขา
ไปข้างหน้าตรง ๆ แล้วใช้มือบีบ
สื่อการสอน

เครื่องดนตรีเคาะจังหวะ
การประเมินผลการเรียนรู้
1. สังเกตการร่วมกิจกรรม
2. สังเกตการฟั งและการเคลื่อนไหวร่างกายตามคำบรรยาย
เกณฑ์การประเมิน

1. เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ ร้อยละ 80
2. เด็กมีความกล้าแสดงออกและความคิดสร้างสรรค์
ร้อยละ 80
3. เด็กมีทักษะในการฟั งจังหวะ ร้อยละ 80
4. เด็กเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย ร้อยละ 80

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 17 วันที่ 13 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ วันสำคัญ หน่วย วันครู วันเด็ก เรื่อง วันครู
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
สาระสำคัญ

1. สิ่งที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
2. ครูเป็ นผู้อบรมสั่งสอนศิษย์ให้เป็ นคนดี
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้เด็กรู้ความสำคัญของวันครู ม.ฐ. 1 บ.ช 5 (5.1)
2. เพื่อให้เด็กฝึ กพูดความรู้สึกที่มีต่อครู ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.3)
3. เพื่อให้เด็กตอบว่าวันครูตรงกับวันใด ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.3)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้
วันครู คือ วันที่16 มกราคมของทุกปี ครูเป็ นผู้อบรมสั่งสอน
ให้ศิษย์เป็ นคนดีจึงจัดให้มีวันครูขึ้น เพื่อให้ศิษย์ได้แสดงความกตัญญู
กตเวทีต่อครู สิ่งที่นักเรียนควรปฏิบัติต่อครู คือ ตั้งใจเรียน เคาระ
เชื่อฟั งคุณครู
2. ประสบการณ์สำคัญ
1. ปริศนาคำทาย
2. สนทนาและตอบคำถาม
3. ร้องเพลง
4. การใช้ทักษะในการคิดผ่านหมวก
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
เด็กร้องเพลง “สวัสดีคุณครู” พร้อมทำท่าทางประกอบ

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 17 วันที่ 13 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ วันสำคัญ หน่วย วันครู วันเด็ก เรื่อง วันครู
กิจกรรมสร้างสรรค์
สาระสำคัญ

กิจกรรมสร้างสรรค์เป็ นกิจกรรมที่ทำให้เกิดความคิด
จินตนาการ พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กประสานสัมพันธ์ระหว่างมือ
กับตา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. พัฒนาการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
2. ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.4)
3. เด็กรู้จักเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
4. ทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่น ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.2)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

1. การโรยทรายสี
2. การร้อยลูกปั ด
3. การปั้ นดินน้ำมัน
2. ประสบการณ์สำคัญ
1. การวางแผนตัดสินใจและการลงมือปฏิบัติ
2. การชื่นชมและการสร้างสรรค์ผลงานสวยงาม
3. การทำงานร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กแบ่งกลุ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์ ออกเป็ น 2 กลุ่ม
- กลุ่มที่ 1 ทำกิจกรรม โรยทรายสี
- กลุ่มที่ 2 ทำกิจกรรม ร้อยลูกปั ด

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

2. เด็กทำกิจกรรมให้ครบทั้ง 2 ทุกคนโดยการหมุนเวียนกันเสร็จแล้ว
ให้ปั้ นดินน้ำมัน
3.เมื่อเด็กทำกิจกรรมเสร็จนำผลงานมาส่งและช่วยกันเก็บวัสดุ
อุปกรณ์เข้าที่และทำความสะอาดพื้นที่ให้เรียบร้อย
สื่อการสอน

1. กระดาษ A4
2. ทรายสี
3. ลูกปั ด
4. ดินน้ำมัน
5. กาว
6. ไหมพรม
การประเมินผลการเรียนรู้
1. สังเกตการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์
2. สังเกตความรับผิดชอบในการทำงาน
เกณฑ์การประเมิน
1. เด็กใช้กล้ามเนื้อเล็กได้อย่างดีและประสานสัมพันธ์ระหว่าง
มือกับตา ร้อยละ 85
2. เด็กสร้างสรรค์ผลงานที่หลากหลาย และแตกต่าง ตาม
จินตนาการของตนเอง ร้อยละ 85
3. เด็ก ๆ เก็บของเข้าที่หลังจากทำกิจกรรมเสร็จ ร้อยละ 85
4. เด็กรู้จักแบ่งปั นในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ร้อยละ 85

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 17 วันที่ 13 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ วันสำคัญ หน่วย วันครู วันเด็ก เรื่อง วันครู
กิจกรรมเสรี
สาระสำคัญ

การเล่นตามมุมประสบการณ์เป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้เด็กเล่น
อย่างอิสระและความสนใจและความต้องการของเด็กทั้งรายบุคคล
และรายกลุ่ม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองด้วยการเล่นตามมุมต่าง ๆ ม.ฐ. 1
บ.ช 4 (4.2)
2. เด็กสามารถเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.2)
3. เด็กรู้จักการแบ่งปั นและการรอคอย ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
4. เด็กรู้จักการเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

การเล่นเสรีในมุมประสบการณ์ต่าง ๆ ภายในห้องเรียน
เป็ นการเปิ ดโอกาสให้เด็กได้เล่นอย่างอิสระตามความต้องการและ
ความสนใจตามธรรมชาติของเด็ก เช่น มุมบ้าน มุมหนังสือ
มุมบล็อก มุมเกมการศึกษา มุมดนตรี เป็ นต้น
2. ประสบการณ์สำคัญ

1. การเล่นอิสระ
2. การเล่นเป็ นรายบุคคลและเล่นตามมุม
3. การมีโอกาสได้รับรู้ความรู้สึกความสนใจและความต้องการ
ของตนเองและผู้อื่น

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงและแนะนำการเล่นในมุมต่าง ๆ

- เด็กเล่นตามมุมที่ตนเองสนใจ
- มีน้ำใจรู้จักแบ่งปั นและการรอคอย
- เล่นเสร็จแล้วช่วยกันเก็บของเข้าที่
2. เด็กแบ่งกลุ่มกันเล่นตามความสนใจ
3. เด็กเล่นเสร็จแล้วให้ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อยแล้วค่อยทำ
กิจกรรมต่อไป
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
มุมภายในห้อง เช่น มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมบล็อก มุมเกมการ
ศึกษา มุมดนตรี เป็ นต้น
การประเมินผลการเรียนรู้
1. ความสนใจในการร่วมกิจกรรม
2. ความรับผิดชอบในการเล่นแล้วเก็บของเข้าที่
เกณฑ์การประเมิน
1. เด็กมีการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการเล่นตามมุมต่าง ๆ
ร้อยละ 85
2. เด็กสามารถเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ ร้อยละ 85
3. เด็กรู้จักการแบ่งปั นและการรอคอยในการเล่นตามมุมต่าง ๆ
ร้อยละ 85

4. เด็กรู้จักการเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ร้อยละ 85

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 17 วันที่ 13 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ วันสำคัญ หน่วย วันครู วันเด็ก เรื่อง วันครู
กิจกรรมกลางแจ้ง
สาระสำคัญ

กิจกรรมกลางแจ้งเป็ นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้มีโอกาสออกนอก
ห้องเรียนเพื่อออกกำลังกายทำให้ร่างกายแข็งแรง พัฒนากล้ามเนื้อ
ใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก เพื่อให้เกิดความสนุกสนานรู้จักปรับตัวเข้า
กับผู้อื่นรวมทั้งการแก้ปั ญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก – ใหญ่ ม.ฐ. 1 บ.ช 1 (1.1)
2. รู้จักอันตรายที่เกิดจากการเล่น ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.2)
3. เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ม.ฐ. 1 บ.ช 2 (2.2)
4. รู้จักการปฏิบัติตามกฎกติกา ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

1. การเล่นเกมวิ่งเปรี้ยว
2. การเล่นเครื่องเล่นสนาม
2. ประสบการณ์สำคัญ
1. การเล่นอิสระ
2. การเล่นนอกห้อง
3. การเล่นร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กอบอุ่นร่างกายโดยการทำท่ากายบริหาร
2. แนะนำการเล่นเกมวิ่งเปรี้ยว โดยมีขั้นตอนดังนี้

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

- แบ่งเด็กออกกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เข้าแถวตอนลึก
- ตัวแทนวิ่งไปที่เส้นที่ขีดไว้แล้ววิ่งกลับมาแตะมือทีมของตนเอง
- ทีมไหนวิ่งจนสมาชิกหมดก่อนทีมนั้นเป็ นฝ่ ายชนะ

3. เมื่อเล่นเกมวิ่งเปี้ ยว เสร็จแล้วให้เด็ก ๆ เล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกายก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

1. นกหวีด
2. เครื่องเล่นสนาม
การประเมินผลการเรียนรู้
1. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่น
เกณฑ์การประเมิน

1. เด็กออกกำลังกายบริหารกล้ามเนื้อให้แข็งแรงได้ดี
ร้อยละ 85

2. เด็กรู้จักระมัดระวังอันตรายจากการเล่น ร้อยละ 80
3. เด็กเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ร้อยละ 85

4. เด็กรู้จักการปฏิบัติตามกฎ-กติกา ได้อย่างถูกต้อง
ร้อยละ 80

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 17 วันที่ 13 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ วันสำคัญ หน่วย วันครู วันเด็ก เรื่อง วันครู
กิจกรรมเกมการศึกษา
สาระสำคัญ

กิจกรรมเกมการศึกษาเป็ นเกมการเล่นที่ช่วยพัฒนาสติ
ปั ญญามีกฎเกณฑ์ กติกา ช่วยให้เด็กรู้จักการสังเกตคิดหาเหตุผลและ
เกิดความคิดรวบยอด สามารถแก้ไขปั ญหาได้อย่างคล่องแคล่ว และ
เล่นร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เด็กรู้จักการจำแนกและการเปรียบเทียบ ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.1)
2. เด็กรู้จักการแบ่งปั นและการรอคอย ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
3. เด็กสามารถเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.2)
4. เด็กรู้จักการเห็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

1. เกมภาพตัดต่อ
2. เกมลอตโต
2. ประสบการณ์สำคัญ
1. การจำแนกและเปรียบเทียบแก้ปั ญหา
2. การตั้งใจฟั งและทำตามคำแนะนำ
3. การเล่นเกมร่วมกับผู้อื่น
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูแบ่งเด็กนักเรียนออกเป็ น 4 กลุ่ม
2. ครูอธิบายวิธีการเล่นเกมภาพตัดต่อและเกมลอตโต

แผนการจัดประสบการณ์
การเรียนรู้

3. เด็กเล่นเกมภาพตัดต่อและเกมลอตโต

4. เมื่อเล่นเสร็จแล้วให้เด็กเก็บเกมการศึกษาเข้าที่ให้เรียบร้อย

สื่อการสอน

1. เกมภาพตัดต่อ

2. เกมลอตโต

การประเมินผลการเรียนรู้

1. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น

2. สังเกตการณ์การเล่นเกมต่าง ๆ

เกณฑ์การประเมิน

1. เด็กสามรถจำแนกและเปรียบเทียบสิ่งของได้ ร้อยละ 80

2. เด็กสามารถเล่นเกมการศึกษาร่วมกับผู้อื่นได้ ร้อยละ 80

3. เด็กรู้จักการแบ่งปั นและการรอคอย ร้อยละ 80

4. เด็กรู้จักการเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ร้อยละ 80

ภาคผนวก




สวัสดีคุณครู

(เตือนใจ ศรีมารุต)

สวัสดีคุณครูที่รัก หนูจะตั้งใจอ่านเขียน

ยามเช้าหนูมาโรงเรียน ยามเช้าหนูมาโรงเรียน

หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 18 วันที่ 19 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ ตัวเรา หน่วย วิทยาศาสตร์ เรื่องของแข็ง
กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
สาระสำคัญ

การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่างอิสระเพื่อพัฒนา
กล้ามเนื้อมัดเล็ก-ใหญ่และพัฒนาทักษะในการฟั งจังหวะและปฏิบัติ
ตามคำสั่งได้อย่างถูกต้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เด็กสามารถเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายได้อย่างอิสระ ม.ฐ.
1 บ.ช 1 (1.1)
2. พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก-ใหญ่ ม.ฐ. 1 บ.ช 1 (1.1)
3. พัฒนาทักษะการฟั งจังหวะ ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.3)
4. เด็กเคลื่อนไหวร่างกายได้ตามคำสั่ง ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

1. การเคลื่อนไหวร่างกายอิสระ
2. การปฏิบัติตามข้อตกลง
3. การฟั งและการปฏิบัติตามสัญญาณ
2. ประสบการณ์สำคัญ
1. การเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่
2. การเริ่มต้นและการเคลื่อนไหวตามสัญญาณ
3. การกล้าแสดงออก
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วๆ บริเวณอย่างอิสระ โดย
ปฏิบัติตามสัญญาณการเคาะเครื่องจังหวะดังนี้

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 18 วันที่ 19 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ ตัวเรา หน่วย วิทยาศาสตร์ เรื่องของแข็ง
กิจกรรมเสริมประสบการณ์
สาระสำคัญ

ไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เด็กสามารถบอกเกี่ยวกับของแข็งได้ ม.ฐ. 1 บ.ช 5 (5.2)
2. เด็กร่วมสนทนากับครูและเพื่อนได้ ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.2)
3. ส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา ม.ฐ. 1 บ.ช 1 (4.4)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

ของแข็งเป็ นสิ่งที่มีรูปร่างคงตัวไม่เปลี่ยนแปลงสัมผัสจับต้อง
แล้วแข็ง
2. ประสบการณ์สำคัญ

1. การพูดกับคนอื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเองหรือเรื่องราว
ที่เกี่ยวกับตนเอง

2. รู้จักใช้คำถาม
3. การแสดงความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
เด็กและครูร่วมกันฟั งและเล่านิทาน
ขั้นสอน
1. เด็กและครูร่วมกันสนทนาซักถามเกี่ยวกับของแข็งโดยใช้
รูปภาพ
2. เด็กและครูร่วมกันสังเกตและสัมผัสของแข็ง

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 18 วันที่ 19 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ ตัวเรา หน่วย วิทยาศาสตร์ เรื่องของแข็ง
กิจกรรมสร้างสรรค์
สาระสำคัญ

กิจกรรมสร้างสรรค์เป็ นกิจกรรมที่ทำให้เกิดความคิดและ
จินตนาการ พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กประสานสัมพันธ์กันระหว่างมือ
กับตา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. พัฒนาประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา ม.ฐ. 1 บ.ช 1 (1.1)
2. ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.4)
3. เด็กรู้จักเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
4. การทำงานร่วมกับผู้อื่น ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.2)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

1. การ ฉีก ตัด ปะให้เป็ นรูปภาพ
2. การวาดภาพอย่างอิสระ
3. การปั้ นดินน้ำมัน
2. ประสบการณ์สำคัญ
1. การเขียนภาพและการเล่นสี
2. การปั้ นและประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆ
3. การวางแผนและการตัดสินใจเลือกการลงมือปฏิบัติ
4. การชื่นชมและสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างสวยงาม
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กแบ่งกลุ่มทำกิจกรรมสร้างสรรค์ ออกเป็ น 3 กลุ่ม
- กลุ่มที่ 1 กิจกรรมฉีก ตัด ปะ ให้เป็ นรูปภาพอย่างอิสระ

แผนการจัดประสบการณ์
การเรียนรู้

- กลุ่มที่ 2 กิจกรรมวาดภาพอย่างอิสระ

- กลุ่มที่ 3 กิจกรรมปั้ นดินน้ำมัน

2. ครูแนะนำและสาธิตการทำกิจกรรมทั้ง 3 กลุ่ม

3. เด็กเลือกทำกิจกรรมที่จัดเตรียมไว้ตามความสนใจของตนเองจน

ครบทุกกลุ่ม

4.เมื่อเด็กทำกิจกรรมเสร็จนำผลงานมาส่งและช่วยกันเห็บวัสดุ

อุปกรณ์เข้าที่และทำความสะอาดพื้นที่ให้เรียบร้อย

5. นำผลงานไปจัดแสดงไว้ที่แสดงผลงาน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

กระดาษ A4 กระดาษสี

กาว กรรไกร

สีไม้ ดินน้ำมัน

การประเมินผลการเรียนรู้

1. สังเกตพัฒนาการด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

2. สังเกตความรับผิดชอบในการทำกิจกรรม

เกณฑ์การประเมิน

1. พัฒนาประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับ ร้อยละ 75

2. ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ร้อยละ 75

3. การทำงานร่วมกับผู้อื่น ร้อยละ 75

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 18 วันที่ 19 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ ตัวเรา หน่วย วิทยาศาสตร์ เรื่องของแข็ง
กิจกรรมเสรี
สาระสำคัญ

การเล่นตามมุมประสบการณ์เป็ นกิจกรรมที่เปิ ดโอกาสให้เด็กเล่น
อย่างอิสระและความสนใจและความต้องการของเด็กทั้งรายบุคคล
และรายกลุ่ม
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองด้วยการเล่นตามมุมต่าง ๆ ม.ฐ. 1
บ.ช 4 (4.2)
2. เด็กสามารถเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.2)
3. เด็กรู้จักการแบ่งปั นและการรอคอย ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
4. เด็กรู้จักการเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ม.ฐ. 1 บ.ช 3 (3.1)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

การเล่นเสรีในมุมประสบการณ์ต่าง ๆ ภายในห้องเรียนเป็ นการ
เปิ ดโอกาสให้เด็กได้เล่นอย่างอิสระตามความต้องการและความ
สนใจตามธรรมชาติของเด็ก เช่น มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมบล็อก มุม
เกมการศึกษา มุมดนตรี เป็ นต้น
2. ประสบการณ์สำคัญ

1.การเล่นอิสระ
2.การเล่นเป็ นรายบุคคลและเล่นตามมุม
3. การมีโอกาสได้รับรู้ความรู้สึกความสนใจและความต้องการ
ของตนเองและผู้อื่น

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงและแนะนำการเล่นในมุมต่าง ๆ

- เด็กเล่นตามมุมที่ตนเองสนใจ
- มีน้ำใจรู้จักแบ่งปั นและการรอคอย
- เล่นเสร็จแล้วช่วยกันเก็บของเข้าที่
2. เด็กแบ่งกลุ่มกันเล่นตามความสนใจ
3. เด็กเล่นเสร็จแล้วให้ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อยแล้วค่อยทำ
กิจกรรมต่อไป
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
มุมภายในห้อง เช่น มุมบ้าน มุมหนังสือ มุมบล็อก มุมเกมการ
ศึกษา มุมดนตรี เป็ นต้น
การประเมินผลการเรียนรู้
1. ความสนใจในการร่วมกิจกรรม
2. ความรับผิดชอบในการเล่นแล้วเก็บของเข้าที่
เกณฑ์การประเมิน
1. เด็กมีการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการเล่นมุมต่าง ๆ ภายในห้อง
ร้อยละ 85
2. เด็กสามารถเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ ร้อยละ 85
3. เด็กรู้จักการแบ่งปั นและการรอคอย ร้อยละ 85
4. เด็กรู้จักการเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย ร้อยละ 85

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

สัปดาห์ที่ 18 วันที่ 19 มกราคม 2565 ภาคเรียนที่ 2/2564
สาระการเรียนรู้ ตัวเรา หน่วย วิทยาศาสตร์ เรื่องของแข็ง
กิจกรรมกลางแจ้ง
สาระสำคัญ

กิจกรรมกลางแจ้งเป็ นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้มีโอกาสออกนอก
ห้องเรียนเพื่อออกกำลังกายทำให้ร่างกายแข็งแรง พัฒนากล้ามเนื้อ
ใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก เพื่อให้เกิดความสนุกสนานรู้จักปรับตัวเข้า
กับผู้อื่นรวมทั้งการแก้ปั ญหา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก – ใหญ่ ม.ฐ. 1 บ.ช 1 (1.1)
2. รู้จักอันตรายที่เกิดจากการเล่น ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.2)
3. เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ม.ฐ. 1 บ.ช 2 (2.2)
4. รู้จักการปฏิบัติตามกฎกติกา ม.ฐ. 1 บ.ช 4 (4.3)
สาระการเรียนรู้
1. สาระที่ควรเรียนรู้

1. การเล่นเกมส่งบอล
2. การเล่นเครื่องเล่นสนามเด็กเล่น
2. ประสบการณ์สำคัญ
1. การออกกำลังกาย
2. การเล่นภายในห้องและนอกห้อง
3. การเล่นเครื่องเล่นสนามเด็กเล่น
4. การเล่นเครื่องเล่นสนามอย่างถูกวิธีอย่างปลอดภัย
กิจกรรมการเรียนรู้
1. เด็กอบอุ่นร่างกายโดยการทำท่ากายบริหาร
2. แนะนำการเล่นเกมส่งบอล โดยมีขั้นตอนดังนี้

แผนการจัดประสบการณ์

การเรียนรู้

- แบ่งเด็กออกเป็ น 2 กลุ่ม
- เด็กที่อยู่คนแรกส่งลูกบอลข้ามศีรษะให้เพื่อนข้างหลัง และส่ง

ไปเรื่อย ๆ จนถึงคนสุดท้าย
- เด็กเล่นเกมส่งบอลข้ามศีรษะอีกครั้งโดยไม่มีการแข่งขัน

3. เล่นเกมส่งบอลเสร็จแล้วให้เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม
4. เด็กทำความสะอาดร่างกาย โดยการล้างมือก่อนเข้าห้องเรียน
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้

1. ลูกบอล
2. นกหวีด
3. เครื่องเล่นสนาม
การประเมินผลการเรียนรู้
1. สังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่น
2. สังเกตการปฏิบัติตามข้อตกลงในการเล่น
เกณฑ์การประเมิน
1. เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ให้มีความคล่องแคล่วว่องไว
ร้อยละ 75
2. รู้จักตัดสินใจและแก้ปั ญหาด้วยตนเอง ร้อยละ 75
3. รู้จักการรอคอย ร้อยละ 75


Click to View FlipBook Version