The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปัญหาชั้นสูงในคดีผู้บริโภค จพค ชนก พิเศษ 10 S (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sinaphong, 2022-04-20 03:01:20

ปัญหาชั้นสูงในคดีผู้บริโภค จพค ชนก พิเศษ 10 S (1)

ปัญหาชั้นสูงในคดีผู้บริโภค จพค ชนก พิเศษ 10 S (1)

ปัญหาน่าสนใจ

ใน

คดีผู้บริโภค

รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร
ผู้พพิ ากษาอาวุโสในศาลอุทธรณ์

เอกสารแจก
หลักสูตร เจ้าพนักงานคดี (ชาํ นาญการพเิ ศษ)

10 กนั ยายน 2564

คำนำ

เอกสำรเล่มนีเ้ กดิ ขึน้ เน่ืองจำกผู้ประสำนงำนวิทยำกรของสถำบันพัฒนำ
ข้ำรำชกำรฝ่ ำยตุลำกำรศำลยุติธรรมแจ้งแก่ผู้เขียนซ่ึงได้รับเชิญเป็ นวิทยำกรในกำร
อบรม หลักสูตร เจ้ำพนักงำนคดี ระดับชำนำญกำรพิเศษ หวั ข้อวิชำ “ ปัญหำชัน้ สูงใน
คดีผู้บริโภค ” เม่ือวันท่ี 10 กนั ยำยน 2564 เวลำ 9 – 12 นำฬิกำ ว่ำ มีเสียงเรียกร้องขอ
เอกสำรประกอบกำรบรรยำย ผู้เขียนจึงรวบรวมข้อมูลจำก Power Point ท่ใี ช้บรรยำย
หลักสูตรต่ำง ๆ ทงั้ ภำยในและภำยนอกองค์กรศำลนำมำปรับปรุงแก้ไขเอกสำรท่ีเคย
ทำแจกผู้เข้ำรับกำรอบรมหลักสูตรนีเ้ ม่ือปี ก่อนเพ่ือแจกแก่ผู้เข้ำรับกำรอบรมปี นี้

เอกสำรนีจ้ ัดทำในรูปแบบ PDF เน่ืองจำกมีเนือ้ หำอยู่หลำยหน้ำ จงึ ทำ
สำรบัญให้ และเพ่ือควำมสะดวกแก่กำรอ่ำน จงึ จัดทำ Link ท่สี ำรบัญ โดยให้ click ท่ี
หวั ข้อในสำรบญั เพ่อื ไปยังหน้ำเป้ ำหมำยท่สี นใจอ่ำน เม่ือจะกลับไปท่สี ำรบัญ ให้ click
ท่เี ลขหน้ำของแต่ละหน้ำ

เน่ืองจำกได้รับแจ้งขอเอกสำรเพียงไม่ถึงสัปดำห์ก่อนบรรยำย เอกสำรนี้
จึงเป็ นกำรทำขึน้ โดยเร่งด่วนตำมภำรกจิ เฉพำะท่ีกล่ำวข้ำงต้น ซ่งึ เป็ นธรรมดำท่ีอำจมี
ข้อบกพร่ องได้ จึงต้องขออภัยไว้ ณ ท่ีนี้ และขอขอบคุณล่ วงหน้ ำหำกผู้พบเห็น
ข้อบกพร่องจะกรุณำแจ้งให้ผู้เขียนทรำบเพ่อื แก้ไขต่อไป ทงั้ นี้ หวังว่ำ เอกสำรนีจ้ ะเป็ น
ประโยชน์แก่ผู้เข้ำรับกำรอบรมไม่มำกกน็ ้อย./

รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร
ผู้พพิ ำกษำอำวุโสในศำลอุทธรณ์

9 กันยำยน 2564

สารบัญ 1
1
กรณีมีปัญหาว่าเป็ นคดผี ู้บริโภคหรือไม่ 6
หลักกฎหมายในการพจิ ารณาสถานะคดีผู้บริโภค 6
แนวคดิ ในการวินิจฉัยคดี 8
11
เกณฑ์ End User 12
เกณฑ์วัตถปุ ระสงค์ของนิตกิ รรม 14
แนวทางกฎหมายต่างประเทศ 18
นิตบิ คุ คลเป็ นผู้บริโภคได้หรือไม่ 21
กาหนดเวลาขอชีข้ าดปัญหาว่าเป็ นคดีผู้บริโภคหรือไม่ 24
กรณีศาลชัน้ ต้นไม่รับฟ้ อง โจทก์อุทธรณ์คาส่ัง 25
ฟ้ องท่ศี าลไหน 25
ค่าฤชาธรรมเนียม 26
ปัญหาในคดผี ู้บริโภคชัน้ ศาลอุทธรณ์ 27
ชัน้ ขออนุญาตอุทธรณ์ 27
การขอขยายระยะเวลาย่นื อุทธรณ์ 27
ปัญหาในคดีผู้บริโภคชัน้ ศาลฎีกา 28
ชัน้ ขออนุญาตฎีกา 30
การขอขยายระยะเวลาย่นื ฎีกา 30
ตัวอย่ างคาร้ องไม่ ชัดแจ้ ง 31
ค่าฤชาธรรมเนียมใช้แทน 31
ฟ้ องเคลือบคลุม 31
ข้อพจิ ารณา ฎ.6323/2562 33
ตัวอย่างคดที ่ศี าลฎีกาวนิ ิจฉัยว่าฎีกาไม่ชัดแจ้ง 34
บนั ทกึ เหตผุ ลโดยย่อประกอบคดี 34
บรรยายฟ้ อง 37
ความสาคัญของการโฆษณา
โฆษณาเป็ นส่วนหน่ึงของสัญญา
สัญญาบริการ

หลักสุจริตกับคดผี ู้บริโภค 40
ตวั อย่างฎีกาท่นี าหลักสุจริตมาปรับใช้ 44
46
พพิ ากษาเกนิ คาขอ 47
มาตรา 39 พพิ ากษาเกนิ คาขอ Ultra Petita 49
มาตรา 40 การสงวนสทิ ธิแก้ไขคาพพิ ากษา 51
มาตรา 41 การเปล่ียนสินค้าชารุดบกพร่อง Lemon Law 52
มาตรา 42 ค่าเสียหายเชงิ ลงโทษ Punitive Damages 53
มาตรา 43 การเรียกคืนสินค้า Recall 55
มาตรา 44 การแหวกม่านนิตบิ ุคคล Piercing the Corporate Veils 55
57
ภาระการพสิ ูจน์ในคดผี ู้บริโภค
ทรัพย์ส่วนกลาง อาคารชุด

-----------------------

1

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ปัญหาน่าสนใจในคดีผู้บริโภค1

----------------------------------

เอกสารนี2้ ผู้เขียนจัดทาขึน้ เพ่ือใช้ประกอบการสัมมนา หลักสูตร เจ้าพนกั งานคดี
ระดับชานาญการพิเศษ หัวข้อ ปัญหาชัน้ สูงในคดีผู้บริโภค ซึ่งสถาบันพฒั นาข้าราชการฝ่ าย
ตลุ าการศาลยตุ ิธรรม จดั ขนึ ้ ณ วนั ท่ี 10 กนั ยายน 2564 เวลา 9 – 12 น. เพ่ือให้เจ้าพนกั งานคดีได้
มีโอกาสทบทวน แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในกฎหมายวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค และ
กระบวนพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค

กรณีมีปัญหาว่าเป็ นคดผี ู้บริโภคหรือไม่

เม่ือโจทก์ย่ืนฟ้ องไม่ว่าจะเป็ น คดีแพ่ง หรือ คดีผู้บริโภค หากเกิดปัญหาว่าจาเลย
หรือศาลไม่เหน็ ด้วยกบั ประเภทคดีท่ีโจทก์เลือกฟ้ อง โดยเห็นเป็ นตรงกนั ข้าม เช่น ฟ้ องเป็ นคดีแพง่
เห็นต่างเป็ นคดีผู้บริโภค หรือกลับกัน ฟ้ องเป็ นคดีผู้บริโภค เห็นต่างเป็ นคดีแพ่ง ก็เป็ นกรณีมี
ปัญหาว่าเป็ นคดีผู้บริโภคหรือไม่ พ.ร.บ. วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 จึงกาหนดใน
มาตรา 8 ให้ประธานศาลอุทธรณ์เป็ นผู้มีหน้าท่ีชีข้ าด คาชีข้ าดให้เป็ นที่สุด (มาตรา 8 วรรค
หน่ึง)

หลักกฎหมายในการพจิ ารณาสถานะคดีผู้บริโภค

การพิจารณาว่าคดีใดเป็ นคดีผู้บริโภคหรือไม่นัน้ เกณฑ์พิจารณาเป็ นไปตาม
พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดผี ู้บริโภค พ.ศ. 2551มาตรา 3 ท่บี ัญญัตนิ ิยามว่า

“ คดีผู้บริโภค ” หมายความวา่
(1)คดีแพง่ ระหว่างผ้บู ริโภคหรือผ้มู ีอานาจฟ้ องคดีแทนผ้บู ริโภคตามมาตรา 19 หรือ
ตามกฎหมายอื่น กับผู้ประกอบธุรกิจซ่ึงพิพาทกันเกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าท่ีตามกฎหมายอัน
เนื่องมาจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ

1รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร ผ้พู ิพากษาอาวโู สในศาลอทุ ธรณ์ เอกสารประกอบการสมั มนา หลกั สตู ร เจ้าพนกั งานคดี (ชานาญการพิเศษ) ปัญหาชนั้ สงู ในคดีผ้บู ริโภค 10 ก.ย.256
2ปรับปรุงแก้ไขจากเอกสารที่ผ้เู ขียนแจกประกอบการสมั มนา หลกั สตู ร เจ้าพนกั งานคดี (ชานาญการพิเศษ) ปัญหาชนั้ สงู ในคดีผ้บู ริโภค 14 ก.ค.2563

2

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

(2) คดีแพง่ ตามกฎหมายเก่ียวกบั ความรับผิดตอ่ ความเสียหายที่เกิดขนึ ้ จากสินค้าท่ี
ไม่ปลอดภยั

(3) คดีแพง่ ท่ีเกี่ยวพนั กนั กบั คดีตาม (1) หรือ (2)
(4) คดีแพง่ ท่ีมีกฎหมายบญั ญตั ใิ ห้ใช้วิธีพจิ ารณาตามพระราชบญั ญตั ินี ้

“ ผู้บริโภค ” หมายความว่า ผ้บู ริโภคตามกฎหมายว่าด้วยการค้มุ ครองผ้บู ริโภค
และให้หมายความรวมถึงผ้เู สียหายตามกฎหมายเกี่ยวกบั ความรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดขึน้
จากสนิ ค้าท่ีไม่ปลอดภยั ด้วย

“ ผู้ประกอบธุรกิจ ” หมายความว่า ผู้ประกอบธุรกิจตามกฎหมายว่าด้วยการ
ค้มุ ครองผู้บริโภคและให้หมายความรวมถึงผ้ปู ระกอบการตามกฎหมายเก่ียวกับความรับผิดต่อ
ความเสียหายท่ีเกิดขนึ ้ จากสนิ ค้าท่ีไมป่ ลอดภยั ด้วย

เมื่อ พ.ร.บ.วธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 3 บญั ญัติโยงไปใช้กฎหมาย
ว่าด้วยการคุ้มครองผู้บริโภค และกฎหมายเก่ียวกับความรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดขึน้ จาก
สินค้าท่ีไมป่ ลอดภยั การพจิ ารณาความเป็นผ้บู ริโภคและผ้ปู ระกอบธุรกิจ ตลอดจนความหมายของ
ธรุ กรรมท่ีเกี่ยวข้อง จงึ ต้องพจิ ารณาตามกฎหมายว่าด้วยการค้มุ ครองผ้บู ริโภค ซง่ึ หมายถึง พ.ร.บ.
ค้มุ ครองผ้บู ริโภค พ.ศ. 2522 และพระราชบญั ญตั คิ วามรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดขนึ ้ จากสินค้า
ท่ีไมป่ ลอดภยั พ.ศ. 2551 ด้วย

ส่วนคดีแพ่งที่มีกฎหมายบัญญัติให้ใช้วิธีพิจารณาตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดี
ผ้บู ริโภค พ.ศ. 2551 นนั้ ปัจจบุ นั มี พ.ร.บ. คุ้มครองประชาชนในการทาสัญญาขายฝากท่ดี นิ
เพ่ือเกษตรกรรมหรือท่ีอยู่อาศัย พ.ศ. 2562 มาตรา 11 บัญญัติให้คดีท่ีมีข้อพิพาทอัน
เน่ืองมาจากการขายฝากเป็นคดีผ้บู ริโภคตามกฎหมายวา่ ด้วยวธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค โดยให้ถือว่า
ผ้ขู ายฝากเป็ นผ้บู ริโภค ดงั นนั้ ตงั้ แต่วนั ท่ี 17 เมษายน 2562 3คดีเกี่ยวกบั การขายฝากจึงเป็ นคดี
ผ้บู ริโภคตาม พ.ร.บ. วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 3 (4)

ส่วน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 มาตรา 3 บัญญัตนิ ิยามว่า

3พ.ร.บ.ค้มุ ครองประชาชนในการทาสญั ญาขายฝากท่ีดินเพื่อเกษตรกรรมหรือที่อย่อู าศยั พ.ศ.2562 มาตรา 2 ใช้บงั คบั นบั แตว่ นั ประกาศในราชกิจจาฯ ซ่งึ ประกาศเมอื่ วนั ที่ 16 เมษายน 2562

3

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

“ซือ้ ” หมายความรวมถึง เช่า เช่าซือ้ หรือได้มาไม่ว่าด้วยประการใด ๆ โดยให้
คา่ ตอบแทนเป็นเงนิ หรือผลประโยชน์อย่างอ่ืน

“ขาย” หมายความรวมถงึ ให้เชา่ ให้เชา่ ซอื ้ หรือจดั หาให้ไมว่ ่าด้วยประการใด ๆ โดย
เรียกค่าตอบแทนเป็ นเงินหรือผลประโยชน์อย่างอื่น ตลอดจนการเสนอหรือการชกั ชวนเพื่อการ
ดงั กลา่ วด้วย

“สินค้า” หมายความว่า ส่งิ ของท่ีผลติ หรือมีไว้เพ่ือขาย
“บริการ” หมายความว่า การรับจดั ทาการงาน การให้สิทธิใด ๆ หรือการให้ใช้หรือ
ให้ประโยชน์ในทรัพย์สินหรือกิจการใด ๆ โดยเรียกค่าตอบแทนเป็ นเงินหรือผลประโยชน์อื่นแต่ไม่
รวมถึงการจ้างแรงงานตามกฎหมายแรงงาน
“ผลิต” หมายความว่า ทา ผสม ปรุง ประกอบ ประดิษฐ์ หรือแปรสภาพและ
หมายความรวมถึงการเปล่ียนรูป การดดั แปลง การคดั เลือก หรือการแบ่งบรรจุ
“ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้ซือ้ หรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่ง
ได้รับการเสนอหรือการชกั ชวนจากผ้ปู ระกอบธุรกิจเพื่อให้ซือ้ สินค้าหรือรับบริการ และหมายความ
รวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผ้ไู ด้รับบริการจากผ้ปู ระกอบธุรกิจโดยชอบ แม้มิได้เป็ นผ้เู สียค่าตอบแทนก็
ตาม
“ผู้ประกอบธุรกิจ” หมายความว่า ผู้ขาย ผู้ผลิตเพ่ือขาย ผู้ส่ังหรือนาเข้ามาใน
ราชอาณาจกั รเพ่ือขายหรือผู้ซือ้ เพื่อขายต่อซึ่งสินค้า หรือผู้ให้บริการ และหมายความรวมถึงผู้
ประกอบกิจการโฆษณาด้วย
และตาม พ.ร.บ.ความรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดขึน้ จากสินค้าท่ีไม่
ปลอดภัย พ.ศ. 2522 มาตรา 4 บัญญัตนิ ิยามว่า
“สินค้า” หมายความว่า สังหาริมทรัพย์ทุกชนิดท่ีผลิตหรือนาเข้าเพ่ือขาย รวมทัง้
ผลิตผลเกษตรกรรม และให้หมายความรวมถึงกระแสไฟฟ้ า ยกเว้นสินค้าตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวง4

4กฎกระทรวงกาหนดยา เครื่องมอื แพทย์และผลติ ผลเกษตรกรรมเป็นสนิ ค้ายกเว้น

4

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

“ผลิตผลเกษตรกรรม” หมายความว่า ผลิตผลอนั เกิดจากเกษตรกรรมต่าง ๆ เช่น
การทานา ทาไร่ ทาสวน เลีย้ งสตั ว์ เลีย้ งสตั ว์นา้ เลีย้ งไหม เลีย้ งครั่ง เพาะเห็ด แต่ไม่รวมถึงผลิตผล
ท่ีเกิดจากธรรมชาติ

“ผลิต” หมายความว่า ทา ผสม ปรุง แต่ง ประกอบ ประดิษฐ์ แปรสภาพ เปลี่ยนรูป
ดดั แปลง คดั เลือก แบ่งบรรจุ แชเ่ ยือกแข็ง หรือฉายรังสี รวมถึงการกระทาใด ๆ ท่ีมีลกั ษณะทานอง
เดียวกนั

“ผู้เสียหาย” หมายความว่า ผ้ไู ด้รับความเสียหายอนั เกิดจากสนิ ค้าท่ีไมป่ ลอดภยั
“ความเสียหาย” หมายความว่า ความเสียหายท่ีเกิดจากสินค้าที่ไม่ปลอดภยั ไม่ว่า
จะเป็ นความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย สขุ ภาพ อนามยั จิตใจ หรือทรัพย์สิน ทงั้ นีไ้ ม่รวมถึงความ
เสียหายตอ่ ตวั สนิ ค้าที่ไม่ปลอดภยั นนั้
“ความเสียหายต่อจติ ใจ” หมายความว่า ความเจ็บปวด ความทกุ ข์ทรมาน ความ
หวาดกลวั ความวิตกกังวล ความเศร้าโศกเสียใจ ความอบั อาย หรือความเสียหายต่อจิตใจอย่าง
อ่ืนที่มีลกั ษณะทานองเดียวกนั
“สนิ ค้าท่ไี ม่ปลอดภยั ” หมายความว่า สินค้าที่ก่อหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหาย
ขึน้ ได้ไม่ว่าจะเป็ นเพราะเหตุจากความบกพร่องในการผลิตหรือการออกแบบ หรือไม่ได้กาหนด
วิธีใช้ วิธีเก็บรักษา คาเตือน หรือข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า หรือกาหนดไว้แต่ไม่ถูกต้องหรือไม่ชดั เจน
ตามสมควร ทัง้ นี ้ โดยคานึงถึงสภาพของสินค้า รวมทัง้ ลักษณะการใช้งานและการเก็บรักษา
ตามปกติธรรมดาของสนิ ค้าอนั พงึ คาดหมายได้
“ขาย” หมายความว่า จาหนา่ ย จ่าย แจก หรือแลกเปล่ียนเพ่ือประโยชน์ทางการค้า
และให้หมายความรวมถึงให้เชา่ ให้เชา่ ซอื ้ จดั หา ตลอดจนเสนอ ชกั ชวน หรือนาออกแสดงเพื่อการ
ดงั กล่าว
“นาเข้า” หมายความวา่ นาหรือสงั่ สินค้าเข้ามาในราชอาณาจกั รเพอ่ื ขาย
“ผู้ประกอบการ” หมายความว่า
(1) ผ้ผู ลิต หรือผ้วู า่ จ้างให้ผลิต
(2) ผ้นู าเข้า

5

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

(3) ผ้ขู ายสนิ ค้าที่ไม่สามารถระบตุ วั ผ้ผู ลติ ผ้วู ่าจ้างให้ผลิต หรือผ้นู าเข้าได้
(4) ผ้ซู ง่ึ ใช้ชื่อ ชื่อทางการค้า เครื่องหมายการค้า เคร่ืองหมาย ข้อความหรือแสดง
ด้วยวธิ ีใด ๆ อนั มีลกั ษณะที่จะทาให้เกิดความเข้าใจได้วา่ เป็นผ้ผู ลิต ผ้วู า่ จ้างให้ผลิต หรือผ้นู าเข้า

หลักกฎหมายดังกล่าว เป็ นบทกฎหมายท่ีใช้ในการวินิจฉัยว่าคดีใดเป็ นคดี
ผู้บริโภคหรือไม่ ซง่ึ นบั แตบ่ งั คบั ใช้ พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 จนปัจจบุ นั คดีที่ส่ง
ให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัย ส่วนใหญ่เป็ นคดีพิพาทกันด้วยข้อพิพาททางแพ่ง เช่น การให้
สนิ เชื่อ การจ้างทาของ ส่วนคดีเก่ียวกบั สนิ ค้าท่ีไมป่ ลอดภยั นนั้ มีเป็นสว่ นน้อย

หลักเกณฑ์วนิ ิจฉัยท่ีสาคญั คอื คดีท่จี ะเป็ นคดีผู้บริโภคต้อง

1) เป็ นคดีแพง่ 5
2) เป็ นคดีพิพาทกันระหว่างผ้บู ริโภค (หรือผ้มู ีอานาจฟ้ องคดีแทนผ้บู ริโภคตามมาตรา 19

หรือตามกฎหมายอ่ืน) ฝ่ ายหนง่ึ กบั ผ้ปู ระกอบธุรกิจอีกฝ่ ายหนง่ึ
3) ข้อพพิ าทกนั ในคดีต้องเกี่ยวกบั สิทธิหรือหน้าท่ีตามกฎหมายอนั เน่ืองมาจากการบริโภค

สินค้าหรือบริการ
สาหรับคดีตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 3 (3) ที่ว่า คดี

แพง่ ที่เก่ียวพนั กนั กบั คดีตาม (1) หรือ (2) นนั้ มีข้อพงึ สังเกตว่า แม้คดีลกั ษณะดงั กล่าวจะเป็ นคดี
ผ้บู ริโภค แต่คู่ความทุกรายในคดีอาจไม่เป็ นผู้บริโภคทัง้ หมดก็ได้ เพราะสถานะความเป็ น
ผู้บริโภคหรือไม่นัน้ เป็ นสถานะเฉพาะบุคคลว่าบุคคลผู้นัน้ เป็ นผู้บริโภคสินค้าหรือบริการ
หรือไม่ เช่น

คดีท่ีเจ้าหนีฟ้ ้ องผ้คู า้ ประกนั เพียงลาพงั โดยไม่ได้ฟ้ องลกู หนีช้ นั้ ต้น แม้ลกู หนีช้ นั้ ต้น
เป็ นผ้บู ริโภค แต่ผ้คู า้ ประกนั มิใช่ผ้บู ริโภค ลาพงั ข้อพพิ าทระหว่างเจ้าหนี ้(ซงึ่ เป็ นผ้ปู ระกอบธุรกิจ)
กบั ผ้คู า้ ประกนั (ซงึ่ ไม่ใช่ผ้บู ริโภค) จึงไม่เป็ นคดีผ้บู ริโภคตามพ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.
2551มาตรา 3 (1) แต่เม่ือคดีระหว่างเจ้าหนีก้ ับลกู หนีช้ นั้ ต้นเป็ นคดีผ้บู ริโภค คดีของผ้คู า้ ประกนั
ย่อมเป็ นคดีแพ่งที่เก่ียวพันกันกับคดีผู้บริโภค และเป็ นคดีผู้บริโภคตามมาตรา 3 (3) ตามนัย

5 คดีชานญั พิเศษไมเ่ ป็นคดแี พ่ง จึงไมอ่ าจเป็นคดีผ้บู ริโภคได้ คฉ.113/2555 เช่นเดยี วกบั คดีไมอ่ ย่ใู นอานาจศาลยตุ ธิ รรมเช่น คดปี กครอง ไมเ่ ป็นคดผี ้บู ริโภค คฉ.352/2555

6

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

คาวินิจฉัยประธานศาลอทุ ธรณ์ (คฉ.) ท่ี 155/2552 6(สาหรับจาเลยที่ 3 และที่ 4 โจทก์ฟ้ องใหร้ ับ
ผิดร่วมกบั จาเลยที่ 1 และที่ 2 ในฐานะเป็นผูค้ ้าประกนั และผจู้ านอง จึงเป็นคดีทีเ่ กี่ยวพนั กนั กบั คดี
ผูบ้ ริโภคตามมาตรา 3 (1) เป็นคดีผูบ้ ริโภคตามมาตรา 3 (3))

แนวคิดในการวนิ ิจฉัยคดี

แนวคดิ หรือทฤษฎีที่ยดึ ถือเป็นหลกั ในการวนิ จิ ฉยั วา่ คดีใดเป็นคดีผู้บริโภคหรือไม่นนั้
มีอยู่ 2 เกณฑ์ คือ เกณฑ์ผู้ใช้ทอดสุดท้าย (End User) และเกณฑ์วัตถุประสงค์ของนิตกิ รรม

เกณฑ์ End User นนั้ พิจารณาว่า ผ้ใู ช้สินค้าหรือบริการเป็ นผ้ใู ช้ทอดสดุ ท้าย
หรือไม่ เกณฑ์นีม้ ีท่ีมาจากนิยาม “ ผู้บริโภค ” และ “ ผู้ประกอบธุรกิจ ” ตาม พ.ร.บ.คุ้มครอง
ผ้บู ริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 3

“ผู้บริโภค” หมายความว่า ผู้ซือ้ หรือผู้ได้รับบริการจากผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ซึ่ง
ได้รับการเสนอหรือการชกั ชวนจากผ้ปู ระกอบธุรกิจเพ่ือให้ซือ้ สินค้าหรือรับบริการ และหมายความ
รวมถึงผู้ใช้สินค้าหรือผ้ไู ด้รับบริการจากผ้ปู ระกอบธุรกิจโดยชอบ แม้มิได้เป็ นผ้เู สียค่าตอบแทนก็
ตาม

“ผู้ประกอบธุรกิจ” หมายความว่า ผู้ขาย ผู้ผลิตเพ่ือขาย ผ้สู ัง่ หรือนาเข้ามาใน
ราชอาณาจักรเพื่อขายหรือผู้ซือ้ เพ่ือขายต่อซ่ึงสินค้า หรือผู้ให้บริการ และหมายความรวมถึงผู้
ประกอบกิจการโฆษณาด้วย

เกณฑ์ End User ซ่ึงเป็ นแนวคิดในการวินิจฉัยประเภทคดีดงั กล่าว มีข้อดีคือ มี
ความชดั เจน บงั คบั ใช้ง่าย เพราะเพียงพิจารณาว่าเป็ นผ้ใู ช้ทอดสดุ ท้ายหรือไม่ ก็วินิจฉัยความเป็ น
ผ้บู ริโภคได้ ดงั คาวนิ ิจฉยั

คฉ.ท่ี 145/2551 โจทก์ประกอบอาชีพทนายความและรับว่าความให้แก่จาเลยทงั้
สามโดยเรียกคา่ จ้าง โจทก์จึงเป็ นผ้จู ดั ทาการงานให้แก่จาเลยทงั้ สาม โดยเรียกค่าตอบแทน ถือได้
วา่ โจทก์เป็นผ้ใู ห้บริการและเป็นผ้ปู ระกอบธรุ กิจ ส่วนจาเลยทงั้ สามว่าจ้างโจทก์ให้เป็ นทนายความ
วา่ ความให้ในคดีของตน จงึ เป็นผ้ไู ด้รับบริการและเป็นผ้บู ริโภค

6ปัจจบุ นั มแี นววินจิ ฉยั กลบั หลกั แล้ววา่ ผ้คู า้ ประกนั เป็นผ้บู ริโภค

7

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

คฉ.ท่ี 197/2551 โจทก์ทาสญั ญาเป็นสมาชกิ ของจาเลยเพื่อรับบริการเข้าพกั ใน
สถานตากอากาศในเครือจาเลย โดยเสียค่าสมาชิกเป็นการตอบแทน จงึ ถือว่าโจทก์เป็ นผ้ใู ช้บริการ
และเป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 100/2553 โจทก์ซอื ้ พนั ธ์ขุ ้าวไปปลกู ฟ้ องว่าได้รับความเสียหายเน่ืองจากพนั ธ์ุ
ข้าวได้ผลผลิตต่านาไปขายได้เงนิ น้อย ข้าวที่นาไปขายนนั้ เป็ นผลผลิตจากการเพาะปลกู โจทก์มิได้
นาพนั ธ์ขุ ้าวท่ีซอื ้ จากจาเลยทงั้ สองไปขายตอ่ โดยตรง กรณีจงึ เป็ นการซือ้ พนั ธ์ุข้าวไปใช้ในการทานา
ตามปกติ ถือได้วา่ โจทก์เป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 74/2554 โจทก์เปิดบญั ชีซอื ้ ขายห้นุ กบั จาเลยที่ 1ถือวา่ โจทก์เป็ นผ้ไู ด้รับบริการ
และเป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ที่ 100/2556 โจทก์ซงึ่ เป็นผ้ซู อื ้ และเป็นผ้รู ับบริการหลงั การขายนนั้ กรณีเป็ นการซือ้
เครื่องปรับอากาศไปใช้ในห้องนอนอนั เป็นการใช้สอยเพ่อื ตน โจทก์จงึ อย่ใู นฐานะเป็นผ้บู ริโภค

แต่การยดึ ถือหลกั End User ตงึ เกินไป มีข้อเสียคือ ส่งผลให้ผ้ปู ระกอบธุรกิจท่ีไม่
ขาดอานาจต่อรอง แต่มีฐานะเป็นผ้ใู ช้ทอดสดุ ท้าย มีฐานะเป็นผ้บู ริโภคไปด้วย เชน่

คฉ.ท่ี 120/2551 จาเลยซือ้ นา้ มันดีเซลไปจากโจทก์ แม้จะปรากฏว่าจาเลย
ประกอบกิจการจาหน่ายหนิ ดิน ทราย วสั ดกุ ่อสร้างและรับเหมาก่อสร้าง แต่ก็ไม่ปรากฏว่านา้ มนั ที่
ซือ้ ไปนนั้ ถกู ใช้เป็ นส่วนหนง่ึ ของสินค้าหรือบริการท่ีจาเลยขายหรือทาให้แก่ลกู ค้า กรณีจงึ เป็ นการ
ซอื ้ นา้ มนั ไปใช้สอยในกิจการตามปกติ จาเลยจงึ เป็นผ้ซู อื ้ และผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 179/2551 โจทก์ได้ย่ืนขอก้เู งินจากธนาคารจาเลยวงเงิน 24,000,000 บาท
เพื่อนาไปก่อสร้างโรงงาน ซือ้ เครื่องจกั รและอุปกรณ์ในธุรกิจนา้ แข็ง โจทก์จึงเป็ นลกู ค้าของจาเลย
โดยก้เู งินและต้องเสียดอกเบีย้ เป็นการตอบแทน โจทก์จงึ เป็นผ้ไู ด้รับบริการและเป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ที่ 26/2552 ห้างจาเลยที่ 1 ซือ้ สินค้าประเภทเหล็กจากโจทก์ไปเพื่อใช้สร้างเป็ น
โครงสร้างในการยดึ เครื่องจกั รและใช้ในโรงงานของตน จงึ เป็ นการซือ้ มาเพ่ือใช้สอยตามปกติในการ
ประกอบกิจการ โดยจาเลยท่ี 1 เป็นผ้ใู ช้ประโยชน์จากสินค้านนั้ มิใช่สินค้าที่ซือ้ มาเพ่ือใช้ผลิตสินค้า
ของจาเลยที่ 1โดยตรง ถือได้ว่าจาเลยท่ี 1 เป็นผ้ซู อื ้ และเป็นผู้บริโภค

8

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

คฉ.ที่ 155/2552 ธนาคารโจทก์ให้สินเช่ือเงินกู้เบิกเงินเกินบญั ชีแก่นิติบคุ คลจาเลยที่ 1
โดยเรียกดอกเบีย้ และคา่ ธรรมเนียมจากจาเลยที่ 1 เป็นการตอบแทน ถือวา่ โจทก์เป็ นผ้ใู ห้บริการ จาเลยที่
1 ได้รับประโยชน์ที่จะเกิดขนึ ้ จากสนิ เชื่อถือได้วา่ ได้รับประโยชน์ในทางทรัพย์สนิ อย่างหน่งึ จาเลยท่ี 1 เป็ น
ผ้ไู ด้รับบริการและเป็นผ้บู ริโภค

เม่ือการยึดถือหลักคิด เกณฑ์ End User เพียงเกณฑ์เดียว อาจส่งผลให้การ
วินิจฉัยคดีผิดเพีย้ นจากความจริง โดยผ้ปู ระกอบธุรกิจที่ใช้สินค้าหรือบริการทอดสุดท้าย มีฐานะ
เป็ นผ้บู ริโภคไปด้วย จึงเกิดแนวทางวินิจฉัยคดีท่ีเรียกว่า เกณฑ์วัตถุประสงค์ของนิติกรรม ขึน้
เพื่ออดุ ช่องว่างของหลกั End User โดยมีที่มาจากนิยาม “ ผู้ประกอบธุรกจิ ” ซงึ่ หมายรวมถึง
ผู้ซือ้ เพื่อขายต่อซึ่งสินค้า ซึ่งก็คือการหาประโยชน์จากสินค้าหรือบริการที่ได้รับต่อไป เกณฑ์
วัตถุประสงค์ของนิติกรรม จึงพิจารณาจากการท่ีผ้ซู ือ้ สินค้านาสินค้าไปจาหน่าย จ่าย โอนต่อ
ด้วยวิธีการใดท่ีมีลกั ษณะส่อไปในเชิงธุรกิจ หรือมีการหาประโยชน์โดยตรงในทางธุรกิจต่อไปอีก
ทอดหนง่ึ หรือหลายทอด แนววนิ จิ ฉยั คดีของประธานศาลอทุ ธรณ์จะถือว่า ผ้นู นั้ ไม่ใช่ผ้บู ริโภค มีผล
ให้คดีไมเ่ ป็นคดีผ้บู ริโภคได้ ดงั ตวั อย่างคาวินิจฉยั

คฉ.ที่ 63/2552 จาเลยจ้างโจทก์ผลิตซองลามิเนต จาเลยย่อมเป็ นผ้ไู ด้รับบริการ
จากโจทก์ ทงั้ จาเลยได้เสียเงนิ ค่าว่าจ้างแก่โจทก์เป็นคา่ ตอบแทน แต่ข้อเท็จจริงปรากฏว่าจาเลยมี
วตั ถปุ ระสงค์ประกอบกิจการผลิตและขายส่งแป้ ง ซองลามิเนตท่ีจาเลยว่าจ้างโจทก์ผลิตนนั้ จาเลย
นาไปใช้บรรจสุ ินค้าของจาเลยคือแป้ งสาลีตรากระทิง ฟ้ า เพื่อนาไปจาหน่ายแก่ลกู ค้า โดยสินค้า
ของจาเลยทกุ ชิน้ ต้องจาหน่ายไปพร้อมกับซองที่โจทก์ผลิต จึงเป็ นการดาเนินกิจการในทางการค้า
ตามวตั ถปุ ระสงค์ของตน ถือได้ว่าจาเลยว่าจ้างให้โจทก์ผลิตสินค้าเพ่ือนาไปขายต่อ จาเลยจงึ อยู่
ในฐานะเป็นผ้ปู ระกอบธรุ กิจ ไมใ่ ช่ผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 194/2552 จาเลยแม้เป็ นผู้ซือ้ เสาเข็มคอนกรีตจากโจทก์ แต่ปรากฏตาม
หนงั สือรับรองความเป็นนิตบิ คุ คลของจาเลยว่าจาเลยประกอบกิจการค้าวสั ดกุ ่อสร้างและรับเหมา
ก่อสร้างอาคารและส่ิงปลูกสร้างต่างๆ การซือ้ สินค้าของจาเลยจึงมีลักษณะซือ้ ไปเพ่ือจาหน่าย
ให้แก่บคุ คลอื่นอีกต่อหนงึ่ จาเลยจงึ อย่ใู นฐานะผ้ปู ระกอบธุรกิจ ไมใ่ ชผ่ ้บู ริโภค

9

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

คฉ. ท่ี 29/2553 จาเลยเป็นนิติบคุ คลประกอบกิจการตงั้ โรงงานผลิตและรับจ้างผลิต
เคร่ืองอเิ ล็กทรอนิกส์ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ และส่ิงประดิษฐ์ที่ใช้หรือทาจากเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์ หาก
จาเลยซอื ้ สินค้าจากโจทก์ตามฟ้ องซงึ่ เป็ นอะไหล่และอปุ กรณ์ประกอบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์จาก
โจทก์ มีมลู ค่าสงู ถึง 379,181.25 บาท ตามพฤติการณ์เห็นได้ว่าจาเลยตงั้ ใจจะนาไปใช้ในกิจการ
ของจาเลย สาหรับผลติ สนิ ค้าออกจาหนา่ ยต่อไป อนั เป็นการแสวงหากาไรทางธุรกิจจากสินค้าท่ีซือ้
มาอีกต่อหนง่ึ มิใชซ่ ือ้ มาเพือ่ ใช้สอยเอง จาเลยไม่เป็นผ้บู ริโภค

กรณีซอื้ เพ่ือขายต่อซ่งึ สินค้าหรือบริการ รวมถงึ การให้เช่า เช่าซือ้ หรือแสวง
ประโยชน์ทางธุรกจิ ต่อไปไม่ว่าประการใด เช่น

คฉ.ที่ 163/2555 จาเลยทาสญั ญาเช่าที่ดินพิพาทรวมกบั ท่ีดินอ่ืนอีก 4 แปลง เพื่อ
ลงทนุ ประกอบกิจการหลายอย่างซง่ึ ต้องใช้เงินลงทนุ สงู จาเลยจึงต้องหาผ้รู ่วมลงทนุ ทงั้ ในรูปแบบ
การร่วมทุนและแบ่งเช่าที่ดิน ดงั นี ้จาเลยจึงมิได้ใช้สอยที่ดินเพ่ือตนแต่ได้แสวงประโยชน์โดยตรง
ทางธรุ กิจจากท่ีดินท่ีเชา่ อีกตอ่ หนงึ่ จาเลยไมเ่ ป็นผ้บู ริโภค

คฉ. ท่ี 183/2555 โจทก์ทงั้ สองเป็นชาวต่างชาติซือ้ ห้องชดุ จากจาเลยรวม 7 ห้อง ซง่ึ
มากเกินกว่าที่โจทก์ทงั้ สองใช้อย่อู าศยั โดยโจทก์ทงั้ สองไม่ได้แสดงหลกั ฐานว่าซือ้ ห้องชดุ เพื่อการ
ใด เม่ือโจทก์ทงั้ สองได้รับสาเนาคาร้องขอให้วินิจฉยั คดีแล้วไม่คดั ค้าน พฤติการณ์แห่งคดีจงึ มีเหตุ
ให้เช่ือได้ตามคาร้องว่า โจทก์ทัง้ สองซือ้ ห้องชุดจานวนมากเพื่อขายหรือให้เช่า ซึ่งเป็ นการแสวง
ประโยชน์โดยตรงทางธรุ กิจจากห้องชดุ นนั้ อีกตอ่ หนงึ่ โจทก์ทงั้ สองจงึ ไมอ่ ย่ใู นฐานะเป็นผ้บู ริโภค

คฉ.18/2561 จาเลยที่ 1 เชา่ ซอื ้ รถยนต์บรรทกุ จากโจทก์เพ่อื นาไปใช้รับจ้างขนส่งนา้ มนั
ตามทางการค้าปกติของตน อนั เป็ นการแสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจจากรถยนต์บรรทกุ ท่ีเช่าซือ้
จาเลยท่ี 1 จงึ มิใช่ผ้บู ริโภค

แต่กรณีการเช่าอสังหาริมทรัพย์เพ่ือใช้เป็ นสถานท่ปี ระกอบการค้า ไม่ได้ให้
เช่าช่วงพืน้ ท่ีหรือหาประโยชน์อ่ืนจากพืน้ ท่ี ถือว่าเป็ นการใช้ประโยชน์ตามปกติของการ
เช่ามาเพ่ือใช้สอย ไม่ถือเป็ นการหาประโยชน์โดยตรงทางธุรกจิ จากพนื้ ท่เี ช่านัน้ เชน่

คฉ.52/2562 แม้โจทก์จะใช้อาคารพาณิชย์ที่เช่าช่วงเพ่ือเปิ ดเป็ นร้านค้าก็เป็ นการใช้
ประโยชน์ด้วยตนเองตามปกติ โจทก์จงึ อยใู่ นฐานะผ้บู ริโภค

10

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

คฉ.86/2562 จาเลยซงึ่ เป็ นผ้เู ช่าและอย่ใู นฐานะผ้ซู ือ้ ตามพระราชบญั ญัติคุ้มครอง
ผู้บริโภค พ.ศ. 2522 มาตรา 3 ท่ีว่าการซือ้ และขาย หมายความรวมถึงการเช่าและให้เช่าด้วย เห็น
ว่าแม้จาเลยจะเช่าอาคารพาณิชย์พิพาทจากโจทก์เพ่ือประกอบกิจการซ่อมรถจกั รยานยนต์ ก็เป็ นการใช้
ประโยชน์จากทรัพย์ท่ีเช่าด้วยตนเองตามปกติในการประกอบอาชีพ จาเลยจงึ อย่ใู นฐานะผ้บู ริโภค

คฉ.ที่ 222/2563 จาเลยทงั ้ สองเป็ นผู้เช่าซือ้ และอยู่ในฐานะผู้ซือ้ ได้ เช่าซือ้ รถยนต์
นงั่ สองตอนท้ายบรรทกุ จากโจทก์นนั ้ ไม่ปรากฏว่าได้แสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจจากรถยนต์
ที่เช่าซอื ้ จาเลยทงั้ สองจงึ เป็นผ้บู ริโภค

เกณฑ์วัตถุประสงค์ของนิติกรรม มีข้อดี คือ จากัดวงผู้บริโภคให้แคบเฉพาะ
ผ้บู ริโภคสนิ ค้าหรือบริการท่ีไมใ่ ชเ่ พอ่ื การค้า แตก่ ็มีข้อเสีย เพราะผ้ขู าดอานาจต่อรองบางกล่มุ เช่น
หาบเร่ แผงลอยหรือร้านค้าเล็ก ๆ ซง่ึ ซือ้ สินค้าเพื่อขายต่อ จะเข้าเกณฑ์เป็ นผ้ปู ระกอบธุรกิจไปด้ วย
การใช้ เกณฑ์วัตถุประสงค์ของนิติกรรม จึงมีข้อยกเว้นสาหรับผู้ค้าขายเล็กน้อยรายย่อย ซง่ึ
เป็นผ้ขู าดอานาจตอ่ รองในทานองเดียวกบั ผ้บู ริโภคแท้ ๆ ทว่ั ไปเชน่ กนั ดงั คาวนิ จิ ฉยั

คฉ.ที่ 12/2562 จาเลยท่ี 1 เป็นบคุ คลธรรมดาและรถบรรทกุ ส่วนบคุ คลที่เช่าซือ้ เป็ นรถ
เก่า พฤติการณ์ส่อแสดงว่า จาเลยที่ 1 เช่าซือ้ รถบรรทกุ ส่วนบคุ คลดงั กล่าวไปใช้ในการประกอบอาชีพ
เพ่อื ดารงชีพ มิใช่เป็นการประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ จาเลยท่ี 1 จงึ เป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ที่ 73/2562 จาเลยซ่ึงเป็ นผ้กู ้แู ละอย่ใู นฐานะผ้รู ับบริการนนั้ เห็นว่า จาเลยเป็ น
บคุ คลธรรมดา แม้จะมีบรรษัทประกนั สินเชื่ออตุ สาหกรรมขนาดย่อมทาหนงั สือคา้ ประกนั การชาระ
หนี ้ แต่เงินกู้ทัง้ สองประเภทมีจานวนไม่มากและไม่ปรากฏว่าจาเลยประกอบธุรกิจขนาดใหญ่
พฤตกิ ารณ์แหง่ คดีในชนั้ นีฟ้ ังไม่ได้ว่า จาเลยแสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจจากเงินก้ทู ี่ได้รับจาก
โจทก์ จาเลยจงึ อยใู่ นฐานะเป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 78682562 จาเลยเป็ นบุคคลธรรมดาขอสินเช่ือจากโจทก์ซึ่งเป็ นสถาบัน
การเงิน แม้สญั ญาก้เู บกิ เงินเกินบญั ชีและสญั ญาก้เู งินระบวุ ่านาเงินท่ีได้รับจากโจทก์เพ่ือไปใช้เป็ น
ทนุ หมนุ เวียนในการประกอบธุรกิจ แต่ไม่ปรากฏว่าจาเลยประกอบธุรกิจขนาดใหญ่ และสญั ญาก้เู งิน
ส่วนหนง่ึ ระบุว่าเป็ นสินเช่ือเพ่ือผ้บู ริโภคและตกแต่งบ้าน พฤติการณ์แห่งคดีในชนั้ นีฟ้ ังไม่ได้ว่า จาเลย
แสวงประโยชน์โดยตรงทางธรุ กิจจากสินเช่ือท่ีได้รับจากโจทก์ จาเลยจงึ เป็นผ้บู ริโภค

11

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

คฉ.ที่ 6/2563 จาเลยท่ี 1 ซ่ึงเป็ นผู้กู้เบิกเงินเกินบัญชีและอยู่ในฐานะผู้รับบริการนนั้
เห็นว่า จาเลยที่ 1 เป็ นบคุ คลธรรมดาทาสญั ญาก้เู บิกเงินเกินบญั ชีจากโจทก์ซง่ึ เป็ นสถาบนั การเงิน
แม้จะนาเงินไปใช้ในธุรกิจการค้าเหล็กโครงสร้างและเหล็กรูปพรรณ แต่ไม่ปรากฏว่าเป็ นกิจการค้า
ขนาดใหญ่ พฤติการณ์แห่งคดีในชนั้ นีฟ้ ังไม่ได้ว่า จาเลยท่ี 1 แสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจจาก
สินเชื่อที่ได้รับอีกตอ่ หนงึ่ จาเลยที่ 1 จงึ เป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 620/2563 จาเลยทาสญั ญาเช่าพืน้ ที่ชนั้ สอง 2 ห้อง พร้อมสญั ญาบริการภายใน
ศนู ย์การค้า เห็นวา่ จาเลยเป็นบคุ คลธรรมดา แม้จะเชา่ พนื ้ ท่ีและรับบริการจากโจทก์เพ่อื ประกอบกิจการ
ค้าก็เป็ นการใช้ประโยชน์จากทรัพย์ท่ีเช่าด้วยตนเองในการประกอบอาชีพและไม่ปรากฏว่าเป็ น
กิจการขนาดใหญ่ จาเลยจงึ เป็นผ้บู ริโภค

แนวทางกฎหมายต่างประเทศ

USA : The Consumer Legal Remedies Act : California Civil Code 552750-
1784 Business and Profession Code Section 300-303 (Consumer Affairs Act)

Consumer means an individual who seeks or acquires, by purchase or
lease, any goods or services for personal, family or household purpose.

หลักเกณฑ์ :ต้องนาสินค้า/บริการไปใช้สอยส่วนตวั ในครอบครัว หรือในครัวเรือน
เท่านนั้ หากใช้ในทางการค้า แม้ไม่ได้นาไปขายหรือให้บริการตอ่ แก่ผ้อู ื่นโดยตรง ก็ไมเ่ ป็นผ้บู ริโภค

Europe: Directive 2005/29/EC of the European Parliament and the Council
of 11 May 2005 concerning unfair business to consumer commercial practices in the
internal marker amending Council Directive 84/450/EEC, Directive 97/7/EC, 98/27/EC
and 2002/65/EC of the European Parliament and of the Council and Regulation(EC) No.
2006/2004 of the European Parliament and of the Council (‘Unfair Commercial Practices
Directive’) Article 2 (a) :Consumer means any natural person who, in commercial
practices covered by this Directive, is acting for purposes which are outside his trade,
business, craft or professionหรือใน Consumer Credit Directive /2008/48/EC นิยามใน
Article 3 ทานองเดียวกนั ว่า

12

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

Consumer means any natural person who, in transactions cover by this
Directive, is acting for purposes which are outside his trade, business, or profession

และใน Council Directive 93/13/EEC of 5 April 1993 on unfair terms in
consumer contracts ใช้แนวคิดอย่างเดียวกนั ในการพจิ ารณาว่าใครคือผ้บู ริโภค ดงั ปรากฏตาม
Article 2 (b) :

Consumer means any natural person who, in contracts covered by this
Directive, is acting for purposes which are outside his trade, business, or profession
Japan:The Consumer Contract Act 2001, Article 2 :

Consumer means individuals (however, the same shall not apply in cases
where said individual becomes a party to a contract as a business or for the purpose of
business

โดยสรุป ตามกฎหมายต่างประเทศ มุ่งคุ้มครองบุคคลธรรมดาผู้ซือ้ สนิ ค้า/
บริการ โดยไม่ได้มุ่งนาไปใช้เพ่อื ประโยชน์ทางการค้า

นิตบิ ุคคลเป็ นผู้บริโภคได้หรือไม่

เดิมแนววินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ์ คงยึดหลัก เกณฑ์ผู้ใช้ทอดสุดท้าย
(End User) และเกณฑ์วัตถุประสงค์ของนิติกรรม โดยมีข้อยกเว้นสาหรับผู้ค้าขายเล็กน้อย
รายย่อย ซ่งึ เป็ นผู้ขาดอานาจต่อรองดงั กล่าวมา โดยไม่คานงึ วา่ ผ้ซู อื ้ หรือผ้รู ับบริการนนั้ จะเป็ น
นติ บิ คุ คลหรือไม่ ดงั ตวั อย่างคาวินจิ ฉยั

คฉ.ที่ 55/2551 บริษัทจาเลยท่ี 1 ได้ทาสญั ญาแฟ็กเตอริงกบั โจทก์ โดยนาสทิ ธิเรียกร้อง
ในหนีอ้ นั เกิดจากการรับจ้างทาของที่มีอย่กู ับลูกค้าของจาเลยที่ 1 มาโอนแก่โจทก์และได้รับเงินจ่าย
ลว่ งหน้าไปจากโจทก์ตามวตั ถปุ ระสงค์ของโจทก์แล้ว จาเลยท่ี 1 จึงเป็ นลกู ค้าผ้ใู ช้บริการจากโจทก์และ
เป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 256/2552 บริษัทโจทก์เป็ นลกู ค้าก้ยู ืม เบิกเงินเกินบญั ชี และตว๋ั เงินสินเช่ือของ
ธนาคารจาเลย จงึ ถือวา่ โจทก์เป็นผ้ไู ด้รับบริการและเป็นผ้บู ริโภค

13

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

คฉ.ท่ี 328/2552 บริษัทจาเลยตกลงว่าจ้างโจทก์ติดตงั้ ราวสแตนเลสกันตกและ
บนั ไดของอาคาร “เอ” ในโครงการ “ เดอะพาซิโอ” ของจาเลยถือได้ว่าจาเลยเป็ นผ้ใู ช้บริการและ
เป็นผ้บู ริโภค

คฉ.ที่ 190/2556 บริษัทจาเลยทาสญั ญาจองพืน้ ท่ีเช่าและบริการกับโจทก์เพื่อเช่า
ศูนย์การค้า 2 ห้อง ใช้ ประกอบธุรกิจความงามและสปาก็เป็ นเพียงการใช้สถานท่ีเช่าอย่าง
ปัจจยั พนื ้ ฐานในการประกอบธุรกิจ เมื่อไม่ปรากฏว่าเป็ นการแสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจจากพืน้ ที่
เช่าอีกตอ่ หนง่ึ กรณีเป็นการใช้สอยทรัพย์ท่ีเช่าตามปกติวิสยั ของการเช่า จาเลยจงึ มิใช่ผ้ปู ระกอบธุรกิจ
แต่อย่ใู นฐานะเป็ นผ้บู ริโภค

อย่างไรก็ตาม แนวทางวินิจฉัยคดีในปัจจบุ นั ได้คานงึ ถงึ หลกั เกณฑ์ตามแนวทาง
ของต่างประเทศ โดยถือว่า นิติบุคคล เช่น บริษัทจากัด บริษัทมหาชนจากดั ห้างหุ้นส่วนจากัด
ตัง้ ขึน้ เพ่ือหากาไรตามวัตถุประสงค์ท่ีจดทะเบียนไว้ เม่ือซือ้ สินค้าหรือบริการ จึงย่อม
เป็ นไปเพ่ือการค้าตามวัตถุประสงค์ท่ีจัดตัง้ ขึน้ ไม่เข้าเกณฑ์เป็ นผู้บริโภค ดงั ตัวอย่างคา
วนิ จิ ฉยั

คฉ.ที่ 69/2562 จาเลยท่ี 1 เป็ นนิติบุคคลประเภทห้างหุ้นส่วนจากัด จัดตงั้ ขึน้ เพื่อ
ประกอบการค้าแสวงหากาไร จาเลยที่ 1 ทาสญั ญากู้เบิกเงินเกินบญั ชีจากโจทก์เพื่อนาไปใช้เป็ น
ทนุ หมนุ เวียนในการประกอบกิจการ อนั เป็ นการแสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจจากสินเช่ือท่ี
ได้รับจากโจทก์ จาเลยท่ี 1 จงึ มใิ ชผ่ ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 122/2562 บริษัทจาเลยเชา่ รถยนต์จากโจทก์เพ่ือนาไปใช้เป็นรถประจาตาแหน่ง
ของผ้บู ริหาร อนั เป็ นการแสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจอีกต่อหนึ่ง จาเลยจึงมิใช่ผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 128/2562 จาเลยท่ี 1 เป็ นนิติบุคคลประเภทบริษัทจากัด จัดตัง้ ขึน้ เพื่อ
ประกอบการค้าแสวงหากาไร จาเลยที่ 1 ขอสินเชื่อหลายประเภทจากโจทก์เพื่อนาไปใช้เป็ นทุน
หมุนเวียนในการประกอบกิจการค้า อนั เป็นการแสวงประโยชน์โดยตรงทางธรุ กิจอีกตอ่ หนงึ่ จาเลย
ท่ี 1 จงึ มใิ ช่ผ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 3/2563 โจทก์เป็นนิติบคุ คลประเภทบริษัทจากดั จดั ตงั้ ขนึ ้ เพือ่ ประกอบการค้า
แสวงหากาไร โจทก์สั่งซือ้ สินค้าประเภทแผ่นพืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสาเร็จรูปเพ่ือ

14

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

นาไปใช้กิจการรับเหมาก่อสร้างของโจทก์ อนั เป็ นการแสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจอีกต่อหนึ่ง
โจทก์จงึ มใิ ช่ผ้บู ริโภค

คฉ.ที่ 342/2563 จาเลยที่ 1 เป็ นนิติบคุ คลประเภทห้างห้นุ ส่วนจากดั จดั ตงั้ ขนึ ้ เพื่อ
ประกอบการค้าแสวงหากาไร จาเลยท่ี 1 โดยจาเลยที่ 2 ซงึ่ เป็ นห้นุ ส่วนผ้จู ดั การทาสญั ญาเช่าซือ้
รถยนต์จากโจทก์เพื่อนาไปใช้ในกิจการขนส่งสินค้า อนั เป็ นการแสวงประโยชน์โดยตรงทางธุรกิจ
จากรถยนต์ท่ีเชา่ ซอื ้ อีกต่อหนง่ึ จาเลยที่ 1 จงึ มใิ ชผ่ ้บู ริโภค

คฉ.ท่ี 617/2563 จาเลยซึ่งเป็ นผ้ซู ือ้ และอยู่ในฐานะผู้รับบริการนนั้ เป็ นนิติบุคคล
ประเภทบริษัทจากดั จดั ตงั้ ขนึ ้ เพ่ือประกอบกิจการค้าแสวงหากาไร จาเลยสง่ั ซอื ้ สินค้าจากโจทก์ และ
วา่ จ้างโจทก์ตดิ ตงั้ และซอ่ มบารุงเครื่องมือและเครื่องจกั รในโรงงานผลติ เอทานอลของจาเลย อนั เป็ นการ
แสวงประโยชน์โดยตรงทางธรุ กิจอีกต่อหนง่ึ จาเลยจงึ มิใช่ผ้บู ริโภค

กาหนดเวลาขอชีข้ าดปัญหาว่าเป็ นคดีผู้บริโภคหรือไม่

กาหนดเวลาท่ีจะขอชีข้ าดถกู กาหนดในมาตรา 8 วรรคสอง ว่า หากคดีนนั้ ฟ้ องเป็ น
คดีแพ่ง จะขอได้อย่างช้าภายในวันชีส้ องสถาน ถ้าคดีนนั้ ไม่มีการชีส้ องสถาน ก็ขอได้อย่างช้า
ภายในวันสืบพยาน หากคดีนนั้ ฟ้ องเป็ นคดีผู้บริโภค จะขอได้อย่างช้าภายในวันนัดพิจารณา
(มาตรา 24 : เพือ่ การไกล่เกลี่ย ใหก้ ารและสืบพยาน) ถ้าเกินกาหนดดงั กลา่ ว จะขอชีข้ าดไมไ่ ด้

กาหนดระยะเวลาขอวินิจฉัยปัญหาดงั ท่ีบญั ญัติตามมาตรา 8 วรรคสอง กรณีคดี
แพ่ง นบั ว่ามีความชดั เจนและไม่ค่อยเป็ นปัญหาแก่ผ้ปู ฏิบตั ิท่ีเก่ียวข้อง เพราะเป็ นการกาหนดเอา
กระบวนพจิ ารณาอย่างใดอยา่ งหนง่ึ เป็นตวั ชีว้ ดั ความหมายของวันชีส้ องสถานหรือวันสืบพยาน
ในคดีแพ่งมีความชัดเจนท่ีนักกฎหมายทั่วไปเข้าใจกันเป็ นอย่างดีว่า เป็ นวันท่ีศาลได้ดาเนิน
กระบวนพิจารณานนั้ จริง มิใช่วันที่นดั แล้วแต่เลื่อนคดีไป7 และวันสืบพยานหมายถึงวันที่ศาล
เริ่มต้นทาการสืบพยาน ส่วนวนั ที่ศาลนดั สืบพยานหลงั จากนนั้ แม้มีการสืบพยานก็ไม่ใช่วนั เริ่มต้น
สืบพยาน8

7ป.วิ.พ.ม.182 ม.183 ฎีกา 5600/2548
8ป.วิ.พ.ม1.

15

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

แม้เกณฑ์ในคดีแพง่ มีความชดั เจนแก่การทาความเข้าใจดงั กล่าว ก็ยงั มีคดีท่ีศาลรับ
ฟ้ องเป็นคดีแพง่ ท่ีส่งให้ประธานศาลอทุ ธรณ์วนิ จิ ฉยั ปัญหาเมื่อล่วงเลยวนั ชีส้ องสถาน (กรณีเป็นคดี
ทีม่ ีการชีส้ องสถาน) หรือเม่ือล่วงเลยวนั สืบพยานอย่บู ้าง เช่น ขอเมื่อสืบพยานโจทก์กบั จาเลยเสร็จ
แล้ว (คฉ.21/2554) หรือสืบพยานโจทก์แล้ว (คฉ.408/2554 คฉ.158/2557) ซึ่งประธานศาล
อุทธรณ์ไม่อาจรับวินิจฉัยคดีได้

ส่วนกาหนดระยะเวลาขอวินจิ ฉยั ปัญหาตามมาตรา 8 วรรคสอง ในกรณีที่โจทก์ฟ้ อง
เป็ นคดีผู้บริโภค ที่กาหนดให้ขออย่างช้าในวันนัดพิจารณานนั้ จากบรรดาคดีท่ีส่งให้ประธาน
ศาลอทุ ธรณ์วินิจฉัย และเข้าเกณฑ์เป็ นกรณีไม่อาจรับวินิจฉัยให้เพราะล่วงเลยกาหนดระยะเวลา
พบวา่ มีจานวนมาก แสดงว่าผ้เู ก่ียวข้องยงั ไม่เข้าใจชดั เจนในเกณฑ์ระยะเวลาที่ถือวนั นดั พจิ ารณา
ว่ามีความหมายเช่นไร การส่งคดีท่ีเกินกาหนดระยะเวลาไปขอรับการวินิจฉัยเช่นนี ้ย่อมทาให้การ
พิจารณาคดีของศาลชนั้ ต้นล่าช้าโดยไม่จาเป็ น และเมื่อคดีต้องห้ามที่จะรับวินิจฉัยเพราะยื่นเกิน
กาหนดก็อาจส่งผลต่อการใช้วิธีพิจารณาความผิดประเภทแก่คดี ซ่ึงในบางกรณีอาจก่อให้เกิด
ความไม่เป็ นธรรมในคดีเกิดขึน้ ได้ เช่น การขาดนดั ยื่นคาให้การ หรือการกาหนดภาระการพิสูจน์
เป็ นต้น การทาความเข้าใจความหมายเกณฑ์ระยะเวลาการขอวินิจฉัยในคดีผู้บริโภคจึงเป็ นสิ่ง
สาคญั

ปัญหาดงั กล่าวในคดีผู้บริโภคสืบเนื่องจาก พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.
2551 มาตรา 24 วรรคหนงึ่ กาหนดให้ศาลออกหมายเรียกจาเลยให้มาศาลในวันนัดพจิ ารณาเพื่อ
การไกล่เกล่ีย ให้การ และสืบพยานในวนั เดียวกนั เม่ือกาหนดเอากระบวนพิจารณา 3 อย่าง ไป
ดาเนินการในวนั เดียวกัน ต่างกบั กรณีคดีแพ่งที่กาหนดกระบวนพิจารณาเพียงอย่างเดียว จึงเป็ น
ปัญหาว่า หากศาลดาเนินกระบวนพิจารณาไม่ครบทงั้ 3 อย่าง ในวนั นนั้ คงทาเพียงอย่างใดอย่าง
หน่ึงหรือ 2 อย่าง เช่น ทาการไกล่เกล่ียแล้วเลื่อนคดี หรือไกล่เกล่ียและสง่ั รับคาให้การจาเลยแล้ว
เลื่อนคดี หรือสืบพยานไปบ้างแล้วเล่ือนคดี เช่นนีจ้ ะถือวนั ที่ดาเนินกระบวนพิจารณาครัง้ แรกนนั้
เป็นวนั นดั พจิ ารณาตามท่ีมาตรา 8 วรรคสอง กาหนดหรือไม่

บรรดาคดีผ้บู ริโภคท่ีส่งคดีมาแล้วประธานศาลอทุ ธรณ์ไม่รับวินิจฉัยเพราะมีคาขอ
เกินกาหนดระยะเวลานัน้ นับแต่ปี 2551 ถึงปี 2561 พบว่า มีคดีท่ีไม่รับวินิจฉัย 127 คดี ด้วย

16

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

สาเหตเุ พราะล่วงเลยวนั นดั พิจารณาเน่ืองจากมีการดาเนินกระบวนพจิ ารณาดงั ต่อไปนีแ้ ล้วจงึ ร้อง
ขอวนิ จิ ฉยั หลงั จากวนั นดั นนั้

1) สืบพยานแล้วบางส่วนหรือสืบพยานจนเสร็จการพจิ ารณาคดีแล้ว รวม 17 คดี
2) ศาลกาหนดประเด็นข้อพพิ าทหรือสอบพยานที่จะนาสืบพร้อมกาหนดหน้าท่ีนา

สืบตามพ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 31 มาตรา 32 แล้ว
รวม 4 คดี
3) มีการไกล่เกล่ียพร้อมดาเนินกระบวนพิจารณาอื่น เช่น รับคาให้การในวนั นัด
กาหนดประเด็นข้อพพิ าทและหน้าที่นาสืบแล้ว รวม 9 คดี
4) ศาลมีคาส่ังรับคาให้การหรือคาให้การและฟ้ องแย้งในวันนัดตามพ.ร.บ.วิธี
พจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 24 มาตรา 26 รวม 92 คดี
5) ศาลมีคาสงั่ ว่าจาเลยขาดนดั ยื่นคาให้การในวันนัดตามพ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดี
ผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 26 รวม 4 คดี
6) เคยรับวนิ ิจฉยั แล้ว เม่ือมีผ้รู ้องสอด จงึ ส่งวินจิ ฉยั อีก รวม 1 คดี
สาหรับปี 2562 นนั้ ในคดีผู้บริโภค มีกรณีศาลมีคาสง่ั รับคาให้การในวนั นดั ตาม
มาตรา 24 และ 26 รวม 10 คดี เป็ นกรณีศาลกาหนดประเด็นข้อพพิ าทและหน้าที่นาสืบในวนั นดั
พิจารณานดั แรกแล้วจึงยื่นคาร้องขอวินิจฉยั 2 คดี และมีกรณีย่ืนคาร้องหลงั วนั ชีส้ องสถานในคดี
แพง่ 1 คดี
สว่ นปี 2563 นนั้ จนถงึ ขณะรวบรวมข้อมลู จดั ทาเอกสารบรรยายนี ้ในคดีผ้บู ริโภค มี
กรณีศาลมีคาสง่ั รับคาให้การในวนั นดั ตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 24
และ 26 รวม 2 คดี ศาลมีคาสงั่ ว่าจาเลยขาดนดั ยื่นคาให้การในวนั นดั ตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดี
ผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 26 รวม 1 คดีและมีกรณีย่ืนคาร้องหลงั วนั ชีส้ องสถานในคดีแพง่ 4 คดี
จากบรรดาคดีที่ไม่รับวินิจฉยั ดงั กล่าว สรุปหลกั เกณฑ์ได้ว่า วันนัดพิจารณาในคดี
ผ้บู ริโภคท่ีกาหนดเป็นเกณฑ์ตามมาตรา 8 วรรคสอง วา่ ห้ามร้องขอวินิจฉัยคดีหลงั จากวนั ดงั กล่าว
นนั้ ไม่ได้มีความหมายว่าวันนัน้ ศาลต้องดาเนินกระบวนพจิ ารณาครบทงั้ การไกล่เกล่ีย ให้
การและสืบพยานในวันเดียวกัน จงึ จะเข้าเกณฑ์ถือเป็ นวันนัดพจิ ารณา

17

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

เม่ือพิเคราะห์ถึงเจตนารมณ์ของกฎหมาย ประกอบกับหลักเกณฑ์ท่ีก่อนการ
พิจารณาคดีค่คู วามกับศาลต้องทราบกติกาท่ีจะใช้บังคบั แก่คดีเสียก่อนเข้าส่เู นือ้ หาคดีแล้ว เช่น
คู่ความต้องยื่นบัญชีระบุพยานในกาหนดเวลาตามวิธีพิจารณาความฉบับใด เห็นได้ ชัดว่า
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความที่เป็ นเคร่ืองมือสาหรับศาลใช้ค้นหาความจริงในคดี ต้องมีความชดั เจน
แน่นอนเป็ นที่ประจกั ษ์แก่ทงั้ ศาลและค่คู วามก่อนที่จะเริ่มดาเนินกระบวนพิจารณาคดีนนั้ มิฉะนนั้
ศาลและค่คู วามย่อมไมอ่ าจปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องได้9

ดงั นนั้ ในคดีผ้บู ริโภค หากวันนัดพจิ ารณาศาลมีคาส่ังรับคาให้การ ไม่ว่าจะเป็ น
คาให้การท่ีจาเลยยื่นก่อนวนั นดั และศาลรอไว้สง่ั ในวนั นดั 10 ซงึ่ เป็ นการดาเนินกระบวนพิจารณา
ตามมาตรา 24 และ 26 โดยชอบ หากจาเลยไม่ให้การและไม่ได้รับอนุญาตให้ขยายระยะเวลา
จาเลยย่อมอย่ใู นฐานะขาดนดั ย่ืนคาให้การตามมาตรา 26 วรรคสอง การท่ีศาลมีคาสงั่ ในวนั นดั
พจิ ารณาให้รับคาให้การก็ดี11 สง่ั ว่าจาเลยขาดนดั ย่ืนคาให้การก็ดี ไม่ว่าศาลจะได้ดาเนินการไกล่
เกล่ียหรือสืบพยานในวนั นนั้ ด้วยหรือไม่ วนั นดั นนั้ ก็ถือเป็นวันนัดพจิ ารณาตามมาตรา 8 วรรคสอง
แล้ว

สาหรับกระบวนพิจารณาเร่ืองการสืบพยานในคดีผู้บริโภคนัน้ เป็ นการดาเนิน
กระบวนพจิ ารณาเข้าไปในเนือ้ หาแหง่ คดี ก่อนการพจิ ารณาคดีค่คู วามกบั ศาลต้องทราบกติกาที่ใช้
บงั คบั แก่คดีก่อนด้วยเหตผุ ลดงั กล่าวแล้ว โดยก่อนการสืบพยานศาลต้องแจ้งประเด็นข้อพพิ าทให้
ค่คู วามทราบและกาหนดให้คู่ความฝ่ ายใดนาพยานมาสืบก่อนหรือหลงั 12 ศาลต้องเป็ นผู้ซกั ถาม
พยานโดยจะอนุญาตให้คู่ความหรือทนายความซกั ถามพยานก็ได้ 13 ซง่ึ เป็ นการดาเนินกระบวน
พจิ ารณาโดยชอบ ดงั นนั้ เม่ือมีการสืบพยานในวนั นดั พจิ ารณาแล้วบางส่วนหรือทงั้ หมด ย่อมมีผล
ให้วนั นนั้ เป็นวันนัดพจิ ารณาตามมาตรา 8 วรรคสอง เชน่ กนั

ส่วนเร่ืองการไกล่เกลี่ยนัน้ เป็ นกระบวนพิจารณาท่ีกาหนดให้ ทาใน วันนัด
พิจารณา14 แม้ศาลชัน้ ต้นมักให้มีการไกล่เกลี่ยในวันนัดพิจารณาแล้วเลื่อนคดีไปโดยยังไม่ได้

9เชน่ อานาจศาลในการสงั่ แก้ฟ้ องหรือแก้คาให้การโดยคคู่ วามไมต่ ้องร้องขอ การแก้ไขข้อผดิ ระเบียบหรือผดิ หลงท่คี คู่ วามกระทาในคดี การยกเว้นหลกั ฐานทใี่ ช้ฟ้ องร้องหรือยกเว้นกฎหมายทบี่ งั คบั ให้สญั ญาต้องทาตามแบบ
แก่ฝ่ ายผ้บู ริโภค การถือเอาประกาศหรือโฆษณาเป็นสว่ นหน่ึงของสญั ญาได้ การกาหนดประเดน็ ข้อพิพาทและหน้าท่ีนาสืบ หรือการยกเว้นข้อห้ามนาสบื เปล่ียนแปลงแก้ไขเอกสารแก่ฝ่ ายผ้บู ริโภค เป็นต้น
10มาตรา 24 วรรคสอง : จาเลยจะยื่นคาให้การเป็นหนงั สอื ก่อนวนั นดั พิจารณาก็ได้

11เม่ือจาเลยย่ืนคาให้การ ยอ่ มทราบดีวา่ ตนประสงคจ์ ะโต้แย้งเรื่องสถานะคดีหรือไม่
12พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดผี ้บู ริโภค พ.ศ255.1 มาตรา 32
13พ.ร.บ.วธิ ีพิจารณาคดผี ้บู ริโภค พ.ศ255.1 มาตรา 34
14พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ255.1 มาตรา 25 ข้อกาหนดของประธานศาลฎกี าวา่ ด้วยการดาเนินกระบวนพิจารณาและการปฏบิ ตั ิหน้าท่ีของเจ้าพนกั งานคดใี นคดผี ้บู ริโภค พ.ศ255 .1 ข้อ 14 ถึง 16

18

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ดาเนินการเร่ืองการให้การและสืบพยาน และการไกล่เกล่ียที่กระทาไปในวันนัดแรกนนั้ เป็ นการ
ดาเนินกระบวนพิจารณาโดยชอบ แต่เกณฑ์วินิจฉัยของประธานศาลอทุ ธรณ์ไม่ถือเคร่งครัดเอา
กิจกรรมการไกล่เกล่ียโดด ๆ เพียงลาพังเป็ นตัวกาหนดให้วันดังกล่าวเป็ นวันนดั พิจารณาตาม
มาตรา 8 วรรคสอง กรณีมีการไกล่เกล่ียไม่ว่าสาเร็จหรือไม่เป็ นท่ตี กลง แล้วมีการเล่ือนคดี
ไป การร้ องขอวินิจฉัยปัญหาสถานะคดีก็ยังกระทาได้หลังจากวันนัน้ เหตุท่ีการวินิจฉัย
ตีความวางเกณฑ์เช่นนีเ้ นื่องจากการไกล่เกลี่ยคดีนนั้ แม้ได้ดาเนินการแล้วไม่เป็ นที่ตกลงกัน แต่
พ.ร.บ.วธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 ไม่ได้บญั ญตั ิห้ามการไกล่เกลี่ยคดีอีกไม่ว่าอย่ใู นขนั้ ตอน
ใดในการพิจารณาคดีหลงั จากนนั้ ทงั้ ไม่มีบทบญั ญัติเป็ นโทษบงั คบั ในการไกล่เกล่ียไว้ด้วย เม่ือ
ไม่ได้บญั ญตั ิความดงั กล่าวไว้ จึงต้องนาหลกั เกณฑ์ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
มาตรา 20 ท่ีบญั ญัติให้ศาลมีอานาจท่ีจะไกล่เกลี่ยให้ค่คู วามได้ตกลงกนั หรือประนีประนอมยอม
ความกนั ในข้อที่พิพาทได้ ไม่ว่าการพิจารณาคดีจะได้ดาเนินไปแล้วเพียงใด มาใช้แก่คดีผ้บู ริโภค
ตาม พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 7 กิจกรรมการไกล่เกล่ียเพียงลาพงั ท่ีทาไป
ในวนั นดั พิจารณาแล้วเล่ือนคดีไป สิทธิร้องขอวินิจฉัยสถานะคดีตามมาตรา 8 วรรคสอง จึงยงั คง
กระทาได้หลงั จากนนั้

กรณีศาลชนั้ ต้นส่ังไม่รับฟ้ อง โจทก์อุทธรณ์คาส่ัง

กรณีศาลชนั้ ต้นตรวจคาฟ้ องแล้วมีคาสงั่ ไม่รับฟ้ องอ้างว่าเป็ นคดีผ้บู ริโภคหรือไม่
เป็ นคดีผู้บริโภค โจทก์อุทธรณ์โต้แย้งคาสงั่ ศาลชนั้ ต้นส่งสานวนไปศาลอุทธรณ์ท่ีมีเขตอานาจ
ประเดน็ พจิ ารณาในชัน้ อุทธรณ์จงึ มีว่าคดีนัน้ เป็ นคดีผู้บริโภคหรือไม่ ซง่ึ ศาลอทุ ธรณ์ดงั กล่าว
ไมม่ ีอานาจวินจิ ฉยั เพราะกรณีเป็นอานาจเฉพาะของประธานศาลอทุ ธรณ์ตามมาตรา 8

กรณีเช่นนี ้ศาลอุทธรณ์นนั้ ชอบท่ีจะส่งคดีไปยงั ประธานศาลอุทธรณ์ ซึ่งประธาน
ศาลอทุ ธรณ์จะรับวินจิ ฉยั คดีโดยถือวา่ กรณีเป็ นการส่งคดีให้วินิจฉยั แทนศาลชนั้ ต้น โดยไม่ต้องให้
ศาลอทุ ธรณ์ดงั กล่าวคืนสานวนไปยงั ศาลชนั้ ต้น แล้วให้ศาลชนั้ ต้นส่งคดีให้วินิจฉัยอีกครัง้ 15 และ
กรณีเช่นนี ้ ถือว่าคดียังพิพาทกันอยู่ในชัน้ รับฟ้ องของศาลชัน้ ต้น ยังไม่มีการดาเนินกระบวน

15ซี่งศาลชนั้ อทุ ธรณ์จะกระทาเช่นนนั้ ก็ได้ แตเ่ ป็นการเสยี เวลา เพราะในที่สดุ กต็ ้องสง่ คดีไปให้ประธานศาลอทุ ธรณ์วินิจฉยั เชน่ กนั

19

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

พิจารณาชนั้ พิจารณา การส่งคดีของศาลชนั้ ต้น (โดยศาลชนั้ อุทธรณ์ส่งแทน) จึงไม่เกินกาหนด
ระยะเวลาตามมาตรา 8 วรรคสอง (คฉ.ที่ 66/2553, 14/2554, 25/2554 ฯลฯ)

กรณีดังกล่าว เมื่อโจทก์อุทธรณ์คาสั่ง ศาลชัน้ ต้นจะส่งคดีให้วินิจฉัยเสียก่อนส่ง
สานวนไปยงั ศาลอทุ ธรณ์ที่มีเขตอานาจก็กระทาได้ (คฉ. 164/2553 ฯลฯ)

ข้อสังเกต การขอวินิจฉัยในคดีแพ่ง กรณีปัญหาว่าเป็ นคดีผู้บริโภคหรือไม่ กฎหมายบญั ญัติ

ความว่า ต้องกระทาอย่างช้าในวันชีส้ องสถานหรือวันสืบพยาน หากวนั นดั ชีส้ องสถาน หลงั จาก
ศาลชีส้ องสถานเสร็จในตอนเช้าแล้ว และเลื่อนคดีไปสืบพยานในนดั หน้า ค่คู วามหรือศาลจะขอให้
วินิจฉัยในตอนบ่ายวนั นนั้ ซ่ึงเป็ นเวลาภายหลงั จากการดาเนินกระบวนพิจารณาชนั้ ชีส้ องสถาน
เสร็จแล้วแตย่ งั อยใู่ นวนั เดียวกนั ได้หรือไม่

ในเร่ืองนี ้ผ้เู ขียนเห็นว่า การบญั ญัติความเร่ืองนีไ้ ม่ชดั เจน แต่ตามเจตนารมณ์ของ
กฎหมายม่งุ หมายให้คดีที่มีปัญหาเรื่องประเภทคดีได้ข้อยตุ ิว่าจะใช้วิธีพิจารณาคดีประเภทใดแก่
คดีนนั้ เสียก่อนท่ีจะมีการดาเนินกระบวนพิจารณาเข้าไปในเนือ้ หาแห่งคดี เพราะเม่ือมีการดาเนิน
กระบวนพิจารณาเช่นนนั้ แล้ว ย่อมทาให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบในเชิงคดี อนั จะก่อให้เกิด
ผลกระทบตอ่ ความยตุ ิธรรมในคดีนนั้ ได้ ดงั นนั้ กรณีตามปัญหา เม่ือค่คู วามย่ืนคาร้องขอให้วินิจฉยั
คดีหรือศาลเหน็ สมควรสง่ คดีให้วินจิ ฉยั ภายในวนั ชีส้ องสถาน (แมห้ ลงั จากการชี้สองสถานแลว้ ) แต่
เมื่อยงั ไม่มีการดาเนนิ กระบวนพจิ ารณาอ่ืนใดในวนั นนั้ อนั จะสง่ ผลให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบ
ในเชิงคดีของคคู่ วาม หรือทาให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่คดีนนั้ ยอ่ มไมค่ วรแปลความว่าเป็ นการส่ง
คดีเกินกาหนดเวลา อย่างไรก็ตาม หากข้อเท็จจริงเปลี่ยนไปจากวันชีส้ องสถานกลายเป็ นวัน
สืบพยาน เช่น คดีที่งดชีส้ องสถาน และศาลดาเนินกระบวนพิจารณาในตอนเช้าโดยสืบพยานไป
บ้างแล้ว ต่อมา ค่คู วามยื่นคาร้องในตอนบา่ ยขอให้วินิจฉยั คดี กรณีเช่นนี ้แม้ยงั ไม่พ้นวนั นนั้ ซง่ึ เป็ น
วนั สืบพยาน แต่เห็นได้ว่า กรณีมีการดาเนินกระบวนพิจารณาล่วงลา้ เข้าไปในเนือ้ หาแห่งคดีแล้ว
ต้องแปลความว่า แม้ยื่นวนั เดียวกนั ก็เป็นการลว่ งเลยเวลาเนื่องจากมีการลงมือสืบพยานไปแล้ว

กรณีศาลรับฟ้ องเป็ นคดีแพ่ง จาเลยขาดนดั ย่ืนคาให้การก็ดี หรือจาเลยให้การแต่
ไม่ได้ให้การปฏิเสธในปัญหานีก้ ็ดี เม่ือศาลดาเนินกระบวนพิจารณาจนล่วงเลยวนั ชีส้ องสถานหรือ
วนั สืบพยานไปแล้ว และไม่ปรากฏวา่ มีผ้ใู ดโต้แย้ง แสดงว่าคู่ความยอมรับอานาจศาลท่รี ับฟ้ อง

20

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

และดาเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่างคดีแพ่ง คดีจึงไม่มีปัญหาเร่ืองอานาจศาลดังกล่าว
อีก กรณีเช่นนีจ้ าเลยจะใช้วิธีการย่ืนคาร้องขอให้วินิจฉัยคดีไม่ได้ เพราะเป็ นการยื่นคาร้อง
ขอเม่ือเกินกาหนดแล้ว ศาลชนั้ ต้นชอบท่ีจะมีคาสงั่ ยกคาร้องได้ (ไม่ถือเป็นการใช้อานาจวินิจฉยั
ปัญหาว่าเป็ นคดีผูบ้ ริโภคหรือไม่ เพราะเป็นเพียงการวินิจฉยั ปัญหาว่าคาร้องยื่นเกินกาหนดเวลา
หรือไม่) คาสง่ั เข่นนีถ้ ือเป็ นคาสง่ั ระหว่างพิจารณา ค่คู วามผ้ยู ื่นคาร้องจะอทุ ธรณ์คาสงั่ ทนั ทีไม่ได้
คงทาได้เพียงใช้สิทธิโต้แย้งคดั ค้านคาสง่ั ไว้ เพ่ือใช้สิทธิอุทธรณ์ต่อไป ตามประมวลกฎหมายวิธี
พจิ ารณาความแพง่ มาตรา 226 ซง่ึ ใช้แก่คดีผ้บู ริโภคด้วยตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.
2551 มาตรา 7

กรณีตามวรรคก่อน คู่ความจะยื่นคาร้ องขอให้เพิกถอนกระบวนพิจารณาผิด
ระเบียบก็ไม่ได้ เพราะเป็ นกรณีที่ถือว่าคดีไม่มีปัญหาโต้แย้งเรื่องอานาจศาลแล้ว ไม่เข้าเกณฑ์เป็ น
การดาเนินกระบวนพจิ ารณาผดิ ระเบียบ ดงั นนั้ แม้ศาลจะสงั่ เพกิ ถอนกระบวนพจิ ารณาผิดระเบียบ
เองโดยค่คู วามไมไ่ ด้ขอ ก็นา่ จะกระทาไมไ่ ด้เชน่ กนั หากศาลดาเนนิ กระบวนพจิ ารณาไปในลกั ษณะ
ดงั กลา่ วแล้วส่งคดีให้วนิ จิ ฉยั ประธานศาลอทุ ธรณ์เคยมีคาสง่ั ไม่รับวนิ จิ ฉยั เช่น

ศาลรับฟ้ องและดาเนินกระบวนพิจารณาอย่างคดีมโนสาเร่จนสืบพยานโจทก์เสร็จ ส่วน
จาเลยไมส่ ืบพยานและนดั ฟังคาพพิ ากษาแล้ว โดยไมป่ รากฏวา่ มีค่คู วามขอหรือศาลเห็นสมควรให้วินิจฉัย
ปัญหาว่าเป็ นคดีผู้บริโภคหรือไม่ จึงเป็ นการล่วงเลยเวลาที่จะขอให้มีการวินิจฉัยปัญหาดังกล่าวแล้ว
คคู่ วามหรือศาลไมอ่ าจดาเนนิ การด้วยวิธีหนงึ่ วธิ ีใดเพ่อื ย้อนไปขอให้ประธานศาลอทุ ธรณ์วินิจฉยั ปัญหานี ้
ได้อีกเพราะเป็นกรณีต้องห้ามตามบทบญั ญตั แิ หง่ กฎหมาย จงึ ไม่รับวินจิ ฉยั (คฉ. 255/2553)

สาหรับปัญหาวา่ จาเลยให้การตอ่ ส้คู ดีในคาให้การไว้ว่า คดีนนั้ ไม่ใชค่ ดีแพง่ แต่เป็ น
คดีผู้บริโภค ซ่ึงโดยทั่วไปถือเป็ นประเด็นข้อพิพาทแห่งคดี เม่ือศาลเพ่ิงพบเห็นข้อต่อสู้ดงั กล่าว
หลงั จากสืบพยานโจทก์ไปแล้ว ทาให้ศาลสง่ั เพกิ ถอนกระบวนพิจารณาเพราะเล็งเห็นว่า ปัญหาว่า
คดีใดเป็ นคดีผู้บริโภคหรือไม่ ไม่ใช่อานาจศาลท่ีจะวินิจฉัย แต่เป็ นอานาจเฉพาะประธานศาล
อุทธรณ์ตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 8 วรรคหนึ่ง เม่ือประธานศาล
อทุ ธรณ์ไม่รับวินิจฉัยแล้ว ศาลต้องถึงทางตนั เพราะจะพิพากษาในประเด็นดงั กล่าวก็ไม่ได้เพราะ
ไม่ใช่อานาจศาล ปัญหาในกรณีเช่นนี ้ ผู้เขียนเห็นว่า แม้จาเลยให้การต่อสู้คดีไว้ แต่จาเลยไม่
ดาเนินการขอให้ศาลสง่ คดีให้ประธานศาลอทุ ธรณ์วินจิ ฉยั ภายในกาหนดอย่างช้าในวนั ชีส้ องสถาน

21

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

หรือวนั สืบพยาน และจาเลยมิได้ยกเร่ืองนีข้ นึ ้ โต้แย้งเพอื่ ให้ศาลเสนอปัญหาให้ประธานศาลอทุ ธรณ์
วินิจฉัย พฤติการณ์ย่อมแสดงว่า จาเลยยอมรับอานาจศาลและคดีย่อมไม่มีปัญหาเร่ือง
อานาจศาลตามคาให้การอีกต่อไป กล่าวอีกนยั หน่ึง ปัญหานีเ้ป็ นอนั ตกไปและถือว่าจาเลยไม่
ติดใจโต้แย้งหรือสละแล้วโดยปริยาย คาพิพากษาศาลจึงไม่ต้องวินิจฉยั ปัญหานีโ้ ดยควรชีข้ าดว่า
ปัญหานีไ้ ม่เป็ นประเด็นข้อพพิ าทอีกต่อไป (เทียบ คาพิพากษาศาลฎีกาท่ี 5818/2551 กรณีเช่นนี ้
ประธานศาลอทุ ธรณ์มีคาวินิจฉัยแล้ว เชน่

คฉ. 252/2558 คดีนีศ้ าลจงั หวดั ชลบุรีรับฟ้ องเป็ นคดีแพ่ง แม้จาเลยให้การต่อส้วู ่า
เป็ นคดีผ้บู ริโภค โจทก์จะฟ้ องเป็ นคดีแพ่งสามญั มิได้ แต่ศาลจงั หวดั ชลบรุ ีดาเนินกระบวนพิจารณา
อย่างคดีแพ่งจนสืบพยานโจทก์และจาเลยเสร็จแล้วไม่ปรากฏว่าจาเลยยกเรื่องนีข้ ึน้ โต้แย้งหรือมีคา
ขอให้ศาลรอการพจิ ารณาคดีไว้ชวั่ คราวเพือ่ เสนอปัญหาดงั กล่าวให้ประธานศาลอทุ ธรณ์วินิจฉยั อนั
เป็นพฤติการณ์ท่ีแสดงว่า จาเลยยอมรับการดาเนินกระบวนพิจารณาอย่างคดีแพ่งนัน้ ตลอดมา
และไม่ติดใจปัญหาว่าคดีนีเ้ ป็ นคดีผ้บู ริโภคหรือไม่ดงั ที่ให้การอีกต่อไป ที่ศาลฎีกาพิพากษายกคา
พพิ ากษาศาลจงั หวดั ชลบรุ ีและย้อนสานวนให้พิจารณาพิพากษาใหม่ ก็หาได้เพิกถอนกระบวน
พิจารณาชัน้ สืบพยานที่ดาเนินการจนแล้วเสร็จไม่ ดังนี ้ จึงไม่ใช่กรณีมีปัญหาว่าคดีนีเ้ ป็ นคดี
ผ้บู ริโภคหรือไม่อีกต่อไป ทัง้ เป็ นการล่วงเลยเวลาที่จะขอให้มีการวินิจฉัยปัญหาว่าคดีนีเ้ ป็ นคดี
ผู้บริโภคหรือไม่แล้ว จึงไม่อาจขอให้ประธานศาลอุทธรณ์วินิจฉัยปัญหานีไ้ ด้อีกเพราะเป็ นการ
ต้องห้ามตามบทบญั ญัติแห่งกฎหมายดงั กล่าว จึงไม่รับวินิจฉัยคดีนี ้

ฟ้ องท่ศี าลไหน

หากผ้ฟู ้ องเป็ นผ้ปู ระกอบธุรกิจจะฟ้ องผ้บู ริโภค ถกู บงั คบั ให้ฟ้ องได้เฉพาะท่ีศาลซ่งึ
ผ้บู ริโภคมีภมู ิลาเนาอย่ใู นเขตอานาจศาลนนั้ เท่านนั้ หากมีผู้บริโภคหลายคน ก็เลือกฟ้ องศาลใด
ศาลหนง่ึ ได้ (มาตรา 17 และ ป.วิ.พ.ม.5)

หากผู้ฟ้ องเป็ นผู้บริโภคจะฟ้ องผู้ประกอบธุรกิจ โดยท่ัวไปเลือกฟ้ องได้ที่ศาลซ่ึงผู้
ประกอบธุรกิจมีภูมิลาเนาอย่ใู นเขตอานาจศาลก็ได้ หรือจะเลือกฟ้ องท่ีศาลที่มลู คดีนนั้ เกิดขึน้ ใน

22

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

เขตอานาจศาลนนั้ ก็ได้ หากมีผ้ปู ระกอบธุรกิจหลายคน ก็เลือกฟ้ องศาลใดศาลหนง่ึ ได้ (ป.วิ.พ. ม.
4, ม.5)

คดีท่ีผู้ประกอบธุรกิจฟ้ องลูกหนีช้ ัน้ ต้นและผู้คา้ ประกนั เป็ นจาเลยให้ร่วมกันรับผิด
เดิมมีแนวคาวินิจฉัยว่า ผ้คู า้ ประกันไม่ใช่ผ้บู ริโภค หากคดีของลกู หนีช้ นั้ ต้นเป็ นคดีผ้บู ริโภค คา
วินิจฉัยจะระบวุ ่า คดีสาหรับผ้คู า้ ประกันเป็ นคดีแพ่งท่ีเก่ียวพนั กันกบั คดีผู้บริโภคตาม พ.ร.บ.วิธี
พจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 3 (3) ซง่ึ หมายถงึ วา่ ตวั ผ้คู า้ ประกนั นนั้ มิใช่ผ้บู ริโภค แต่คดี
ส่วนของผ้คู า้ ประกันที่ฟ้ องรวมกนั มาเป็ นคดีผ้บู ริโภคไปด้วยตามสภาพคดีของลกู หนีช้ นั้ ต้น เหตุที่
คาวินิจฉัยชีข้ าดเช่นนี ้เป็ นเพราะผ้คู า้ ประกนั ไม่ใช่ผ้บู ริโภคสินค้าหรือได้รับบริการจากเจ้าหนีข้ อง
ลกู หนีช้ นั้ ต้น

คฉ.ท่ี 154/2553 โจทก์เป็ นนิติบุคคลประเภทบริษัทจากัด มีวัตถุประสงค์ในการ
จาหน่ายรถจกั รยานยนต์และได้ทาสญั ญาขายรถจกั รยานยนต์ให้แก่นายศราวฒุ ิตามทางค้าปกติ
ของตน โจทก์จึงเป็ นผ้ขู ายและเป็ นผู้ประกอบธุรกิจ โดยมีนายศราวุฒิเป็ นผ้ซู ือ้ และเป็ นผู้บริโภค
สาหรับจาเลยแม้มิใช่ผ้บู ริโภค แต่เมื่อโจทก์ฟ้ องให้รับผิดในฐานะผ้คู า้ ประกนั ของ นายศราวฒุ ิผ้ซู ือ้
อนั มีลกั ษณะเป็นคดีที่เกี่ยวพนั กนั กบั คดีตามมาตรา 3 (1) จงึ เป็นคดีผ้บู ริโภคตามมาตรา 3 (3)

คฉ.ท่ี 5172555 สาหรับจาเลยที่ 2 ซงึ่ โจทก์ฟ้ องให้ร่วมรับผิดกบั จาเลยท่ี 1 ในฐานะ
ผ้คู า้ ประกนั นนั้ แม้มิใช่ผู้ได้รับบริการจากโจทก์ แต่เป็ นคดีแพ่งที่เกี่ยวพนั กันกับคดีผู้บริโภคตาม
มาตรา 3 (1) จงึ เป็นคดีผ้บู ริโภคตามมาตรา 3 (3)

คฉ.ที่ 158/2556 โจทก์ฟ้ องขอให้บงั คบั จาเลยท่ี 1 รับผิดตามสญั ญาเช่าซือ้ กบั ให้
จาเลยท่ี 2 ร่วมรับผดิ ในฐานะเป็นผ้คู า้ ประกนั โดยจาเลยท่ี 2 มิใช่ผ้ซู ือ้ สินค้าหรือผ้รู ับบริการใดจาก
โจทก์ จึงมิใช่คดีแพ่งระหว่างผ้ปู ระกอบธุรกิจกับผ้บู ริโภคซ่งึ พิพาทกนั เกี่ยวกับสิทธิหรือหน้าที่ตาม
กฎหมายอนั เนื่องมาจากการบริโภคสนิ ค้าหรือบริการ

คฉ.ที่ 51/2557 จาเลยที่ 3 และที่ 4 ซึง่ โจทก์ฟ้ องให้ร่วมรับผิดกับจาเลยที่ 1 และ
ที่ 2 ในฐานะผู้คา้ ประกันนัน้ มิใช่ผู้บริโภคสินค้าหรือได้รับบริการจากโจทก์จึงไม่มีฐานะเป็ น

23

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ผ้บู ริโภค แต่คดีของจาเลยท่ี 3 และที่ 4 เป็ นคดีแพ่งที่เกี่ยวพนั กันกับคดีของจาเลยที่ 1 และที่ 2
ตามมาตรา 3 (3)

คฉ.ที่ 18/2558 จาเลยท่ี 2 ซงึ่ โจทก์ฟ้ องให้ร่วมรับผิดกบั จาเลยที่ 1ในฐานะผ้คู า้ ประกนั
การก้เู งินนนั้ เห็นว่า จาเลยท่ี 2 มิใช่ผ้ซู ือ้ สินค้าหรือได้รับบริการจากโจทก์ จึงไม่เป็ นผู้บริโภค แต่คดี
ของจาเลยท่ี 2 เป็นคดีแพง่ ท่ีเกี่ยวพนั กนั กบั คดีผ้บู ริโภคตามมาตรา 3 (1) จงึ เป็นคดีผ้บู ริโภคตามมาตรา
3 (3)

ตามแนวการวินิจฉัยคดีเดิมท่ีผู้คา้ ประกันไม่เป็ นผู้บริโภค การฟ้ องคดีจึงต้องถือ
ภูมิลาเนาลูกหนีช้ นั้ ต้นซึ่งเป็ นผู้บริโภคเป็ นหลกั ตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551
มาตรา 17 แต่ต่อมาศาลฎีกาวนิ ิจฉัยว่า ผู้คา้ ประกนั เป็ นผู้บริโภค

ฎีกาท่ี 11872/2554 คดีเร่ืองเช่าซือ้ คา้ ประกนั โจทก์ฟ้ องว่าจาเลยที่ 1 เป็ นผ้เู ช่า
ซือ้ มีจาเลยท่ี 2 ท่ี 3 เป็ นผู้คา้ ประกัน ให้ร่วมกันรับผิด ศาลฎีกาวินิจฉัยตอนท้ายเพื่อสงั่ คืนค่า
ฤชาธรรมเนียมว่า อน่ึง จาเลยทัง้ สามเป็ นผู้บริโภค ไม่ต้องเสียค่าขึน้ ศาลตาม พ.ร.บ.วิธี
พจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 18 วรรคหนง่ึ ...

ฎีกาท่ี 8737/2559 การท่ีโจทก์ฟ้ องคดีต่อศาลชนั้ ต้นที่จาเลยที่ 2 ผู้คา้ ประกัน มี
ภมู ิลาเนาอย่ใู นเขตศาล ย่อมเป็ นการฟ้ องคดีต่อศาลที่ผ้บู ริโภคคนหน่ึงมีภูมิลาเนาอย่ใู นเขตศาล
แล้ว และเม่ือหนีข้ องจาเลยทงั้ สองท่ีมีต่อโจทก์เป็ นเรื่องการเช่าซือ้ การคา้ ระกัน มลู ความแห่งคดี
ยอ่ มเก่ียวข้องกนั โจทก์ชอบท่ีจะฟ้ องจาเลยทงั้ สองเป็นคดีเดียวกนั ต่อศาลชนั้ ต้นนีไ้ ด้

แนววินิจฉัยคดีของประธานศาลอุทธรณ์ปัจจุบันเปล่ียนไปวินิจฉัยเป็ นว่า
เม่ือหนีป้ ระธานเป็ นคดีผู้บริโภค หนีค้ า้ ประกันซ่ึงเป็ นหนีอ้ ุปกรณ์ ย่อมเป็ นคดีผู้บริโภค
ด้วย เช่น คฉ.605/58 ...เม่ือคดีของจาเลยที่ 1 ซง่ึ เป็ นหนีป้ ระธานเป็ นคดีผ้บู ริโภค คดีในส่วนของ
จาเลยท่ี 2 และที่ 3 ซ่งึ โจทก์ฟ้ องให้ร่วมรับผิดกบั จาเลยที่ 1 ในฐานะผ้คู า้ ประกนั และผู้จานองซึ่ง

เป็นหนีอ้ ปุ กรณ์จงึ เป็นคดีผ้บู ริโภค

24

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

หรือคาวนิ จิ ฉยั ทานองเดียวกนั เชน่ คฉ.606-608/58 คฉ.612,614, 616,618/2558
คฉ.1/2559 คฉ.100/2559 คฉ.118/2559 คฉ.121/2559 คฉ.776/2559 ฯลฯ

ปัจจุบันเป็ นอันยุติว่า คดีท่ีผู้ประกอบธุรกิจฟ้ องลูกหนีช้ ัน้ ต้นและผู้คา้

ประกันเป็ นจาเลยให้ร่วมกันรับผิด เม่ือทัง้ ลูกหนีช้ ัน้ ต้นและผู้คา้ ประกันต่างเป็ นผู้บริโภค
ผู้ประกอบธุรกิจย่อมเลือกฟ้ องท่ีศาลใดศาลหน่ึงท่ีลูกหนีช้ ั้นต้ นและผู้คา้ ประกันมี
ภมู ลิ าเนาอย่ใู นเขตศาลได้ ตามมาตรา 17 และ ป.วิ.พ.ม.5

ค่าฤชาธรรมเนียม

หากผู้ฟ้ องเป็ นผ้บู ริโภค ได้รับยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียม ได้แก่ ค่าขึน้ ศาล ค่าส่ง
หมาย (มาตรา 18 วรรคหนึ่ง) เป็นต้น การยกเว้นนีไ้ มย่ กเว้นให้แก่โจทก์ที่เป็ นผ้ปู ระกอบธุรกิจ การ
ยกเว้นแก่ผู้บริโภคนี ้เป็ นการยกเว้นทุกชนั้ ศาล (มาตรา 18 ใช้ในชน้ั อทุ ธรณ์ด้วยตามมาตรา 50
และใชใ้ นชน้ั ฎีกาดว้ ยตามมาตรา 55)

การยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมแก่ผ้บู ริโภคนี ้ ไม่ใช่ยกเว้นเด็ดขาด หมายถึง ศาลมี
อานาจพจิ ารณาวา่ กรณีผ้บู ริโภคมีพฤติการณ์ตามท่ีกฎหมายกาหนด (คือ ฟ้ องคดีโดยไม่มีเหตผุ ล
อนั สมควร เรียกร้องค่าเสียหายเกินสมควร ประพฤติตนไม่เรียบร้อย ดาเนินกระบวนพิจารณาอนั มี
ลกั ษณะเป็ นการประวิงคดีหรือที่ไม่จาเป็ น หรือมีพฤติการณ์อื่นที่ศาลเห็นสมควร) ศาลก็สงั่ ให้
ผู้บริโภคกลบั ไปเสียค่าฤชาธรรมเนียมได้ทงั้ หมด หรือให้เสียแค่บางส่วนก็ได้แล้วแต่พฤติการณ์
(มาตรา 18 วรรคสอง)

การยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมแก่ผ้บู ริโภคดงั กล่าว ไม่รวมถึงค่าฤชาธรรมเนียมใช้
แทนแก่อีกฝ่ ายเม่ือศาลตดั สินคดี หมายความวา่ หากผ้บู ริโภคแพ้คดี และศาลสงั่ ให้รับผิดใช้ค่า
ฤชาธรรมเนียมแทนผ้ชู นะคดี ผ้บู ริโภคก็ต้องชาระค่าฤชาธรรมเนียมส่วนนี ้(มาตรา 18 วรรคหน่ึง
ตอนท้าย) อย่างไรก็ตาม หากผ้บู ริโภคไม่มีเงินชาระ ผ้บู ริโภคขอยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมได้ ตาม
ป.ว.ิ พ.ม.156 ประกอบ พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 7 (ฎีกาที่ 8636/2558)

ผ้บู ริโภคได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียค่าส่งหมายหรือค่าส่งคาค่คู วาม ค่ารับรองเอกสาร
ตามมาตรา 18 วรรคหนึ่ง (ฎีกาที่ 8636/2558, 5352/2562) การท่ีศาลชนั้ ต้นมกั เรียกเก็บเงินเป็ น
คา่ ดงั กล่าวจากคคู่ วามฝ่ ายผ้บู ริโภคจงึ ไม่ถกู ต้อง

25

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ปัญหาในคดผี ู้บริโภค (ชนั้ ศาลอุทธรณ์)

ชนั้ ขออนุญาตอุทธรณ์ :

คดีผ้บู ริโภคที่มีทนุ ทรัพย์ชนั้ อทุ ธรณ์ไม่เกิน 50,000 บาทห้ามมิให้ค่คู วามอทุ ธรณ์ใน
ปัญหาข้อเท็จจริง ตาม พ.ร.บ.วธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 (ว.ิ ผบ.) มาตรา 47 คดีท่ีต้องห้าม
อทุ ธรณ์เชน่ นี ้ผ้อู ทุ ธรณ์ใช้สิทธิได้ 2 กรณีตามมาตรา 48 คือ
1) ย่ืนอทุ ธรณ์ไปพร้อมคาร้องขออนญุ าตอทุ ธรณ์ต่อศาลชนั้ อทุ ธรณ์ หรือ
2) ย่ืนอุทธรณ์ลาพงั ก่อน เม่ือศาลชัน้ ต้นส่ังไม่รับเพราะต้องห้ามอุทธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง จึง
เลือกใช้สิทธิอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ต่อไปนี ้

2.1) เมื่อเหน็ ด้วยกบั ศาลวา่ เป็นคดีต้องห้ามอทุ ธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง ใช้สทิ ธิย่ืนคาร้องขอ
อนญุ าตอทุ ธรณ์ตอ่ ศาลชนั้ อทุ ธรณ์ภายใน 15 วนั นบั แต่ที่ศาลชนั้ ต้นมีคาสงั่ ไมร่ ับ

2.2) หากไม่เหน็ ด้วยกบั ศาลว่าเป็นคดีต้องห้ามอทุ ธรณ์ปัญหาข้อเท็จจริง ใช้สิทธิย่ืนคาร้อง
อทุ ธรณ์คาสง่ั ไม่รับอทุ ธรณ์ภายใน 15 วนั นบั แต่ที่ศาลชนั้ ต้นมีคาสงั่ ไมร่ ับ ตาม
ประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความแพง่ (ป.วิ.พ.) มาตรา 234 ประกอบ วิ.ผบ.ม. 7
ที่วา่ เลือกใช้สิทธิอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ หมายความว่า หากใช้สทิ ธิย่ืนคาร้องขออนญุ าต

ตาม 2.1) จะไมม่ ีสทิ ธิอทุ ธรณ์คาสงั่ ไม่รับอทุ ธรณ์อีกตาม ว.ิ ผบ.ม.48 วรรคสอง ตอนท้าย
ปัญหาว่าหากเลือกใช้สิทธิย่ืนคาร้องอุทธรณ์คาส่ังตาม 2.2) แล้ ว จะใช้สิทธิ

ย่นื คาร้องขอตาม 2.1 อีกได้หรือไม่ เช่น ยื่นคาร้องอทุ ธรณ์คาสงั่ ไม่รับอทุ ธรณ์แล้วภายใน 7 วนั
นบั แตศ่ าลชนั ต้นสงั่ ไมร่ ับอทุ ธรณ์ ต่อมาอีก 3 วนั ย่ืนคาร้องขออนญุ าตอทุ ธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง
อีก ปัญหานี้ แม้ วิ.ผบ.ไม่ได้บัญญัติไว้โดยตรง แต่ย่อมตีความได้ ว่า เป็ นกรณีไม่อาจทาได้
เช่นเดยี วกัน เพราะเป็ นการใช้สิทธิ 2 ทางท่ขี ัดแย้งกัน เน่ืองจากการใช้สิทธิย่ืนคาร้องขอตาม
2.1 เท่ากบั ยอมรับวา่ เห็นด้วยท่ีเป็นอทุ ธรณ์ต้องห้ามในปัญหาข้อเท็จจริง ส่วนการใช้สิทธิตาม 2.2)
เป็นกรณีไม่เหน็ ด้วยและยืนยนั ว่าอทุ ธรณ์ไมต่ ้องห้าม

26

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

การขอขยายระยะเวลาย่นื อุทธรณ์ :

ข้อกาหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการดาเนินกระบวนพจิ ารณาและการปฏิบตั ิ
หน้าท่ีของเจ้าพนกั งานคดีในคดีผ้บู ริโภค พ.ศ. 2551 ข้อ 30

“ ในกรณีท่ีมีการยื่นคาขอโดยทาเป็ นคาร้ องเพื่อขออนุญาตอุทธรณ์ในปัญหา
ข้อเท็จจริงตามมาตรา 48 ให้ศาลชนั้ ต้นมีอานาจตรวจคาขอและอทุ ธรณ์ และมีคาสง่ั ตามประมวล
กฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพง่ มาตรา 18 หากผ้รู ้องไมป่ ฏบิ ตั ิตามคาสงั่ ให้ศาลชนั้ ต้นรีบส่งคาขอ
และอทุ ธรณ์ไปยงั ศาลอทุ ธรณ์เพอ่ื พจิ ารณาสง่ั โดยเร็วตอ่ ไป

ในกรณีมีการขออนญุ าตขยายระยะเวลาอทุ ธรณ์หรือระยะเวลาย่ืนคาขออนุญาต
อทุ ธรณ์หากศาลชนั้ ต้นเห็นสมควรอนญุ าตให้ขยาย ให้ศาลชนั้ ต้นสง่ั ตามที่เห็นสมควร หากจะไม่
อนญุ าตให้ศาลชนั้ ต้นดาเนนิ การตามวรรคหนง่ึ ”

ข้อสังเกต: ชนั้ ขอยายระยะเวลาระหว่างฎีกา (นบั แต่มีการแก้ไขความใน ม.51 โดย พ.ร.บ.วิธี

พิจารณาคดีผบู้ ริโภค (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ 2559 มาตรา 3 และนาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพ่งมาใช้บงั คบั แทนโดยอนโุ ลม การขยายระยะเวลาระหว่างฎีกาคดีผูบ้ ริโภค จึงต้องบงั คบั ตาม
ข้อกาหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขออนุญาตฎีกาในคดีแพ่ง พ.ศ. 2558ข้อ 9 ที่
กาหนดให้) กรณีศาลชนั้ ต้นเห็นสมควรอนญุ าตให้ขยาย ศาลชนั้ ต้นเป็ นผู้สง่ั หากจะไม่อนญุ าต ให้
เป็นอานาจศาลฎีกาพจิ ารณาสง่ั

ปั ญหาพบบ่อย:สาหรับชัน้ อุทธรณ์ การที่ข้อกาหนดฯ ไม่ได้บัญญัติเร่ืองอานาจส่ังขยาย

ระยะเวลาเป็นบททว่ั ไปเพื่อใช้ในทกุ กรณี แต่กลบั บญั ญัติในวรรคสองของข้อ 30 ซง่ึ วรรคหนงึ่ เป็ น
เร่ืองขออนุญาตอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง การตรวจสง่ั คาร้องขออนญุ าตและตรวจอทุ ธรณ์ จึง
เป็นท่ีมาของทางปฏบิ ตั ขิ องศาลชนั้ อทุ ธรณ์ที่แตกตา่ งกนั คือ

1) หากศาลชัน้ ต้นจะไม่อนุญาต ต้องส่งศาลชัน้ อุทธรณ์ทุกกรณี ไม่ว่าจะเป็ นคดีอยู่ใน
เกณฑ์ต้องห้ามในปัญหาข้อเท็จจริงหรือไม่ หากศาลชนั้ ต้นสงั่ ไม่อนญุ าตเสียเอง และผู้
อทุ ธรณ์ยื่นอุทธรณ์คาสงั่ คดีไปสู่ศาลชนั้ อุทธรณ์ ศาลชนั้ อทุ ธรณ์จะถือว่าสงั่ โดยไม่มี
อานาจและสงั่ ยกคาสงั่ ศาลชนั้ ต้น แล้วสง่ั ใหม่เสียเองตามรูปคดี

27

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

2) หากศาลชัน้ ต้นจะไม่อนุญาต ดูเกณฑ์ทุนทรัพย์ในคดีเม่ือเริ่มฟ้ องเกิน 50,000 บาท
หรือไม่ หากเกิน เป็ นอานาจศาลชนั้ ต้นพิจารณาสง่ั ไม่อนุญาตให้ขยายได้เอง หากไม่
เกิน ศาลชนั้ ต้นไมม่ ีอานาจสง่ั ต้องส่งศาลชนั้ อทุ ธรณ์สงั่ เช่น ผ้อู ทุ ธรณ์ย่ืนอทุ ธรณ์พร้อม
คาร้ องขออนุญาตอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง และยื่นคาร้ องขอขยายระยะเวลา
วางเงนิ คา่ ฤชาธรรมเนียมใช้แทน
กรณีตาม 2) มีข้อพึงสังเกตว่า หากผู้อุทธรณ์ยื่นคาร้ องขอขยายระยะเวลาย่ืน

อุทธรณ์ฉบับเดียว ศาลชัน้ ต้นจะพิจารณาทราบได้อย่างไรว่า คดีต้องห้ามอุทธรณ์ในปัญหา
ข้อเท็จจริงหรือไม่ แม้ชนั้ เริ่มฟ้ องคดีทนุ ทรัพย์อาจเกิน 50,000 บาท แต่ชนั้ อทุ ธรณ์อาจมีทุนทรัพย์
ไม่ถึง 50,000 บาท ก็เป็ นได้ ทงั้ อาจเป็ นกรณีอทุ ธรณ์ในปัญหาข้อกฎหมายได้ เช่นกนั กรณีตาม 2)
นี ้ หากศาลชัน้ ต้นปฏิบัติไม่ตรงกับแนวศาลชัน้ อุทธรณ์นัน้ ศาลชัน้ อุทธรณ์จะถือว่าส่ังโดยไม่มี
อานาจและสง่ั ยกคาสง่ั ศาลชนั้ ต้น แล้วสงั่ ใหม่เสียเองตามรูปคดี

ปัญหาอานาจศาลชัน้ ต้นในการส่ังไม่อนุญาตขยายระยะเวลาดังกล่าว ไม่เป็ น
ปัญหาขึน้ สู่ศาลฎีกา จึงไม่มีแนวบรรทัดฐาน ปัจจุบันศาลชัน้ อุทธรณ์ทัง้ 10 แห่ง ก็ยังปฏิบัติ
แตกต่างกนั อย่บู ้าง อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็ นกรณีตาม 1) หรือ 2) ความเสียหายในทางคดีก็ไม่
เกิดขึน้ เพราะเม่ือคดีไปส่ศู าลชนั้ อทุ ธรณ์ คาร้องขอขยายระยะเวลาก็ได้รับการพิจารณาจากศาล
ชนั้ อทุ ธรณ์อยดู่ ี

ปัญหาในคดผี ู้บริโภค (ชัน้ ศาลฎกี า)

ชนั้ ขออนุญาตฎกี า :

พ.ร.บ.วธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 51
การฎีกาคาพิพากษาหรือคาสง่ั ของศาลอทุ ธรณ์แผนกคดีผ้บู ริโภคและศาลอุทธรณ์
ภาคแผนกคดีผ้บู ริโภคให้นาบทบญั ญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บงั คับ
โดยอนโุ ลม
(ความเดิมในมาตรานีถ้ กู ยกเลกิ โดย พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ
2559 มาตรา 3 ประกาศ รกจ. 14 ธนั วาคม 2558 มีผลใช้บงั คบั ตงั้ แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศ (ม.2)

28

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

และ ม. 5 ยกเลิกความในมาตรา 52–54 กบั ม. 6 บทเฉพาะกาลให้คดีที่พิพากษาหรือมีคาสง่ั ก่อน
กฎหมายใหมใ่ ช้บงั คบั ให้ใช้กฎหมายเก่าแทนจนกวา่ คดีเสร็จจากศาลฎีกา)

การขอขยายระยะเวลาย่นื ฎีกา :

ข้อกาหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขออนญุ าตฎีกาในคดีแพ่ง พ.ศ.2558
ข้อ 9 ถ้าจะอนุญาต ศาลชนั้ ต้นอนุญาตได้เอง ถ้าจะไม่อนุญาตศาลชนั้ ต้นไม่มีอานาจสง่ั ต้องส่ง
ศาลฎีกาเป็นผ้สู ง่ั

ปัญหาพบบ่อย : ศาลชนั้ ต้นส่งฎีกาและคาร้องขออนญุ าตฎีกาที่ยื่นเกินกาหนดไปศาลฎีกาโดย

ไม่มีคาร้ องขอขอขยายระยะเวลา

การขออนุญาตย่นื ฎีกา : ปัญหาพบบ่อย

- สง่ ฎีกาไปโดยไมม่ ีคาร้องขอขยายระยะเวลา
- คาร้องไม่ชดั แจ้ง

ตัวอย่ างคาร้ องไม่ ชัดแจ้ ง

เพอื่ ประโยชน์ในการปฏิบตั หิ น้าที่ของเจ้าพนกั งานคดี จงึ ขอนาตวั อยา่ งคาร้องท่ีศาล
ฎีกาแผนกคดีผู้บริโภควินิจฉัยว่าเป็ นคาร้ องไม่ชัดแจ้ง เป็ นเหตุให้ต้องสั่งไม่รับฎีกามาเป็ น
ตวั อยา่ งไว้ให้ได้ศกึ ษา

ครพ.ผบ. 6/2560 คดีมีความเก่ียวพนั กับประโยชน์สาธารณะสมาชิกทงั้ หม่บู ้าน
และเป็นปัญหาข้อกฎหมายสาคญั ที่ศาลฎีกาควรอนญุ าตให้ฎีกา

ครพ.ผบ.354/2560 เนือ้ หาของคดีมีประเด็นท่ีเป็ นองค์ประกอบสาคัญและเป็ น
สาระองค์ความรู้ท่ีควรได้รับการวินิจฉยั ในเรื่องอานาจฟ้ องและความรับผิดของจาเลยว่ามีเพียงใด
เป็ นข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอนั เก่ียวด้วยความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชน
ล้วนเป็ นเหตผุ ลสาระสาคญั ที่ต้องว่ากล่าวต่อไปในศาลสงู ทงั้ จะเป็ นแนวฎีกาท่ีใช้เป็ นบรรทดั ฐาน
เป็นปัญหาข้อกฎหมายที่มีรายละเอียดแนวทางท่ีดีในทางปฏิบตั ิ เพือ่ ให้การพจิ ารณาคดีเป็ นไปโดย
เที่ยงธรรมและเพ่อื ประโยชน์แห่งความยตุ ิธรรม

29

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ครพ.ผบ.1098/2560 ฎีกาของโจทก์ทงั้ สองเป็นปัญหาข้อเทจ็ จริงและข้อกฎหมายที่
สมควรได้รับการพจิ ารณาคดีในชนั้ ศาลฎีกาอีกครัง้ หนง่ึ เพ่อื ประโยชน์ต่อบคุ คลที่รับประทานอาหาร
เสริมท่ีขายตรงแก่ผ้บู ริโภค เม่ือเกิดเหตดุ งั โจทก์ทงั้ สองได้รับจากการบริโภคแล้วแพ้สารอาหาร และ
เพ่อื ประโยชน์แห่งความยตุ ิธรรม

ครพ.ผบ.1213/2560 ศาลชนั้ ต้นและศาลอทุ ธรณ์ภาค 4 วินิจฉยั ประเด็นแห่งคดีทงั้
ในข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายคลาดเคล่ือนจาเลยประสงค์ให้ศาลฎีกาวินิจฉัยเป็ นบรรทดั ฐานใน
อนาคต รายละเอียดและเหตุผลตามฎีกาที่แนบพร้อมคาร้อง ขอให้อนญุ าตฎีกาเพ่ือให้จาเลยได้
ตอ่ ส้คู ดีอย่างเต็มท่ีและเพ่อื ประโยชน์แหง่ ความยตุ ิธรรม

ครพ.ผบ.4480-4482/2561 โจทก์ไม่เห็นพ้องด้วยท่ีศาลชนั้ ต้นพิพากษายกฟ้ อง
และศาลอทุ ธรณ์ภาค 5 พพิ ากษายืน จงึ ประสงค์จะยื่นฎีกาเพือ่ นาคดีขนึ ้ ส่ศู าลสงู

ครพ.ผบ.4907/2561 ฎีกาของผ้รู ้องเป็ นปัญหาข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายท่ีควร
ได้รับการวินิจฉัยจากศาลฎีกาเพราะผ้รู ้องทาสญั ญาซือ้ ทรัพย์จากการขายทอดตลาดแล้วไม่ได้รับ
ความเป็นธรรมจากเจ้าพนกั งานบงั คบั คดี

ครพ.ผบ.359/2562 ฎีกาของจาเลยเป็นปัญหาสาคญั เพราะยงั ไมม่ ีแนวบรรทดั ฐาน
ของศาลฎีกามาก่อน

ครพ.ผบ.5362/2562 จาเลยยื่นฎีกาคดั ค้านคาพิพากษา แต่เน่ืองจากคดีต้องห้าม
ฎีกาในปัญหาข้อเทจ็ จริงและข้อตอ่ ส้ทู ี่จาเลยหยบิ ยกเป็ นข้อฎีกาสามารถเปล่ียนแปลงคาพพิ ากษา
ศาลอทุ ธรณ์ภาค 2 แผนกคดีผ้บู ริโภค อนั เป็ นปัญหาสาคญั ที่ควรได้รับการวินิจฉัยเพ่ือประโยชน์
แห่งความยตุ ธิ รรม

ครพ.ผบ.6096/2562 ฎีกาของผ้รู ้องมีทงั้ ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายเพียงพอที่ศาล
ฎีกาจะพิพากษากลับคาพิพากษาศาลอุทธรณ์ภาค 3 แผนกคดีผู้บริโภค เน่ืองจากขัดกับแนว
บรรทดั ฐานของคาพพิ ากษาศาลฎีกา เพอื่ พฒั นาการตีความกฎหมาย และเพ่ือประโยชน์แห่งความ
ยตุ ธิ รรม

30

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ครพ.ผบ. 6420/2562 ฎีกาของจาเลยเป็ นประเด็นข้อกฎหมายและจาเลยมีโอกาส
ชนะคดี นอกจากนี ้ฎีกาของจาเลยยงั มีประเด็นทงั้ ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายอนั เป็ นสาระสาคญั
แห่งคดี สมควรที่จะได้รับการพจิ ารณาจากศาลฎีกาเพื่อเป็นบรรทดั ฐานต่อไป

จากแนววนิ จิ ฉยั ของศาลฎีกาดงั กล่าว คงพอให้ศึกษาได้ว่า อย่างไรเป็ นคาร้องที่เข้า
ลกั ษณะไม่ชดั แจ้ง

ค่าฤชาธรรมเนียมใช้แทน

ส่งฎีกาไปโดยผู้ฎีกายังไม่วางค่าฤชาฯใช้แทน
แม้ผ้บู ริโภคจะได้รับยกเว้นค่าขนึ ้ ศาลและค่าธรรมเนียมอ่ืน แต่หากศาลชนั้ อทุ ธรณ์
ให้ผ้บู ริโภครับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมใช้แทน ผ้บู ริโภคก็ต้องวางเงินส่วนนี ้เพราะไม่ได้รับยกเว้น
ตาม พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 18 วรรคหนงึ่ ตอนท้าย

ฟ้ องเคลือบคลุม

ฎ. 5323/2562 แม้จาเลยที่ 1 อุทธรณ์ทานองว่า การที่โจทก์ที่ 3 ไม่บรรยายฟ้ อง
ว่าจาเลยที่ 6 กระทาละเมิดในทางการที่จ้างจึงขาดสาระสาคญั และศาลชน้ั ต้นไม่ได้กาหนด
ประเด็นขอ้ พิพาทไว้ ทาใหก้ ารที่ศาลชน้ั ตน้ พิพากษาใหจ้ าเลยที่ 1 รับผิดเพราะผลของการกระทาของ
จาเลยที่ 6 ลูกจ้างเป็นการนอกประเด็นตามคาฟ้ องและประเด็นข้อพิพาทแห่งคดี จะเป็ นปัญหาข้อ
กฎหมายอนั เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน ซงึ่ ทาให้จาเลยที่ 1 มีสิทธิอทุ ธรณ์ได้ตาม
ป.ว.ิ พ. มาตรา 225 วรรคสอง ประกอบ พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 7 ก็ตาม
แต่ในชัน้ ฎีกาจาเลยท่ี 1 อ้างว่าไม่ต้องรับผิดเพราะเหตุที่ฟ้ องของโจทก์ที่ 3 ไม่ได้ตั้งข้อหาเพื่อ
เรียกร้องใหจ้ าเลยที่ 1 รับผิดในฐานะนายจ้างตอ้ งร่วมรับผิดในผลแห่งละเมิดทีจ่ าเลยที่ 6 กระทา
ในฐานะลูกจา้ ง เป็นการบรรยายฟ้ องไม่ครบถ้วนตามหลกั เกณฑ์มาตรา 172 แห่ง ป.วิ.พ. เป็นฟ้ องที่
ไม่ชอบ จงึ เป็ นข้อที่มิได้ยกขนึ ้ ว่ากนั มาแล้วโดยชอบในศาลอทุ ธรณ์ ประกอบกับในคดีผู้บริโภค
ไม่มีเร่ืองคาฟ้ องไม่ชัดแจ้งหรือฟ้ องเคลือบคลุม เน่ืองจาก พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
พ.ศ.2551 มาตรา 20 ให้ศาลมีอานาจแก้ไขได้ หากศาลเหน็ ว่าคาฟ้ องนัน้ ไม่ถูกต้องหรือ
ขาดสาระสาคัญบางเร่ืองทงั้ ไม่ใช่ข้อกฎหมายอนั เกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้ อยของประชาชนที่

31

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

คู่ความจะมีสิทธิยกขึน้ อ้างในชนั้ ฎีกาได้ จาเลยท่ี 1 จึงไม่มีสิทธิฎีกาในปัญหานีต้ ามมาตรา 225
วรรคหนง่ึ , 252 ประกอบ พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 51 ปัญหานีจ้ าเลยท่ี 1
จะได้รับอนญุ าตให้ฎีกา แตเ่ ม่ือเป็นฎีกาที่ไม่ชอบ ศาลฎีกาก็ไม่อาจวนิ จิ ฉยั ให้ได้

ข้อพจิ ารณา ฎ.5323/2562

- เป็นคดีท่ีไม่ได้ผ่านการประชมุ ของแผนกคดีผ้บู ริโภค
- ข้อวนิ ิจฉยั ไม่ใช่ประเด็นโดยตรง
- ม.20 ไมใ่ ชบ่ ทบงั คบั หากศาลไม่ได้ดู จะผกู มดั วา่ เป็นกรณีฟ้ องไมเ่ คลือบคลมุ หรือไม่
- อทุ ธรณ์ฎีกาเป็นคาฟ้ อง อย่ใู ต้บงั คบั ม.20 โดย ม.50 และ ม.55 หรือไม่
- ผ้ปู ระกอบธุรกิจเป็นโจทก์ฟ้ อง ผ้บู ริโภค ฟ้ องไม่มีเคลือบคลมุ หรือไม่

ทงั้ นี ้ขอให้ศกึ ษาจากตวั อย่างคดีดงั ต่อไปนี ้

ตวั อย่างคดที ่ีศาลฎีกาวนิ ิจฉัยว่าฎกี าไม่ชัดแจ้ง

ครพ.ผบ.128/2560 โจทก์ฎีกาในปัญหาความรับผิดของจาเลยกรณีพืน้ ถนนรอบ
อาคารชุด โดยลอกข้อความตามอุทธรณ์ในปัญหานีม้ าทงั้ หมด ไม่ได้โต้แย้งว่าคาพิพากษาศาล
อทุ ธรณ์แผนกคดีผ้บู ริโภคในปัญหานีไ้ ม่ชอบอย่างไร จงึ เป็ นฎีกาท่ีไม่ชดั แจ้ง ไม่ชอบด้วย ป.วิ.พ.ม.
249 วรรคหน่ึง (เดิม โดยผลของ ม.9 พ.ร.บ.แก้ไขเพ่ิมเติม ป.วิ.พ.ฉบบั ท่ี 27 พ.ศ.2558) เทียบนยั
ฎ.9620/2558 ฎ.2176/2559 และ ฎ.6721/2539 ฎีกาในปัญหานีจ้ ึงไม่เป็ นปัญหาสาคัญท่ีศาล
ฎีกาควรวนิ จิ ฉยั

ครพ.ผบ. 2174/2563 ศาลฎีกาแผนกคดีผ้บู ริโภคตรวจสานวนประชมุ ปรึกษาแล้ว
เห็นว่า ปัญหาตามฎีกาจาเลยทงั้ สองว่า ฟ้ องเคลือบคลุมหรือไม่...นนั้ ไม่เป็ นปัญหาสาคญั ท่ีศาล
ฎีกาควรวนิ จิ ฉยั

บนั ทกึ เหตุผลโดยย่อประกอบคดี ครพ.ผบ. 2174/2563

ฏีกาปัญหาฟ้ องเคลือบคลมุ ศาลชนั้ ต้นกาหนดประเด็นนีแ้ ละฟังว่าไม่เคลือบคลมุ
ศาลอทุ ธรณ์ฟังวา่ เป็นหน้าที่ศาลตรวจฟ้ อง หากเห็นว่าไม่เข้าเกณฑ์ว.ิ ผ้บู ริโภคม.20
ศาลอาจสง่ั ให้แก้ และอ้างข้อกาหนดฯ ข้อ 6 เร่ืองหน้าที่เจ้าพนกั งานคดี แล้ววินิจฉัยว่า แม้จาเลย

32

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ทงั้ สองให้การเรื่องฟ้ องเคลือบคลุมก็ไม่อาจตัดฟ้ องเร่ืองนีใ้ นคดีผู้บริโภคได้ ศาลชัน้ ต้นกาหนด
ประเด็นฟ้ องเคลือบคลมุ และรับวนิ ิจฉยั มาไม่ชอบ เม่ืออทุ ธรณ์มาจงึ ไม่เป็นประเดน็ ที่จะวินิจฉยั และ
ไม่รับวนิ ิจฉยั ปัญหาเรื่องฟ้ องเคลือบคลมุ เหน็ ว่า ข้อวนิ ิจฉัยของศาลอุทธรณ์ คลาดเคล่ือนต่อ
กฎหมาย เนื่องจาก

1) วิ.ผ้บู ริโภคม.20 ใช้คาว่า “ อาจ ” จึงไม่อาจตีความว่าเป็ นบทบังคบั ศาล และดุลพินิจ
ศาลชนั้ ต้น(ที่เห็นว่าฟ้ องเคลือบคลมุ หรือไม่เคลือบคลมุ )ใช่ว่าจะถกู ต้องเสมอ การตีความเช่นศาล
อทุ ธรณ์ หากศาลชนั้ ต้นเห็นวา่ ฟ้ องชอบด้วย ม.20 และไม่ได้สงั่ ให้แก้ไข ทงั้ ที่ความจริงฟ้ องไม่ชอบ
ยอ่ มก่อให้เกิดปัญหาแก่คดีในชนั้ ศาลสงู ได้

2) กรณีตามข้อ 1 หากศาลชนั้ ต้นเห็นว่าฟ้ องเคลือบคลุมและสั่งให้แก้ไข แต่โจทก์เห็นว่า
ฟ้ องชอบแล้วและไม่ยินยอมแก้ หากตีความดงั ศาลอุทธรณ์ว่าไม่มีกรณีฟ้ องเคลือบคลมุ ย่อมเกิด
ปัญหาท่ีไม่มีทางออก

3) ท่ีศาลอุทธรณ์อ้างข้อกาหนดฯ เป็ นเหตุผลประกอบการวินิจฉัยนนั้ ข้อกาหนดฯ ออก
ภายใต้บังคับ ม.6 ที่จะต้องไม่ทาให้สิทธิในการต่อสู้คดีของคู่ความลดน้อยลงการตีความนัย
ดงั กลา่ วยอ่ มขดั กบั หลกั การ ม.6

4)คดีผ้บู ริโภคมใิ ชม่ ีแตผ่ ้บู ริโภคเป็นโจทก์เทา่ นนั้ คดีส่วนใหญ่ฝ่ ายผ้ปู ระกอบธรุ กิจเป็นโจทก์
การตีความเช่นศาลอทุ ธรณ์ยอ่ มจากดั สทิ ธิในการตอ่ ส้คู ดีของฝ่ ายผ้บู ริโภคท่ีเป็นจาเลยอย่ใู นตวั

5) บทบญั ญตั ิ ม.20 อยใู่ นหมวด 2 ซงึ่ นาไปใช้ในชนั้ อทุ ธรณ์และฎีกาด้วยโดยผลของ ม.50
และ ม.55หากตีความดังศาลอุทธรณ์ กรณีอุทธรณ์หรือฎีกาไม่ชัดแจ้ง เมื่ออุทธรณ์หรือฎีกามี
สถานะเป็ นคาฟ้ อง ศาลสูงต้องสัง่ ให้ผู้อุทธรณ์ฎีกาซ่ึงถือเป็ นโจทก์ในชนั้ อุทธรณ์ฎีกาแก้ไขด้วย
เช่นกัน และค่คู วามฝ่ ายตรงข้ามจะแก้อุทธรณ์หรือแก้ฎีกาว่าไม่ชดั แจ้ง ไม่ควรรับวินิจฉัยอุทธรณ์
หรือฎีกาย่อมไม่ได้ ทงั้ หากศาลสงู ไม่ได้สงั่ ให้แก้ไข จะไม่รับวินิจฉัยประเด็นนนั้ ๆ โดยอ้างว่าไม่ชดั
แจ้งก็ย่อมไม่ได้ ซงึ่ เห็นได้ว่าการตีความของศาลอทุ ธรณ์ไม่ถกู ต้องตามแนวทางที่ศาลสงู ยึดถือมา
ตงั้ แตป่ ี 2551 ที่กฎหมายออกใช้บงั คบั ปัจจบุ นั ศาลฎีกาแผนกคดีผ้บู ริโภคก็ยงั ออกร่างอย่ตู ลอดมา
วา่ ประเด็นตามฎีกาบางข้อไม่ชดั แจ้ง ไมร่ ับวินจิ ฉยั แม้วา่ ฝ่ ายผ้บู ริโภคจะเป็นผ้ฎู ีกาก็ตาม

33

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ปัญหาเรื่องฟ้ องเคลือบคลุมนี ้ ข้อวินิจฉัยท่ีถูกต้องคือ บทบญั ญัติ ม.20 เป็ นบท
ดุลพนิ ิจศาลที่จะเข้าไปดฟู ้ องว่าชอบด้วยมาตรานีห้ รือไม่ ไม่ใช่บทบังคับศาลว่า ต้อง ปฏิบตั ิ เห็น
ได้ชัดจากที่กฎหมายบัญญัติใช้คาว่า อาจ ไม่ได้บัญญัติใช้คาว่า ต้องแม้ศาลไม่ได้สง่ั ให้แก้ไข
ปัญหาฟ้ องเคลือบคลุมก็ไม่ถือว่ายุติไปหรือมีข้ึนไม่ได้เลยในคดีผู้บริ โภคเช่น หากฟ้ องของผู้
ประกอบธุรกิจเคลือบคลุม และจาเลยซึ่งเป็ นผ้บู ริโภคให้การต่อสู้คดี ศาลย่อมพิพากษาว่าฟ้ อง
เคลือบคลมุ และยกฟ้ องได้ท่ศี าลอุทธรณ์ไม่รับวินิจฉัยปัญหาฟ้ องเคลือบคลุม จงึ ไม่ชอบ

อย่างไรก็ตาม เห็นว่า การบรรยายฟ้ องคดีผู้บริโภคซ่ึงเป็ นคดีแพ่ง โจทก์ไม่
จาต้องปรับบทมาในฟ้ อง การปรับบทเป็ นหน้าท่ศี าล นัย ฎ.1455/2562 ฟ้ องโจทก์ท่ีบรรยาย
ถึงข้อเท็จจริงทงั้ การสาคญั ผิดก็ดี การโฆษณาลวงก็ดี เป็ นคาฟ้ องที่มีข้อเท็จจริงท่ีเป็ นเหตแุ ห่งการ
ฟ้ องคดีรวมทงั้ คาขอบงั คบั ชดั เจนพอที่จะทาให้เข้าใจได้ ตาม ม.20 แล้ว ฟ้ องจงึ ไม่เคลือบคลมุ แม้
รับฎีกาข้อนีม้ า ผลคดกี ไ็ ม่เปล่ียนแปลง จงึ ไมม่ ีเหตคุ วรรับวนิ จิ ฉยั

ครพ.ผบ.2407/2561 ศาลฎีกาแผนกคดีผ้บู ริโภคตรวจสานวนประชมุ ปรึกษาแล้ว
เหน็ ว่า ปัญหาตามฎีกาของโจทก์ว่า ...ส่วนปัญหาว่าจาเลยที่ 1 ออกใบเสร็จรับเงินว่าได้รับเงินจาก
โจทก์แลว้ แต่กลบั เบิกค่ารักษาพยาบาลจากบริษัทประกนั ชีวิตทีศ่ าลอทุ ธรณ์ฟังว่าเป็นอทุ ธรณ์ที่ไม่
ชดั แจง้ นนั้ ตามฎีกาไม่ได้โต้แย้งคัดค้านว่าศาลอุทธรณ์วินิจฉัยไม่ชอบอย่างไร จงึ เป็ นฎีกาท่ี
ไม่ชัดแจ้ง ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 225 วรรคหนง่ึ ประกอบ
มาตรา 252 จึงไม่เป็ นปัญหาสาคัญท่ศี าลฎีกาควรวินิจฉัยเช่นกนั ตามท่ีบญั ญัติไว้ในประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 249 วรรคสอง และข้อกาหนดของประธานศาลฎีกา ว่า
ด้วยการขออนญุ าตฎีกาในคดีแพ่งพ.ศ.2558 ข้อ 13 อนั เป็ นบทกฎหมายที่ใช้บงั คบั แก่การฎีกาคดี
ผ้บู ริโภคโดยอนโุ ลมตามพระราชบญั ญตั ิวธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 51

บรรยายฟ้ อง

ฎ.1455/2562 การฟ้ องคดีผ้บู ริโภคโจทก์เพียงบรรยายข้อเท็จจริงที่เป็ นเหตแุ ห่งการ
ฟ้ องคดีรวมทงั้ คาขอบงั คบั ชดั เจนพอที่จะทาให้เข้าใจได้ตามที่บญั ญตั ิในมาตรา 20 วรรคสอง แห่ง
พระราชบญั ญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551ก็เป็ นการเพียงพอ โจทก์หาจาต้องปรับบท
กฎหมายท่ีฝ่ ายจาเลยต้องรับผิดมาในคาฟ้ องไม่ การที่โจทก์ตงั้ ข้ อหาในฟ้ องว่าเป็ นเร่ืองสินค้าท่ีไม่

34

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ปลอดภยั เพราะความชารุดบกพร่องของรถพพิ าทและฟ้ องให้จาเลยที่ 1 ผ้ผู ลิต จาเลยท่ี 2 ผ้รู ับหรือ
ซือ้ รถพิพาทจากจาเลยที่ 1 ไปจาหน่าย จาเลยที่ 3 ตวั แทนจาหน่ายของจาเลยท่ี 2 และจาเลยที่ 4
ผ้ใู ห้เช่าซือ้ รถพิพาทแก่โจทก์ร่วมกนั รับผิดโดยบรรยายฟ้ องถึงเหตแุ ห่งความรับผิดว่า รถพิพาทมี
ความชารุดบกพร่อง เคร่ืองยนต์ดับในขณะที่รถแล่นหรือจอดและไม่สามารถติดเครื่องยนต์ได้
ก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิตของโจทก์และผู้อื่นนัน้ นอกจากเป็ นการฟ้ องให้รับผิดตาม
พระราชบญั ญัติความรับผิดต่อความเสียหายท่ีเกิดขนึ ้ จากสินค้าท่ีไม่ปลอดภยั พ.ศ.2551 ดงั ศาล
ล่างทงั้ สองวินิจฉยั แล้ว ยงั เป็ นการฟ้ องให้จาเลยทงั้ สี่รับผิดในความชารุดบกพร่องของรถพพิ าทซงึ่
อย่ใู นเกณฑ์ต้องบงั คบั ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์และพระราชบญั ญตั ิวิธีพจิ ารณาคดี
ผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 อย่ดู ้วย ฟ้ องโจทก์หาได้จากัดความรับผิดของจาเลยทงั้ สี่เพียงในฐานะเป็ น
ผ้ปู ระกอบการตามพระราชบญั ญตั ิความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขนึ ้ จากสินค้าท่ีไม่ปลอดภยั
พ.ศ.2551 ไม่

ความสาคัญของการโฆษณา

บรรดาสนิ ค้าและบริการที่ผ้ปู ระกอบธุรกิจผลิต จดั ทาเพ่ือจาหน่ายหรือให้บริการแก่
ผ้บู ริโภคนนั้ ย่อมขาดไม่ได้ซง่ึ การทาการตลาดเพ่ือให้เป็ นท่ีทราบแก่ผ้บู ริโภค การโฆษณาโดยการ
นาเสนอสินค้าหรือบริการนัน้ ว่ามีดีอย่างไรเพื่อจูงใจผู้บริโภคให้สนใจซือ้ หรือรับบริการจึงเป็ น
เครื่องมือการตลาดที่ใช้กนั แพร่หลาย หากการโฆษณาเป็นการป่ าวประกาศข้อเทจ็ จริงที่มีอย่จู ริงให้
ผ้บู ริโภคทราบย่อมไม่เป็ นภยั หรือเป็ นโทษต่อผ้บู ริโภค ในทางตรงกนั ข้าม หากการโฆษณาไม่เป็ น
จริง มีการปกปิ ดข้อเท็จจริงที่สาคญั หรือถึงขนาดลวงให้หลงเชื่อ ย่อมเป็ นกรณีที่ผ้ปู ระกอบธุรกิจ
กระทาโดยไม่สจุ ริต ซ่งึ ปัจจบุ นั การตดั สินคดีผ้บู ริโภคได้ต่ืนตวั เร่ืองผลของการโฆษณาขึน้ มาก ดงั
ตวั อยา่ งคดี

โฆษณาเป็ นส่วนหน่ึงของสัญญา

ฎ. 5351/2562 จาเลยแจกแผ่นพบั โฆษณาเพื่อขายห้องชดุ แก่ผู้ซือ้ เป็ นการทว่ั ไป
โดยไมไ่ ด้แจ้งให้ทราบชดั ว่า ท่ีดนิ พพิ าทเป็นที่ดินตามโฉนดต่างหากจากที่ดินที่ตงั้ อาคารชดุ จาเลย

35

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ไม่ได้มีเจตนายกที่ดินพพิ าทให้เป็ นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชุด เพียงให้ใช้สอยได้ อย่างภาระจา
ยอมเทา่ นนั้

ท่ีจาเลยนาสืบต่อสู้ทานองว่า ตามแผ่นพบั โฆษณา แสดงชัดอยู่ในตวั แผ่นพบั ว่า
พืน้ ที่ส่วนใดเป็ นส่วนอาคารชุด ทงั้ ได้ระบทุ ี่ดินที่ตงั้ อาคารชุดไว้ชดั เจนตามแผ่นพบั ว่า ที่ตงั้ อาคาร
ชุดคือที่ดินเฉพาะตามโฉนดเลขท่ีระบุเท่านัน้ ผู้ซือ้ ดูแผ่นพับแล้วย่อมเข้าใจทัง้ ย่อมตรวจสอบ
เอกสารหลกั ฐานที่เก่ียวข้องได้โดยง่ายนนั้

เหน็ ว่า แผ่นพบั โฆษณา เป็ นประกาศโฆษณาท่ีจาเลยแจกจ่ายแก่ผ้ซู ือ้ ห้องชุด ซึ่ง
ย่อมเป็ นไปเพ่ือจงู ใจให้ผ้พู บเห็นเข้าทาสญั ญากบั จาเลยเพ่ือซือ้ ห้องชดุ สิ่งท่ีจาเลยกาหนดในแผ่น
พบั ท่ีเป็นส่ือกลางโฆษณาให้ผ้ซู อื ้ ทราบวา่ จะได้รับสิ่งใดเป็ นการตอบแทนการเข้าทาสญั ญาซือ้ ห้อง
ชุดจึงถือเป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาระหว่างจาเลยกับผู้ซือ้ ดังท่ีกฎหมายบัญญัติบังคับไว้ตาม
พระราชบญั ญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 11 จาเลยซึง่ เป็ นผ้ปู ระกอบธุรกิจจึงมี
หน้าท่ตี ามมาตรฐานทางการค้าท่เี หมาะสมภายใต้ระบบธุรกจิ ท่เี ป็ นธรรมท่ีจะต้องแจ้งข้อ
ท่ีผู้บริโภคควรทราบให้กระจ่างชัดทัง้ ต้องไม่ใช้ข้อความท่ีเป็ นการไม่เป็ นธรรมในการ
โฆษณาตอ่ ผ้บู ริโภคเกี่ยวกบั สภาพ คณุ ภาพ หรือลกั ษณะของสินค้าหรือบริการไม่ว่าในทางใด ซง่ึ
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 22 (2) บัญญัติว่า ข้อความที่จะ
ก่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจผิดในสาระสาคญั เกี่ยวกบั สินค้าหรือบริการไม่ว่าจะกระทาโดยใชห้ รืออา้ งอิง
รายงานทางวิชาการ สถิติ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอนั ไม่เป็นความจริงหรือเกินความจริง หรือไม่ก็ตาม ถือ
วา่ เป็นขอ้ ความทีเ่ ป็นการไม่เป็นธรรม

ดงั นี ้แม้จาเลยไมม่ ีเจตนาให้ที่ดินพพิ าทเป็นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชดุ ดงั จาเลย
อ้าง แต่ตามแผ่นพบั โฆษณา รูปแผนผงั ท่ีปรากฏทางพพิ าทท่ีเป็ นทางเข้าออกและพืน้ ท่ีติดชายหาด
ติดต่อกับพืน้ ที่อาคารชุดดังวินิจฉัย ท่ีมีลักษณะท่ีก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสาคัญ
เก่ียวกับท่ีดินพพิ าทซงึ่ เป็ นพืน้ ท่ีใช้สอยอนั มีผลต่อสถานะความเป็ นทรัพย์ส่วนกลางของอาคาร
ชดุ โดยทาให้ผู้ซือ้ เข้าใจไปว่าท่ดี ินพพิ าทเป็ นพืน้ ท่ีท่เี จ้าของร่วมจะได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน
อย่างเป็ นทรัพย์ส่วนหน่ึงของอาคารชุด การโฆษณาของจาเลยจึงเป็ นการโฆษณาด้วย
ข้อความท่ีเป็ นการไม่เป็ นธรรมต่อผู้บริโภค ดงั บัญญัติตามพระราชบญั ญัติค้มุ ครองผู้บริโภค
พ.ศ.2522 มาตรา 22 (2)จาเลยจึงต้องรับผลแห่งการโฆษณานัน้ การที่จาเลยไม่แสดงให้ชัด

36

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

แจ้งเพ่ือให้ปรากฏแก่ผ้ซู อื ้ ซงึ่ เป็นผ้บู ริโภควา่ ท่ีดนิ พพิ าทไมใ่ ชท่ รัพย์สว่ นกลางของอาคารชดุ ซงึ่ เป็ น
หน้าท่ขี องจาเลยผู้ประกอบธุรกจิ ต้องกระทาให้ปรากฏอย่างชัดเจนในการโฆษณา ในขอบ
มาตรฐานทางการค้าที่เหมาะสมภายใต้ระบบธุรกิจที่เป็ นธรรมดังวินิจฉัย ดังนี้ แม้จาเลยไม่มี
เจตนาลวงผู้บริโภคดังอ้างจาเลยก็ต้องผูกพันตามแผนผังในแผ่นพับโฆษณา ซ่ึงถือเป็ น
ข้อตกลงอันเป็ นส่วนหน่ึงของสัญญาด้วย ดังท่บี ัญญัติตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี
ผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 11

ที่จาเลยนาสืบต่อสู้คดีทานองว่า ทางและที่ดินติดชายหาดเป็ นการใช้ประโยชน์
ร่วมกันของโรงแรมและอาคารชุดจึงไม่เป็ นทรัพย์ส่วนกลางนนั้ เห็นว่า แม้ลกั ษณะท่ีแสดงตาม
แผ่นพบั โฆษณาจะแสดงอย่วู ่า ทางและที่ดินติดชายหาดเป็ นการใช้ประโยชน์ร่วมกันของโรงแรม
และอาคารชุดก็ตาม ท่ีดินพิพาทก็ยังคงมีสถานะเป็ นทรัพย์ท่ีมีไว้เพ่ือใช้หรือเพ่ือประโยชน์
ร่วมกนั สาหรับเจ้าของร่วมอย่ดู ้วย การที่โรงแรมมีส่วนร่วมใช้ประโยชน์ด้วย หาทาให้ที่ดินพพิ าท
ไม่ใช่ทรัพย์สินที่มีไว้ เพ่ือใช้ หรื อเพื่อประโยชน์ร่ วมกันสาหรับเจ้ าของร่ วมไม่เพราะเจ้ าของร่ วมใน
อาคารชดุ ยอ่ มร่วมใช้ประโยชน์กบั โรงแรมได้เม่ือเป็ นทรัพย์สินท่มี ีไว้เพ่ือใช้หรือเพ่ือประโยชน์
ร่วมกันสาหรับเจ้าของร่วมจงึ เป็ นทรัพย์ส่วนกลางดงั วินิจฉยั จาเลยจงึ มีหน้าท่ีต้องดาเนินการ
ให้ท่ีดนิ พพิ าทเป็นทรัพย์สว่ นกลางของอาคารชดุ เพ่อื ประโยชน์แก่เจ้าของร่วมในอาคารชดุ โจทก์

ที่จาเลยนาสืบตอ่ ส้คู ดีทานองว่า ท่ีดินพิพาทไม่ใช่ทรัพย์ท่จี ดทะเบียนเป็ นทรัพย์
ส่วนกลางของอาคารชุดโจทก์จึงไม่เป็ นทรัพย์ส่วนกลางนัน้ เห็นว่าทรัพย์ส่วนกลางของ
อาคารชดุ นนั้ นอกจากทรัพย์สินอ่ืน ๆ ตามที่กฎหมายบญั ญัติแล้ว ยงั หมายความถึงทรัพย์สินอื่นท่ี
มีไว้เพ่ือใช้หรือเพ่ือประโยชน์ร่วมกันสาหรับเจ้าของร่วมซึ่งกฎหมายบัญญัติให้ถือเป็ นทรัพย์
สว่ นกลางด้วยดงั บญั ญตั ิความตามพระราชบญั ญัติอาคารชดุ พ.ศ.2522 มาตรา 4 และมาตรา 15
ทงั้ นี ้ ไม่ว่าทรัพย์สินนัน้ จะขึน้ ทะเบียนอาคารชุดระบุว่าเป็ นทรัพย์ส่วนกลางหรือไม่หรือ
เจ้าของทรัพย์สินนัน้ จะแสดงเจตนายกกรรมสิทธ์ิทรัพย์สินนัน้ ให้เป็ นทรัพย์ส่วนกลาง
หรือไม่ก็ตาม เพราะเป็ นกรณีตกเป็ นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชุดโดยผลของกฎหมาย
(ฎ.314/2563) เมื่อคดีฟังได้ดงั วินิจฉัย ท่ีดินพิพาทจึงตกเป็ นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชดุ ที่ศาล
ล่างทงั้ สองฟังวา่ ที่ดินพพิ าทไมเ่ ป็นทรัพย์ส่วนกลางนนั้ ศาลฎีกาแผนกคดีผ้บู ริโภคไม่เห็นพ้องด้วย
ฎีกาของโจทก์ฟังขนึ ้

37

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

สัญญาบริการ

ฎ.4567/2561 ศาลอุทธรณ์ภาค 8 พิพากษายืนตามคาพิพากษาศาลชัน้ ต้น
(ว่า เมื่อรถยนต์พิพาทที่เช่าซื้อชารุดบกพร่อง ผูใ้ หเ้ ช่าซื้อเป็นฝ่ ายต้องรับผิดต่อโจทก์ผูเ้ ช่าซื้อ ส่วน
จาเลยทง้ั สองซึ่งเป็ นตวั แทนและผู้ขายต้องรับผิดต่อผู้ให้เช่าซื้อตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 472 โจทก์ไม่ใช่คู่สญั ญากบั จาเลยทง้ั สองทีจ่ ะใช้สิทธิเรียกร้องใหจ้ าเลยทง้ั สองรับ
ผิดในความชารุดบกพร่องของรถยนต์พิพาททีเ่ กิดระหว่างเช่าซื้อ โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องจาเลยทง้ั
สอง) โดยศาลล่างทงั้ สองวนิ ิจฉัยตามแนว ฎ.9034/254316

ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภคเห็นว่า โจทก์เป็ นผู้ซือ้ รถยนต์พิพาทจากจาเลยที่ 1
ด้วยวิธีการเช่าซือ้ จาเลยที่ 1 ตกลงด้วย มีธนาคารทิสโก้ จากดั (มหาชน) เป็ นผ้ใู ห้เช่าซือ้ จาเลยที่
1 รับชาระเงินดาวน์จากโจทก์แล้วส่งมอบรถยนต์พพิ าทแก่โจทก์เมื่อวนั ที่ 5 มิถนุ ายน 2553 พร้อม
มอบสมดุ ค่มู ือการรับบริการเอกสารหมาย ล.3 แก่โจทก์ ระบุช่ือผ้ซู ือ้ ว่าโจทก์ในใบทะเบียนลกู ค้า
เอกสารหมาย ล.3 (แผ่นที่ 2) จาเลยท่ี 1 ตกลงรับประกันรถยนต์พิพาทตามเง่ือนไขและ
ระยะเวลา ด้วยการกาหนดเกณฑ์รับประกันกรณีความเสียหายของวัสดุหรือคุณภาพในการ
ประกอบรถที่ต้องได้มาตรฐานเป็ นเวลา 36 เดือน หลังจากรับมอบรถหรือใช้งาน 100,000
กิโลเมตร แล้วแต่กรณี ได้ความดังนี ้ เหน็ ว่าแม้โจทก์เป็ นเพียงลกู ค้าติดต่อซือ้ รถยนต์พิพาทจาก
จาเลยท่ี 1 โดยใช้วิธีการเช่าซือ้ ด้วยการขอให้ธนาคารทิสโก้ จากดั (มหาชน) ซือ้ รถยนต์จากจาเลย
ท่ี 1 แล้วนาไปให้โจทก์เช่าซือ้ ดงั ความตามสญั ญาเช่าซือ้ ข้อ 3และโจทก์ไม่ใช่เจ้าของรถยนต์
พิพาทขณะฟ้ องคดีเพราะเป็ นผู้เช่าซือ้ จากธนาคารทิสโก้ จากดั (มหาชน) เจ้าของผ้ใู ห้เช่าซือ้
แตโ่ จทก์ในฐานะผ้เู ช่าซอื ้ มีสทิ ธิครอบครองและใช้รถโดยชอบ กบั มีหน้าท่ีรักษารถยนต์พิพาทให้อยู่
ในสภาพเรียบร้อยและมีการซ่อมแซมท่ีดีโดยค่าใช้จ่ายของโจทก์ ตามสญั ญาเช่าซือ้ ข้อ 5 (ก) เมื่อ
โจทก์ชาระค่าเชา่ ซือ้ ครบตามสญั ญา กรรมสิทธ์ิในรถยนต์พพิ าทย่อมตกเป็ นของโจทก์ ตามสญั ญา
เชา่ ซอื ้ ข้อ 7 โจทก์จงึ มีสิทธิใช้สอยรถยนต์พิพาทโดยชอบตามพฤติการณ์ท่ีจาเลยท่ี 1 ส่งมอบ

16ฎ.9034/2543 แมโ้ จทก์สงั่ ซื้อรถจากจาเลยที่ 1 โดยชาระค่าจองรวมทงั้ ค่ารถยนต์บางส่วน เป็นเงิน 299,000 บาท และไดร้ ับมอบรถจากจาเลยที่ 1 แต่โจทก์ทาสญั ญาเช่าซื้อกบั บริษัทธนบุรีพานิชลิสซ่ิง จากัด เป็น
เงิน 2,929,906.32 บาท บริษัทธนบรุ ีพานิชลิสซิ่ง จากดั จึงเป็นเจา้ ของรถ หาใช่จาเลยที่ 1 ไม่ โจทก์กบั จาเลยที่ 1 จึงหาไดม้ ีนิติสมั พนั ธ์ตามลกั ษณะของสญั ญาซื้อขาย ส่วนทีเ่ กี่ยวกบั จาเลยที่ 2 นนั้ ไมป่ รากฏว่า มีความ
ผกู พนั กบั โจทก์ตามสญั ญาใด ทีจ่ ะทาใหต้ อ้ งรับผิดในความชารุดบกพร่องของรถคนั พิพาทต่อโจทก์ ลาพงั เพียงการรบั ประกนั ว่า หากรถยนต์ที่จาหน่ายมีปัญหา สามารถส่งซ่อมได้ที่ศูนย์บริการตวั แทนจาหน่ายและที่ศูนย์
ของจาเลยที่ 2 มิไดห้ มายความว่า จาเลยที่ 2 ผกู พนั ตนตอ้ งรับผิดในความชารุดบกพร่องของรถยนต์ที่โจทก์ไดร้ บั มอบมาตามสญั ญาเช่าซื้อ เพราะความรับผิดในกรณีทรัพย์สินที่ใหเ้ ช่าซื้อชารุดบกพร่อง โจทก์ย่อมเรียกร้อง
ไดจ้ ากผใู้ หเ้ ช่าซื้อโดยตรง โจทก์จึงไม่มีอานาจฟ้ องจาเลยทงั้ สองใหร้ บั ผิดในความชารุดบกพร่อง

38

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

รถยนต์พิพาทแก่โจทก์ก่อนโจทก์ทาสญั ญาเช่าซือ้ กบั ผ้ใู ห้เช่าซือ้ พร้อมกบั ส่งมอบสมดุ คู่มือการรับ
บริการเอกสารหมาย ล.3 ให้แก่โจทก์ ระบกุ ารรับประกนั รถยนต์พิพาทตามเง่ือนไขและระยะเวลา
โดยระบชุ ื่อโจทก์เป็ นลูกค้าผ้ซู ือ้ ซง่ึ ย่อมหมายถึงเป็ นผ้มู ีสิทธิรับบริการเก่ียวกับรถยนต์พิพาทจาก
จาเลยท่ี 1 เช่นนีเ้ ช่ือได้ว่าย่อมเป็ นไปตามข้อตกลงที่จาเลยท่ี 1 แจ้งแก่โจทก์ขณะเจรจาทาความ
ตกลงซอื ้ ขายกนั ด้วยวธิ ีการเช่าซือ้ ว่ามีบริการรับประกนั เช่นนนั้ เพราะเป็ นการจงู ใจให้โจทก์เข้าเป็ น
ลูกค้า ข้อตกลงเช่นนีย้ ่อมถือเป็ นสัญญาการให้บริการท่ีจาเลยท่ี 1 ผ้ขู ายตกลงจะให้บริการแก่
โจทก์เพื่อตอบแทนแก่โจทก์ผ้ซู ือ้ รถยนต์พิพาทด้วยวิธีการเช่าซือ้ แม้ไม่ได้ทาเป็ นสัญญาบริการ
ขึน้ โดยเฉพาะเจาะจงก็มีผลผูกพันและบังคับแก่จาเลยท่ี 1 ได้เพราะเป็ นส่วนหน่ึงของ
สัญญาระหว่างโจทก์กับจาเลยท่ี 1 และผู้ให้เช่าซือ้ โดยผลของพระราชบัญญัตวิ ธิ ีพจิ ารณา
คดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 11สาหรับจาเลยที่ 2 ซ่ึงเป็ นผ้ปู ระกอบธุรกิจผลิต ประกอบและ
จาหน่ายรถยนต์พิพาท แม้เป็ นนิติบุคคลต่างหากจากจาเลยที่ 1 ซึ่งเป็ นตวั แทนจาหน่ายของตน
และแม้การจาหน่ายรถยนต์แต่ละคนั จาเลยท่ี 2 ใช้วิธีการขายรถยนต์ให้แก่ตวั แทนจาหน่าย แล้ว
ตวั แทนจาหน่ายเป็ นผ้ขู ายรถแก่ลูกค้าโดยจาเลยท่ี 2 ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกบั ลูกค้าผ้ซู ือ้ รถเองหรือ
ลกู ค้าผ้ซู อื ้ ด้วยวธิ ีการเช่าซือ้ โดยมีสถาบนั การเงินเป็ นผ้ซู ือ้ รถยนต์จากตวั แทนจาหน่ายนาไปให้เช่า
ซือ้ อีกต่อหนึ่งก็ตาม แต่ได้ความจากที่จาเลยท่ี 2 นาสืบนายศภุ ฤกษ์ เจียมวงษ์ พนกั งานจาเลยที่
2เป็นพยานเบิกความว่า จาเลยท่ี 1ซง่ึ เป็ นตวั แทนจาหน่ายของจาเลยท่ี 2 จะซือ้ รถยนต์ย่ีห้อเชฟโร
เล็ตจากจาเลยท่ี 2 โดยใช้สญั ญลักษณ์และการตกแต่งสถานท่ีประกอบการในลกั ษณะเดียวกับ
ตวั แทนจาหน่ายอื่นของจาเลยที่ 2 เพ่ือเหตุผลทางการตลาด จาเลยท่ี 2เพียงมีสิทธิตรวจสอบการ
ใช้สญั ลกั ษณ์ตกแต่งสถานที่และควบคมุ คณุ ภาพการซอ่ มแซมรถยนต์ย่ีห้อเชฟโรเล็ตเท่านนั้ เรื่อง
การควบคมุ การซอ่ มของตวั แทนจาหนา่ ยโดยจาเลยท่ี 2 นี ้จาเลยที่ 1 นาสืบนายประสาน องึ ้ สวสั ด์ิ
ผู้จัดการสาขาของจาเลยที่ 1 เป็ นพยานเบิกความว่า หากรถที่เข้ารับบริการมีปัญหาเล็กน้อย
จาเลยที่ 1 ไม่ต้องแจ้งรายละเอียดการซ่อมเพ่ือขออนุมตั ิจากจาเลยที่ 2 แต่หากเป็ นการซ่อมแซม
ใหญ่เช่นกรณีท่ีเกิดกับรถยนต์พิพาท จาเลยท่ี 1 จะขออนุมัติซ่อมจากจาเลยท่ี 2 กรณีรถยนต์
พพิ าท เม่ือจาเลยที่ 1 ได้รับจากโจทก์เพอ่ื ซอ่ มได้แจ้งจาเลยท่ี 2 ทราบ จาเลยที่ 2 ส่งวิศวกรรถยนต์
ไปดสู ภาพความเสียหายแล้วแจ้งว่า ไม่อาจซอ่ มท่ีสาขาสมยุ ได้ จาเป็ นต้องนารถยนต์พิพาทไปซอ่ ม
ท่ีกรุงเทพมหานคร ดังนี้ ตามพฤตกิ ารณ์ในการประกอบธุรกิจของจาเลยท่ี 2 กับจาเลยท่ี 1

39

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ผู้เป็ นตัวแทนจาหน่ายเห็นได้ว่า ในการให้บริการซ่อมแซมรถยนต์ย่ีห้อเชฟโรเล็ตของตัวแทน
จาหน่ายเช่นจาเลยที่ 1 แก่ลูกค้าเช่นโจทก์ จาเลยท่ี 2 เป็ นผู้ควบคุมคุณภาพและกากับดูแล
มาตรฐานการซ่อมของจาเลยท่ี 1 โดยใกล้ชิด กรณีที่เกินกาลังของตัวแทนจาหน่ายจะซ่อมได้
จาเลยที่ 2 จะเข้าซอ่ มเอง ทงั้ นี ้ย่อมเป็ นไปเพื่อรักษาชื่อเสียงย่ีห้อรถยนต์ของตนให้เป็ นท่ีเช่ือถือใน
ท้องตลาด ซ่ึงเป็ นประโยชน์ในธุรกิจผลิตและจาหน่ายรถยนต์ของตน จาเลยที่ 2 จึงยินยอมให้
จาเลยที่ 1 ทาคารับรองแก่ลกู ค้าโดยอ้างอิงการรับประกันจากเชฟโรเล็ตดงั ปรากฏตามสมดุ ค่มู ือ
การรับบริการเอกสารหมาย ล.3 ซ่ึงคาว่า “ เชฟโรเล็ต ” ย่อมหมายถึงจาเลยที่ 2 ข้อความการ
รับประกันตามเอกสารดังกล่าวที่รับรองว่า “ ...สมุดคู่มือการรับบริการนี ้ ควรเก็บไว้กับรถ
ตลอดเวลา แม้กระท่ังเวลาท่ีต้องการจะขายต่อ เพื่อสามารถท่ีจะใช้ในการรับประกันคุณภาพ
ของรคคันนัน้ ต่อไป...” และ “...ตัวแทนจาหน่ายยินดีที่จะรับบริการให้กับลูกค้าท่ีร้ องขอการ
รับประกันคุณภาพโดยมิได้คานึงว่ารถคนั ดงั กล่าวซือ้ มาจากที่ใด...” ตามสมดุ ค่มู ือการรับบริการ
เอกสารหมาย ล.3 (หน้า 8) หวั ข้อ การบริการเชฟโรเล็ต อนั เป็นการแสดงถงึ ความยินยอมให้จาเลย
ท่ี 1 อ้างองิ การรับประกนั การบริการภายใต้การควบคมุ คณุ ภาพและมาตรฐานโดยจาเลยที่ 2 การท่ี
จาเลยที่ 2 ควบคุมกากับการซ่อมแซมรถของจาเลยที่ 1 และเข้าซ่อมเองในกรณีเกินกาลังของ
จาเลยท่ี 1 เช่นนี ้ย่อมบ่งชีช้ ัดว่าจาเลยท่ี 2 เป็ นผ้รู ่วมกบั จาเลยที่ 1 ในการให้สัญญารับประกัน
การซ่อมบารุงรักษารถยนต์อนั เป็ นบริการที่ให้แก่โจทก์ผู้เป็ นลูกค้าผ้ซู ือ้ รถยนต์เชพโรเล็ตด้วย ได้
ความดังนี ้จาเลยทงั้ สองจึงอยู่ในฐานะเป็ นค่สู ญั ญาฝ่ ายผู้ให้บริการซงึ่ เป็ นผู้ประกอบธุรกิจ ส่วน
โจทก์ซ่ึงเป็ นคู่สัญญาฝ่ ายผู้รับบริการย่อมเป็ นผู้บริโภค ตามพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี
ผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 3 และพระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองผ้บู ริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 3 เม่ือโจทก์
ในฐานะผ้รู ับบริการจากจาเลยทงั้ สองกล่าวอ้างว่ารถยนต์พิพาทชารุดบกพร่องจากเหตเุ ครื่องยนต์
ทางานผิดปกติและอยู่ในเกณฑ์บงั คบั ภายใต้เง่ือนไขและระยะเวลาการรับประกันโดยจาเลยทงั้
สองอนั เป็นการกลา่ วอ้างวา่ จาเลยทงั้ สองผิดสญั ญาให้บริการซง่ึ เป็ นการโต้แย้งสิทธิโจทก์ แม้โจทก์
มีสิทธิเรียกร้องให้ผ้ใู ห้เช่าซอื ้ รับผดิ ในความชารุดบกพร่องของรถยนต์พพิ าทได้โดยตรงดงั จาเลยที่ 1
แก้ฎีกา และโจทก์ไม่ใชเ่ จ้าของกรรมสิทธ์ิรถยนต์พพิ าทดงั จาเลยท่ี 2 แก้ฎีกา ก็หาตดั สิทธิโจทก์ที่จะ
ใช้สิทธิเรียกร้องจากจาเลยทงั้ สองซ่งึ เป็ นค่สู ญั ญาฝ่ ายผ้ใู ห้บริการรับประกนั การซ่อมแซมรถยนต์

40

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

พิพาทแก่โจทก์ไม่ โจทก์จึงมีอานาจฟ้ องจาเลยทงั้ สอง ท่ีศาลล่างทัง้ สองวินิจฉัยว่าโจทก์กับ
จาเลยทงั้ สองไม่มีนิติสัมพันธ์กันในลักษณะซือ้ ขาย โจทก์ไม่ใช่เจ้าของกรรมสิทธ์ิรถยนต์
พพิ าท และโจทก์เรียกให้ผู้เช่าซือ้ รับผิดในความชารุดบกพร่องได้โดยตรงอยู่แล้ว โจทก์จงึ
ไม่มีอานาจฟ้ องจาเลยทัง้ สองและพพิ ากษายกฟ้ องนัน้ ศาลฎีกาแผนกคดีผู้บริโภคไม่เหน็
พ้องด้วย ฎีกาของโจทก์ฟังขนึ ้

หลักสุจริตกับคดผี ู้บริโภค

ในทางแพ่ง มีหลักสุจริตบัญญัติในกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ มาตรา 5 ว่า “ ในการใช้สิทธิแห่งตนก็ดี ในการชาระหนีก้ ็ดี บคุ คลทุกคนต้องกระทาโดย
สจุ ริต ” และ มาตรา 6 ว่า “ให้สนั นิษฐานไว้ก่อนวา่ บคุ คลทกุ คนกระทาการโดยสจุ ริต ”

ส่วนในคดีผ้บู ริโภค มีหลกั ท่ีเข้มงวดกว่าหลกั สจุ ริตตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ดงั กล่าว โดยบญั ญัติใน พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 12 ว่า “ในการใช้สิทธิ
แห่งตนก็ดี ในการชาระหนี้ก็ดี ผูป้ ระกอบธุรกิจต้องกระทาด้วยความสจุ ริตโดยคานึงถึงมาตรฐาน
ทางการคา้ ทีเ่ หมาะสมภายใตร้ ะบบธุรกิจทีเ่ ป็นธรรม ”

หลกั มาตรา 12 กาหนดธรรมาภบิ าลในการประกอบธุรกิจของผ้ปู ระกอบธุรกิจ
ซ่ึงนอกจากจะต้อง ก) กระทาโดยสุจริตแล้ว ยังต้อง ข) กระทาตามมาตรฐานทางการค้าที่
เหมาะสม ทงั้ ยงั ต้อง ค) เป็นไปในระบบธรุ กิจที่เป็นธรรมด้วย อยา่ งไรจะเข้าเกณฑ์ทงั้ ก) ข) และ ค)
เป็ นข้อเทจ็ จริงท่ีศาลจะวินิจฉยั เป็ นคดีไป ซงึ่ หมายถึงว่า ต้องมีข้อเทจ็ จริงชีว้ ่า การกระทาของ
ผู้ประกอบธุรกิจเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานการค้าที่เหมาะสมทั่วไปแล้ว มีความด้อยกว่า
มาตรฐานนัน้ หรือไม่ กับต้องเปรียบเทียบระบบธุรกิจว่าท่ีเป็ นธรรมนัน้ เป็ นอย่างไร และการท่ี
ผ้ปู ระกอบธุรกิจในคดีกระทานนั้ ไม่เป็ นธรรมอย่างไร ข้อวินิจฉัยเหล่านีล้ ้วนเป็ นข้อเทจ็ จริง ซงึ่
หากไม่มีข้อเท็จจริงในคดีแล้ว ศาลจะหยิบยกบทบญั ญัติมาตรา 12 ขนึ ้ วินิจฉยั ว่าผ้ปู ระกอบธุรกิจ
ไมส่ จุ ริตยงั ไม่ได้

ปัจจบุ นั ศาลฎีกาเริ่มปรับใช้บทบญั ญตั ิมาตรา 12 กบั คดีแล้ว กรณีศึกษาที่ดี เห็นได้
จากฎีกา

41

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ฎีกาท่ี 1625/2563 ธนาคารฟ้ องเรียกเงินท่ีให้จาเลยกู้ 1,000,000 บาท ตกลงให้
ชาระดอกเบีย้ อตั ราร้อยละ 18 ต่อปี หากผิดยอมให้โจทก์คิดดอกเบีย้ อตั ราสงู สดุ ผิดเง่ือนไขไม่เกิน
ร้อยละ 28 ตอ่ ปี ขณะทาสญั ญาเท่ากบั ร้อยละ 25 ต่อปี ศาลชัน้ ต้นเหน็ ว่า ดอกเบีย้ เป็ นเบีย้ ปรับ
ลดดอกเบีย้ หลงั ฟ้ องเหลือร้อยละ 12 ต่อปี โจทก์อทุ ธรณ์ ศาลอุทธรณ์เหน็ ว่า ดอกเบีย้ ท่ีโจทก์คิด
จากจาเลยเพิ่มขึน้ จากอตั ราร้อยละ 18 ต่อปี ที่คิดอย่ตู ามปกติก่อนผิดนดั เพ่ิมเป็ นอตั ราสงู สุดไม่
เกินร้ อยละ 28 ต่อปี นนั้ เป็ นเบีย้ ปรับ แต่กรณีอยู่ในบงั คับแห่งพระราชบญั ญตั ิวิธีพิจารณาคดี
ผูบ้ ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 12 ที่ค้มุ ครองผู้บริโภคมิให้เสียเปรียบจนเกินไปแก่ผูป้ ระกอบกิจการ
เมื่อคานึงถึงมาตรฐานทางการค้าที่เหมาะสมภายใต้ระบบธุรกกิจที่เป็ นธรรมตามสมดุลระหว่าง
การคิดการคิดดอกเบี้ยจากลูกค้าประเภทเงินฝากและประเภทเงินกู้ เห็นสมควรกาหนดให้คิด
ดอกเบีย้ ผิดนดั อตั ราร้อยละ 15 ต่อปี

โจทก์ฎีกาว่า พระราชบญั ญัติวิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 12 ไม่ได้
ให้อานาจศาลปรับลดดอกเบีย้ ระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภคนอกเหนือจากข้อตกลงตาม

สญั ญาโจทก์มีสทิ ธิคิดดอกเบีย้ ตามสญั ญาได้ตามกฎหมาย ศาลอทุ ธรณ์ไม่อาจปรับลดดอกเบีย้ ได้
ศาลฎีกา...เห็นว่า มาตรา 12 ...เม่ือพิเคราะห์ประกอบกับบทบัญญัติทานอง

เดียวกนั ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 5 ... และเจตนารมณ์ในการประกาศใช้
พระราชบญั ญัติวิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 ดงั ปรากฏตามหมายเหตทุ ้ายพระราชบญั ญัติ
...แล้ว เหน็ ได้ว่า มาตรา 12 บญั ญตั ิข้ึนเพือ่ ยกระดบั มาตรฐานความสจุ ริตของผูป้ ระกอบธุรกิจใน
การใช้สิทธิและในการชาระหนี้ให้สูงกว่าที่บุคคลทว่ั ไปมีดงั ที่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
กาหนดไวเ้ ดิม โดยกำหนดให้ผู้ประกอบธุรกจิ ต้องปฏบิ ตั ไิ ม่ด้อยไปกว่ำมำตรฐำนทำงกำรค้ำ
ทผ่ี ู้ประกอบธุรกจิ ในกิจกำรทำนองเดียวกันปฏิบัติต่อผู้บริโภค ท้ังต้องมีจริยธรรมในกำร
ประกอบกิจกำรภำยใต้ ระบบธุรกิจท่ีมีกำรแข่ งขันอย่ ำงเสรีและเป็ นธรรม มีควำม
รับผิดชอบ ดำเนินกจิ กำรด้วยควำมโปร่งใสและตรวจสอบได้ ทั้งนี้ เพ่ือประโยชน์สูงสุดแก่
ผู้บริโภค ซ่ึงจะส่งผลแก่ควำมเจริญก้ำวหน้ำในกิจกำรของผู้ประกอบธุรกิจอยู่ในตัว หาก
ผู้ประกอบธุรกิจดาเนินกิจการโดยเลือกวิธีการใช้สิทธิหรือชาระหนีใ้ นเกณฑ์ที่ด้อยกว่าระดับ
มาตรฐานความสุจริตดงั กล่าว ย่อมเท่ากับว่า ผ้ปู ระกอบธุรกิจใช้สิทธิไม่สจุ ริต ซ่ึงศาลย่อมไม่
อาจบังคับให้ลูกหนีช้ าระหนีแ้ ก่ผู้ประกอบธุรกจิ ผู้ใช้สิทธิไม่สุจริตได้ แม้มีข้อสัญญาบังคับ

42

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ผูกพันลูกหนีท้ านองเปิ ดช่องไว้ให้ผู้ประกอบธุรกจิ กระทาได้ก็ตาม เนื่องจากเป็ นการไม่เป็ น
ธรรมแก่ผู้บริโภค หากได้ความดังกล่าว ศาลย่อมมีอานาจพิพากษาไม่บังคับให้ลูกหนีช้ าระ
ดอกเบีย้ อันเกิดแต่การใช้สิทธิไม่สุจริตของผู้ประกอบธุรกิจได้ กรณีหาใช่มาตรา 12 ไม่ได้ให้
อานาจศาลปรับลดดอกเบีย้ ดังโจทก์ฎีกาไม่ อย่างไรก็ตาม การใช้สิทธิของโจทก์ในการคิด
ดอกเบีย้ จากจาเลยอย่ใู นเกณฑ์ท่ีด้อยกว่าระดบั มาตรฐานความสจุ ริตตามมาตรฐานทางการค้าท่ี
เหมาะสมภายใต้ระบบธุรกิจที่เป็ นธรรมหรือไม่นนั้ ต้องพิจารณาจากข้อเทจ็ จริงรวมทงั้ ท่ีมาแห่ง
การใช้สิทธิของโจทก์ประกอบด้วย สาหรับดอกเบีย้ ท่ีโจทก์คิดจากจาเลยนัน้ โจทก์เป็ นผู้
ประกอบกิจการธนาคารพาณิชย์ซงึ่ เป็นสถาบนั การเงิน มีสิทธิคิดดอกเบีย้ เงนิ ก้ไู ด้เกินกว่าอตั ราร้อย
ละ 15 ต่อปี โดยไม่อยู่ในบังคับห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 654 ดังที่
ธนาคารแห่งประเทศไทยออกประกาศโดยอาศยั อานาจตามพระราชบญั ญตั ิธุรกิจสถาบนั การเงิน
พ.ศ.2551 มาตรา 38 มาตรา 40 และมาตรา 46 กาหนดใหโ้ จทก์เรียกเก็บดอกเบี้ยจากลูกหนี้เช่น
จาเลยไดไ้ ม่เกินกว่าอตั ราร้อยละ 28 ต่อปี ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทยและประกาศของ
โจทก์เอกสารหมาย จ.9 และ จ.10 โดยปรากฏตามประกาศธนาคารแห่งประเทศไทย ท่ี
สนส.83/2551 เร่ือง หลักเกณฑ์การปฏิบัติในเร่ืองดอกเบีย้ ค่าบริการต่าง ๆ และเบีย้ ปรับ
ท่ ีสถาบันการเงินอาจเรี ยกได้ ในการประกอบธุรกิจสินเช่ ือส่ วนบุคคลภายใต้ การกากับ
เอกสารหมาย จ.9 ข้อ 1 เหตผุ ลในการออกประกาศว่า ธนาคารแห่งประเทศไทยอาศยั อานาจ
ตามบทบญั ญัติดงั กล่าวออกประกาศเพ่ือให้มีความชดั เจนและโปร่งใสในการเรียกเก็บดอกเบีย้
ค่าบริการและเบีย้ ปรับเก่ียวเน่ืองกับการประกอบธุรกิจสินเช่ือส่วนบุคคลภายใต้การกากับของ
สถาบนั การเงนิ เพ่ือส่งเสริมให้มีการแขง่ ขนั อย่างเป็ นธรรมในการประกอบธุรกิจ และเพื่อประโยชน์
ของผ้บู ริโภคในการเปรียบเทียบข้อมลู สาหรับเลือกใช้บริการจากสถาบนั การเงิน และเพื่อค้มุ ครอง
ผ้บู ริโภคและเป็นแนวทางให้สถาบนั การเงินประกอบธุรกิจตอ่ ไปจงึ ออกประกาศดงั กล่าว ได้ความ
ดังนี้ การคิดดอกเบีย้ ของโจทก์ทงั้ อตั ราปกติก่อนผดิ นดั และอตั ราที่คิดเพมิ่ เมื่อผิดนดั จึงเป็ นการคิด
ตามหลกั เกณฑ์ท่ีธนาคารแหง่ ประเทศไทยควบคมุ ไว้ไมใ่ ห้เกินกว่าท่ีเหมาะสมโดยคานงึ การแข่งขนั
อย่างเป็ นธรรมในการประกอบธุรกิจของสถาบันการเงินในท้องตลาด และเพื่อประโยชน์ของ
ผ้บู ริโภคควบคกู่ นั อนั เป็นการดาเนินธุรกิจปกติตามประเพณีของสถาบนั การเงินต่าง ๆ กรณีหาใช่
โจทก์ประกาศคิดดอกเบีย้ ตามอาเภอใจของโจทก์โดยอิสระเพ่ือมุ่งบังคับเอาแก่ลูกหนีท้ ่ี

43

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ขาดอานาจต่อรองให้ต้องรับภาระท่หี นักมากขึน้ กว่าเกณฑ์ท่คี วรเป็ นไม่ ทงั้ โจทก์ต้องมีภาระ
ต้นทนุ ต่าง ๆ ในการดาเนินกิจการเพื่อให้บริการแก่ลกู ค้าประกอบด้วย การพเิ คราะห์ถึงทางได้เสีย
อนั ชอบธรรมของโจทก์จงึ หาอาจคานงึ เพยี งสว่ นต่างระหว่างดอกเบีย้ เงนิ ฝากที่โจทก์ให้แก่ลกู ค้ากบั

ดอกเบีย้ เงินก้ทู ่ีโจทก์คิดจากลกู ค้าเพียงลาพงั ได้ไม่ เม่ือคดีนีไ้ ม่ปรากฏข้อเท็จจริงตามทาง

พิจารณาว่าการคิดดอกเบีย้ ดังกล่าวเกิดแต่การใช้สิทธิอันมิชอบด้วยมาตรฐานทางการค้าท่ี
เหมาะสมภายใต้ระบบธุรกิจที่เป็ นธรรมดังนี ้ การใช้สิทธิคิดดอกเบีย้ ของโจทก์ในอัตราผิดนัด
ดงั กล่าวจงึ ยังไม่เป็ นการใช้สิทธิไม่สุจริตตามพระราชบญั ญตั วิ ิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551
มาตรา 12 ที่ศาลจะอาศยั อานาจตามบทบญั ญัติดงั กล่าวลดดอกเบีย้ ท่ีโจทก์ขอมาได้ อย่างไรก็ดี
ดอกเบีย้ ที่โจทก์ขอคิดมานนั้ อาศยั เหตทุ ี่จาเลยผิดนดั ผดิ เง่ือนไขชาระหนี ้ดอกเบีย้ สว่ นท่ีเพม่ิ จงึ เป็ น
เบีย้ ปรับตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 379 ซงึ่ อย่ใู นบงั คบั มาตรา 383 วรรคหนึ่ง
ที่บญั ญัติว่า “ถ้าเบีย้ ปรับท่ีริบนนั้ สูงเกินส่วน ศาลจะลดลงเป็ นจานวนพอสมควรก็ได้ ในการที่จะ
วินิจฉัยว่าสมควรเพียงใดนัน้ ท่านให้พิเคราะห์ถึงทางได้เสียของเจ้าหนีท้ ุกอย่างอันชอบด้วย
กฎหมาย ไม่ใช่แต่เพียงทางได้เสียในเชิงทรัพย์สิน..." อนั เป็ นเจตนารมณ์แห่งกฎหมายให้ศาลใช้
ดลุ พนิ ิจวา่ เบีย้ ปรับท่ีกาหนดตามสญั ญาเหมาะสมและเป็นธรรมแก่กรณีหรือไมห่ ากเห็นว่าเบีย้ ปรับ
สงู เกินสมควรศาลย่อมใช้ดลุ พินิจลดจานวนเบีย้ ปรับลงได้ คดีนี้ ไม่ปรากฏจากพยานหลักฐาน
ของโจทก์ว่า ทางได้เสียของโจทก์ซ่งึ เป็ นข้อเทจ็ จริงท่เี ป็ นเหตุปัจจัยอันนาไปสู่การคานวณ

เป็ นดอกเบีย้ ในช่วงเวลานับถัดจากวันฟ้ องท่ีโจทก์ฎีกาโต้แย้งนัน้ เป็ นอย่างไร ศาลฎีกา
แผนกคดีผู้บริโภคจึงเหน็ ว่า เบีย้ ปรับที่โจทก์คิดในอตั ราดงั กล่าวสงู เกินไป เห็นควรลดลง

เป็ นอตั ราร้อยละ 19 ต่อปี ที่ศาลอุทธรณ์แผนกคดีผ้บู ริโภคอาศัยอานาจตามพระราชบญั ญัติวิธี
พจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 12 กาหนดลดดอกเบีย้ ให้โจทก์ได้รับเพียงอตั ราร้อยละ 15
ต่อปี นบั แต่วนั ถดั จากวนั ฟ้ องไปนนั้ ศาลฎีกาแผนกคดีผ้บู ริโภคไม่เหน็ พ้องด้วย ฎีกาของโจทก์ฟังขนึ ้
บางส่วน...

โดยสรุป ตามฎีกาดังกล่าววางหลักว่า ศาลมีอานาจปรับบทมาตรา 12 เพ่ือ
วินิจฉัยว่าผู้ประกอบธุรกิจใช้สิทธิไม่สุจริตได้ แต่ต้องมีข้อเท็จจริงในคดีเพียงพอท่ีจะ

44

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ประกอบการวินิจฉัย หากไม่มีข้อเท็จจริงแล้ว ศาลย่อมไม่อาจปรับลดดอกเบีย้ ท่ีธนาคารคิดแก่
โจทก์ในลกั ษณะท่ีงดเบีย้ ปรับได้

นอกจากนี้ ยงั มีตวั อย่างฎีกาที่เหน็ ได้วา่ มีการนาหลกั สจุ ริตมาปรับใช้แก่คดี เชน่
ฎ.7298/2561 ...แม้เป็ นการประกาศก่อสร้างสะพานทางเดินลอยฟ้ าแล้วยกให้แก่
สาธารณะ แต่เห็นได้ชดั อย่ใู นตวั ว่าเป็ นไปเพ่ือประโยชน์ทางการค้าของจาเลยที่ 1 เป็ นเป้ าหมาย
หลัก ขณะท่ีจาเลยท่ี 2 ประกาศเรื่องดังกล่าว การก่อสร้ างอาคารศูนย์การค้ายังอยู่ระหว่าง
ดาเนินการ ทงั้ ยังมีกล่มุ ลูกค้าเช่นโจทก์ท่ียงั ไม่ได้เข้าทาสญั ญากบั จาเลยที่ 1 การประกาศซึ่งถือ
เป็นข้อตกลงที่ให้เพมิ่ เติมจากท่ีได้ทาสญั ญาไว้ดงั วนิ จิ ฉยั ในขณะเดียวกนั ก็เป็ นการจงู ใจให้ผ้ทู ่ีจอง
สิทธิในการเข้าทาสญั ญาเช่าไม่เปลี่ยนใจและจงู ใจให้เข้าทาสญั ญาเช่ากบั จาเลยท่ี 1 ต่อไปโดยไม่
ละทิง้ สญั ญาจองด้วย เมื่อจาเลยที่ 2 ประกาศข้อความเรื่องการก่อสร้างสะพานทางเดินลอยฟ้ า
โดยไม่ได้บอกข้อความจริงให้ปรากฏชดั แก่ลูกค้าว่า การดังกล่าวมิอาจกระทาได้โดยลาพัง
อานาจสิทธิขาดของจาเลยท่ี 1 แต่ต้องขึน้ อยู่กับการได้รับอนุมัติจากกรุงเทพมหานครซ่ึง
เป็ นหน่วยราชการผู้มีหน้าท่ีพิจารณาเสียก่อน ต่อเม่ือได้รับอนุมัติโดยชอบแล้ว จึงจะ
ดาเนินการได้ จาเลยท่ี 2 กลบั ประกาศความดงั กล่าวซงึ่ เป็นข้อความในลกั ษณะก่อให้เกิดความ
เข้าใจผดิ ในสาระสาคัญเก่ียวกบั การก่อสร้างสะพานทางเดินลอยฟ้ าว่าจาเลยท่ี 1 กระทาได้โดย
ลาพงั หรือเป็ นกรณีท่ีได้รับอนุมตั ิจากทางราชการไว้แล้วและตนดาเนินการได้ตามท่ีประกาศโดย
แน่แท้ กรณีเชน่ นี ้ย่อมเขา้ ลกั ษณะการโฆษณาด้วยขอ้ ความที่เป็นการไม่เป็นธรรมต่อผูบ้ ริโภคตาม
พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผูบ้ ริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 22 (2) และเป็ นกรณีท่จี าเลยท่ี 1 ซ่งึ เป็ นผู้
ประกอบธุรกจิ ใช้สิทธิโดยมิได้กระทาด้วยความสุจริตตามมาตรฐานทางการค้าท่เี หมาะสม
ภายใต้ระบบธุรกจิ ท่เี ป็ นธรรมดงั บัญญัตติ ามพระราชบญั ญัตวิ ิธีพจิ ารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.
2551 มาตรา 12 ได้ความดงั นี ้เมื่อเป็นกรณีที่จาเลยท่ี 1 โดยจาเลยที่ 2 กระทาด้วยความไม่สจุ ริต
แม้จาเลยท่ี 1 มีเจตนาขวนขวายดาเนินการก่อสร้างสะพานทางเดินลอยฟ้ าจริง และแม้กรณียงั ไม่
อาจดาเนินการได้เพราะเหตยุ งั ไม่ได้รับอนมุ ตั ิจากกรุงเทพมหานครเพราะมีผ้คู ดั ค้านก็ตาม จาเลย
ท่ี 1 ก็ไม่อาจอ้างเป็ นพฤติการณ์การชาระหนีย้ ังมิได้กระทาลงเพราะเหตุซ่งึ จาเลยท่ี 1 ไม่
ต้องรับผิดชอบดังศาลอุทธรณ์วินิจฉัย เมื่อคดีฟังได้ดังนี ้ การที่จาเลยที่ 1 ไม่อาจก่อสร้ าง

45

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

สะพานทางเดินลอยฟ้ าตามท่ีประกาศโฆษณา จาเลยที่ 1 จึงเป็ นฝ่ ายผิดสญั ญา...(วินิจฉัยตาม
แนว ฎ.6749/2561 ซง่ึ เป็นคดีกล่มุ เดียวกนั )

ฎ. 8424/2563 ...เหน็ ว่า การที่นายศภุ กรย่ืนขอสินเช่ือดงั กล่าวเป็นการขอให้บริษัท
เมอร์ซิเดส เบนซ์ ลีสซ่ิง จากัด ทาคาเสนอแก่ตนตามข้อมลู ฐานะการเงินท่ีตนส่งให้พิจารณา เมื่อ
บริษัทเมอร์ซเิ ดส เบนซ์ ลีสซงิ่ จากดั ทาหนงั สืออนมุ ตั ิสินเชื่อแก่นายศภุ กรผ่านจาเลยโดยมีเง่ือนไข
ให้นายไพบลู ย์เป็ นผ้คู า้ ประกนั เพิ่มอีก 1 คน และมีเง่ือนเวลากากบั ว่า ขอยกเลิกหนงั สือหากผ้เู ช่า
ซอื ้ ไมไ่ ด้รับมอบรถภายในวนั ท่ี 18 มกราคม 2559 หนงั สือของบริษัทเมอร์ซิเดส เบนซ์ ลีสซงิ่ จากดั
จึงเป็ นคาเสนอให้นายศภุ กรเข้าทานิติกรรมด้วย การท่ีนายศภุ กรบอกปัดไม่รับเงื่อนไข ย่อมทาให้
คาเสนอนนั้ ตกไปตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 357 หากนายศภุ กรไม่ร้องขอให้
บริษัทเมอร์ซิเดส เบนซ์ ลีสซ่ิง จากดั พิจารณาเง่ือนไขเง่ือนเวลาการอนมุ ตั ิสินเชื่อเพ่ือทาคาเสนอ
ใหม่แก่ตน กระบวนการขอสินเช่ือครัง้ ใหม่ย่อมไม่อาจเกิดขึน้ ความข้อนีน้ ายศุภกรย่อมตระหนัก
ทราบได้ดีเพราะตนเป็ นฝ่ ายยื่นขอให้บริษัทเมอร์ซเิ ดส เบนซ์ ลีสซิง่ จากดั ทาคาเสนอแก่ตนมาแต่
ต้น ข้อเท็จจริงตามท่ีได้ความดงั กล่าวมา เห็นได้ว่า นายศภุ กรเพกิ เฉยละเลยไม่ดาเนินการขอให้
บริษัทเมอร์ซิเดส เบนซ์ ลีสซิ่ง จากัด ทาคาเสนอ แก่ตนใหม่ กรณีเช่นนี ้บริษัทเมอร์ซิเดส เบนซ์
ลีสซงิ่ จากดั ย่อมไม่อาจพิจารณาอนมุ ตั ิสินเช่ือครัง้ ใหม่หรือทาคาเสนอใหม่ให้ได้เพราะนายศภุ กร
ไม่เสนอข้อมลู หรือขอเปล่ียนเงื่อนไขเป็ นอย่างอื่นให้พิจารณา ดงั นี ้การที่บริษัทเมอร์ซิเดส เบนซ์
ลีสซงิ่ จากดั อนมุ ตั ิสินเชื่อโดยมีเง่ือนไขตามใบแจ้งผลการวิเคราะห์สินเชื่อ เอกสารหมาย จ.8 ซึ่ง
เป็ นไปตามปกติประเพณีการค้าชนิดนีอ้ ันเป็ นการปฏิบัติตามมาตรฐานทางการค้าท่ี
เหมาะสมภายใต้ระบบธุรกจิ ท่เี ป็ นธรรมท่ีผู้ประกอบธุรกจิ ลีสซ่ิงพงึ ปฏิบัติแล้วดงั ที่มาตรา
12 แห่งพระราชบญั ญัติวิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 บัญญัติไว้ การท่ีนายศุภกรไม่ได้รับ
สินเชื่อจึงมิได้เกิดจากการไม่อนุมัติสินเช่ือดังโจทก์ฎีกา หากเกิดแต่นายศุภกรปฏิเสธคาเสนอที่
อนุมัติให้สินเช่ือและเกิดจากการที่นายศุภกรละเลยไม่เสนอขอให้บริษัทเมอร์ซิเดส เบนซ์ ลีสซิ่ง
จากดั พจิ ารณาสินเช่ือแก่ตนในเงื่อนไขอ่ืนแล้วทาคาเสนอใหม่แก่ตน ซงึ่ นาไปส่กู ารยกเลิกสญั ญา
จองระหวา่ งนายศภุ กรกบั จาเลย...

ฎ.5351/2562...เหน็ ว่า แผ่นพบั โฆษณาเป็ นประกาศโฆษณาที่จาเลยแจกจ่ายแก่
ผ้ซู ือ้ ห้องชดุ ซงึ่ ย่อมเป็ นไปเพื่อจงู ใจให้ผ้พู บเห็นเข้าทาสญั ญากบั จาเลยเพื่อซือ้ ห้องชดุ สิ่งท่ีจาเลย

46

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

กาหนดในแผ่นพบั ท่ีเป็ นส่ือกลางโฆษณาให้ผ้ซู ือ้ ทราบว่าจะได้รับสิ่งใดเป็ นการตอบแทนการเข้าทา
สญั ญาซือ้ ห้องชุด จึงถือเป็ นส่วนหน่ึงของสัญญาระหว่างจาเลยกับผู้ซือ้ ดังท่ีกฎหมาย
บัญญัติบังคับไว้ตามพระราชบัญญัตวิ ิธีพจิ ารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 11 จาเลยซง่ึ
เป็นผ้ปู ระกอบธรุ กิจจงึ มีหน้าท่ตี ามมาตรฐานทางการค้าท่เี หมาะสมภายใต้ระบบธุรกิจท่เี ป็ น
ธรรมท่ีจะต้องแจ้งข้อท่ีผู้บริโภคควรทราบให้กระจ่างชัด ทงั้ ต้องไม่ใช้ข้อความท่เี ป็ นการ
ไม่เป็ นธรรมในการโฆษณาต่อผู้บริโภคเกี่ยวกับ สภาพ คณุ ภาพ หรือลกั ษณะของสินค้าหรือ
บริการไม่ว่าในทางใด ซึง่ ตามพระราชบัญญัตคิ ุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 22 (2)
บญั ญัติว่า ข้อความที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสาคญั เกี่ยวกบั สินค้าหรือบริการไม่ว่าจะ
กระทาโดยใช้หรืออ้างอิงรายงานทางวิชาการ สถิติ หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งอันไม่เป็ นความจริงหรือเกิน
ความจริง หรือไม่ก็ตาม ถือว่าเป็ นข้อความท่ีไม่เป็ นธรรม ดังนี ้ แม้จาเลยไม่มีเจตนาให้ท่ีดิน
พพิ าททงั้ 2 แปลง ส่วนของจาเลยเป็ นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชุดดงั จาเลยอ้าง แต่ตามแผ่น
พับโฆษณารูปแผนผังท่ีปรากฏทางพิพาทท่ีเป็ นทางเข้าออกและพืน้ ท่ีติดชายหาดติดต่อกับพืน้ ที่
อาคารชุดดงั วินิจฉัย ที่มีลกั ษณะที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสาคัญเกี่ยวกับที่ดินพิพาท
ทงั้ 2 แปลง ซงึ่ เป็นพนื ้ ที่ใช้สอยอนั มีผลต่อสถานะความเป็ นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชดุ โดยทาให้
ผ้ซู ือ้ เข้าใจไปว่าที่ดินพพิ าททงั้ 2 แปลง เป็ นพืน้ ที่ที่เจ้าของร่วมจะได้ใช้ประโยชน์ร่วมกนั อย่างเป็ น
ทรัพย์ส่วนหน่ึงของอาคารชดุ การโฆษณาของจาเลยจงึ เป็นการโฆษณาด้วยข้อความท่ีเป็นการไม่
เป็นธรรมต่อผ้บู ริโภค ดงั บญั ญตั ิตามพระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองผ้บู ริโภค พ.ศ.2522 มาตรา 22 (2) จาเลย
จงึ ต้องรับผลแหง่ การโฆษณานนั้ ...

พพิ ากษาเกนิ คาขอ

ในคดีแพ่ง มีหลักห้ามพิพากษาเกินคาขอ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง มาตรา 142 ที่ห้ามศาลพิพากษาหรือทาคาส่ังให้สิ่งใด ๆ เกินไปกว่าหรือนอกจากท่ี
ปรากฏในคาฟ้ อง โดยมีข้อยกเว้นอยบู่ ้างตามท่ีบญั ญตั ิในบทกฎหมายดงั กลา่ ว

หลกั ห้ามพิพากษาเกินคาขอมีท่ีมาจากหลกั ความต้องการของโจทก์ผ้ฟู ้ องคดี เป็ น
หลกั ท่ีใช้กนั มานานในระบบกฎหมายทงั ้ ทางตะวนั ตก17และในไทย18 โดยถือวา่ โจทก์มีสิทธิเลือกใน

17 Ne eat judex ultra vel extra petitapartium
18พระราชบญั ญัติวิธีพิจารณาความแพ่ง ร 127.ศ.มาตรา ประมวล 39กฎหมายวธิ ีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 142


Click to View FlipBook Version