The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปัญหาชั้นสูงในคดีผู้บริโภค จพค ชนก พิเศษ 10 S (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sinaphong, 2022-04-20 03:01:20

ปัญหาชั้นสูงในคดีผู้บริโภค จพค ชนก พิเศษ 10 S (1)

ปัญหาชั้นสูงในคดีผู้บริโภค จพค ชนก พิเศษ 10 S (1)

47

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

การใช้สทิ ธิทางกฎหมายวา่ ต้องการในเร่ืองใดในขอบเขตเพยี งใด และศาลซงึ่ เป็นคนกลางไม่ควรให้
ในสิ่งที่โจทก์ไม่ต้องการและฝื นความประสงค์ของโจทก์ ตามหลกั นีฝ้ ่ ายจาเลยเองก็ทราบขอบเขต
วา่ หากแพ้คดีจะต้องรับผดิ เพยี งใด เพ่ือความชดั เจนในการกาหนดทิศทางการต่อส้คู ดี

ตวั อย่างคดีท่ีศาลไมอ่ าจให้ในสง่ิ ที่โจทก์ไม่ได้ขอบงั คบั ไว้ในคาฟ้ อง เชน่
ฎีกาที่ 2364/2526 ฟ้ องขอไถ่ที่ดิน เม่ือโจทก์ไม่ได้มีคาขอเรียกค่าเสียหายหากโอน
ท่ีดินคืนไมไ่ ด้ ศาลจะให้ใช้ค่าเสียหายแทนไม่ได้
ฎีกาท่ี 1552/2523 ฟ้ องว่าจาเลยทาให้ทอ่ ประปาเสียหาย เรียกให้ใช้ค่าซอ่ มท่อ เม่ือ
ไมไ่ ด้เรียกคา่ เสียหายเป็นคา่ นา้ ประปาท่ีสญู เสียมาด้วย ศาลจะพพิ ากษาให้ใช้คา่ นา้ ประปาไมไ่ ด้
คดีตามตวั อยา่ งเหน็ ได้ว่า ในบางครัง้ การจากดั อานาจศาลห้ามพพิ ากษาเกินคาขอ
กลายเป็นอปุ สรรคขดั ขวางการท่ีศาลจะให้ความยตุ ิธรรมแก่โจทก์ แม้ศาลเห็นว่าโจทก์ควรได้รับสิ่ง
นนั้ ก็ตาม
การที่โจทก์ไม่ได้ขอในส่ิงท่ีควรขอตามสิทธิที่มี ซ่งึ มกั เกิดในรายที่โจทก์ขาดความรู้
และประสบการณ์ในทางคดี ยอ่ มก่อให้เกิดความไม่ยตุ ิธรรมขนึ ้ ได้ เพราะโจทก์ไม่ได้รับการเยียวยา
ความเสียหายตามท่ีควรจะได้ โดยเฉพาะในวงจรของการบริโภคสินค้าหรือบริการที่ฝ่ ายผ้ผู ลิตหรือ
ผ้ปู ระกอบธุรกิจมีอานาจต่อรองเหนือกว่าฝ่ ายผ้บู ริโภค ความรู้ความเข้าใจท่ีด้อยกว่าของผ้บู ริโภค
ทาให้ไมท่ ราบว่าตนมีสิทธิเพยี งใด หากกฎหมายไม่ผอ่ นปรนเร่ืองห้ามพพิ ากษาเกินคาขอ เห็นได้ว่า
ฝ่ ายผ้บู ริโภคอาจไม่ได้รับความเป็นธรรมตามสมควร จงึ เกิดการยกเว้นหลกั ห้ามพพิ ากษาเกินคาขอ
ขนึ ้ ในการดาเนินคดีผ้บู ริโภค
การยกเว้นหลักห้ามพิพากษาเกินคาขอในคดีผู้บริโภค มีท่ีมาตามหมายเหตุท้าย
พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 ว่า เป็ นไปเพื่อค้มุ ครองสิทธิของผ้บู ริโภค ขณะเดียวกัน
เป็ นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบธุรกิจหันมาให้ความสาคญั ต่อการพัฒนาคุณภาพของสินค้าและ
บริการให้ดียิง่ ขนึ ้
พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 สร้างหลกั เกณฑ์ให้ศาลพิพากษาได้
เกินกวา่ ที่ฝ่ ายผ้บู ริโภคเป็นโจทก์ฟ้ องคดีได้เรียกร้องไว้ในมาตรา 39 เป็นสาคญั

มาตรา 39 การพพิ ากษาเกนิ คาขอ (Ultra Petita)

48

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

มาตรา 39 ในคดีทีผ่ ูบ้ ริโภคหรือผูม้ ีอานาจฟ้ องคดีแทนผูบ้ ริโภคเป็นโจทก์ ถ้าความ
ปรากฏแก่ศาลว่าจานวนค่าเสียหายที่โจทก์เรียกร้องไม่ถูกต้องหรือวิธีการบงั คบั ตามคาขอของ
โจทก์ไม่เพียงพอต่อการแกไ้ ขเยียวยาความเสียหายตามฟ้ อง ศาลมีอานาจยกข้ึนวินิจฉยั ใหถ้ ูกต้อง
หรือกาหนดวิธีการบงั คบั ใหเ้ หมาะสมไดแ้ ม้จะเกินกว่าที่ปรากฏในคาขอบงั คบั ของโจทก์ก็ตาม แต่
ขอ้ ทีศ่ าลยกขึ้นวินิจฉยั นนั้ จะตอ้ งเกีย่ วขอ้ งกบั ขอ้ เท็จจริงทีค่ ู่ความยกขึ้นมาว่ากล่าวกนั แลว้ โดยชอบ

หลักเกณฑ์ตามมาตรา 39 เป็ นกรณีฝ่ ายผู้บริโภคเป็ นโจทก์เท่านัน้ ศาลจึงจะ
พพิ ากษาให้เกินคาขอของโจทก์ได้ ซงึ่ รวมถึงกรณีที่ฝ่ ายผ้บู ริโภคฟ้ องแย้งด้วย เพราะถือเป็ นโจทก์
ฟ้ องแย้ง และการพพิ ากษาเกินคาขอเป็นดลุ พนิ จิ ศาลโดยโจทก์ไม่ต้องร้องขอ

กรณีวธิ ีการบงั คบั ตามคาขอของโจทก์ไมเ่ พียงพอตอ่ การแก้ไขเยียวยาความเสียหาย
ตามฟ้ องนนั้ หากเป็ นคาขอในหนีต้ ่างประเภทกันเช่น ขอให้บงั คบั ชาระหนีก้ ระทาการด้วยการ
ให้เปลี่ยนรถคันใหม่แทนคนั ท่ีชารุดบกพร่อง แต่ไม่ได้ขอค่าเสียหายเป็ นเงิน ถ้าศาลเห็นว่าไม่ถึง
ขนาดต้องเปลี่ยน แตร่ ถมีความชารุดบกพร่อง ศาลมีอานาจพพิ ากษาให้เงินแทนได้หรือไม่

ฎ.4567/2561 ผู้บริโภคฟ้ องเกี่ยวกับความชารุดบกพร่องของรถ ศาลฎีกาฟังว่า
จาเลยท่ี 1 ผู้ขายส่งมอบรถแก่โจทก์ผู้ซือ้ พร้ อมกับส่งมอบสมุดคู่มือการรับบริการ ระบุการ
รับประกนั รถตามเงื่อนไขและระยะเวลา มีช่ือโจทก์เป็ นลกู ค้า ย่อมหมายถึงเป็ นผ้มู ีสิทธิรับบริการ
เกี่ยวกบั รถซ่ึงเป็ นไปตามข้อตกลงท่ีจาเลยที่ 1 แจ้งแก่โจทก์ขณะตกลงซือ้ ขายอนั เป็ นการจงู ใจให้
โจทก์เข้าเป็ นลกู ค้าข้อตกลงเช่นนีย้ ่อมถือเป็ นสัญญาการให้บริการท่ีผ้ขู ายตกลงจะให้บริการ
ตอบแทนแก่ผ้ซู อื ้ มีผลเป็ นสัญญาบริการตาม พ.ร.บ.วธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค ฯ มาตรา 11

และพิพากษาวางหลักว่า ที่จาเลยท่ี 1 แก้ฎีกาว่า กรณีเป็ นการรับประกันว่าจะ
ซ่อมหรือเปล่ียนชิน้ ส่วนท่ีเสียหายจากความบกพร่องของวสั ดุหรือวิธีการผลิตภายใต้การใช้งาน
ปกติ แต่คาขอทา้ ยฟ้ องกลบั ขอบงั คบั ใหใ้ ชเ้ งินซ่ึงนอกเหนือจากทีฝ่ ่ายจาเลยรับประกนั ไว้ จึงไม่อาจ
บงั คบั ใหไ้ ด้ นนั้ ศาลฎีกาเหน็ ว่า เม่ือฟังได้ว่าฝ่ ายจาเลยไม่อาจแก้ไขเหตชุ ารุดบกพร่อง ศาล
ย่อมมีอานาจบงั คับให้ใช้ค่าเสียหายเป็ นเงนิ ได้ตามมาตรา 39 และ 41

ตามคดีดงั กล่าว ในทางกลบั กัน แม้ขอให้ชาระหนีเ้ป็ นเงิน ศาลก็พิพากษาให้ชาระ
หนีโ้ ดยการเปล่ียนรถได้เชน่ กนั อย่างไรก็ตาม คดีตามตวั อย่างล้วนต้องอยู่ใต้หลักเกณฑ์ว่า เป็ น
กรณีเข้าเกณฑ์ท่กี ฎหมายบงั คับไว้ในข้ออ่ืนครบถ้วน ศาลจงึ จะพพิ ากษาเกนิ คาขอได้ เช่น

49

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ฎีกาท่ี.2123/2562 ศาลชัน้ ต้นยกฟ้ อง ศาลอุทธรณ์พิพากษาแก้ กาหนดค่า
สินไหมทดแทนให้แก่โจทก์ทง้ั สี่กรณีผู้ตายต้องเจ็บป่ วยด้วยอาการทกุ ขเวทนาจากการผ่าตดั ครั้ง
แรก ตอ้ งนอนพกั ฟื้นทีโ่ รงพยาบาลจาเลยที่ 3 เพือ่ รักษาบาดแผลผ่าตดั ตง้ั แต่วนั ที่ 17 ถึงวนั ที่ 20
พฤษภาคม 2554 และตอ้ งรกั ษาตวั ต่อทีบ่ า้ นเป็นเงิน 200,000 บาท กบั ใหค้ ่าเสียหายเชิงลงโทษอีก
300,000 บาท รวมใหช้ าระ 500,000 บาท พร้อมดอกเบีย้ )

ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า...การกาหนดค่าสินไหมทดแทนเพื่อความท่ีเสียหายอย่างอ่ืน
อนั มิใช่ตวั เงินตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มาตรา 446 เป็ นสิทธิเรียกร้องท่ีไม่อาจโอน
กนั ได้ และไม่ตกสืบไปถึงทายาท เว้นแต่สิทธินนั้ จะได้รับสภาพกนั ไว้โดยสญั ญาหรือได้เริ่มฟ้ องคดี
ตามสทิ ธินนั้ แล้ว คดีนี ้ผ้ตู ายไม่ได้ฟ้ องคดีเรียกค่าสินไหมทดแทนกรณีดงั กล่าวไว้ ทงั้ ไม่ปรากฏว่า
เป็ นกรณีที่ได้รับสภาพกนั ไว้โดยสญั ญาระหว่างฝ่ ายโจทก์กบั ฝ่ ายจาเลยโจทก์ทงั้ ส่ี (ทายาทผูต้ าย)
จงึ ไม่มีสิทธิเรียกร้องในมลู หนีส้ ่วนนีด้ งั ที่กฎหมายบญั ญัติบงั คบั ไว้ เมื่อโจทก์ทงั้ สี่ไม่มีอานาจแห่ง
มูลหนีท้ ่ีจะบงั คบั ให้จาเลยที่ 1 และท่ี 3 ใช้ค่าสินไหมทดแทนเพ่ือความท่ีเสียหายอย่างอ่ืนอัน
มิใช่ตัวเงินดงั ที่ได้ความ ศาลอทุ ธรณ์แผนกคดีผู้บริโภคจึงไม่อาจอาศยั อานาจตาม พ.ร.บ. วิธี
พจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 39 กาหนดค่าสินไหมทดแทนส่วนนีใ้ ห้ได้ และย่อมส่งผล
ให้ไม่อาจส่ังให้จ่ายค่าเสียหายเพื่อการลงโทษเพิ่มขึน้ จากจานวนค่าเสียหายท่ีแท้จริงท่ีศาล
กาหนดให้ได้ตามพระราชบญั ญตั ิวธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค ฯ มาตรา 42 ไปด้วย

พพิ ากษากลบั ให้บงั คบั คดีไปตามคาพพิ ากษาศาลชนั้ ต้น ฯ
นอกจากบทมาตรา 39 แล้ว ศาลในคดีผู้บริโภคยังพิพากษาเกินคาขอได้อีก
ตามเกณฑ์ใน มาตรา 40 ถึงมาตรา 44 ได้แก่ มาตรา 40 การสงวนสิทธิแก้ไขคาพิพากษา
มาตรา 41 การเปลี่ยนสินค้าขารุดบกพร่อง (Lemon Law) มาตรา 42 ค่าเสียหายเชิงลงโทษ
(Punitive Damages) มาตรา 43 การเรียกคืนสินค้า (Recall) และมาตรา 44 การแหวกม่านนิติ
บคุ คล (Piercing the Corporate Veils)

การสงวนสิทธแิ ก้ไขคาพพิ ากษา

หลกั สงวนสิทธิแก้ไขคาพิพากษานนั้ มีบญั ญัติมานานตามประมวลกฎหมายแพ่ง
และพาณิชย์ มาตรา 444

50

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

“ ในกรณีทาให้เสียหายแก่ร่างกายหรืออนามยั นนั้ ผ้ตู ้องเสียหายชอบที่จะได้ชดใช้
ค่าใช้จ่ายอนั ตนต้องเสียไป และคา่ เสียหายเพื่อการท่ีเสียความสามารถประกอบการงานสนิ ้ เชิงหรือ
แต่บางส่วน ทงั้ ในเวลาปัจจบุ นั นนั้ และในเวลาอนาคตด้วย

ถ้าในเวลาที่พิพากษาคดี เป็ นพ้นวิสยั จะหยง่ั รู้ได้แน่ว่าความเสียหายนนั้ ได้มีแท้จริง
เพียงใด ศาลจะกล่าวในคาพิพากษาว่ายังสงวนไว้ซึ่งสิทธิท่ีจะแก้ไขคาพิพากษานัน้ อีกภายใน
ระยะเวลาไม่เกินสองปี ก็ได้ ”

ส่วน พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 บญั ญัติเรื่องการสงวนสิทธิแก้ไขคา
พพิ ากษาในมาตรา 40

“ ในกรณีท่ีความเสียหายเกิดขึน้ แก่ร่างกาย สุขภาพ หรืออนามัยและในเวลาท่ี
พพิ ากษาคดีเป็ นการพ้นวิสยั จะหยง่ั รู้ได้แน่ว่าความเสียหายนนั้ มีแท้จริงเพียงใด ศาลอาจกล่าวใน
คาพพิ ากษาหรือคาสง่ั วา่ ยงั สงวนไว้ซงึ่ สทิ ธิที่จะแก้ไขคาพพิ ากษาหรือคาสงั่ นนั้ อีกภายในระยะเวลา
ที่ศาลกาหนด ทงั้ นี ้ต้องไม่เกินสิบปี นบั แต่วนั ท่ีศาลมีคาพิพากษาหรือคาสงั่ แต่ก่อนการแก้ไขต้อง
ให้โอกาสคคู่ วามอีกฝ่ ายที่จะคดั ค้าน ”

ข้อแตกต่างหลักเกณฑ์สงวนสิทธิตามกฎหมายทัง้ 2 ฉบบั อยู่ท่ีระยะเวลาที่ศาล
สงวนสิทธิแก้ไขคาพิพากษา ซ่ึงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กาหนดไว้ไม่เกิน 2 ปี แต่
ตาม พ.ร.บ.วธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 กาหนดไว้ไมเ่ กิน 10 ปี

นบั แต่ใช้กฎหมาย พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มา คดีที่ศาลในคดี
ผู้บริโภคใช้อานาจส่ังสงวนสิทธิแก้ไขคาพิพากษาเท่าที่ตรวจพบ คงมีคดีตามคาพิพากษาศาล
อุทธรณ์ คดีหมายเลขแดงท่ี 15759/2558 ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนส่ังให้โรงพยาบาลและ
แพทย์ ชดใช้เงิน 10,000,000 บาท ฐานประมาททาคลอดบุตรหญิงผิดพลาด เคร่ืองห้าม
เลือดไฟฟ้ าเกิดช็อต ไฟลุกไหม้เป็ นแผลท่ีข้างลาตัว ผิวหนังและเซลล์ประสาทถูกไฟไหม้
และข้อเท็จจริงในคดีได้ความยตุ ิว่า จนถึงวนั ฟ้ อง บาดแผลก็ยงั รักษาไม่หาย ทงั้ ไม่อาจรักษาหาย
ได้หลงั วนั ฟ้ องไปอีกเป็ นเวลานาน ศาลอทุ ธรณ์จึงใช้อานาจสงวนสิทธิแก้ไขคาพิพากษาโดยโจทก์
ซ่งึ อุทธรณ์ไม่ได้ร้องขอโดยพพิ ากษาให้จาเลยท่ี 1 และที่ 2 ร่วมกนั ชดใช้เงินจานวน 10,273,000
บาท พร้อมดอกเบีย้ อตั ราร้อยละ 7.5 ต่อปี ...แต่ให้สงวนไว้ซ่งึ สิทธิท่จี ะแก้จานวนค่าเสียหาย
ในอนาคต ภายในระยะเวลา 5 ปี เม่ือโจทก์ยงั ต้องรับการรักษาบาดแผลต่อเน่ือง

51

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

การเปล่ียนสนิ ค้าชารุดบกพร่อง (Lemon Law)

ความรับผิดเพื่อสินค้าชารุดบกพร่องนนั้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บญั ญตั ิไว้ใน บรรพ 3 ลกั ษณะ 1 ซอื ้ ขายหมวด 2หน้าท่ีและความรับผิดของผ้ขู ายส่วนที่ 2 ความรับ
ผิดเพ่ือชารุดบกพร่อง มาตรา 472 ถึง มาตรา 474 ซ่ึงให้กับกรณีการเช่าด้วย โดยมาตรา 549
บญั ญตั ิให้นาบทความรับผิดของผ้ขู ายกรณีชารุดบกพร่องไปใช้แก่กรณีของผ้ใู ห้เชา่ ด้วยโดยอนโุ ลม
แต่บทบญั ญัติดงั กล่าวเพียงกล่าวถึงการชารุดบกพร่องเพียงกว้าง ๆ ไม่มีความชดั เจน จึงส่งผลให้
ผ้บู ริโภคไม่ได้รับความค้มุ ครองเพียงพอ จงึ มีการบญั ญตั ิความรับผิดเพ่ือสินค้าท่ีชารุดบกพร่องให้
ชดั เจนขนึ ้ ใน พ.ร.บ.วธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 ตาม มาตรา 41

ในคดีท่ีผ้บู ริโภคหรือผ้มู ีอานาจฟ้ องคดีแทนผ้บู ริโภคเป็ นโจทก์ฟ้ องขอให้ผ้ปู ระกอบ
ธุรกิจรับผิดในความชารุดบกพร่องของสินค้า หากศาลเช่ือว่าความชารุดบกพร่องดังกล่าวมีอยู่
ในขณะส่งมอบสินค้านนั้ และไม่อาจแก้ไขให้กลับคืนสภาพท่ีใช้งานได้ตามปกติหรือถึงแม้จะ
แก้ไขแล้วแต่หากนาไปใช้บริโภคแล้วอาจเกิดอันตรายแก่ร่างกาย สุขภาพ หรืออนามยั ของ
ผู้บริโภคท่ีใช้สินค้านัน้ ให้ศาลมีอานาจพิพากษาให้ผู้ประกอบธุรกิจเปล่ียนสินค้าใหม่ให้แก่
ผู้บริโภคแทนการแก้ไขซ่อมแซมสินค้าท่ีชารุดบกพร่องนัน้ ก็ได้ ทงั้ นี ้ โดยคานึงถึงลักษณะของ
สินค้าที่อาจเปลี่ยนทดแทนกันได้ พฤติการณ์ของผู้ประกอบธุรกิจ ตลอดจนความสุจริตของ
ผ้บู ริโภคประกอบด้วย และหากข้อเท็จจริงปรากฏว่า ผ้บู ริโภคได้รับประโยชน์จากการใช้สินค้าหรือ
ได้ก่อให้เกิดความเสียหายแก่สินค้านนั้ ให้ศาลมีคาสงั่ ให้ผ้บู ริโภคชดใช้ค่าใช้ทรัพย์หรือค่าเสียหาย
แล้วแต่กรณี ให้แก่ผ้ปู ระกอบธุรกิจนนั้ ได้ตามที่เหน็ สมควร

การฟ้ องคดีตามวรรคหนึ่ง ถ้าผ้ถู ูกฟ้ องมิใช่ผู้ผลิตหรือผู้นาเข้าสินค้านนั้ ให้ศาลมี
คาสงั่ เรียกผู้ผลิตหรือผ้นู าเข้าดังกล่าวเข้ามาในคดีตามมาตรา 57 (3) แห่งประมวลกฎหมายวิธี
พจิ ารณาความแพง่ และมีอานาจพพิ ากษาให้บคุ คลดงั กล่าวร่วมรับผิดในหนีท้ ี่ผ้ปู ระกอบธุรกิจตาม
วรรคหนง่ึ มีต่อผ้บู ริโภคได้ด้วย

อานาจศาลในการเปล่ียนสินค้าใหม่ให้แก่ผู้บริโภคตามมาตรา 41 วรรคหน่ึง
กระทาได้โดยผู้บริโภคซ่ึงเป็ นโจทก์ไม่จาต้องร้ องขอ อย่างไรก็ตาม ศาลคานึงถึงความ
ต้องการผู้บริโภคประกอบด้วย แม้กรณีเข้าเกณฑ์ใช้อานาจเปลี่ยนสินค้าให้ได้ แต่หากผ้บู ริโภค

52

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ไม่ประสงค์จะใช้สินค้าย่ีห้อนัน้ ต่อไปเพราะขาดศรัทธาเชื่อมั่นในคุณภาพสินค้าแล้ว ศาลก็ไม่
พิพากษาเปล่ียนสินค้าให้เพราะเป็ นการฝื นเจตนาของผู้บริโภค กรณีเช่นนี ้ ศาลอาจใช้อานาจ
ประกอบมาตรา 39 ให้ใช้เงินเป็นการทดแทนได้

ฎีกาที่ 4567/2561 ศาลในคดีผู้บริโภคย่อมมีอานาจบังคับให้จาเลยทัง้ สองใช้
ค่าเสียหายเป็ นเงินแก่โจทก์ได้ตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 39 และ 41
ในกรณีที่จาเลยทงั้ สองไม่อาจแก้ไขเหตชุ ารุดบกพร่องที่เกิดขนึ ้ แก่โจทก์ผ้บู ริโภคได้

ค่าเสียหายเชิงลงโทษ (Punitive Damages)

พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 กาหนดให้ศาลอาจบงั คับให้ผ้ปู ระกอบ
ธุรกิจใช้ค่าเสียหายเชิงลงโทษแก่โจทก์ซ่ึงเป็ นผู้บริโภคได้ หากเข้าเกณฑ์ที่กฎหมายบญั ญัติตาม
มาตรา 42

“ ถ้าการกระทาที่ถูกฟ้ องร้องเกิดจากการท่ีผู้ประกอบธุรกิจกระทาโดยเจตนาเอา
เปรียบผ้บู ริโภคโดยไมเ่ ป็นธรรมหรือจงใจให้ผ้บู ริโภคได้รับความเสียหายหรือ ประมาทเลินเล่ออย่าง
ร้ายแรงไม่นาพาต่อความเสียหายที่จะเกิดแก่ผู้บริโภคหรือกระทาการอนั เป็ นการฝ่ าฝื นต่อความ
รับผิดชอบในฐานะผ้มู ีอาชีพหรือธุรกิจอนั ย่อมเป็ นที่ไว้วางใจของประชาชน เม่ือศาลมีคาพพิ ากษา
ให้ผู้ประกอบธุรกิจชดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้บริโภค ให้ศาลมีอานาจสั่งให้ผู้ประกอบธุรกิจจ่าย
คา่ เสียหายเพ่อื การลงโทษเพมิ่ ขนึ ้ จากจานวนค่าเสียหายท่ีแท้จริงท่ีศาลกาหนดได้ตามท่ีเห็นสมควร
ทงั้ นี ้โดยคานึงถึงพฤติการณ์ต่างๆ เช่น ความเสียหายท่ีผู้บริโภคได้รับ ผลประโยชน์ที่ผู้ประกอบ
ธรุ กิจได้รับ สถานะทางการเงินของผ้ปู ระกอบธุรกิจ การที่ผ้ปู ระกอบธุรกิจได้บรรเทาความเสียหาย
ที่เกิดขนึ ้ ตลอดจนการท่ีผ้บู ริโภคมีสว่ นในการก่อให้เกิดความเสียหายด้วย

การกาหนดค่าเสียหายเพื่อการลงโทษตามวรรคหนงึ่ ให้ศาลมีอานาจกาหนดได้ไม่
เกินสองเทา่ ของค่าเสียหายท่ีแท้จริงท่ีศาลกาหนด แต่ถ้าคา่ เสียหายท่ีแท้จริงที่ศาลกาหนดมีจานวน
เงินไม่เกินห้าหมื่นบาท ให้ศาลมีอานาจกาหนดค่าเสียหายเพ่ือการลงโทษได้ไม่เกินห้าเท่าของ
ค่าเสียหายท่ีแท้จริงท่ีศาลกาหนด ”

53

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

ตวั อย่างคดที ่ศี าลอุทธรณ์กาหนดค่าเสียหายเชิงลงโทษ เช่น
4715/2554 ผ้เู ช่าซือ้ ชาระค่าเช่าซือ้ ครบจานวนแล้ว ผ้ใู ห้เช่าซือ้ ไม่จดทะเบียนโอน

ให้ ทงั้ ไม่มอบสมดุ ค่มู ือการจดทะเบียน เป็นเหตใุ ห้ผ้เู ชา่ ซอื ้ ขาดตอ่ ภาษีรถยนต์ประจาปี ผ้ใู ห้เช่าซือ้
อ้างว่า มอบให้ผ้ขู ายดาเนินการจดทะเบียน แต่เมื่อได้รับสมดุ ค่มู ือจดทะเบียนจากผ้ขู ายแล้ว ผ้ใู ห้
เช่าซือ้ จัดส่งให้แก่ผู้เช่าซือ้ ล่าช้าโดยไม่ปรากฏมูลอันจะอ้างกฎหมายได้ เป็ นเหตุให้ การจด
ทะเบียนต้ องเน่ินนานออกไปโดยไม่จาเป็ นแสดงถึงการละเลยเมินเฉยไม่เอาใจใส่ตาม
ส ม ค ว รต่อ สิท ธิอัน พึง มีข อ ง ผู้เช่า ซื อ้ ผู้เ ป็ น ลูก ค้ า ข อง ต น ซึ่งเ ป็ น ผู้บ ริโ ภ ค ศ า ล ใ ห้
ค่าเสียหายเชิงลงโทษ

245/2557 รับประกนั ความเส่ียงภยั การชาระหนีเ้งินก้ขู องผ้คู า้ ประกนั กรณีลกู หนีพ้ ้น
สภาพสมาชิกสหกรณ์พนกั งานซง่ึ มีกรณีรับผิดเฉพาะลกู หนีถ้ กู ไล่ออกจากงาน กรณีที่เกิดแก่ราย
อื่นก็เคยจ่ายสินไหมทดแทน แตร่ ายพพิ าทไมจ่ ่าย เข้าเกณฑ์ต้องจา่ ยค่าเสียหายเชิงลงโทษ

585/2557 ให้ค่าเสียหายเชิงลงโทษกรณีผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือกาหนดให้
ผ้บู ริโภคเติมเงินรายเดือนเกินกวา่ ต้องใช้จริง โดยไมม่ ีระเบียบให้ทาได้
ตวั อย่างคดีท่ศี าลอุทธรณ์ไม่กาหนดค่าเสียหายเชงิ ลงโทษ เช่น

762/2557 ประกนั อบุ ตั ิเหตุรถจกั รยานยนต์ ผ้เู อาประกนั ภยั เกิดอบุ ตั ิเหตตุ ้องตดั ขา
บริษัทประกนั ฯสอบถามแพทย์แล้ว เคยผ่าตดั ขาขวา มีแผลติดเชือ้ เป็ นๆหายๆ จึงมีเหตผุ ลท่ีไม่จ่าย
สนิ ไหมทดแทนอ้างว่า ตดั ขาไมไ่ ด้เหตโุ ดยตรงจากอบุ ตั เิ หตุ ไม่ต้องจา่ ยค่าเสียหายเชิงลงโทษ

305/2558 ผ้บู ริโภคต้องพิสจู น์ว่า พฤติการณ์แห่งคดีเข้าเกณฑ์จ่ายค่าเสียหายเชิง
ลงโทษ หรือต้องมีพฤติการณ์ให้ศาลเห็น มิฉะนนั้ ศาลไม่ให้คา่ เสียหายเชงิ ลงโทษ

การเรียกคนื สนิ ค้า (Recall)

พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 กาหนดให้ศาลมีอานาจเรียกคืนสินค้า
จากท้องตลาดได้ ตาม มาตรา 43

“ ในคดีผู้บริโภค เมื่อศาลวินิจฉัยชีข้ าดคดีหรือจาหน่ายคดีเสียจากสารบบความ
หากข้อเท็จจริงปรากฏแก่ศาลวา่ ยงั มีสินค้าที่ได้จาหน่ายไปแล้วหรือที่เหลืออยใู่ นท้องตลาดอาจเป็ น

54

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ติ รไกรสร

อนั ตรายต่อชีวิต ร่างกาย สุขภาพ หรืออนามยั ของผ้บู ริโภคโดยส่วนรวม และไม่อาจใช้วิธีป้ องกัน
อย่างอ่ืนได้ ให้ศาลมีอานาจออกคาสงั่ ดงั ต่อไปนี ้

(1) ให้ผ้ปู ระกอบธุรกิจจดั การประกาศและรับสินค้าดงั กล่าวซงึ่ อาจเป็ นอนั ตรายคืน
จากผ้บู ริโภคเพ่ือทาการแก้ไขหรือเปล่ียนให้ใหม่ภายในเวลาท่ีกาหนดโดยค่าใช้จ่ายของผ้ปู ระกอบ
ธรุ กิจเองแตถ่ ้าเป็นกรณีท่ีไมอ่ าจแก้ไขหรือดาเนินการตามที่กล่าวข้างต้นได้ ก็ให้ใช้ราคาตามที่ศาล
เหน็ สมควรโดยคานงึ ถึงลกั ษณะและสภาพของสนิ ค้าขณะรับคืน รวมทงั้ ความสจุ ริตของผ้ปู ระกอบ
ธรุ กิจประกอบด้วย

(2) ห้ามผ้ปู ระกอบธุรกิจจาหน่ายสินค้าที่เหลืออย่แู ละให้เรียกเก็บสินค้าที่ยงั ไม่ได้
จาหน่ายแก่ผ้ ูบริ โภคกลับคืนจนกว่าจะได้ มีการแก้ ไขเ ปลี่ยนแปลงสินค้ าดังกล่าวให้ มีความ
ปลอดภยั แต่ถ้าเป็ นกรณีท่ีไม่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ ศาลจะมีคาสงั่ ห้ามผ้ปู ระกอบธุรกิจ
ผลิตหรือนาเข้าสินค้านนั้ ก็ได้และหากเป็ นท่ีสงสัยว่าผู้ประกอบธุรกิจจะเก็บสินค้าที่เหลือไว้เพ่ือ
จาหนา่ ยตอ่ ไป ให้ศาลมีอานาจสง่ั ให้ผ้ปู ระกอบธุรกิจทาลายสนิ ค้าที่เหลือนนั้ ด้วย

ถ้าความปรากฏในภายหลงั ว่าผ้ปู ระกอบธุรกิจไม่ปฏิบตั ิตามคาสง่ั ศาล ให้ศาลมี
อานาจสงั่ จบั กมุ และกกั ขงั ผ้ปู ระกอบธุรกิจหรือผ้มู ีอานาจทาการแทนของผ้ปู ระกอบธุรกิจในกรณีที่
ผ้ปู ระกอบธุรกิจเป็ นนิติบุคคลไว้จนกว่าจะได้ปฏิบตั ิตามคาสง่ั ดงั กล่าว หรือสงั่ ให้เจ้าพนกั งานคดี
หรือบคุ คลหนง่ึ บคุ คลใดดาเนินการโดยให้ผ้ปู ระกอบธุรกิจเป็ นผ้รู ับผิดชอบในค่าใช้จ่าย และหากผู้
ประกอบธุรกิจไม่ชาระให้บุคคลนนั้ มีอานาจบงั คับคดีกับผู้ประกอบธุรกิจเสมือนหน่ึงเป็ นเจ้าหนี ้
ตามคาพิพากษา ผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้มีอานาจทาการแทนของผู้ประกอบธุรกิจในกรณีที่ผู้
ประกอบธุรกิจเป็ นนิติบุคคลท่ีถูกจับกมุ โดยเหตุจงใจขัดขืนคาส่ัง จะต้องถูกกกั ขังไว้จนกว่าจะมี
ประกนั หรือประกนั และหลกั ประกนั ตามจานวนที่ศาลเห็นสมควรกาหนดว่าตนยินยอมที่จะปฏิบตั ิ
ตามคาสงั่ ทุกประการ แต่ทงั้ นี ้ ห้ามไม่ให้กักขังผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้มีอานาจทาการแทนของผู้
ประกอบธุรกิจในกรณีที่ผ้ปู ระกอบธุรกิจเป็ นนิติบคุ คลแต่ละครัง้ เกินกว่าหกเดือนนบั แต่วนั จบั หรือ
กกั ขงั แล้วแตก่ รณี ”

นบั แต่ พ.ร.บ.วิธีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 ออกใช้บงั คบั เร่ือยมา ขณะนีย้ งั ไม่
ปรากฏคดีขนึ ้ สศู่ าลสงู ว่ามีกรณีข้อพพิ าทตามมาตรา 43

55

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

การแหวกม่านนิตบิ ุคคล (Piercing the Corporate Veils)

พ.ร.บ.วธิ ีพจิ ารณาคดีผ้บู ริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 44 บญั ญตั ิวา่
“ ในคดีท่ีผู้ประกอบธุรกิจซ่ึงถูกฟ้ องเป็ นนิติบุคคล หากข้อเท็จจริงปรากฏว่านิติ
บคุ คลดงั กล่าวถกู จดั ตงั้ ขึน้ หรือดาเนินการโดยไม่สจุ ริต หรือมีพฤติการณ์ฉ้อฉลหลอกลวงผ้บู ริโภค
หรือมีการยักย้ายถ่ายเททรัพย์สินของนิติบุคคลไปเป็ นประโยชน์ของบุคคลใดบุคคลหน่ึง และ
ทรัพย์สนิ ของนติ ิบคุ คลมีไม่เพียงพอตอ่ การชาระหนีต้ ามฟ้ องเมื่อค่คู วามร้องขอหรือศาลเห็นสมควร
ให้ศาลมีอานาจเรียกหุ้นส่วน ผ้ถู ือห้นุ หรือบุคคลที่มีอานาจควบคุมการดาเนินงานของนิติบุคคล
หรือผู้รับมอบทรัพย์สินจากนิติบคุ คลดงั กล่าวเข้ามาเป็ นจาเลยร่วม และให้มีอานาจพิพากษาให้
บคุ คลเช่นว่านนั้ ร่วมรับผิดชอบในหนีท้ ่ีนติ ิบคุ คลมีต่อผ้บู ริโภคได้ด้วย เว้นแต่ผ้นู นั้ จะพิสจู น์ได้ว่าตน
มิได้มีส่วนรู้เห็นในการกระทาดงั กล่าว หรือในกรณีของผ้รู ับมอบทรัพย์สินนนั้ จากนิติบคุ คลจะต้อง
พสิ จู น์ได้วา่ ตนได้รับทรัพย์สินมาโดยสจุ ริตและเสียค่าตอบแทน
ผ้รู ับมอบทรัพย์สินจากนิติบคุ คลตามวรรคหน่ึงให้ร่วมรับผิดไม่เกินทรัพย์สินท่ีผ้นู นั้
ได้รับจากนิตบิ คุ คลนนั้ ”
ตัวอย่างคดีท่ีศาลอทุ ธรณ์เรียกผ้ถู ือห้นุ เข้ามาในคดีและให้ร่วมรับผิดกบั นิติบุคคล
ตามมาตรา 44
8978/2558 ให้เรียกผ้ถู ือห้นุ เข้าเป็ นจาเลยร่วมกบั นิติบคุ คล และให้ผ้ถู ือห้นุ ร่วมรับ
ผิดในพฤติการณ์ไฟไหม้ ซานติก้า ผบั ด้วยเหตนุ ิติบุคคลมีการดาเนินการโดยไม่มีทางหนีไฟ ไม่มี
ระบบตรวจจบั ความร้อนและควันไฟ ไม่มีแสงสว่างฉุกเฉิน ไม่มีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ
หรือสปริงเกอร์ ประตูหนีไฟ 3 จุด คับแคบ และมีการเปล่ียนระดับพืน้ ทางเดิน

ภาระการพสิ ูจน์ในคดผี ู้บริโภค

ปกติในคดีแพง่ มีหลกั ผ้ใู ดกล่าวอ้างข้อเท็จจริง ผ้นู นั้ ต้องเป็นผ้พู สิ จู น์ เว้นแต่จะเข้า
ข้อยกเว้นข้อสนั นิษฐานไว้ในกฎหมายหรือมีข้อสนั นิษฐานที่ควรจะเป็นซงึ่ ปรากฏจากสภาพปกติ
ธรรมดาของเหตกุ ารณ์เป็ นคณุ แก่คคู่ วามฝ่ ายใด คคู่ วามฝ่ ายนนั้ ต้องพสิ จู น์เพยี งว่าตนได้ปฏบิ ตั ิ
ตามเง่ือนไขแห่งการท่ีตนจะได้รับประโยชน์จากข้อสนั นิษฐานนนั้ ครบถ้วนแล้ว (ประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพง่ มาตรา 84/1)

56

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

ตัวอย่างคดีท่ีวินิจฉัยให้ผ้ปู ระกอบธุรกิจแพ้คดีเพราะภาระการพิสจู น์ตามมาตรา
29 ดงั ฎีกาท่ี 4567/2561 ...จาเลยทงั้ สองซึ่งเป็ นผู้ร่วมกันรับประกันการซ่อมบารุงรักษารถยนต์
พพิ าทดงั วินจิ ฉยั แล้วจงึ ต้องร่วมกนั รับผิดในความชารุดบกพร่องดงั กล่าว จาเลยทงั้ สองนาสืบต่อสู้
คดีว่าได้ซ่อมแซมข้อชารุดบกพร่องของรถยนต์พพิ าทกรณีเครื่องยนต์ไม่มีกาลงั หรือเร่งไม่ขึน้ เสร็จ
เรียบร้อยแล้ว ซง่ึ เป็นข้อเทจ็ จริงท่ีเกี่ยวกบั การให้บริการที่อย่ใู นความรู้เห็นโดยเฉพาะของจาเลยทงั้
สองซึ่งเป็ นฝ่ ายผู้ประกอบธุรกิจ ภาระการพิสูจน์ในปั ญหานีจ้ ึงตกอยู่แก่จาเลยทัง้ สองตาม
พระราชบญั ญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 29…ตามข้อเท็จจริงที่ได้ความจาก
พยานหลกั ฐานที่โจทก์และจาเลยทงั้ สองนาสืบดงั กล่าวจงึ เป็นการนาสืบกลา่ วอ้างข้อเท็จจริงยนั กนั
ไม่อาจรับฟังเป็ นยตุ ิได้ ดงั นี ้ เม่ือจาเลยทงั้ สองซง่ึ เป็ นฝ่ ายมีภาระการพิสจู น์ว่าได้ซ่อมแซมรถยนต์
พพิ าทกรณีเครื่องยนต์ไม่มีกาลงั หรือเร่งไม่ขึน้ จนข้อชารุดบกพร่องสิน้ ไปแล้ว ไม่อาจนาสืบพิสจู น์
ข้อเทจ็ จริงตามท่ีกลา่ วอ้างได้ คดีจึงรับฟังไม่ได้ว่าข้อชารุดบกพร่องของเคร่ืองยนต์ได้รับการ
แก้ไขแล้ว จาเลยทงั้ สองจงึ ยงั คงต้องร่วมกนั รับผิด

แต่หากผู้ประกอบธุรกจิ ซ่งึ มีภาระการพสิ ูจน์นาสืบพสิ ูจน์ได้ ศาลกร็ ับฟัง เช่น
ฎีกาที่ 4829/2558 ซงึ่ ศาลฎีการับฟังว่าจาเลยนาสืบได้ตามภาระการพิสูจน์ โดยวินิจฉัยว่า...
เม่ือข้อเท็จจริงรับฟังได้ว่า ข้าวสารหอมมะลิบรรจถุ งุ ของจาเลยท่ีโจทก์ผ้บู ริโภคซือ้ มาจากร้านค้ามี
เชือ้ ราปนเปื ้อน จาเลยในฐานะผู้ประกอบธุรกิจหรือผู้ประกอบการจึงมีภาระการพิสูจน์ถึง
ข้อเทจ็ จริงที่เกี่ยวกบั การผลติ หรือส่วนผสมของสนิ ค้าหรือการดาเนนิ การใด ๆ ซงึ่ อย่ใู นความรู้เหน็
เฉพาะของจาเลยตาม พ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ.2551 มาตรา 29 เม่ือพยาน
บคุ คลฝ่ ายจาเลยเบิกความประกอบพยานเอกสารแสดงให้เห็นถึงขนั้ ตอนและวิธีการผลิตข้าวสาร
บรรจถุ งุ ของจาเลยจนกระทงั่ ขนส่งให้แก่ลกู ค้า จาเลยมีการตรวจสอบคุณภาพอย่ตู ลอดเวลา โดย
ดาเนินการจัดทาระบบตามหลักการผลิตที่ดีเพื่อเป็ นหลักในการประกันคุณภาพด้านความ
ปลอดภัยของอาหาร และระบบควบคุมอันตรายไม่ให้ไปสู่ผู้บริโภคเพื่อเป็ นหลักประกันในการ
ควบคมุ การผลิต โดยโรงงานบรรจขุ ้าวถงุ ของจาเลยเป็นแหง่ แรกในประเทศไทยท่ีผ่านการรับรองทงั้
สองระบบ ระบบคุณภาพและมาตรฐานต่าง ๆ ได้รับการประเมินตรวจสอบและได้ใบรับรองจาก
หนว่ ยงานของรัฐและเอกชนว่า ผลิตภณั ฑ์สินค้าตรามาบญุ ครองของจาเลยมีความสะอาดและถกู

57

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รงั สรรค์ วจิ ิตรไกรสร

สุขอนามัยโดยใส่ใจในเรื่องความปลอดภัยเพื่อตอบสนองความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค ทัง้
ข้อเทจ็ จริงยงั ได้ความอีกว่าข้าวสารบรรจถุ งุ ท่ีผลิตในวนั เดียวกนั กบั ข้าวสารบรรจถุ งุ ปัญหาที่โจทก์
ซอื ้ ไปไมป่ รากฏวา่ มีข้าวสารบรรจถุ งุ ท่ีมีเชือ้ ราปนเปื อ้ นอีก แสดงว่าเชือ้ ราที่ปนเปื อ้ นไม่ได้เกิดขนึ ้ ใน
ขนั้ ตอนการผลติ หรือสว่ นผสมของสินค้าหรือการขนส่งของจาเลย โจทก์ไม่ได้นาสืบพยานหลกั ฐาน
หกั ล้างข้อนาสืบของจาเลย...ฎีกาโจทก์ฟังไมข่ นึ ้

ทรัพย์ส่วนกลาง อาคารชุด

เม่ือเป็ นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชุดโดยผลของกฎหมาย แม้ไม่จด
ทะเบียนกไ็ ม่ทาให้ไม่เป็ นทรัพย์ส่วนกลาง

ฎ .8555/2561 ...เห็นว่า ตามพระราชบญั ญตั ิอาคารชดุ พ.ศ.2522 กาหนดอานาจ
หน้าที่ของนิติบคุ คลอาคารชดุ ว่ามีวตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื จดั การและดแู ลรักษาทรัพย์ส่วนกลาง และให้มี
อานาจกระทาการใด ๆ เพื่อประโยชน์ตามวตั ถปุ ระสงค์ดงั กลา่ วตามมตขิ องเจ้าของร่วม ดงั บญั ญัติ
ความตามมาตรา 33 และนิติบุคคลอาคารชุดยังอาจใช้สิทธิของเจ้าของร่วมครอบไปถึงทรัพย์
ส่วนกลางทัง้ หมดในการต่อสู้บุคคลภายนอก หรือเรียกร้ องเอาทรัพย์สินคืนเพื่อประโยชน์ของ
เจ้าของร่วมทงั้ หมดได้ ดงั บญั ญัติความตามมาตรา 39สาหรับความหมายของ ทรัพย์ส่วนกลาง
ของอาคารชดุ นนั้ นอกจากทรัพย์สินอื่น ๆ ตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิแล้ว ยงั หมายความถงึ ทรัพย์สิน
อ่ืนท่มี ีไว้เพ่อื ใช้หรือเพ่อื ประโยชน์ร่วมกันสาหรับเจ้าของร่วมซ่งึ กฎหมายบัญญัตใิ ห้ถือเป็ น
ทรัพย์ส่วนกลางด้วยดงั บัญญัตคิ วามตามมาตรา 4 และมาตรา 15 ทงั้ นี้ ไม่ว่าทรัพย์สินนัน้
จะขึน้ ทะเบียนอาคารชุดระบุว่าเป็ นทรัพย์ส่วนกลางหรือไม่ หรือเจ้าของทรัพย์สินนัน้ จะ
แสดงเจตนายกกรรมสิทธ์ิทรัพย์สินนัน้ ให้เป็ นทรัพย์ส่วนกลางหรือไม่ก็ตาม เพราะเป็ น
กรณีตกเป็ นทรัพย์ส่วนกลางของอาคารชุดโดยผลของกฎหมาย ดงั นี ้ท่ีศาลล่างทงั้ สองฟังว่า
โจทก์ไม่มีอานาจฟ้ องด้วยเหตุอาคารสโมสรและสระว่ายนา้ พพิ าทไม่เป็ นทรัพย์ส่วนกลางเพราะไม่
ปรากฏว่าได้จดทะเบียนไว้ โจทก์จึงไม่มีสิทธิจัดการและดูแลรักษารวมทัง้ ไม่มีอานาจหน้าที่
ดาเนินการแทนเจ้าของร่วมตามพระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 มาตรา 39 นนั้ ศาลฎีกา
แผนกคดีผ้บู ริโภคไม่เหน็ พ้องด้วย โจทก์จงึ มีอานาจฟ้ อง ฎีกาของโจทก์ฟังขนึ ้ …

58

ปัญหานา่ สนใจในคดีผ้บู ริโภค : รังสรรค์ วจิ ติ รไกรสร

เอกสารนี ้จัดทาขึน้ โดยเร่งด่วน เพ่ือใช้ประกอบบรรยายในการสัมมนา หลกั สูตร
เจ้าพนกั งานคดี ระดับชานาญการพิเศษ หวั ข้อ ปัญหาชัน้ สูงในคดีผู้บริโภค ซง่ึ สถาบนั พฒั นา
ข้าราชการฝ่ ายตลุ าการศาลยตุ ิธรรม จดั ขนึ ้ ณ วนั ที่ 10 กนั ยายน 2564 เวลา 9 – 12 น. เท่านนั้ จึง
หยิบยกเฉพาะข้อท่ีให้ผ้ฟู ังใช้ศกึ ษาประกอบการฟังคาบรรยายเป็ นสงั เขป วิธีพิจารณาคดีผ้บู ริโภค
ยังมีข้อควรสนใจศึกษาอีกมาก ผู้ท่ีสนใจอาจศึกษาเรื่องเหล่านีเ้ พ่ิมเติมเพ่ือความเข้าใจในวิธี
พิจารณาคดีผ้บู ริโภคเพิ่มขึน้ ก็จะยงั ประโยชน์แก่การปฏิบตั ิหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกบั คดีผ้บู ริโภคให้ได้
สมบรู ณ์ย่ิงขนึ ้

---------------------------------------


Click to View FlipBook Version