The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกภาพประวัติศาสตร์ความทรงจำ
ในการเยือนประเทศต่างๆ ตามคำเชิญอย่างเป็นทางการ
ระหว่างดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา

โดย
ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน
----------------------
สาธารณรัฐฝรั่งเศส
สาธารณรัฐอินเดีย
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ปี ๒๕๒๘

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พีระยา นาวิน, 2022-04-17 22:07:56

บันทึกภาพประวัติศาสตร์ความทรงจำ : France india indo

บันทึกภาพประวัติศาสตร์ความทรงจำ
ในการเยือนประเทศต่างๆ ตามคำเชิญอย่างเป็นทางการ
ระหว่างดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภา

โดย
ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน
----------------------
สาธารณรัฐฝรั่งเศส
สาธารณรัฐอินเดีย
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ปี ๒๕๒๘

บนั ทกึ ภาพประวตั ศิ าสตรค์ วามทรงจำ�

ในการเยอื นประเทศต่างๆ ตามค�ำเชิญอย่างเปน็ ทางการ
ระหวา่ งดำ� รงต�ำแหนง่ ประธานรัฐสภา

โดย
ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

สาธารณรัฐฝรั่งเศส
สาธารณรัฐอินเดีย
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ปี ๒๕๒๘







บนั ทกึ ภาพประวตั ศิ าสตรค์ วามทรงจำ�

ในการเยอื นประเทศต่างๆ ตามค�ำเชญิ อยา่ งเปน็ ทางการ
ระหว่างดำ� รงตำ� แหน่งประธานรฐั สภา

โดย ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน

สาธารณรัฐฝรั่งเศส
สาธารณรัฐอินเดีย
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

ปี ๒๕๒๘

คำ� น�ำ

หอจดหมายเหตุแห่งชาติได้ขอภาพถ่ายท่ีน่าสนใจของผมเกี่ยวกับ
กจิ กรรมดา้ นตา่ งๆทที่ ำ� ไว้ระหวา่ งเวลาหลายสบิ ปีเกบ็ รกั ษาทห่ี อจดหมายเหตุ
แหง่ ชาติ ภาพทค่ี ดิ วา่ สำ� คญั สว่ นหนง่ึ ไดแ้ กภ่ าพการไปเยอื นตา่ งประเทศเปน็
ทางการ ภาพการประชุมองค์กรระหว่างประเทศและภาพการรับรองแขก
ต่างประเทศ ตลอดเวลาที่ดำ� รงต�ำแหนง่ ผู้นำ� ในรฐั สภา

ภาพต่าง ๆ เหล่านี้จะมีคุณค่าขึ้นถ้ามีค�ำบรรยายว่าด้วยสถานท่ี
บุคคล และเหตุการณ์ท่ีเก่ียวข้อง ซึ่งหอจดหมายเหตุแห่งชาติ ต้องการมาก
เพอ่ื เก็บรกั ษาไว้เปน็ บันทึกภาพประวัติศาสตร์ และหอสมดุ แหง่ ชาติต้องการ
เก็บรักษาและเผยแพร่ไปตามหอสมุดแห่งชาติทุกแห่ง เพ่ือประโยชน์แก่
ประชาชนท่ัวไป

ผมเหน็ ดว้ ยกบั ขอ้ คดิ น้ี จงึ ใชเ้ วลาในชว่ งปลายชวี ติ ฝากผลงานทส่ี ำ� คญั
ไว้เพ่ือมอบให้ผู้สนใจเป็นบรรณาการ โดยไม่มีการจ�ำหน่าย และตั้งใจจะ
เผยแพรใ่ หแ้ ก่ผ้สู มควรได้รบั หนังสอื น้เี ทา่ น้นั

บันทึกภาพประวัติศาสตร์ความทรงจ�ำในการเยือนประเทศต่างๆ
ตามค�ำเชิญอย่างเป็นทางการระหว่างด�ำรงต�ำแหน่งประธานรัฐสภา เกิดข้ึน
จากการเดินทางไปเยือนประเทศสหพันธรัฐรัสเซียและสาธารณรัฐโปแลนด์
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ซง่ึ ต้ังใจจะจดั พิมพเ์ ปน็ เลม่ แรก

4

แตเ่ นอื่ งดว้ ยหนงั สอื บนั ทกึ ภาพประวตั ศิ าสตรค์ วามทรงจำ� ในการเยอื น
สาธารณรฐั ประชาชนจนี ซึง่ เป็นการเยือนใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ไดด้ ำ� เนินการแลว้
เสร็จและแจกจ่ายใหแ้ กผ่ ู้สนใจแลว้ ส่วนหนังสือเล่มท่สี องทีพ่ มิ พ์เผยแพร่ไป
แล้วได้แก่บันทึกภาพประวัติศาสตร์ความทรงจ�ำ บทบาทด้านต่างประเทศ
ของรัฐสภาในระหว่างด�ำรงต�ำแหน่งประธานรัฐสภา ส่วนหนังสือเล่มที่สาม
ที่พิมพ์เผยแพร่ไปแล้ว ได้แก่ บันทึกภาพประวัติศาสตร์ความทรงจ�ำในการ
เยือนประเทศต่าง ๆ ตามค�ำเชิญอย่างเป็นทางการ ระหว่างด�ำรงต�ำแหน่ง
ประธานรฐั สภา ไดแ้ ก่ การเยอื นสหพนั ธรฐั รสั เซยี และสาธารณรฐั โปแลนด์ ใน
พ.ศ. ๒๕๒๗และเลม่ ทส่ี ี่ ไดแ้ ก่ บนั ทกึ ประวตั ศิ าสตรค์ วามทรงจำ� ในการเยอื น
ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี, สาธารณรัฐประชาชน
เกาหลีและทิเบต ๒๕๓๑ ซึ่งได้จัดพิมพ์เผยแพร่ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.
๒๕๖๔

สว่ นการเยอื นสาธารณรฐั ฝรั่งเศส สาธารณรฐั อินเดยี และสาธารณรฐั
อนิ โดนเี ซยี ไดจ้ ดั ทำ� เปน็ E-book ลงในเวบ็ ไซต์ www.dr-ukrit-mongkolnavin.
com เพอ่ื เผยแพรเ่ ปน็ ความรแู้ กผ่ สู้ นใจไว้ นอกจากนน้ั การเยอื นประเทศอน่ื ๆ
ทเ่ี หลือ จะไดจ้ ัดท�ำเป็น E-book ลงในเว็บไซท์ต่อไป

ศาสตราจารย์ ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวนิ

5



สาธารณรฐั ฝรงั่ เศส

๔-๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘

สาธารณรัฐฝรั่งเศส

๔-๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๘





สาธารณรฐั ฝรงั่ เศส

๔-๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘

สมเด็จพระนารายณม์ หาราช (บนขวา) และคณะทตู ท้งั สามนาย

จดุ เร่มิ ตน้ ความสัมพนั ธไ์ ทย-ฝรัง่ เศส
สมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช

หลักฐานของสังฆราชลอมแบร์ เดอ ลามอตต์ (Lambert de la Motte)
ระบุเหตุผล การเดินทางเข้ามาในสยามหรือในภูมิภาคอินโดจีนเป็นครั้งแรก
ใน พ.ศ. ๒๒๐๕ ว่าเพื่อเผยแผ่คริสต์ศาสนา บริเวณเมืองญวนหรือตังเก๋ีย
(Tonquin) และโคชินไชน่า (Cochinchina) แต่ระหว่างทางได้เดินทางผ่าน
กรงุ ศรีอยธุ ยา และที่นี่เองเป็นจดุ เรมิ่ ต้นใหส้ ังฆราชเดอ ลามอตต์ เกดิ ความ
สนใจเผยแผค่ รสิ ตศ์ าสนาในสยาม เพราะเหน็ วา่ พระเจา้ แผน่ ดนิ พระราชทาน
เสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนาและชาวสยามกเ็ ปดิ รบั ตอ่ สง่ิ ใหมไ่ ด้ โดยงา่ ย ดงั
ทีท่ า่ นระบไุ ว้ว่า

12

) ระบุเหตุผล
ผ่คริสต์ศาสนา
ได้เดินทางผ่าน
ศาสนาในสยาม
รับต่อสิ่งใหม่ได้

ใหป้ ฏบิ ตั ิ “ข้าพเจ้าเช่ือว่าในโลกน้ีจะหาเมืองไหนท่ีจะมีศาสนา
เตียนกด็ ี มากอยา่ ง และที่อนญุ าตใิ หป้ ฏบิ ัตติ ามศาสนานน้ั ๆ ได้ เทา่ กบั
ตามลัทธิ เมืองไทยเห็นจะหาไม่ได้แล้ว พวกท่ีไม่ได้ถือศาสนาคริสเตียน
ฮอลนั ดา ก็ดี พวกเข้ารีตก็ดี พวกมหะหมัดก็ดี ซ่ึงแยกกันออกเป็นคณะ
เรือนอยู่ เป็นหมู่ก็ปฏิบัติการศาสนาตามลัทธิของตัว ได้ทุกอย่างโดย
เป็นชาว ไม่มีข้อห้ามปรามกีดขวางอย่างใดเลย พวกชาวปอตุเกต
เรอื นอยู่ อังกฤษ ฮอลันดา จีน ญี่ปุ่น มอญ เขมร แขกมะละกา ญวน
ในความ จามและชาติอ่ืน ๆ อีกหลายชาติ ก็มาตั้งบ้านเรือนอยู่ใน
ณะเซนต์ เมืองไทย พวกเข้ารีตลัทธิคาทอลิกมีอยู่ประมาณ ๒,๐๐๐ คน
ย่างดจุ จะ คนเหล่านโ้ี ดยมาก เปน็ ชาวปอตุเกต ซึ่งไดถ้ กู ไล่มาจากอนิ เดีย
จงึ ไดห้ นเี ขา้ มาอาศยั อยใู่ นเมอื งไทย และไดต้ งั้ บา้ นเรอื นอยเู่ ปน็
หมบู่ า้ นหนงึ่ ต่างหาก พวกปอตเุ กตเข้ารตี เหล่านม้ี วี ัดเข้ารีตอยู่
๒ วัด ๆ ๑ นนั้ อย่ใู นความปกครองของบาทหลวงคณะเยซอู ติ
อีกวัด ๑ น้ันอยู่ในความดูแลของบาทหลวงคณะเซนต์โดมินิค
บาทหลวงทั้ง ๒ คณะนี้และพวกเข้ารีตทั้งหลายก็ปฏิบัติการ
ศาสนาได้ทุกอย่างดุจจะอยูใ่ นเมืองโกอาเหมอื นกัน”

13

แห่งน้ีอยู่ภายใต้การปกครองของสังฆราชแห่งเมืองมะละกา” และว่าในอยุธย
เซนตโ์ ดมนิ คิ สา� หรบั บาทหลวงโดมนิ กิ นั และโบสถเ์ ซนตเ์ ปาโลสา� หรบั บาทหลว
แวหา่ ่งน“้ีอมยแี ู่ภทตา่ีหจยลรใตวิงง้กใพานร่อปเซมกูอคืาอเรรงอบองาขยทอุธหงสยลังวาฆงมรคาณีผชูะ้แนเหัยบ่งซเถมูอือติ งรศมูปาะเดลสยีะนวกเาท”่านแนั้ละซวึง่าทใน่าอนยชุธรยาามมา
เคซจนรึงสิไตมโ์ตดส่ อ์มามยนิ าคิจู่ รสำ� ถา�นแหวสรนดบั งบหคานวทาง่ึ หมแลเลควงาว้ โรดเพพมตนิรอ่ กิาทนัะ่าบแนลรระราโดชบทาสตูบถไเ์าดซท้นบหตาเ์ลทปวหาโงลลวสงา� ชหรราบั ผบใู้ จาทดหรี ปูลนวง้ี คไดณ
จแขวซชมฝทแขา่ึงอกิสาีกไอกั่งห่ีงมม“ทวตงามกเร่สมฟทร่าโรหูเันาแีฟนงอ่าปสรมตขนอตราราร่ห้์ไาตารส้าต(มลมด์าะถKง(วุแมมเดแa้Kเโงกตแีโสวดบmaพบ่จกตสดmินสอ่pะสสจ่งนซไถfคทpถะบeดอูิกวไ์์fคทาrา้eาดา)ยดา่ีเรเมงr้กรบ้ว)ิสเยดเเบขิดยคนขว้ตเโียากจาขพยด้ทาน์แราาียก้นืพรหไมกมลนาวยทตลชริาะไ้วนา่�แีวอ่วนย่ารกใิงหกท้ว�่าพะนคา่าง้ร“ัฆนื้นณระนสทังตเแ“ปฆระตามย�า่ทาเังงอลรลือยชาตทานะงซงะทงอมิศไทกอูทนตูปนใถ่ีกิตอติศไอทฯิกัดดร้มบ่อใกีพ่ีูปอ้าตีหฯนพนบณเอ้มยนพดิดาิธกหฯีหทยีฟทณบไีกนวนาหปผนรฯเรงทา่ลท้เฝาาแรปนาวผ่าัง่คนมนงโ็นนเ่าบแบดช้ีน้ัทคียรสโี่ตๆาวบถบซผั้งก์ขสง่ึ ใู้ขลนัอๆทจถงองนา่ดข์สพงลน้ันีรอู่แโวงปูชบงมกสมรพนส่นเู่แาีห้ีรวถ้�ามมไามก์ดเาไ่นู่บซเชปกแ้ร้�านาา้สแ”าวนตไลด
ททช่ีหารวงหู โครดามรสินสะกิตดันว์ศกดาสา้ บสนานหยลาบังนอมพยโี ้นืบู่เทสสถ่แี มห์เลอง้ ก็ ตแๆา่� ลมอง้ีกชไปหาอลวกี ังฝนหิดรนั่บงึ่ ชเนศ่อืฝสงั่ เเซดในียนตวก์อันอนก้ันสั ตมินีหเมปู่บน็ ้าขนอชงาบว
ฝชเกก๒ดใแบอลคคดบบยโแเตเนอขคปทน๒กดกใเอบแลคคดเปาอเต็ิา�ไัานยปว่วงา๑ทดนลุอยิ่า่ััลนคดคอนรนวอเต็กาิ�รไานววตาทาาม๑่ใแลา๖ซรอใก่า็ดโกหกงรร้ดะมทาุามมา่ใธรงไแทแะสดหตดท๖ดใก็ตตซโ๕หกงู้ด่อมอม�ราา้งไปเแบดบหกดสนยวนลทลม�ึกตำซลาป๕ป�าึ่ข่เอเุเก�ราต้อไเบบินาตรนลนักผัวนตกแัวนิอดาปป�าางาเหสเุปเเว็้นาตพ้ัง์ดมเารมงพนักผวนิยตนแห่มเาิก่เเารสมสฆปเ็มนบ่าร้ัมงรไท�ดำปร์ดดหม่ืองพงพิยแน่ืหอ่เากนันอูปเมสะปมา่ืรมโีไไออัดปบีหอัดหลโส่ื้ัดมรงงผแท่ืบอากนต่ปจง“ณมไะี“วโลโีรทๆอบดลังอเัลสงามรดชาบรส่มบผศทท��บาสาา้ลต่จงว์ณไ้ฆดรๆกเู้าไงใภลี่ังกื่ัอบทไ้หาใรดสชถส่าชาดศ��เาสา์ลจดีอไนแ่ี์กยานใรฆรนกีเูไชงยใสมดสดี่ื่อเเ์นท้หถใอนาาถาึางดบา้ถพะแลดไนหยปทรใรงตบกรนังอน่น้อสด์มทสช้าดี่เวเ์นกอนท้พร�าโซยาเ้พุงะฆล์ลอาอยาปแหตกหท่ยัรงุห�าลาอคนี่้เอดดาช้าเเรอูากสทังร�มราโซยทกฆดอ้อตกราย่าี่อจบรผทหตท่วับยยรลมาลงลสิต์เคดิาณรนูอายิดงรง์แมร็เใัดชมงหด้ยต(ูกา่่าโี่ีอจตรชรยาเวปั่บย่วเชตAาวงิตส์เจลเลบาณียหฑแมทสง์แม็เใ้๒ัาดชูม่ือผ่องล่(ทาด้l�็ชาตงนชราแนะงนปเชตAสบมใารeงลจเลียยหฑแมไสืแากื่้ออาบวหอ่ืโผ่อพหเเ้ทมถีรโ้l็วชปี้xนร้ัผะโอนแ�นตบรซำใารeงหดลดชขยางงแบาไ้พa์เ์ิชงี่ื่มอบลหคย่ื่เอพอเทมีนรโลป่xรยทนโศบยน้ันนอnแเครซเรมชรดั่มนหขือาบา้ดพงaว์็กิรชตี่มซมคขหซ่ืาdจพงูอพะ่นง่ันมวาภทณบยยอริnเเ่คอนรง์พจชรตณ่ะั่ีงนหสืนอูeลสอพดงึ่้ืนๆร้ตงานามานสหาdจงวีวตะันา�าอิึยrักคงวัรลนมเล่คอยใ่ืะอก์พเาทตณลาาีหนeมลสพัดแอฆนนมลมงdานายาักไรตงวัืมนรเออาเ�เะาอrวปัลนมหีกย่ใื่ผอืeกรอาาเณขชลมกยาาีาแระมาาเใแยซอนลงdโแักกลัรหนตางชนยมรเงอาาปลบนอาRอปใซูภตงึ่่หขกมเ่บผeสาเณชลกีแ่ือละสแมร่ชเลงยาซะเอhาตรงนลัานิูใาอชชนยถลูแอแก้าังปลโพภผกRาสียจปูภึ่ง่์oดมเ(ชต”พะชลดื่อหัสยีดแทรPหิ่บชตงอะรเ่ศhไาาัตดรงวมาdา่ิ์เาถนใลูยโาแมนโพภaนอผียหพจปบ่ะงาoา(อชหกตพแบแeยด่ส(บา้ยีพรอPlบาว์เแอเ่เง่ึศไัาดสรส็นTเบาเdาl่์เนม)น่บยวลลซุมนชaยดปลuธราลบหโพบกระสัาอนรงกวถea้าสนอ้พอlะป๔รอ่ืเ็ีแก)ยาฆนะวบใสสไถ็นทย่าเบเาlกูนาะก)นถ่วcรใิธสหปเยดลuรบวซเทัรนกรงงมรบวนถกเพ้,์าเตปแนอาหวัhนะ์คกเ็ี้กค)ยซเามฆาบใใ๐ต่ีอ่าคาดซกีูนาตปแ(ซั็นรรนใสหนนเัต่กน์aสชนวณซโเาืจทลอBรยมร่ึกนงกพะุเ์เาปณ๐็ปนันนดกะทเ้ปคลทตาาrมา็เกงiใุธใ่ีอยดาอนัดะซะวีวดตsลน็รdรปทอกนนสัตนชี่อ์ณยสรืจอ๐มตันนยมึhสม้กม่ึกงัอวะะาิะกงงงงปโยยาี่)ะตะทอาเุปดาเงุธิอชีใoินบักะะวรมิด์ใปลม่าารจปอก้ักหงสแี่ยสรช์ชทอันมาpมมสขุองมิะกขาีค�าโัสยยาเ้ละาุด้ไัรนก่ีไถิแอชีใิดบกเรมมไอใวปปตม่าาจร้วกหกแ๗นปนชo์ให์ชทอนิาาสุขณงงมนิกกพาีคห�ารีดเ้ลั้น้ไยfมาั่งรนกโท่ีไถแดเ็ดวมไกวปญรฑบขม(รร้วกักงบเเ๗นปานใ์ห่าAนิีกBารปหะณีเกกศวิสพหสลใ่รีงดาพดั้นยมาอง่lทาeสนน็มาไ็ดวาซกถeทญรฑขม(รินันรัรงปบเัrนางสเ่าAาขังีกทรx์เหะีเหyศสี่ทมวสิลท่ใปงกเซะาพนดตอaอlาผสานt(มาไรลอืาซี่eทสาาีทนVnิงนะeัจนรรปงยัน้างสเ๑าวงังรทงxมบiหี่แตสd่ีทกมปัก)ทแปงกcเกะงอนตทa๕ผใาา(ลค์รeรโลรอืaี่าผลวัสาาีทVนอnแะจ�ดาทงยุ้งท้าวiปr๑ววงศ่”อรงมriก่ีกแลdกงปัก(โมแงหcก
เคดแอวหา่งลเมฮาลมเคิโออตาโตปร์จพลึงิสตด�า(่อBรทiงsตh่า�าoนแpหรoนาf่งชสHทังeฆูตlรioไาดpชoแ้ lหบis่งา)เบทรหิธล(วBiงshชoรpา of Beryte) และบ
แผหู้ใง่ จเฮดลีิโรอูปเโมปนือ่ล้ีสิ ไัง(ดฆBร้iแsาhสชoทดp้งั งo๒คf วเHปาe็นมlวio่ายpบินoรlดเิiวsีไ)ณปอตยธุายมาเปปร็นะพสน้ื าทีเ่ หมาะสมส�าหรับกา
ปี ราชทจสกขทูตสจดมัอบส่ีดมหณฯยหงณมทกาพทมากี่ิจมนยาณ่ิจาเกยาแมนรกลแฯยอ่ื าระลตแสบาขผะงัาบบพอขฆ่ามงับพอทรนคงัื้นพาแมยคโชทนื้ตบทมท์ ใี่ทลูทน่สแจ้งั ี่ใสกลูถนะ๒กมาสก์ขไมเรเมดาดปสอเเจ็รน็ดรฟ้งสพ้าจ็วพดรงอ่าพา้โะ้วบวรบงรนกรย์โะสาบเิ(นเถวกรรKสณข์าาาาถยรึ้นaอไรข์าณmยปดยึ้นม์ธุณงั”่�pำหยจดม์ราfาดงัสeเหระจหปอาrาดฆม็นช)รดหาใพาังยหคมเชน้ืตขกท้าลใทรยหีอยร้อี่เากงท้หนนบทงรรมบรางาาบังทะบคบรสมาเงัมพทบคสอ่ืลูม�าเขขพทหอออ่ืรูลพงับขขพรกออะราพงะรรพราสเชะรผงั ะรฆทย
28 ไว้ว่าเจรญิ สัมพปีันรธาไมชตทรูกีตับสฝยรางั่ เมศส “ทางทิศใต้มีหนทางแคบ ๆ ลงสู่แม่น้�ำ
28
เจรญิ สัมพนั ธไมตรีกับฝรงั่ เศส

14

สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
ทรงรับ เชอวาลิเยร์ เดอ โชมองต์สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงรับ เชอวาลิเยร์ เดอ โชมองต์

ณ พระราชวังหลวง พระนครศรีอยุธยา
King Narai receiving the Chevalier de Chaumont in a solemn

ณ พระราชวังหลวง พระนครศรอี ยุธยาaudience at the Royal Palace of Ayutthaya.

ชาวดัชต์ตั้งโรงงานและร้านค้า ท่ีหรูหราสะดวกสบายบนพื้นท่ีแห้ง ต�่ำลงไป
อีกนิดบนฝัง่ เดียวกันน้ัน มีหมบู่ ้านชาวญี่ป่นุ พะโค และมะละกา ฝัง่ ตรงข้าม
มโี บสถ์ท่ีเกดิ จากชนพื้นเมอื ง ถดั ออกไปเป็นทีต่ ัง้ ของโบสถเ์ ซนตโ์ ดมงิ โก เป็น
คณะบาทหลวง ชาวโดมินิกัน ด้านหลังมีโบสถ์เล็ก ๆ อีกหลังหน่ึงชื่อ เซนต์
ออกัสตนิ เป็นของบาทหลวง ๒ ท่าน ไมไ่ กลจากน้ี เท่าใดนกั มโี บสถ์เยซอู ิต
ช่อื เซนตพ์ อล ซ่งึ เลยี นแบบมาจากโบสถใ์ หญ่ในเมอื งกวั ”

15

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ตนาการของจิตรกรชาวเปอร์เชีย
King Narai according to the
pression of a Persian artist.

ปี ร า ช ทู ต ส ย า ม สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช
เจริญสมั พนั ธไมตรกี บั ฝรง่ั เศส ในจินตนาการของจิตรกร
ชาวเปอร์เชยี

เมอ่ื สงั ฆราชลอมแบร์ เดอ ลามอตต์ เหน็ วา่ ทอ่ี ยธุ ยามคี วามเหมาะสม
ในการเผยแผค่ รสิ ตศ์ าสนานน้ั กไ็ ดด้ ำ� เนนิ การในลำ� ดบั ตอ่ ไปคอื รายงานสภาพ
บ้านเมืองสยามไปยังศาสนจักรท่ีกรุงโรม ซ่ึงก่อนหน้านั้นมีการก่อตั้งสมณ
กระทรวงเผยแพรค่ วามเชอ่ื โดยพระสนั ตะปาปาเกรกรอรท่ี ่ี ๑๕ (Gregrory XV)
เมอื่ พ.ศ. ๒๑๖๕ เพอื่ ทำ� หนา้ ทจ่ี ดั หามชิ ชนั นารแี ละจดั การใหค้ ณะมชิ ชนั นารี
เดนิ ทางออกไปเผยแผค่ รสิ ตศ์ าสนายงั ดนิ แดนตา่ งๆไดอ้ ยา่ งเสรโี ดยมหี ลกั การ
แบบเดยี วกนั อยา่ งไรกด็ กี ารสรา้ งความเปน็ อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั ในการเผยแผ่
ศาสนากเ็ ปน็ เรอื่ งยากอยมู่ ใิ ชน่ อ้ ย เพราะมกี ารกดี ขวางการทำ� งานหลายแหง่

16

บาทหลวงอเล็กซานเดอร์เดอโร้ด (AlexanderdeRhode) ถูกกีดกันมิให้
เดินทางไปเผยแผ่ศาสนาในภาคพ้ืนตะวันออก แต่ให้ไปประจ�ำที่เปอร์เชีย
ตราบจนมรณภาพ ส่วนในตะวันออกนั้นบาทหลวงลอมแบร์ เดอ ลามอตต์
และบาทหลวงปัลลูได้พยายามให้พระสันตะปาปาอเล็กซานเดอร์ท่ี ๗
(Alexander VII) เห็นความส�ำคัญ และความเป็นไปได้ในการสร้างท่ีมั่น
เพื่อเผยแผ่ศาสนา ในท่ีสุดแล้วพระสันตะปาปาก็ได้แต่งตั้งให้บาทหลวง
ลอมแบร์ เดอ ลามอตต์และบาทหลวงปัลลู (Pallu) เป็นประมุขแห่งมิสซัง
(Vicaire Apostolic) และป้องกันความบาดหมางในการใช้ช่ือของต�ำแหน่ง
พระสังฆราชประจ�ำมณฑล ทางกรุงโรมจึงเลี่ยงให้ท่านท้ังสอง ด�ำรง
ตำ� แหนง่ ชือ่ สงั ฆมณฑลโบราณในเอเชียไมเนอร์ ซึง่ เลกิ ใชไ้ ปกวา่ พันปที ่แี ลว้
ดังน้ันบาทหลวงลอมแบร์ เดอ ลามอตต์ จึงดำ� รงต�ำแหนง่ สงั ฆราชแหง่ เบริธ
(Bishop of Beryte) และบาทหลวงปัลลูเป็นสังฆราช แห่งเฮลิโอโปลิส
(Bishop of Heliopolis)

เมื่อสังฆราชท้ัง ๒ เห็นว่าบริเวณอยุธยาเป็นพ้ืนท่ีเหมาะสมส�ำหรับ
การเผยแผพ่ ระครสิ ตศ์ าสนา กท็ ำ� จดหมายกราบบงั คมทลู สมเดจ็ พระนารายณ์
มหาราชให้ทรงทราบ เพื่อขอพระราชทานพระราชานุญาตปฏิบัติสมณกิจ
และขอพน้ื ทใ่ี นการสรา้ งโบสถข์ น้ึ ดงั จดหมายกราบบงั คมทลู ของพระสงั ฆราช
เบริธตอนหนงึ่ ว่า

“น่ีแลเปนเหตุท่ีกระท�ำให้พวกข้าพเจ้า มาอยู่ในประเทศเหล่านี้ ถ้า
แลการที่กราบบังคมทูลมาท้ังน้ี เปนที่พอพระราชหฤทัยแล้วข้าพเจ้า จะขอ
พระราชทานพระมหากรุณาอย่างเดียวเท่านั้น คือขอพระราชทานโบสถ์
สักหลังหน่ึง เพื่อเปนที่ส�ำหรับท�ำกิจของศาสนา แลข้าพเจ้าจะได้อ้อนวอน
พระเปนเจา้ ผมู้ อี ำ� นาจ ขอให้ คมุ้ ครองปอ้ งกนั ใตฝ้ า่ ละอองธลุ พี ระบาทให้ ทรง
พระสำ� ราญเปนนจิ อยา่ ใหม้ พี ระโรคาพาธ อยา่ งใด ๆ ทงั้ ขอใหพ้ ระเปนเจา้ ได้
พทิ กั ษ์รกั ษา พระราชอาณาเขตของพระองค์ให้เจริญยิ่ง ๆ ขึน้ ด้วย”

17

แผนแทผีจ่ นาทกปี่จาากกปแมาก่นแ�ำ้ มเจ่นา้ �้าพเรจะ้ายพารสะู่กยราุงสศู่กรอี รยุงศธุ ยรีอายุธยา
Map of the mouth of the Chao Phraya River and its course to Ayutthaya.

18

สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเห็นว่าบรรดาชาวสยามบางส่วน
มีความต้ังใจนับถือศาสนาใหม่ ท้ังการเผยแผ่คริสต์ศาสนาในสยามก็มิได้
ก่อให้เกิดปัญหาระหว่างผู้คนในอยุธยา จึงพระราชทานที่ดินริมแม่น้�ำ
เจ้าพระยาให้ก่อสร้างโบสถ์ข้ึน ซ่ึงอาจเป็นบริเวณเกาะมหาพราหมณ์ก่อน
แล้ว หลังจากนั้นจึงได้พระราชทานที่ดินริมแม่น้�ำเจ้าพระยาทางตอนใต้
ของเกาะเมืองให้สร้างโบสถ์ที่เรียกว่าโบสถ์เซนต์โยเซฟ ปรากฏบนแผนท่ี
ของลาลแู บร์

หลังจากท่ีท่านสังฆราชประสบความส�ำเร็จในการสถาปนาคริสต์
ศาสนาในสยาม ก็เดินทางกลับไปยังยุโรปเพ่ือขอรับความสนับสนุน และ
ให้แลกเปล่ียนสมณทูตและทูต เพื่อประโยชน์ของประเทศฝรั่งเศสต่อไป
เม่ือเดินทางกลับมาอยุธยาอีกคร้ัง ได้พาคณะมิชชันนารีมาเพ่ิมเติมเพ่ือ
ประกอบกิจด้านศาสนา และได้เข้าเฝ้าสมเด็จพระนารายณ์มหาราชด้วย
นบั ไดว้ า่ จดุ เรม่ิ ตน้ ของความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งฝรง่ั เศสและสยาม ในดา้ นศาสนา
นำ� ไปสู่การเจรญิ พระราชไมตรตี ่อไป

19

20

แผนที่เส้นทางการเดินทางไปประเทศฝรั่งเศส ของคณะราชทูตสยาม ในปี ๒๒๒๘ -
๒๒๒๙ Map of the route taken to France by the Siamese Embassy, 1685-1 686.
(ปรับปรุงจาก สำ�นักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. ประวัติโกษาปานและบันทึกการ
เดินทางไปฝรงั่ เศส. กรงุ เทพฯ : วิคตอรพี่ าวเวอรพ์ ้อยท,์ ๒๕๓๐)

21

ในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช การเปิดโลกทัศน์เป็นผลท่ี
ได้รับจากการส่งทูตไปเจริญสัมพันธไมตรีด้านการค้ากับนานาประเทศโดย
เฉพาะชาติตะวันตก ท�ำให้ประเทศไทยได้พบเห็นวิทยาการ แนวคิดและ
มุมมองใหม่ๆ ท่ีแตกต่างจากชาติที่เจริญกว่า และน�ำข้อดีเหล่าน้ีมาพัฒนา
ประเทศให้เจริญทัดเทียมประเทศอารยะทั้งหลาย เมื่อมีการส่งทูตไปเจริญ
สมั พนั ธไมตรกี บั ชาตใิ ด สมเดจ็ พระนารายณ์ มหาราชกม็ กั จะสง่ เหลา่ ขนุ นาง
หรือพระบรมวงศานุวงศ์ไปด้วยจ�ำนวนหนึ่งเพ่ือไปศึกษาวิทยาการด้านการ
ทหาร การบริหารบา้ นเมอื งและอืน่ ๆ ท่สี ำ� คัญ ซึ่งนบั ว่าเปน็ รากฐานของการ
พฒั นาประเทศชาติท่ีแยบยลอย่างหน่ึง

อีกวิธีหน่ึงของการเปิดโลกทัศน์ของไทยก็คือ การเปิดโอกาสให้
ชาวต่างชาติเข้ามารับราชการ เป็นขุนนางของกรุงศรีอยุธยา ซ่ึงบุคคล
เหล่าน้ีได้นำ� วิทยาการความรู้ใหม่ๆ เข้ามาช่วยพัฒนาให้ ประเทศไทยเจริญ
กา้ วหนา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

สยามและฝรั่งเศสเร่ิมต้นความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ ในสมัยสมเด็จ
พระนารายณ์มหาราชซึ่งทรงส่งคณะฑูตไปเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศ
ฝร่งั เศสถึง ๓ ครงั้

คร้ังแรกทรงจัดให้ออกญาพิพัฒน์ราชไมตรีเป็นราชทูต ออกหลวง
ศรีวิสารสุนทรเป็นอุปทูต ออกขุนนครวิชัยเป็นตรีทูต เดินทางโดยเรือก�ำปั่น
ฝร่งั เศส เมอ่ื พ.ศ. ๒๒๒๔ แตท่ ว่าเคราะหร์ ้าย ทเี่ รือไปอับปางทน่ี อกฝ่ังเกาะ
มาดากสั การ์ คณะทตู ท้งั หมดสาบสูญไปและทางสยามกไ็ มไ่ ดข้ ่าวคราวใดๆ

ครั้งท่ี ๒ สืบเนื่องมาจากคณะทูตชุดแรกที่ สูญหายไปท�ำให้สมเด็จ
พระนารายณฯ์ ทรงพระวติ ก จงึ โปรดฯ ใหข้ นุ นาง ๒ คน คอื ออกขนุ พชิ ยั วาทติ
และออกขุนพิชิตไมตรี กับบาทหลวงวาเชต์ (Vachet) ผู้เป็นล่ามไปด้วย
อกี คนหนง่ึ เดนิ ทางออกไปสบื ขา่ ว ทตู ไทยทสี่ ง่ ไปคราวแรก คณะทตู ทเ่ี ดนิ ทาง

22

ไปคราวนี้ไปโดยเรอื องั กฤษออกจากสยามเมอ่ื วนั ท่ี๒๕มกราคมพ.ศ.๒๒๒๖
(ยังคงเป็นปี ๒๒๒๖ อยู่) ไปข้ึนท่ีเมืองมาร์เก็ตท่าเรือประเทศอังกฤษแล้ว
เดินทางไป ลอนดอน พักอยู่ลอนดอนได้ไม่ช้าก็ข้ามมาประเทศฝรั่งเศส
เนื่องจากทูตท่ีไปคราวนี้ มิได้เชิญพระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์
มหาราชไปด้วย เพราะประสงค์แต่เพียงไปสืบข่าวทูตท่ีส่งมาชุดแรก แต่
ราชส�ำนักฝร่ังเศสให้การต้อนรับเป็นอย่างดี แต่ทว่ามิได้เข้าเฝ้าพระเจ้า
หลุยส์อย่างเป็นพิธีการ เป็นแต่ไปคอยเฝ้าเวลาเสด็จพระราชด�ำเนินแต่ก็
ทรงหยดุ และทรงปราศรัย สอบถามเมือ่ วนั ท่ี ๒๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๒๒๗
เมื่อพระเจ้าหลุยส์ทรงทราบความว่า สยามได้เคยส่งทูตมา แต่เรือแตก
เสียกลางทางก็ทรงด�ำริเห็นว่า ควรจะแต่งทูตมาเป็นการสนองตอบ เพ่ือ
มิให้เสียทางพระราชไมตรีท่ีไทยมีตอ่ ฝรัง่ เศส ดังนนั้ พระเจา้ หลยุ สท์ ่ี ๑๔ จงึ
แต่งคณะราชทูตพร้อมทั้งพระราชสาส์น โดยการเดินทางคร้ังน้ีมีเมอซิเออร์
เลอ เชอวาลเิ ยร์ เดอ โชมองต์ เปน็ ราชทตู และมบี าทหลวง เดอ ชวั ซี เมอซเิ ออร์
เลอ เชอวาลเิ ยร์ เดอ ฟอรแ์ บง บาทหลวงตาชาร์ด และขุนนาง อกี หลายคน
เดนิ ทางมาดว้ ยเรือออกจากเมืองแบรสต์ เมื่อวันท่ี ๓ มีนาคม มาถงึ ปากน�ำ้
เจ้าพระยา เมื่อ วันท่ี ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๒๒๘ ราชทูตที่มาคราวนี้ มา
โดยเรือ ๒ ล�ำ ชื่อ ลวั โซ (L’Oiseau) กบั ลา มาลญี (La Maligne) และน�ำ
ทูตไทยทง้ั ๒ ทีเ่ ดินทางไป สืบขา่ วนนั้ กลบั มาด้วย

ส่วนครั้งที่ ๓ น้ัน เน่ืองด้วยสมเด็จพระนารายณ์ฯ ต้องการเจริญ
ทางพระราชไมตรีกับพระเจ้าหลุยส์ เพื่อเป็นการตอบแทนที่ฝรั่งเศสได้
ส่งทูตมายังประเทศไทย จึงทรงจัดคณะทูตขึ้นชุดหน่ึงประกอบด้วยออก
พระวิสุทสุนทร (ปาน) เป็นราชทูต ออกหลวงกัลยาราชไมตรีเป็นอุปทูต
ออกขุนศรวี สิ ารวาจา เป็นตรีทูต เดนิ ทางพร้อมกับคณะทูต เชอวาลิเยร์ เดอ
โชมองต์ ซ่ึงจะกลับฝรั่งเศสในคราวเดียวกัน ออกเดินทางจากกรุงศรีอยุธยา
เม่ือเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๒๒๘ ไปถึงเมืองแบรสต์เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน

23

พ.ศ. ๒๒๒๙ เม่ือข้ึนฝั่งท่ีเมืองแบรสต์แล้วก็เดินทางต่อไปยังเมืองน็องต์
(Nante) เมืองออร์เลอ็องส์ (Orléans) เมืองฟงแตนโบล (Fontainbleau)
และที่สุดถึงกรงุ ปารีส

ภารกิจของออกพระวิสุทสุนทรในประเทศฝรั่งเศสน้ันเป็นข่าวส�ำคัญ
ในทวีปยุโรปเพราะนับเป็นคร้ังแรกๆ ในประวัติศาสตร์การทูตของประเทศ
ยุโรปที่ได้มีโอกาสต้อนรับคณะราชทูตจากดินแดนอันไกลโพ้น ในหลักฐาน
ฝ่ายฝรั่งเศสที่ส�ำคัญคือ รายงานข่าวกิจกรรมของโกษาปานและคณะซ่ึง
เมอซิเออร์เดอวีเซ่ (DeVisé) เขียนรายงานเผยแพร่ในวารสารแมร์กูร์
กาลอ็ งต์ (Mercure Galant) ในพ.ศ. ๒๒๒๙

ตั้งแต่ท่ีเดินทางถึงเมืองแบรสต์ คณะราชทูตสยามเป็นท่ีจับตามอง
ของทุกคน และต่างก็ได้รับค�ำส่ังให้ดูแลคณะทูตชุดนี้ด้วยความเอาใจใส่
ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทางจากเมอื งแบรสตไ์ปยังปารีสเพือ่ เข้าเฝา้ ฯ พระเจา้
หลุยส์ท่ี ๑๔ ท่ีพระราชวังแวร์ซายส์นั้น โกษาปานได้ผ่านเมืองส�ำคัญต่างๆ
และไดเ้ ยยี่ มชมสถานทม่ี ากมายดงั ปรากฏในรายงานของเดอวเิ ซค่ อื เมอ่ื คณะ
ราชทตู สยามออกจากเมอื งแบรสตก์ เ็ ดนิ ทางไปยงั เมอื งตรู ์ (Tours) จากนน้ั ไป
เมอื งแวงแซนน์ (Vincennes) ใกลป้ ารสี และพำ� นกั ทป่ี ราสาท เดอแบรน์ ี (De
Berny) ไดเ้ ย่ยี มชมบา้ นเสนาบดี เซนเญอเลย่ ์ (Seignelay) ไปดนู กั เรียนเล่น
ละครพดู ทโี่ รงเรยี นหลยุ ส์ เลอ กรองด์ (Louis Le Grand) จากนนั้ ยา้ ยไปพกั อยู่
ทเ่ี มอื งรงบเู ยต์ (Rambouillet) เพอื่ เตรยี มจะเขา้ เฝา้ ฯ ชว่ งเวลาทรี่ อนนั้ ราชทตู
ไดไ้ ปดกู ารขุดคลอง ดปู ้อมปราการและพระราชวัง แองวาลดี ส์ (Invalides)
ไปเย่ียมราชบัณฑิตยสภาแห่งฝรั่งเศส (Académie Française) ไปชม
โรงช่างหัตถกรรม ไปอู่ต่อเรือ โรงละคร หอดูดาว โรงเก็บอาวุธร้านค้าต่างๆ
และที่พระราชวังแวร์ซายส์นั้น ราชทูตได้เข้าเฝ้าฯ พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ที่
หอ้ งท้องพระโรงกระจก (Galerie des Glaces) หลงั จากเข้าเฝ้าฯ แล้วได้ไป

24

เยย่ี มชมสถานที่ต่างๆ อีกมาก และในโอกาสนพี้ ระเจ้าหลยุ สท์ ี่ ๑๔ โปรดให้
ท�ำเหรียญท่ีระลกึ การเขา้ เฝ้าฯ ของคณะทูตสยาม ออกเผยแพรด่ ้วย

ครนั้ เมอื่ จะเดนิ ทางกลบั ราชสำ� นกั ฝรง่ั เศส ไดส้ ง่ ผแู้ ทนพเิ ศษ (Envoyé
Extraordinaire) คอื ซมิ ง เดอ ลา ลูแบร์ (Simon de la Loubère) และอุปทตู
เซเบอเรต์ (Céberet) พรอ้ มกองเรือฝรง่ั เศส เข้ามาด้วย อนั เป็นเหตใุ หส้ มเด็จ
พระเพทราชาไม่ไว้วางใจในการกระท�ำของฝรั่งเศส จนในที่สุดจึงเกิดการ
ปฏวิ ัติผลัดแผ่นดนิ ขนึ้

ตลอดระยะเวลาทอี่ อกพระวิสุทสุนทร (ปาน) ไดท้ �ำหนา้ ที่เป็นผูเ้ จรญิ
พระราชไมตรีระหว่าง สยามกับฝรั่งเศสนั้น ท่านได้ปฏิบัติภารกิจด้วยความ
พร้อมสมบูรณ์ อันเป็นเหตุให้ชื่อเสียงของสยาม เล่ืองลือถึงเมืองตะวันตก
และเมื่อกลับมายังสยามแล้ว ท่านยังรับหน้าที่ส�ำคัญในการสมานไมตรี
ต่างๆ มิใหบ้ าดหมางกนั อีกในหลายวาระ

หมายเหตุ : คัดบางสว่ นมาจากหนงั สือ ๓๓๓ ปกี ระทรวงการตา่ งประเทศ

25

ความสัมพนั ธท์ างการทูตระหวา่ งไทย - ฝร่งั เศส
ในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ความสัมพันธ์ทางการทูต ระหว่างไทยกับ
ฝรั่งเศส ได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยได้มีการลงนามในสนธิสัญญาการค้า
และการเดนิ เรือ เมอื่ วนั ที่ ๑๕ สิงหาคม ๒๓๙๙
นอกจากน้ีฝา่ ยไทยมสี ถานกงสลุ กติ ตมิ ศกั ดิ์ประจำ� เมอื งลยี งและเมอื ง
มารแ์ ซย์ ส่วนฝ่ายฝรัง่ เศส ได้เปดิ สถานกงสลุ กิตติมศักดิ์ ณ จังหวัดเชยี งใหม่
ภูเกต็ สุราษฎรธ์ านี (เกาะสมยุ ) และเชียงราย
ความสัมพันธท์ างการทูตไทย-ฝร่ังเศส ครบรอบ ๓๐๐ ปี เม่อื ปี พ.ศ.
๒๕๒๘ ซึง่ มีการจัดงานฉลองความสัมพนั ธ์ โดยคณะกรรมการฝา่ ยฝรง่ั เศส-
ไทย ท่ี กรุงปารสี โดยเหตทุ ส่ี ภาผแู้ ทนราษฎรฝรัง่ เศสไดเ้ ชญิ ผมเปน็ หัวหน้า
คณะผู้แทนไทย ไปเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการ ระหว่างวันท่ี ๔ ถึง ๙
พฤศจิกายน ๒๕๒๘ ซึง่ ในโอกาสน้ัน ทางคณะกรรมการจัดงานฉลองความ
สมั พนั ธท์ างการทตู ไทย-ฝรง่ั เศส ไดจ้ ดั งานเสวนาเรอ่ื ง “ความสมั พนั ธท์ างการ
ทตู ครบ ๓๐๐ ปี ไทย- ฝร่งั เศส” ณ สถาบนั ภาษาและอารยธรรมตะวันออก
Institute national des Langues et Civilisation กรงุ ปารีสโดยเชิญผมเป็น
ประธานการประชุม
การเสวนาครั้งน้ีมีผู้เข้าร่วมเสวนาจ�ำนวนมาก ได้แก่ สมาชิกรัฐสภา
นกั วชิ าการของฝร่ังเศสและบคุ คลอ่นื ๆ

26

ส่วนบุคคลส�ำคัญของฝ่ายไทยท่ีได้ให้เกียรติมาเข้าร่วมเสวนาด้วย
ได้แก่ฯพณฯ ดร.ถนัด คอมันตร์ อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงการต่างประเทศ, ดร.ประชา คุณะเกษม เอกอัครราชทูตและคณะ
ผู้แทนรฐั สภาไทย

ตอ่ มา เมอื่ พ.ศ. ๒๕๕๙ ได้มกี ารจดั งานฉลองในช่วงปี ๒๕๖๐ โดย
สถานเอกอคั รราชทตู ไทย ณ กรงุ ปารสี ไดจ้ ดั สมั มนาเรอ่ื งความสมั พนั ธ์ ๑๖๐
ปี ไทย- ฝรั่งเศส ณ สถาบันภาษาและวัฒนธรรมตะวันออก กรุงปารีส เมื่อ
วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๐ โดยพระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้า สิริวัณณวรี
นารีรตั น์ (พระอิสริยยศในขณะน้ัน) เสดจ็ เปน็ ประธาน

ขณะเดยี วกนั สถานเอกอคั รราชทตู ฝรั่งเศสประจำ� ประเทศไทย มกี าร
จดั กิจกรรมเพือ่ ฉลองการครบรอบความสมั พนั ธด์ งั กล่าวที่ กรุงเทพฯ เช่นกัน

การเยือนสาธารณรัฐฝร่ังเศสเป็นทางราชการ ตามค�ำเชิญของ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรฝร่ังเศส โดยเอกอัครราชทูตฝร่ังเศสในขณะน้ัน
(Mr. Andre’ Arnaud) ได้เขา้ พบและทาบทามให้ผมไปเยือนประเทศฝรงั่ เศส
เป็นทางการ พร้อมท้ังขอเชิญเป็นประธานเปิดการเสวนาเรื่องความสัมพันธ์
ทางการทตู ครบ ๓๐๐ ปฝี รงั่ เศส-ไทยทจ่ี ะครบกำ� หนดในปี ๒๕๒๘ ซง่ึ ผมตอบ
รบั คำ� เชญิ ดว้ ยความยนิ ดี ทา่ นทตู กลา่ วเพมิ่ เตมิ อกี วา่ ทางการฝรงั่ เศสไดท้ ราบ
วา่ ผมเปน็ นกั ศกึ ษากฎหมายคณะนติ ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ปารสี ระหวา่ ง พ.ศ.
๒๕๐๓ - ๒๕๐๘ และหลงั จากนั้น ๒๐ ปตี ่อมาผมได้เปน็ ประธานรฐั สภาและ
เปน็ ประธานรฐั สภาคนแรกตง้ั แตม่ รี ฐั สภาในปี ๒๔๗๖ โดยเรยี นจบการศกึ ษา
กฎหมายระดับปริญญาเอกจากประเทศฝรั่งเศส

27

ในการเชญิ เยอื นประเทศฝรงั่ เศสเปน็ ทางการครง้ั นี้ เปน็ การเชญิ โดยมี
เวลาตอบรบั สนั้ มาก ตอ้ งจดั กำ� หนดการตา่ ง ๆ ใหมห่ มด เพราะการเยอื นทเ่ี ปน็
งานส�ำคัญที่สุดได้แก่การเชิญเป็นประธานในการเสวนาเร่ือง ความสัมพันธ์
ทางการทูตครบ ๓๐๐ ปี ฝร่ังเศส-ไทย ซ่ึงจะจัดข้ึนในวันท่ี ๕ พฤศจิกายน
๒๕๒๘ ซงึ่ การก�ำหนดการเยือนจะมกี ารจดั อยา่ งกระทัดรดั ใหเ้ หมาะสมแก่
เวลาที่เป็นไปไดข้ องทงั้ สองฝ่าย

ในที่สุด สรุปสาระส�ำคัญของการเยือนประเทศฝรั่งเศสของคณะ
รัฐสภาไทย ได้แก่ การเข้ารว่ มฟังการประชุมสภาผแู้ ทนราษฎรฝร่งั เศส โดย
มีการกล่าวต้อนรับโดยประธานท่ีประชุม ได้แก่ ประธานสภาผู้แทน มีการ
ลงข่าวการเข้าร่วมฟังการประชุมสมัยที่สองวันพุธที่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๒๘
ใน Journal Officiel (เหมอื นลงในราชกจิ จานเุ บกษาของเรา)



28

29

30

กิจกรรมส�ำคัญที่สองได้แก่การเล้ียงอาหารกลางวันโดยประธานสภา
ผู้แทนราษฎรเป็นเกยี รตแิ กค่ ณะผ้แู ทนรฐั สภาไทย ณ ทท่ี �ำการรัฐสภา

นอกจากน้ัน มีการเลี้ยงรับรองโดยประธานวุฒิสภาที่พระราชวัง
ลุกซัมบรู ก์

การเล้ียงรับรองโดยนายกเทศมนตรีเมืองแวร์ซายเป็นเกียรติการมา
เยือนของคณะผู้แทนรัฐสภาไทยในโอกาสฉลองครบรอบ ๓๐๐ ปี ความ
สัมพันธ์ฝรั่งเศส-ไทย ก่อนการเข้าเยี่ยมชมพระราชวังแวร์ซาย หลังจากนั้น
เป็นการเข้าพบบคุ คลสำ� คญั บางท่านได้แก่ประธานศาลสูง รฐั มนตรียตุ ิธรรม
นายกสภาทนายความ เปน็ ต้น เป็นอนั สิ้นสดุ การเยือนในเวลาส้นั ๆ

31

วนั ท่ี ๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘
งานเสวนาวา่ ดว้ ยความสมั พนั ธท์ างการทตู ระหวา่ งฝรงั่ เศส-ไทยครบรอบ
๓๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘

32

ภาพบรรยากาศในหอ้ งประชุมเสวนา
ในภาพมีบุคคลสำ� คญั ฝ่ายไทยคอื ดร.ถนัด คอมันตร์ อดตี รองนายก

รัฐมนตรแี ละรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงการต่างประเทศ เขา้ ร่วมเสวนาด้วย

33

34

ภารกจิ ส�ำคญั ในการเยือนสาธารณรัฐฝรัง่ เศส
ฯพณฯ ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน พร้อมคณะผู้แทน

รัฐสภาไทยได้เยือนสาธารณะรฐั ฝร่งั เศสอย่างเปน็ ทางการ ระหว่างวันท่ี ๔-๙
พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘

กำ� ลงั สนทนาแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นระหว่างกนั กับ ฯพณฯ นายหลุยส์ แมรม์ าซ
(H.E.Mr.Louise Mermaz) ประธานรัฐสภาสาธารณรัฐฝรง่ั เศส ณ ตึกรัฐสภา
สาธารณรัฐฝรั่งเศส เมือ่ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๒๘

หลงั จากนัน้ มีการเจรจากนั ระหว่างผแู้ ทนทง้ั ๒ ประเทศและประธาน
สภาจดั งานเลีย้ งรบั รองทต่ี กึ รฐั สภา มผี ูเ้ ขา้ ร่วมงานจ�ำนวนมาก

การสนทนากบั ประธานสภาและผรู้ ว่ มงานสว่ นใหญเ่ ปน็ เรอื่ งการเรยี น
ของผมท่ีฝรั่งเศสเพราะทุกคนแปลกใจว่าท�ำไมผมเลือกเรียนกฎหมายต่อที่
ประเทศฝร่ังเศส

35

ผมอธิบายว่ากฎหมายไทยลอกเลียนแบบจากกฎหมายฝร่ังเศสโดย
เฉพาะประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลโดยตรงจากประมวล
กฎหมายฝรงั่ เศส (ประมวลกฎหมายนโปเลยี น) (Code Napole’on) และนัก
กฎหมายทมี่ ชี อ่ื เสยี งของฝรง่ั เศสมสี ว่ นสำ� คญั ในการชว่ ยรา่ งประมวลกฎหมาย
ท่ีส�ำคัญที่สุดในกระบวนกฎหมายท้ังหมด และเป็นกฎหมายที่เป็นพื้นฐาน
ไดแ้ กป่ ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชยข์ องไทย

อยา่ งไรกต็ าม ปญั หาส�ำคัญที่สุดท่ีเป็นอุปสรรคในการเรียนกฎหมาย
ฝรั่งเศสคือ อุปสรรคในด้านภาษา ซ่ึงเป็นภาษาที่ยากมาก ส�ำหรับผู้ท่ีไม่มี
พ้ืนฐาน มาก่อน ไม่เหมือนประเทศท่ีเคยเป็นเมืองข้ึนของฝรั่งเศส เช่น
เวียดนาม กัมพูชาและลาว ดังน้ัน ผู้ที่เลือกมาเรียนที่ฝรั่งเศสจึงมีจ�ำนวน
นอ้ ยมาก แตใ่ นภายหลงั มกั จะประสบความสำ� เรจ็ ในการทำ� งาน เชน่ เคยเปน็
นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรีตา่ งประเทศ ประธานศาลฎีกา เป็นต้น

บรรยากาศการสนทนาเป็นกันเองและอบอุ่นเพราะพูดภาษาฝร่ังเศส
ด้วยกนั

ฝรง่ั เศสเปน็ ประเทศทใ่ี หค้ วามสำ� คญั แกภ่ าษาของตนเองมาก ไมส่ นใจ
ศกึ ษาภาษาตา่ งประเทศอน่ื ๆ เชน่ เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ทผ่ี มไปถงึ ฝรงั่ เศส ไมม่ ี
ใครพูดภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่นเลย นอกจากภาษาฝรั่งเศส รวมท้ังการ
บรรยายในห้องเรียน ก็เป็นภาษาฝรงั่ เศสทัง้ หมด

เป็นธรรมชาติของมนุษย์ท่ีจะให้ความส�ำคัญและความสนิทสนมก็
เพราะพดู ภาษาเดยี วกัน

36

การเขา้ พบบุคคลสำ� คัญ

เข้าพบนางซีโมน โรเซ็ท (Mrs.Simone Rozes) ประธานศาลสูงของสาธารณรฐั
ฝรัง่ เศส ณ ทีท่ �ำการศาลสูงเม่อื ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘

สนทนากบั นายโรเบิรต์ บาแดงแตร์ (Mr.Robert Bardinter) รฐั มนตรีว่าการกระทรวง
ยุตธิ รรมของสาธารณรัฐฝร่งั เศส ณ กระทรวงยตุ ิธรรม เมื่อ ๖ พฤศจิกายน ๒๕๒๘
37

เขา้ พบนายกสภาทนายความ นายลัสแซร์ (Mr.Laszair)
เมอื่ วันท่ี ๖ พ.ย. ๒๕๒๘

38

เข้าพบนายกสภาทนายความ นายลสั แซร์ (Mr.Laszair) ณ ทีท่ �ำการ
โดยนายกสภาทนายความสวมเส้ือครุยออกรับอย่างเต็มที่เป็นการให้เกียรติ
ฝรั่งเศสนิยมการสวมเส้ือครุย แม้กระท่ังเวลาอาจารย์เข้าห้องสอนท่ีมหา-
วทิ ยาลยั จะมเี จา้ หนา้ ทแี่ ตง่ ชดุ เสอื้ หางยาวมสี ายสรอ้ ยสวมคอ เดนิ นำ� อาจารย์
ผู้สอนมาท่ีห้องบรรยาย เปิดประตูให้เสร็จแล้วจึงกลับ เมื่ออาจารย์บรรยาย
เสร็จแล้ว เจ้าหน้าทีจ่ ะมาเปดิ ประตูและน�ำกลับหอ้ งท�ำงาน

ส่วนนักศกึ ษาก็ต้องแตง่ ตวั เรยี บร้อย โดยสวม “แจ็คเกต็ ” หรอื แต่งชุด
สากลทุกคน

ปัจจุบันธรรมเนยี มนเ้ี ลิกหมดแล้ว นักศึกษานุ่งกางเกงยีนส์ ใสเ่ สอ้ื ยดื
เขา้ ห้องเรยี นเป็นเรื่องปกติ

39

เยีย่ มชมพระราชวงั แวร์ซายส์
ในวนั ที่ ๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘ คณะผแู้ ทนรฐั สภาไทย ไดร้ ว่ มงานเลย้ี ง
รบั รอง ซ่งึ นายดาเมียง (Mr.Damien) นายกเทศมนตรีเมอื งแวร์ซายส์ จัดข้ึน
เพอื่ เปน็ การตอ้ นรบั ณ ศาลาเทศบาลเมอื งแวรซ์ ายส์ เนอ่ื งในโอกาสงานฉลอง
ครบรอบ ๓๐๐ ปคี วามสมั พันธร์ ะหว่างฝรง่ั เศส-ไทย

กำ� ลงั ออกจากทท่ี ำ� การพรอ้ มกบั นายกเทศมนตรี
40

ในงานน้ี นอกจากบคุ คลสำ� คญั ทง้ั สองฝา่ ยแลว้ มหี ลานชายเจา้ นโรดม
สีหนุ ได้มาร่วมงานด้วย ซ่ึงเป็นท่ีน่ายินดีเพราะในเวลานั้นความสัมพันธ์
ระหวา่ งไทยกบั กัมพชู า อยู่ในสถานการณท์ ีข่ ดั แยง้ กัน

เหตุที่ฝ่ายฝร่ังเศสได้จัดเล้ียงรับรองที่เมืองแวร์ซายส์เพราะเป็นเมือง
ที่เร่ิมความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับฝร่ังเศส โดยราชทูตไทย
(โกษาปาน) ได้เข้าเฝา้ ถวายพระราชสาสน์ ของสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช

ภายหลังงานเลี้ยงรับรองซ่ึงนายกเทศมนตรีเป็นเจ้าภาพแล้ว มีวิทยุ
กระจายเสยี งของฝรงั่ เศสมาสมั ภาษณเ์ รอื่ ง ความสมั พนั ธท์ างการทตู ระหวา่ ง
ฝรัง่ เศส-ไทย กอ่ นที่จะมีการนำ� ชม “พระราชวังแวร์ซายส”์

41

สถานท่ีแห่งน้ีเคยเป็นท่ีพักของราชทูตสมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา ซ่ึงเป็นจุดเริ่มต้นของความสัมพันธ์ทางการทูต
อย่างเป็นทางการ

อย่างไรกต็ าม กอ่ นการข้ามไปเยอื นพระราชวังแวร์ซายส์ มเี หตุการณ์
ประหลาดเกิดขึ้นคือเม่ือคณะพร้อมจะเข้าชมพระราชวังตามก�ำหนดการ
เจ้าหน้าท่ีฝ่ายรักษาความปลอดภัยขอให้คณะของเรารอสักครู่หน่ึง เพราะ
เจา้ หนา้ ที่ก�ำลงั “เคลยี ร์” ข่าวการวางระเบิดพระราชวังแวร์ซายสก์ อ่ นหน้าน้ี

ท�ำให้หายสงสัยว่าท�ำไมวันน้ีไม่มีผู้มาเข้าชมพระราชวังแวร์ซายส์ ซ่ึง
ตามปกติจะมีผู้เข้าชมจ�ำนวนมากมายในแต่ละวันต้องเข้าแถวรอการเข้าชม
ยาวเหยยี ด

ขอเล่าเหตุการณ์วันไปเย่ียมพระราชวังแวร์ซายส์ต่อ กล่าวคือ เม่ือ
กจิ กรรม ณ ที่ท�ำการนายกเทศมนตรีไดเ้ สร็จสน้ิ แล้ว ทางการฝรง่ั เศสขอเวลา
อีกประมาณครึ่งช่วั โมง เพ่ือเคลยี รพ์ ้นื ทเ่ี ก่ียวกบั ความปลอดภัยใหเ้ รยี บร้อย

หลังจากนั้น เม่ือถึงเวลาเจ้าหน้าที่ได้เชิญให้คณะของเราเข้าชม
พระราชวังได้เป็นคณะแรก ซ่ึงไม่มีผู้ชมหรือนักท่องเท่ียวตกค้างอยู่ภายใน
พระราชวงั เลย

เมื่อคณะของเราได้เข้าไปเย่ียมชมข้างในแล้ว ประมาณครึ่งช่ัวโมง
เจ้าหน้าทจี่ ึงปลอ่ ยคณะผเู้ ข้าชมคณะอ่นื ๆ ตามเขา้ ไป

การชมพระราชวังแวร์ซายส์นี้ ระหว่างเวลาที่ผมยังเป็นนักศึกษา
กฎหมายอยู่ ไดพ้ าผใู้ หญไ่ ปเยย่ี มชม เปน็ สบิ ๆ ครง้ั แตก่ ารเขา้ ชมครงั้ น้ี พเิ ศษ
กวา่ ทกุ ครง้ั เพราะเจา้ หนา้ ทพี่ าชมทกุ หอ้ ง ทกุ สถานที่ ซง่ึ ปกตไิ มใ่ หป้ ระชาชน
ท่ัวไปเข้าชมจึงนบั เป็นโชคดีของคณะผู้แทนรฐั สภาไทยคณะนี้

42

และทสี่ ำ� คญั ทส่ี ดุ ในวนั ทเ่ี ปน็ แขกเชญิ ใหค้ ณะของเราเขา้ ชมพระราชวงั
แวร์ซายส์นั้น เป็นวันครบรอบ ๓๐๐ ปีที่ ออกพระวิสุทสุนทร (โกษาปาน)
ไดเ้ ขา้ เฝ้าพระเจา้ หลยุ ส์ท่ี ๑๔ ทีพ่ ระราชวงั แวร์ซายสแ์ ห่งเดยี วกนั นี้

ข้อแตกต่างของการเดินทางจากประเทศไทยไปประเทศฝรั่งเศสของ
โกษาปานเม่อื พ.ศ. ๒๒๒๘ กับ การเดนิ ทางของคณะรัฐสภาไทยในปี พ.ศ.
๒๕๒๘ แตกตา่ งกนั มากอยา่ งไมน่ า่ เชอื่ โดยการเดนิ เรอื ของโกษาปานระหวา่ ง
กรุงศรีอยุธยากบั ประเทศฝรง่ั เศส

ขาไป ๔ เดอื น ๒๒ วัน
ขากลับ ๗ เดอื น ๘ วนั
ส่วนการเดินทางโดยเครื่องบินของคณะผู้แทนรัฐสภาไทยใช้เวลา
เพยี ง ๑๑-๑๒ ช่ัวโมง
ตลอดเวลา ๓๓๕ ปี (ปี พ.ศ. ๒๕๖๔) ของเหตกุ ารณท์ างประวตั ศิ าสตร์
ท่มี คี วามสำ� คัญตอ่ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งไทยกับฝร่ังเศส สง่ ผลให้ฝร่ังเศสซงึ่
เป็นหน่ึงในประเทศตะวันตกชาติแรก ๆ ที่เจริญสัมพันธไมตรีกับสยามเม่ือ
กวา่ สามศตวรรษทผี่ า่ นมา มติ รไมตรคี วามสมั พันธ์ระหวา่ งสองประเทศและ
ประชาชนทั้งสองได้ผ่านบททดสอบแห่งกาลเวลาและเป็นโอกาสอันดีย่ิงท่ี
ประเทศทง้ั สองจะรว่ มกนั มองไปขา้ งหนา้ เพอ่ื รว่ มกนั กำ� หนดทศิ ทางความเปน็
หนุ้ สว่ น โดยสามารถรว่ มกนั เสรมิ สรา้ งความมน่ั คงและมงั่ คง่ั และการพฒั นาท่ี
ยงั่ ยนื เพอื่ ประโยชนร์ ว่ มกนั ของประชาชนในประเทศทงั้ สอง รวมทง้ั ตอ่ ภมู ภิ าค
และประชาคมระหว่างประเทศ

43

งานเลีย้ งรบั รองท่สี ถานทตู ไทย
งานเล้ียงรับรองเพ่ือเป็นเกียรติแก่คณะผู้แทนรัฐสภาไทย ท่ีท�ำเนียบ
เอกอคั รราชทตู ไทย โดย ดร.ประชา คณุ ะเกษม เอกอคั รราชทตู ไทย และภรยิ า
(คุณสุมณี คุณะเกษม) เป็นเจา้ ภาพ

44

มแี ขกมารว่ มงานจำ� นวนมาก โดยเฉพาะผทู้ ่เี ข้ารว่ มในงานเสวนาครบรอบ ๓๐๐ ปี
ความสัมพนั ธ์ฝรง่ั เศส-ไทย

45

พิธีมอบอสิ ริยาภรณ์
เมื่อกลับประเทศไทยแล้ว วันพฤหัสบดีท่ี ๑๙ มิถุนายน ๒๕๒๙
H.E.Andre’ Arnaud เอกอคั รราชทตู ฝรง่ั เศส ประจำ� ประเทศไทย ไดท้ ำ� พธิ มี อบ
อสิ ริยาภรณ์ Commandeur de la Legion D’Honneur ซ่งึ เป็น อิสริยาภรณ์
ชน้ั สูงของประเทศฝรง่ั เศสแก่ ศาสตราจารย์ ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวิน ประธาน
รัฐสภา ในฐานะ ผู้ท�ำคุณประโยชน์อย่างสูงในการเสริมสร้างสัมพันธภาพ
ระหว่างประเทศไทยและประเทศฝร่ังเศส
นโปเลยี น โบนาปารต์ สถาปนาอสิ รยิ าภรณน์ ี้ เมอื่ วนั ที่ ๑๙ พฤษภาคม
พ.ศ. ๒๓๔๕ ปัจจุบันผู้ท่ีเป็นประธานได้แก่ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
ฝรั่งเศส ผู้สมควรได้รับคือผู้ประกอบความชอบตามที่คณะกรรมการเคร่ือง
อิสริยาภรณ์ก�ำหนด อิสริยาภรณ์น้ีมี ๕ ชั้นได้แก่ Grand croix, Grand
officier, Commandeur,  Officier,  Chevalier ตามล�ำดบั
ค�ำว่า “เลยีอองดอนเนอร์” มีความหมายว่า “กองพลเกียรติยศและ
ปติ ุภูมิ” (Honneur et Patrie)
อสิ รยิ าภรณต์ ระกลู นี้ มคี วามสำ� คญั เชน่ เดยี วกบั เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์
”จลุ จอมเกลา้ ” ของไทย เพราะมจี �ำนวนจ�ำกดั ไวแ้ ตล่ ะชน้ั
ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๕๔๔ เปน็ ต้นมา จ�ำนวนอิสรยิ าภรณช์ น้ั “คอม็องเดอร์”
มี ๓,๖๒๖ ชุดที่มอบใหบ้ คุ คลต่าง ๆ ทว่ั โลก
เมื่อแรกสถาปนาเคร่ืองอิสริยาภรณ์มีการจ�ำกัดจ�ำนวนส�ำหรับแต่ละ
ชัน้ ไว้ โดยเฉพาะช้นั “คอมม็องเดอร”์ ให้มีสมาชกิ ๑,๒๕๐ คน

46

สำ� หรับประเทศไทยปจั จุบนั มเี พยี ง ๕ รายที่ยงั มีชวี ติ อยู่คอื
1. ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวนิ ไดร้ ับปี ๑๙๘๖ (พ.ศ ๒๕๒๙)
2. ดร.อรุณ ภาณพุ งศ์ ไดร้ บั ปี ๑๙๘๘ (พ.ศ. ๒๕๓๑)
ถึงแกก่ รรม พ.ศ. ๒๕๖๔
3. ดร.ศรภี มู ิ ศขุ เนตร ได้รบั ปี ๒๐๐๔ (พ.ศ. ๒๕๔๗)
4. ดร.โภคิน พลกลุ ได้รบั ปี ๒๐๑๕ (พ. ศ. ๒๕๕๘)
5. อภิชาต ชินวรรณโน ไดร้ ับปี ๒๐๑๖ (พ.ศ. ๒๕๕๙)

47

พิธีมอบอิสริยาภรณ์
H.E.Andre’ Arnaud เอกอัครราชทูตฝร่ังเศส ประจ�ำประเทศไทย
ท�ำพิธีมอบอิสริยาภรณ์ Commandeur de la Légion D’Honneur ซ่ึงเป็น
อสิ รยิ าภรณช์ น้ั สงู ของประเทศฝรง่ั เศสแด่ ศาสตราจารย์ ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวนิ
ประธานรฐั สภา เมอ่ื วนั พฤหสั บดที ่ี ๑๙ มถิ นุ ายน ๒๕๒๙ ณ สถานทตู ฝรง่ั เศส

อิสริยาภรณช์ น้ั คอมมอ็ งเดอร์
48


Click to View FlipBook Version