หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวนิ สญั ชัย คงทน
สมนึก ชัยเดชสรุ ยิ ะ
อมร อนรุ ทุ ธกิ ร มรุ ธา วฒั นะชวี ะกลุ
ชยั เกษม นิตสิ ริ ิ สมบรู ณ์ ชยั เดชสรุ ิยะ
จรญั ภกั ดีธนากุล ภ าวนา เนียมลอย
กฤษ ไกรจติ ติ สุรวฒั น์ ชมภพู งษ์
จุฑา กุลบุศย์ ประวีณ ขัมภรตั น์
ร่งุ โรจน์ รืน่ เริงวงศ์ พลพีร์ ตุลยสุวรรณ
กาญจนา นิมมานเหมินทร ์ สมประสงค์ มคั คสมนั
ปิยะทศั น์ จูฑะพทุ ธิ ชาญวทิ ย์ สวุ รรณะบณุ ย์
สุวิทย์ สวุ รรณ รณชติ แย้มสะอาด
กติ พิ ันธุ์ ศศะนาวนิ กง่ิ กมล สินมา
กฤษดา ตณั ฑก์ ุลรัตน์ ชมุ พล มสุ ิกานนท์
บรรพต ไชยนนั ทน์ พรพรหม กาญจนจารี
สุทนิ ฐติ วิ ร
อภิชัย จันทรเสน
148
สานนท์ ชมประดษิ ฐ์ วันวิสาข์ ล่ำ� ซำ�
อาชว สมุทรานนท์ บุษบา สหพงษ์
ธ วชั ชยั ชอ่ งดารากลุ กิตติ พทิ ยาภรณ์
ฉตั รชยั อินทสวุ รรณ นนท์ ดวงรตั น์
ชาญพงษ์ ดวี ี บณั ฑิต บุญปาสาณ
สุนทรเทพ เลขะวณิชย์ ทรงกลด ไชยเมืองมา
เทวัญ อุทัยวัฒน์ ดเิ รก พุฒค�ำ
ฉัตรทิพย์ ตณั ฑประศาสน์ คุณาพจน์ สขุ กุล
ประภัสร์ จงสงวน วรพล นาวลั ย์
วรพจน์ ถนอมกลุ ประธาน จฬุ าโรจน์มนตรี
กนษิ ฐน์ อ้ ย ปราณีจติ ต์ เจษฎ์ โทณะวณิก
รวีวฒั น์ รัตนเสน จริ ัสย์ คเชนทวา
คันฉตั ร ทองสมบัติ สมภพ เชาวนะ
จรัญ บุญทนั ธนกฤษฏิ์ สขุ กลุ วรเศรษฐ์
151
ความทรงจำ� ของอดตี ทนายความ
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคิดลนาวนิ
นายสวุ ทิ ย์ สวุ รรณ
ผมเข้าท�ำงานกับส�ำนักกฎหมาย ดร.อุกฤษ
มงคลนาวิน ทันทีที่เรียนจบจากแผนกนิติศาสตร์
คณะรฐั ศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ในปี พ.ศ.
๒๕๑๕ ผมเป็นลูกศิษย์คนหน่ึงของท่านอาจารย์
หลังจากได้เข้ามาอยู่ในส�ำนักงานของท่านและก็
ไมไ่ ดโ้ ยกยา้ ยไปอยกู่ บั ใครอนื่ เลยตลอดเวลา ๔๐ ปี จนกระทง่ั ปี พ.ศ. ๒๕๕๕
ท่านอาจารย์บอกผมว่า “สุวิทย์ นายปีกกล้าขาแข็งพอจะเปิดส�ำนักงาน
ของตนเองได้แล้ว อาจารย์จะขอพักให้เป็นกิจจะลักษณะสักที” ผมจึงต้อง
จากท่านด้วยความอาลัยเพือ่ ไปสร้างรงั นอ้ ย ๆ ของตนเอง กอ่ นจากท่านได้
ปูพนื้ ฐานให้ผมไวม้ ากพอสมควร บญุ คณุ ของท่านมีมากลน้ สดุ พรรณนา
ตลอดระยะเวลา ๔๐ ปีที่ท�ำงานอยู่ในส�ำนักงานท่านอาจารย์ ผมพูด
ได้เต็มปากเต็มค�ำว่าท่านอาจารย์ในฐานะหัวหน้าส�ำนักงาน ท่านได้สร้าง
บุคลากรทางกฎหมายที่มีคุณภาพไว้มากมาย ท่านให้โอกาสทุกคนพัฒนา
วชิ าชพี และทกั ษะสว่ นตวั อยา่ งเตม็ ท่ี ทา่ นเนน้ ใหท้ นายทกุ คนตอ้ งมคี ณุ ธรรม
ท่านเปี่ยมไปด้วยความเมตตา ไม่เคยท�ำให้ลูกน้องเดือดเน้ือร้อนใจ ด้วย
วิสัยทัศน์และก�ำลังใจท่ีได้รับจากท่าน ผมสามารถบุกเบิกและยกระดับ
มาตรฐานการให้บริการทางกฎหมายแก่ลูกความต่างประเทศให้ขึ้นมา
ทดั เทยี มกับส�ำนกั งานทนายความของฝร่งั ตา่ งชาตไิ ด้
ท่านเปน็ Mentor ที่ผมใหค้ วามรกั และเคารพตลอดกาลครบั
154
นายกฤษดา ตณั ฑก์ ลุ รตั น์
กระผมได้มีโอกาสเข้าร่วมท�ำงานท่ีส�ำนัก
กฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ตั้งแต่เม่ือ
ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๑๖ ในขณะน้ันส�ำนักงาน
ตัง้ อยู่ ณ อาคารไทยไดมารู ช้ัน ๑๑ ถนนราชดำ� ริ
กรุงเทพมหานคร ขณะท่ียังศึกษาอยู่ท่ีคณะ
นิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหารายได้พิเศษในระหว่าง
การศึกษา ซ่ึงท่านอาจารย์อุกฤษ มงคลนาวิน ได้กรุณาให้โอกาสกระผม
เข้าร่วมงาน ณ ส�ำนักงานแห่งนี้ จึงท�ำให้กระผมได้เร่ิมมีโอกาสสัมผัสกับ
ประสบการณ์ของการประกอบอาชีพทนายความ จากบรรดาทนายความ
รนุ่ พใ่ี นชว่ งระยะนน้ั เปน็ ทนายความทมี่ สี ว่ นรว่ มกอ่ ตง้ั สำ� นกั แหง่ น้ี บรรยากาศ
ของการท�ำงานเต็มไปด้วยความรักและความสามัคคีระหว่างเพื่อนร่วม
งาน จึงเป็นสิ่งท่ีจุดประกายให้กระผมมีความเช่ือว่าเม่ือส�ำเร็จการศึกษา
จะยึดถือการประกอบอาชีพเป็นทนายความ ทั้งนี้ เพราะส�ำนักงานแห่งน้ี
แสดงใหเ้ ห็นเปน็ ทปี่ ระจกั ษ์ได้วา่ การประกอบวิชาชพี ทนายความเปน็ กลไก
แห่งหนึ่งในกระบวนการยุติธรรม เป็นอาชีพท่ีมีเกียรติและเป็นที่ยอมรับ
นับถือของสังคมได้ เนื่องจากท่านอาจารย์อุกฤษได้ก�ำหนดแนวทางการ
ท�ำงานของสำ� นกั งานแห่งนี้ โดยยดึ หลักคุณธรรม และประกาศเป็นแนวทาง
การด�ำเนินงานให้สมาชิกของส�ำนักงานแห่งนี้ยึดมั่นด้วยหลัก ๓ ประการ
กลา่ วคือ “นิตธิ รรม ยุตธิ รรม และสันตธิ รรม”
ต่อมาท่านอาจารย์อุกฤษได้ย้ายส�ำนักงานจากอาคารราชด�ำริมา
กอ่ สรา้ งอาคารสำ� นกั งานในทดี่ นิ ของทา่ นทถี่ นนสขุ มุ วทิ ซอย ๕ เขตคลองเตย
กรงุ เทพมหานคร เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๑ เปน็ อาคาร ๓ ชน้ั และอาคาร
155
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวนิ
๕ ช้ัน ในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ซึ่งในขณะนั้นถือได้ว่าเป็นส�ำนักงานทนายความ
เพยี งแหง่ เดยี วทด่ี ำ� เนนิ การโดยคนไทยและมอี าคารสำ� นกั งานเปน็ ของตนเอง
ท่ีมีความหรูหราและทันสมัยเป็นท่ีเชิดหน้าชูตา จึงมีบุคคลที่มีช่ือเสียงและ
สถาบันการศึกษาเข้ามาเย่ียมชมส�ำนักงานโดยตลอด ท่านอาจารย์อุกฤษ
มวี สิ ยั ทศั นอ์ นั กวา้ งไกล จงึ ไดร้ เิ รม่ิ วางแนวทางการดำ� เนนิ งานของทนายความ
ในสำ� นกั งานแหง่ นี้ ให้สามารถดูแลรบั ผิดชอบสมาชกิ ทอี่ ยใู่ นทมี งานของตน
ทง้ั ในเร่ืองงบประมาณรายรับ - รายจ่าย เสมือนหน่งึ เป็นผู้บรหิ ารสำ� นักงาน
ทนายความของตนเอง ทงั้ น้ี โดยมงุ่ หวงั ใหท้ นายความของส�ำนกั งานสามารถ
ดแู ลรบั ผดิ ชอบกจิ การของสำ� นกั งาน และเพอื่ เปน็ การแบง่ เบาภาระของทา่ น
อาจารย์อุกฤษ อีกท้ังท่านอาจารย์อุกฤษได้ตระหนักถึงความเป็นจริงท่ีว่า
บิดา - มารดาเมื่อได้อุปการะเลี้ยงดูบุตรธิดาจนเติบใหญ่ ย่อมถึงวันหน่ึงท่ี
บุตรและธิดาของตนจะต้องแยกตัวออกไปสร้างครอบครัว แต่ท่านอาจารย์
อุกฤษได้หว่านเมล็ดพันธุ์ไว้ในจิตใจให้ทนายความของส�ำนักงานได้ยึดถือ
และน�ำไปปฏบิ ตั ิตามหลัก ๓ ประการ กล่าวคอื “นติ ธิ รรม ยุตธิ รรม และ
สันตธิ รรม” ทั้งน้ีเพือ่ เกิดประโยชนต์ ่อสงั คมและตนเองสบื ไป
156
นายสรุ วฒั น์ ชมพพู งษ์
ทันทีที่ทราบว่าศาสตราจารย์ดร.อุกฤษ
มงคลนาวนิ อดตี คณบดคี ณะนติ ศิ าสตร์ จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั และเจา้ ของสำ� นกั กฎหมาย ดร.อกุ ฤษ
มงคลนาวิน รับผมเข้าท�ำงาน ผมรู้สึกตื่นเต้นท่ีจะ
ได้เข้าไปท�ำงานในส�ำนักกฎหมายที่นักกฎหมาย
หลายคนใฝ่ฝันอยากจะเข้ามาร่วมงาน ณ ที่แห่งน้ี ไม่ว่าจะเป็นสถานท่ีที่
โก้หรูอลังการ ภูมิฐาน และเต็มไปด้วยบรรยากาศท่ีต้องเรียกว่า “ขลัง”
ท่านอาจารย์เป็นครูบาอาจารย์มานาน มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย ท่านได้รับ
การยอมรับจากวงการกฎหมาย และในทางการเมืองท่านก็ด�ำรงต�ำแหน่ง
สำ� คญั ๆ มากมายจนถงึ เปน็ ประธานรฐั สภา แตท่ า่ นกย็ งั คงความมเี มตตาตอ่
ลกู ศษิ ยอ์ ยา่ งสมำ่� เสมอ การทำ� งานทสี่ ำ� นกั งานแหง่ นจี้ งึ ไมใ่ ชล่ กั ษณะเจา้ นาย
กับลูกน้อง แต่เป็นลักษณะครูกับศิษย์ หรือพ่อกับลูกเสียมากกว่า พวกเรา
จึงอยู่กันอย่างสบายใจ ผิดพลาดหรือพลาดพล้ังไปบ้างก็ให้อภัยกันและกัน
ไดเ้ สมอ ผมจงึ รสู้ กึ สบายใจตลอดเวลาทที่ ำ� งานทนี่ ่ี แตด่ วงชะตาผมคงเหมาะ
แกก่ ารเปน็ ครบู าอาจารยม์ ากกวา่ จึงขอลาทา่ นอาจารย์ออกมาเป็นอาจารย์
ทม่ี หาวทิ ยาลยั กรงุ เทพและเปน็ วทิ ยากรใหก้ บั หลากหลายสถาบนั มาจนถงึ ทกุ
วนั นี้ แตท่ งั้ นท้ี ง้ั นนั้ กไ็ ดซ้ มึ ซบั ความประทบั ใจในการทำ� งานและความเออ้ื เฟอ้ื
เผื่อแผ่และความมีเมตตา โดยมีท่านศาสตราจารย์ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน
เปน็ ตน้ แบบในการดำ� เนนิ ชวี ิตมาจนกระท่ังถึงทกุ วนั นี้ครับ
157
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวนิ
นายฉตั รทพิ ย์ ตณั ฑประศาสน์
เม่ือคืนวานน้ีเอง ข้าพเจ้าเพ่ิงกลับเข้า
บ้านในเวลาตีหน่ึงกว่า ๆ หลังจากที่ได้เข้าเฝ้าฯ
ถวายงานสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน
ร่วมกับองคมนตรี คณะผู้พิพากษาอาวุโส และ
ข้าราชการผู้ใหญ่ส�ำนักพระราชวัง พอเดินเข้าบ้านมองเห็นภาพถ่าย
ของตัวเองที่ใส่กรอบแขวนไว้ในห้องโถง ใส่ชุดเคร่ืองแบบเต็มยศ
สวมสายสะพายประถมาภรณ์ช้างเผือกท่ีได้รับพระมหากรุณาธิคุณ
โปรดเกล้าฯ พระราชทานให้ข้าพเจ้าเป็นกรณีพิเศษ อดท่ีจะภาคภูมิใจใน
บุญวาสนาของตนเองไม่ได้ ต้องร�ำพึงกับตนเองว่าเราเป็นเพียงทนายความ
คนหน่งึ ไม่มียศ ไมม่ ีต�ำแหน่งใด ๆ ในวงราชการ แตก่ ลบั มวี นั เชน่ นใี้ นชีวิต
ของเราได้อย่างไม่เคยแม้แต่จะคิดฝันมาก่อน ทั้งน้ีก็เพราะความรัก ความ
เมตตา ความเออื้ อาทร การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และใหโ้ อกาสจากผทู้ ข่ี า้ พเจา้ ขอ
เรยี กวา่ “มหาบรุ ษุ ” ท่านหนึง่ คอื ท่านศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน
ซง่ึ พวกเราเรยี กกนั ตดิ ปากวา่ “ทา่ นอาจารย”์ ทา่ นเปน็ ผมู้ บี ญุ คณุ แกข่ า้ พเจา้
อย่างล้นเหลือ เกินกว่าท่ีจะกล่าวพรรณนาออกมาให้หมดสิ้นได้ นับเป็น
บญุ กศุ ลของขา้ พเจา้ อยา่ งยงิ่ ทช่ี าตนิ ขี้ า้ พเจา้ ไดม้ โี อกาสเขา้ มาเปน็ ทนายความ
อยภู่ ายใตบ้ ารมี ใตร้ ม่ โพธร์ิ ม่ ไทร และการดแู ลอบรมสงั่ สอนจากทา่ นอาจารย์
ท่ีข้าพเจ้าเขียนมาข้างต้นมิใช่จะมีเจตนาโอ้อวดแต่อย่างใดทั้งส้ิน
หากแต่หวังเพียงน�ำความจริงที่เกินฝันนี้มาประกาศให้เห็นถึงความย่ิงใหญ่
ความมศี กั ยภาพสงู ของสำ� นกั กฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ท่ีท�ำนบุ �ำรงุ
อบรมสงั่ สอน อปุ ถมั ภค์ �้ำจนุ ขา้ พเจา้ มาจนมีวนั เช่นนไี้ ด้
158
จำ� ได้ว่า วนั หน่ึงเมอื่ ๓๕ - ๓๖ ปีก่อน ณ สขุ ุมวทิ ซอย ๕ ตึก ๓ ช้ัน
สีขาว สวยหรูโอ่อ่าน่าเกรงขาม ต้ังตระหง่านอย่างสง่างามอยู่กลางซอย
จนแทบไม่น่าเชื่อว่าจะเป็นส�ำนักงานกฎหมาย น่าจะเป็นท�ำเนียบหรือ
สถานเอกอัครราชทูตของต่างประเทศมากกว่า แต่ค�ำว่า “ส�ำนักกฎหมาย
ดร.อุกฤษ มงคลนาวนิ ” ก็เห็นไดอ้ ยา่ งเด่นชัดว่า ท่นี แ่ี หละคือที่ท่ขี ้าพเจา้ จะ
มาสมัครเขา้ ทำ� งานตามนดั หมาย
เมื่อก้าวเข้าไปในอาคาร ต้องตะลึงกับการตกแต่งอันหรูหราสวยงาม
โอฬารอยา่ งมรี ะดบั สรา้ งความยำ� เกรงในสถานทแี่ กผ่ ทู้ เี่ ขา้ มา ทำ� ใหข้ า้ พเจา้
อดประหมา่ ไมไ่ ด้ “ยงิ่ ใหญส่ มกบั ชอื่ เสยี งวา่ เปน็ สำ� นกั งานกฎหมายทย่ี งิ่ ใหญ่
ที่สุดในเมืองไทยจริง ๆ” ข้าพเจ้าคิดในใจเช่นน้ัน เม่ือได้รับอนุญาตให้เข้า
พบทา่ นอาจารย์ ข้าพเจ้ายงิ่ ตืน่ เตน้ เพราะท่านเป็นผหู้ ลักผ้ใู หญ่ทม่ี ีชื่อเสยี ง
และมีเกียรติอย่างสูงในบ้านเมือง ขณะนั้นท่านด�ำรงต�ำแหน่งรองประธาน
วฒุ สิ ภา แต่เมอ่ื ได้พบท่านกลับได้พบแตค่ วามสุภาพออ่ นโยน ความเป็นผูด้ ี
และความสง่างามในบุคลิกของท่าน ท่านมีความน่าเลื่อมใส น่านับถือ
ให้ความเป็นกันเอง และมีเมตตาต่อเด็กอย่างข้าพเจ้าจนรู้สึกได้ มันเป็น
ความอบอนุ่ ความภาคภมู ใิ จเหลอื เกนิ ทใี่ นวนั นไ้ี ดม้ โี อกาสเขา้ เปน็ สมาชกิ ใหม่
ของส�ำนักกฎหมายทีย่ ง่ิ ใหญแ่ ห่งน้ี
ตลอดเวลากว่า ๒๐ ปีท่ีเป็นทนายความ ณ ส�ำนักกฎหมายภายใต้
การก�ำกบั ดแู ลของทา่ นอาจารย์ ท�ำให้เขา้ ใจไดอ้ ย่างถอ่ งแท้ว่าความย่งิ ใหญ่
อนั เปน็ ท่ียอมรบั นับถือของส�ำนกั กฎหมาย ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวิน นัน้ มใิ ช่
อยู่ที่เพียงสถานท่ีใหญ่โตโอ่โถงเท่าน้ัน แต่ความยิ่งใหญ่ท่ีแท้จริงเกิดจาก
ระบบการทำ� งาน การวางแนวทางปฏบิ ตั งิ านใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพอยา่ งแทจ้ รงิ
ใหไ้ ดม้ าตรฐานระดับสูง ด้วยการเอาใจใสด่ แู ลในทุกเร่ืองราว และมงุ่ พัฒนา
ศักยภาพของบุคลากรอย่างต่อเน่ืองและจริงจัง โดยท่านอาจารย์เป็นผู้ได้
จัดระเบียบ วางระบบการท�ำงานไว้อย่างดีเย่ียม ข้าพเจ้าและทนายความ
159
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคิดลนาวนิ
ทุกคนจึงได้เรียนรู้และซึมซับถึงวิธีการท�ำงานที่มีประสิทธิภาพ การใช้ชีวิต
การวางตัวในสังคม การต้อนรับขับสู้กับลูกความ และการเผชิญหน้ากับคู่
กรณฝี ่ายตรงข้าม รวมตลอดถงึ การแกป้ ัญหาต่าง ๆ ดว้ ยสติปญั ญาจากท่าน
อาจารย์เป็นอย่างดี จนก่อให้เกิดเป็นพลังรากฐานส�ำคัญในการประกอบ
วิชาชีพนักกฎหมายท่ีดีและมีความสามารถที่แท้จริง สามารถยืนหยัดใน
วงการกฎหมายได้อย่างภาคภูมิ
ในส�ำนักงาน ท่านอาจารย์ได้ปลูกฝังให้ทนายความร่วมกันท�ำงาน
เปน็ ทีมในทกุ คดี ไม่ว่าเรือ่ งเล็กหรือเรื่องใหญ่ มใิ ช่ตัวใครตวั มนั ตา่ งคนต่าง
ท�ำแต่งานของตนเอง รู้อยู่คนเดียว เหมือนส�ำนักงานทนายความส่วนใหญ่
ที่เป็นอยู่ในขณะนั้น ท่านสร้างวินัยให้เกิดการร่วมระดมความคิด ให้เกิด
ความแตกฉานในปัญญา เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างรอบคอบ สร้างความ
สามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในส�ำนักงาน จ�ำได้ว่าทุกวันพฤหัสบดี
ทนายความทกุ คนต้องเข้าประชุมพรอ้ มกัน โดยท่านอาจารยจ์ ะเปน็ ผ้กู ำ� กับ
การประชุมเพื่อให้ทนายความอาวุโสถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์ให้เพื่อน
ร่วมงานและรุ่นน้องฟัง เล่าปัญหาที่เกิดขึ้นในคดีต่าง ๆ ช่วยกันออกความ
คิดเห็น โดยท่านอาจารย์จะเป็นผู้รับฟังและช้ีให้ทนายความแต่ละคนแสดง
ความคิดเห็น ท่านจะให้แนวทางในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ในงานของ
ทนายความทกุ คน อนั เปน็ ระบบทไ่ี มเ่ คยมใี นสำ� นกั งานทนายความแหง่ ใดมา
กอ่ น ทำ� ใหท้ นายความทกุ คนตน่ื ตวั แสวงหาความรเู้ พมิ่ เตมิ ทบทวนกฎหมาย
เอาใจใสต่ อ่ งานทีไ่ ด้รับมอบหมาย กลวั วา่ ถา้ ถกู อาจารย์ชใ้ี หต้ อบ จะตอบไม่
ได้ ประสบการณต์ า่ ง ๆ ทที่ นายความแตล่ ะคนประสบมา จะถกู ถา่ ยทอดเลา่
ให้ฟังเปน็ อุทาหรณแ์ ก่คนอน่ื ๆ อนั เป็นการเพมิ่ พนู ความรู้และศกั ยภาพของ
ทนายความทกุ คนไปพรอ้ มกนั
160
ท่านอาจารย์สอนให้ทนายความต้องวางตัวอย่างมีเกียรติ มีศักด์ิศรี
เอาใจใส่ลูกความ มีการก�ำหนดให้ต้องท�ำรายงานเพ่ือให้ทราบถึงความ
เคลื่อนไหวของคดีทุกระยะ ทุกคนจะต้องจ�ำหน่ายแฟ้ม รายงานให้ท่าน
อาจารย์รับทราบในงานท่ีปฏิบัติแต่ละคร้ัง เพื่อขอแนวทางการท�ำงานจาก
ท่านอาจารย์ สิ่งน้ีเป็นระเบียบปฏิบัติที่ต้องท�ำอย่างสม�่ำเสมอ เพื่อให้ท่าน
อาจารยไ์ ดร้ บั รคู้ วามเคลอ่ื นไหวของทกุ คดใี นสำ� นกั งาน และแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ
ไดอ้ ย่างถูกต้องและทนั ท่วงที
โดยท่ีท่านอาจารย์เป็นผู้มีความรอบรู้ กว้างขวางในทุกเรื่อง ท่าน
เป็นปรมาจารย์ทางกฎหมายของประเทศ เป็นผู้น�ำทางการเมือง โดยด�ำรง
ต�ำแหน่งประธานรัฐสภาหลายสมัย ทั้งยังเป็นผู้ท�ำประโยชน์คุณูปการ
แก่สังคมด้วยน้�ำใจที่มีแต่ความเมตตาและการให้ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่ทุก
คน สร้างกุศลเพื่อประโยชน์ส่วนรวม อุทิศตัวเพ่ือบ้านเมืองมาโดยตลอด
โดยเฉพาะทา่ นชอบบรจิ าค ทำ� บญุ กศุ ล สรา้ งวดั วาอาราม มลู นธิ ิ โรงพยาบาล
เช่น การสร้างวัดเทวราชกุญชรด้วยไม้สักทองท้ังหลัง การสร้างตึก สก.
ณ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และอ่ืน ๆ อีกมากจนนับไม่ถ้วน ที่ส�ำคัญคือ
ทา่ นเปน็ ผู้ทร่ี ักเกยี รตยิ ศและศกั ด์ศิ รี ยึดมนั่ ในความถกู ต้อง คณุ ธรรม และ
เมตตาธรรมอย่างแท้จริง อันควรค่าท่ีข้าพเจ้ายกย่องท่านไว้แต่แรกว่าเป็น
มหาบรุ ุษผปู้ ระเสริฐ
เม่ือทนายความแห่งนี้ได้มีวาสนา ได้อยู่กับคนท่ีเป็นมหาบุรุษ รอบรู้
ในทุกด้าน และเปี่ยมคุณธรรมอย่างแท้จริงเช่นนี้ จึงมีโอกาสได้เรียนรู้
ซึมซบั รบั ฟังประสบการณ์ แงค่ ดิ มมุ มองต่าง ๆ ท่ที ่านอาจารย์น�ำมาสอน
นำ� มาถา่ ยทอดบอกเลา่ วเิ คราะหใ์ หพ้ วกเราฟงั เปน็ ประจำ� ทำ� ใหท้ นายความ
แห่งนี้มีความรู้ มีประสบการณ์เพิ่มพูนมากขึ้นทุกวัน และเข้าใจถึงวิธีการ
จดั การกับปัญหาตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ได้อย่างถกู ต้อง
161
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวนิ
ตอนตกเยน็ เมอ่ื เลกิ งานของทกุ วนั ทา่ นอาจารยจ์ ะลงสนามแบดมนิ ตนั
เลน่ กบั ทนายความและเจา้ หนา้ ทที่ กุ วนั อยา่ งเปน็ กนั เอง ไมถ่ อื ตวั ยง่ิ เกดิ เปน็
ความรกั และกระชบั สายสมั พนั ธใ์ หแ้ นน่ ขนึ้ มนั เปน็ ความอบอนุ่ และความสขุ
ของครอบครัวใหญ่ ณ ส�ำนักงานแห่งนี้ โดยมีท่านอาจารย์เป็นศูนย์รวมใจ
ของทกุ คน ทกุ ๆ ปที า่ นอาจารยแ์ ละท่านอาจารย์หญงิ จะจัดงานเลี้ยงฉลอง
ปีใหม่ใหพ้ วกเราได้รนื่ เริงเปน็ สุข และแจกทองใหท้ ุกปีไมเ่ คยขาด
นอกจากน้ี ท่านอาจารย์ยังดูแลห่วงใยในทุกข์สุขของทนายความ
และเจ้าหน้าทที่ ุกคนเหมือนลูกหลานของทา่ นเอง ใครเจบ็ ไข้ได้ป่วย ประสบ
อุบัติเหตุ ต้องเสียค่ารักษาพยาบาลก่ีหมื่นก่ีแสน ท่านอาจารย์ก็ช่วยเหลือ
มาโดยตลอด โดยไมเ่ คยทอดท้งิ ใคร ขา้ พเจา้ เองกไ็ ดท้ ่านอาจารยช์ ่วยเหลอื
ไว้จากคราวที่ป่วยเป็นพังผืดในล�ำไส้เม่ืออายุได้ประมาณ ๓๐ ปีเท่านั้น
หมอโรงพยาบาลบำ� รงุ ราษฎรบ์ อกใหต้ อ้ งผา่ ตดั ลำ� ไสแ้ ละตอ้ งหอ้ ยถงุ ขบั ถา่ ย
ไว้ที่หน้าท้อง ท่านอาจารย์ไม่ยอมให้ข้าพเจ้าต้องเสียอนาคตจากการท�ำ
เช่นนั้น ท่านได้ติดต่อหมอผู้เชี่ยวชาญโรงพยาบาลศิริราชระดมคณะแพทย์
มาช่วยกันตรวจรักษา โดยท่านดแู ลอยา่ งใกล้ชดิ ในทส่ี ุดข้าพเจ้ากห็ ายขาด
จากโรคดังกล่าวโดยไม่ต้องผ่าตัดใด ๆ เลยมาจนทุกวันน้ี หากไม่มีท่าน
อาจารยแ์ ล้ว ปา่ นน้ีไม่รวู้ า่ ขา้ พเจา้ จะเปน็ อย่างไร จะใช้ชีวิตอยา่ งไร หากต้อง
ผา่ ตดั หอ้ ยถงุ นบั เปน็ ความโชคดเี หลอื เกนิ ทมี่ ที า่ นอาจารยป์ กปอ้ งคมุ้ ครองอยู่
จงึ ได้รอดมาและอยดู่ มี สี ุขจนทุกวนั น้ี
ในด้านความเป็นอยู่ ท่านอาจารย์กห็ ว่ งใยทุกคนในสำ� นกั งาน ต้องการ
ใหม้ ชี วี ติ อยอู่ ยา่ งมน่ั คง ทา่ นไดจ้ ดั สรรทดี่ นิ มาแบง่ เปน็ แปลง ๆ ใหท้ นายความ
และเจ้าหน้าท่ีซ้ือไว้เพื่อใช้เป็นที่ปลูกบ้านอยู่อาศัยในราคาถูก และให้ผ่อน
ช�ำระจากการหักเงินเดือนตามก�ำลังความสามารถของแต่ละคน นับเป็น
ความกรณุ าและหว่ งใยเออ้ื อาทรตอ่ ผอู้ ยใู่ ตร้ ม่ ไมช้ ายคาของทา่ นอยา่ งจรงิ ใจ
ยากจะหาใครเสมอได้ ขา้ พเจ้ากเ็ ป็นคนหนึ่งท่ีได้รบั บญุ คุณและความเมตตา
162
จากท่านอาจารย์ จนทุกวันน้ีมีบ้านหลังใหญ่ในท่ีดินกว่า ๑ ไร่ ก็เร่ิมแรก
มาจากการประทานของทา่ นอาจารยน์ น่ั เอง แมแ้ ตเ่ งนิ ปลกู บา้ นสรา้ งรากฐาน
ความมน่ั คงในชวี ติ และอนาคต ทา่ นอาจารยก์ ก็ รณุ าใหย้ มื มาปลกู บา้ นทงั้ หลงั
โดยให้หกั เงินเดอื นเพยี งเลก็ น้อยทยอยใช้คนื ซงึ่ ขา้ พเจา้ กใ็ ชค้ ืนบ้างไม่ใช้คนื
บา้ ง ทา่ นอาจารยก์ ไ็ มเ่ คยทวงถาม กลบั ยงั ใหค้ วามเมตตาปรานแี ละใหโ้ อกาส
ต่าง ๆ ในชีวติ แก่ข้าพเจ้าอกี มากมาย แมใ้ นครง้ั เมอ่ื ขา้ พเจ้าแต่งงาน จ�ำไดไ้ ม่
เคยลืม ท่านอาจารย์กรุณาไปท�ำพิธีสวมมงคลสมรสบ่าวสาวให้ ณ บ้าน
เจ้าสาวทอ่ี �ำเภอดำ� เนินสะดวก จงั หวดั ราชบุรี สมัยนนั้ รถยนต์เข้าไม่ถึงบ้าน
ต้องนั่งเรือหางยาวเข้าไป ท่านอาจารย์ที่ขณะน้ันเป็นถึงประธานรัฐสภา
พรอ้ มทัง้ เพื่อน ๆ รว่ มส�ำนกั งานมากมายกย็ ังอตุ ส่าหใ์ ห้เกียรติ ให้ความรกั
แก่ข้าพเจ้า นั่งเรือหางยาวเป็นขบวนมาท�ำพิธีให้แก่ข้าพเจ้าต้ังแต่เช้ามืด
ยังความปลื้มปีติให้แก่ข้าพเจ้าและครอบครัว ตลอดจนชาวด�ำเนินสะดวก
ท่ีมาต้อนรับอย่างย่ิง เป็นที่กล่าวขวัญชื่นชมในน�้ำใจความเมตตาและบารมี
ของทา่ นอาจารย์มาจนทุกวนั นอี้ ยา่ งไมร่ ู้ลืม
ในส่วนตัวข้าพเจ้า ถือว่าเป็นทนายความท่ีโชคดีคนหน่ึงท่ีได้มีโอกาส
ทำ� งานสำ� คัญ ๆ ทีท่ ่านอาจารย์มอบหมายให้อย่างมากมาย ตลอดระยะเวลา
กว่า ๒๐ ปที ีอ่ ยู่ ณ ส�ำนกั กฎหมายแห่งน้ี ไมว่ ่าจะเป็นคดีของนกั ธุรกิจ ทม่ี ี
ทุนทรพั ยห์ ลายหม่ืนลา้ นบาท คดีของนักการเมืองระดับชาติ คดีของผหู้ ลกั
ผู้ใหญ่ในบ้านเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายลูกความ หรือเป็นคู่กรณีฝ่ายตรงข้าม
หรือแม้แต่คดีส�ำคัญของประเทศที่เป็นประวัติศาสตร์ อันเป็นท่ีสนใจและ
ตดิ ตามของประชาชน รวมตลอดถงึ งานสำ� คญั ทตี่ อ้ งทำ� ถวายเจา้ ฟา้ เจา้ แผน่ ดนิ
เม่ือข้าพเจ้าได้รับโอกาสและความไว้วางใจจากท่านอาจารย์ ข้าพเจ้า
ก็ได้ทุ่มเทอย่างสุดก�ำลังความสามารถ ไม่ว่าจะยากเย็นล�ำบากเพียงใด ก็มี
แต่จิตใจท่ีมุ่งมั่นที่จะต้องท�ำให้ส�ำเร็จ มิใช่เป็นเพียงความรู้สึกว่าเป็นหน้าที่
ที่ต้องท�ำ แต่ได้ท�ำด้วยจติ ใจท่ีจงรกั ภักดี มงุ่ มั่นสนองคุณรบั ใชท้ า่ นอาจารย์
163
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคิดลนาวนิ
ผทู้ ี่ขา้ พเจา้ เคารพรักและเทิดทนู สูงสดุ ไม่ต้องใหท้ า่ นอาจารยผ์ ดิ หวงั ในงาน
ทที่ า่ นกรุณาใหค้ วามไว้วางใจมอบหมายใหท้ �ำ และข้าพเจา้ ก็ภูมใิ จตลอดมา
เพราะเชื่อว่า ทุกเร่ืองท่ีท่านอาจารย์มอบหมายมานั้น ข้าพเจ้าไม่เคยท�ำให้
ท่านอาจารย์ผดิ หวงั เลยแม้แตเ่ ร่อื งเดียว และก็เชอ่ื วา่ ท่านอาจารยก์ ็คงภูมิใจ
ในลูกศิษย์ทที่ า่ นอุ้มชสู ั่งสอนมาคนนี้ด้วยเช่นกัน
แมท้ กุ วนั นจ้ี ะตอ้ งพรากจากสำ� นกั กฎหมายอนั เปน็ ทร่ี กั ยงิ่ ตอ้ งจากทา่ น
อาจารยม์ านานกวา่ ๑๕ ปี ซึ่งเป็นไปตามกาลเวลาและวฏั จักรท่ีแปรผันไป
ของโลก ดงั คำ� กล่าวทว่ี า่ ไม่มงี านทไ่ี ม่อาจเลิกรา จนข้าพเจ้ามากอ่ ตัง้ สำ� นัก
กฎหมายของตวั เอง แต่สายใยแห่งความผกู พนั ของพวกเราชาวซอย ๕ ทมี่ ี
ตอ่ ทา่ นอาจารยแ์ ละมีตอ่ กันกย็ งั คงเหนยี วแน่นยง่ั ยืนตลอดมา ทา่ นอาจารย์
ก็ยังคงตามห่วงใยและดูแลพวกเราอยู่เสมอ คอยชื่นชมยินดีเม่ือลูกศิษย์
ประสบความส�ำเร็จ และเป็นก�ำลังใจให้ในยามท่ีประสบปัญหาต้องฝ่าฟัน
ข้าพเจ้ารู้สึกดีใจทุกคร้ังที่มีโอกาสได้ไปกราบอวยพรท่านอาจารย์ในงาน
วนั เกดิ ของท่านทกุ ๆ ปี
ทุกวันนี้ ข้าพเจ้าไม่เคยลืมเลือนค�ำสอนสั่งท่ีท่านอาจารย์อบรม
กล่อมเกลาปลูกฝงั ไวต้ ลอดเวลากว่า ๒๐ ปที อี่ ย่กู ับทา่ น จนสามารถประสบ
ความส�ำเร็จในชีวิตนักกฎหมายได้ ข้าพเจ้าได้น�ำทุกส่ิงทุกอย่างท่ีได้รับจาก
ท่านอาจารย์มาเป็นแนวทางในการท�ำงานและการบริหารงาน การด�ำเนิน
ชีวิต ตลอดจนจดจ�ำศิลปะในการเจรจา พบปะกับผู้คนมากมายในสังคม
ทุกระดับช้ัน รวมท้ังไม่ลืมการวางตัวของทนายความให้เป็นท่ีน่านับถือและ
ยอมรับจากคนในสังคม ที่ส�ำคัญคือ เป็นตัวของตัวเอง ไม่ยอมก้มหัวให้กับ
ส่งิ ทไี่ มถ่ กู ต้องและไมช่ อบธรรม เหมอื นเชน่ ทท่ี า่ นอาจารยย์ ดึ ถือและปฏบิ ตั ิ
มา สิ่งเหลา่ น้ีกลับบนั ดาลผลให้เกดิ สิ่งทดี่ ี ๆ ในชวี ิตแก่ข้าพเจา้ มาโดยตลอด
ขา้ พเจา้ ยดึ ถอื และดำ� รงไวซ้ งึ่ คำ� วา่ เกยี รตยิ ศของ “ทนายความสำ� นกั กฎหมาย
ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน” ตลอดมา และจะยึดถือตลอดไป เพราะค�ำค�ำนี้
164
คร้ังหนึ่งเป็นค�ำท่ีสร้างรากฐานแห่งชีวิตที่ดีให้แก่ข้าพเจ้า เพราะเม่ือค�ำค�ำ
น้ีมาต่อท้ายช่ือของข้าพเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าจะรู้สึกมีเกียรติ มีความภาคภูมิใจ
มีพลัง และความแกรง่ กล้า เชื่อม่ันในตนเองท่จี ะเผชญิ กับปญั หาใด ๆ กต็ าม
และแมป้ จั จบุ นั จะตอ้ งเตมิ คำ� วา่ อดตี ไวข้ า้ งหนา้ อกี คำ� หนงึ่ กม็ ไิ ดท้ ำ� ใหค้ ณุ คา่
ในความยง่ิ ใหญข่ องสำ� นกั กฎหมาย ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวนิ นเ้ี ปลย่ี นแปลงไป
แต่อย่างใดเลย
ท้ายท่ีสุด ข้าพเจ้าขอกราบขอบพระคุณแทบเท้าของท่านอาจารย์อีก
ครงั้ หนง่ึ ในทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งทไี่ ดร้ บั มาจากทา่ นอาจารย์ ซง่ึ จะขอจารกึ พระคณุ
อนั ยิง่ ใหญน่ ไ้ี ว้ตลอดไปชัว่ ชวี ิต น่แี หละคือความประทบั ใจท่ไี ม่มวี ันลมื เลือน
ท่ไี ด้จากส�ำนกั กฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวนิ
165
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวนิ
นายพลพรี ์ ตลุ ยสวุ รรณ
ผมเข้าเป็นทนายความที่ส�ำนักกฎหมาย ดร.
อกุ ฤษ มงคลนาวิน ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ จนถงึ ปี พ.ศ.
๒๕๔๔ ผมจึงได้ลาออก และได้มาเปิดส�ำนักงาน
กฎหมายร่วมกับพ่ีฉัตรทิพย์ (นายฉัตรทิพย์
ตัณฑประศาสน์) โดยใชช้ อื่ บรษิ ทั สำ� นกั กฎหมาย
นิติพีรฉัตร จ�ำกดั ตัง้ อย่ทู ่ีชน้ั ๑๐ อาคารสยามกลการ ถนนพระรามท่ี ๑
ตลอดเวลา ๒๐ ปีที่ผมเป็นทนายความท่ีส�ำนักกฎหมายแห่งน้ี ผมได้
รับการอบรมสั่งสอนและให้ความรู้ในการประกอบวิชาชีพกฎหมายจาก
ท่านอาจารย์เป็นประจ�ำอยู่เสมอมา ท้ังในการประชุมประจ�ำสัปดาห์ของ
ส�ำนักกฎหมาย และในการประชุมคดีที่ผมเป็นทนายความผู้รับผิดชอบอยู่
ทา่ นอาจารยจ์ ะสอนผมอยเู่ สมอวา่ ในการทำ� งานในฐานะทนายความนน้ั จะ
มีความผดิ พลาดไมไ่ ด้ ต้องทำ� งานดว้ ยความรอบคอบและมคี วามระมดั ระวงั
ในการท�ำงานอย่างดีที่สุด โดยท่านจะใช้ค�ำพูดง่าย ๆ เพียงสองค�ำ คือ
“อย่าชยุ่ ” เชน่ ในการท�ำคดีอาญา ทา่ นอาจารยบ์ อกกับผมเสมอว่า หากเปน็
ทนายความในคดีอาญา ต้องไปดูสถานท่ีเกิดเหตุทุกครั้งเพื่อให้เห็นกับตา
ตวั เอง และไดร้ เู้ หน็ ขอ้ เทจ็ จริงที่ถกู ตอ้ ง ไมใ่ ชไ่ ปเชอ่ื ตามทคี่ นอนื่ บอก และ
หากเป็นทนายความในคดีแพ่งที่พิพาทในเร่ืองท่ีดิน ก็ต้องไปดูที่ดินพิพาท
ด้วยตนเองทุกครั้ง ค�ำสอนของท่านอาจารย์ในเร่ืองน้ีผมก็ได้ยึดเป็นหลักใน
การท�ำงานของผมตลอดมาจวบจนทกุ วนั นี้
ในการท�ำงานท่ีส�ำนักกฎหมายแห่งนี้ ผมจะได้รับโอกาสและความ
ไว้วางใจจากท่านอาจารย์ให้เป็นทนายความผู้รับผิดชอบในการท�ำคดีท่ี
มีความส�ำคัญระดับประเทศ และคดีท่ีมีทุนทรัพย์หลายหม่ืนล้านบาท
166
หลายคดี โดยจะร่วมท�ำงานกับพ่ีฉัตรทิพย์เสมอ เนื่องจากท่านอาจารย์
วางหลักไว้ว่า การท�ำงานท่ีจะให้ได้ผลดีที่สุดกับลูกความนั้น จะต้องให้
ทนายความรว่ มกนั ทำ� งานเปน็ ทมี ทงั้ น้ี เพอ่ื ชว่ ยกนั ระดมสมองในการวางแผน
คดีและแนวทางต่อสู้คดีให้กับลูกความให้ดีที่สุด โดยให้ทนายความทุกคน
ตระหนักว่า อย่าทะนงตนว่าตนเองเก่งเพียงคนเดียว เพราะในบางครั้งเรา
อาจจะมองไมเ่ ห็นปัญหา แตเ่ พือ่ นร่วมงานอาจมองเหน็ ปัญหาเหล่าน้ันและ
ช่วยเราได้ ทำ� ใหแ้ ผนคดไี ม่มีจดุ ออ่ นหรอื ขอ้ บกพรอ่ ง
ส่ิงที่ผมมีความประทับใจและความภาคภูมิใจสูงที่สุดในชีวิตคือ เมื่อ
ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ท่านอาจารย์ได้ให้โอกาสผมเป็นทนายความผู้ถวายงาน
ด้านกฎหมายแด่สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งผม
และพ่ีฉัตรทิพย์ก็ได้ถวายงานรับใช้เบื้องพระยุคลบาทตลอดมานับแต่บัดนั้น
โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเครื่อง
ราชอิสริยาภรณ์ชั้นประถมาภรณ์ช้างเผือกเป็นกรณีพิเศษให้แก่ผม และ
พี่ฉัตรทิพย์ ซ่ึงผมรู้สึกส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอย่างหาท่ีสุด
มิได้ และต่อมาเมื่อพระองค์เสด็จข้ึนทรงราชย์สืบราชสันตติวงศ์เป็นสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์รัชกาลท่ี ๑๐ ผมก็ยังคงได้ถวายงานด้าน
กฎหมายต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
หากจะให้ผมบรรยายถึงพระคุณที่ท่านอาจารย์มีต่อผมน้ัน คงจะต้อง
ใช้เวลาเล่านานเป็นวัน เพราะนอกจากผมได้ท�ำงานอยู่กับท่านอาจารย์กว่า
๒๐ ปี และผมยงั เปน็ หลานของทา่ นอาจารย์ ซงึ่ ทา่ นอาจารยไ์ ด้ใหค้ วามรกั
ความเมตตา และให้ความสนบั สนุนกบั ผมในทกุ ด้าน ๆ ตลอดมา แม้ในช่วง
เวลาที่ผมมาเปิดส�ำนักงานกฎหมายเป็นของตนเอง ท่านอาจารย์ก็ยังให้
เกียรติมาเยี่ยมที่ส�ำนักงานและยังอวยพรให้ผมประสบความส�ำเร็จในหน้าที่
การงานอีกด้วย ดังน้ันจึงกล่าวได้ว่า ชีวิตผมในทุกวันน้ี ที่มีเรื่องราวดี ๆ
167
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคิดลนาวนิ
ตา่ ง ๆ เกดิ ขึน้ มากมายนัน้ หากไม่มที ่านอาจารย์คอยสนบั สนุนอยู่ ก็คงไมม่ ี
ผมอย่างทีเ่ ปน็ อย่ใู นทุกวันนี้
พระคุณของท่านอาจารย์จึงมากมายเหลือคณานับ และผมรู้สึกส�ำนึก
ในพระคุณของท่านอาจารยอ์ ยูเ่ สมอ และจะมีอยูต่ ลอดไปตราบจนช่ัวชีวิตน้ี
ดังน้นั ผมจึงขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรัย จงดลบันดาลใหท้ า่ นอาจารย์
มสี ขุ ภาพแขง็ แรงดงั เอราวณั มอี ายุเกนิ กว่า ๑๐๐ ปี และมบี ารมีแผ่ไพศาล
ใหเ้ ปน็ ทีพ่ ่งึ ของลูกหลานและบรวิ ารตอ่ ไป
168
นายเทวญั อทุ ยั วฒั น์
เป็นเวลากว่า ๓๕ ปีมาแล้ว ที่ผมได้เคยมี
โอกาสเขา้ ทำ� งาน ณ ส�ำนกั กฎหมายแหง่ น้ี ผมจำ�
ได้ชัดเจนว่าผมเร่ิมเข้าท�ำงานวันแรกเมื่อวันที่ ๑
กรกฎาคม ๒๕๒๕ หลังจากจบจากธรรมศาสตร์
ได้เพียง ๔ เดือน ในช่วงปีแรกถือว่าเป็นปีท่ีมีความหมาย มีคุณค่า และมี
ความส�ำคัญมากที่สุดในชีวิตท�ำงานของผมจนถึงปัจจุบัน ผมได้เรียนรู้ใน
หลายสง่ิ หลายอย่าง โดยเฉพาะหลกั ๓ ประการที่ทา่ นอาจารยไ์ ด้สอนไวใ้ ห้
นกั กฎหมายทกุ คนพงึ ระลกึ เสมอในการทำ� งานและประกอบวชิ าชพี กฎหมาย
น่นั คอื หลักนิติธรรม ยุติธรรม และสนั ตธิ รรม
ส่ิงท่ีส�ำคัญซ่ึงส�ำนักกฎหมายของเรามีความแตกต่างจากส�ำนักงาน
กฎหมายอนื่ สำ� หรบั ผมนนั้ มอี ยอู่ ยา่ งนอ้ ย ๒ ประการ ประการแรกคอื ความ
เมตตา ซง่ึ ผมเชอ่ื วา่ พวกเราทกุ คนทีท่ �ำงานอยู่ ณ ส�ำนกั กฎหมาย ดร. อกุ ฤษ
มงคลนาวิน ตา่ งไดร้ ับความเมตตากรุณาจากทา่ นอาจารยแ์ ละท่านอาจารย์
ผู้หญิงอย่างเปี่ยมล้น และพวกเราไม่เคยคิดว่าเรามีนายจ้างหรือเจ้านาย
แต่เรามีอาจารย์ที่เปรียบเสมือนบิดาที่คอยดูแลส่ังสอนลูกศิษย์ ทัง้ ในด้าน
การงานและการใชช้ วี ติ สง่ิ ทที่ า่ นอาจารยส์ อนหลาย ๆ เรอ่ื งยงั คงอยใู่ นจติ ใจ
และเปน็ หลกั ปฏบิ ัตใิ หก้ ับผมตลอดมา เชน่ ความกตญั ญู ตรงต่อเวลา และ
อย่าชุ่ย เป็นต้น ผมจ�ำได้ว่ามีบางช่วงเวลาท่ีผมได้เคยท�ำงานผิดพลาด แต่
เมื่อผมน�ำความเข้าปรึกษาท่านอาจารย์ ก็ได้รับก�ำลังใจและความเมตตา
เป็นพลังปัญญาให้ผมสามารถแก้ไขความผิดพลาดเหล่าน้ันได้ตามสมควร
และเปน็ บทเรยี นทจ่ี ดจำ� ไมใ่ หเ้ กดิ ขน้ึ อกี ในประการทสี่ องนั้น คอื ความผกู พัน
ระหวา่ งสมาชิกในสำ� นกั งาน ไม่วา่ จะเป็นแม่บ้าน คนขบั รถ คนถ่ายเอกสาร
พนักงาน ทนายอาวุโส ทป่ี รกึ ษาตา่ งก็มคี วามรักใครส่ นทิ สนมเหมือนบุคคล
169
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวนิ
ในครอบครัวเดียวกันและความผูกพันน้ันยังอยู่กับพวกเราตลอดมาไม่เคย
เสอื่ มคลายสำ� หรบั ผมการทไ่ี ดม้ โี อกาสทำ� งานณสำ� นกั กฎหมายแหง่ นใ้ี น๒ชว่ ง
เวลา โดยเฉพาะในช่วงท่ีกลับมาจากการศึกษาต่อต่างประเทศน้ัน ถือได้ว่า
เป็นช่วงเวลาส�ำคัญและมีคุณค่าแก่ผมเป็นอย่างยิ่ง ผมส�ำนึกอยู่ตลอดเวลา
วา่ การทผ่ี มไดม้ คี วามรู้ มปี ระสบการณท์ ห่ี ลากหลาย และมโี อกาสไดท้ ำ� งาน
ทงั้ ในภาครฐั และภาคเอกชนในอดตี ทผี่ า่ นมาจนถงึ ปจั จบุ นั กเ็ ปน็ เพราะผมได้
เรม่ิ ท�ำงานทสี่ ำ� นกั กฎหมายแห่งนี้เปน็ ทีแ่ รกเมอ่ื อายเุ พยี ง ๒๑ ปเี ศษ ทีน่ ี่จงึ
เปรียบเป็นเหมือนเบ้าหลอมตัวผมให้เป็นผมท้ังในการท�ำงานตลอดจนการ
ใชช้ วี ติ ทกุ วนั น้ี ผมมคี วามภาคภมู ใิ จทไี่ ดเ้ คยมโี อกาสเปน็ สมาชกิ คนหนง่ึ ของ
ส�ำนกั กฎหมาย และมคี วามส�ำนึกในพระคุณของท่านอาจารย์ ท่านอาจารย์
ผหู้ ญิงและรุ่นพี่ ๆ ตลอดจนเพ่อื นร่วมงานทกุ คนตลอดมา ผมดใี จท่ีมีโอกาส
ได้ถ่ายทอดความรู้สึกนี้และเล่าร้อยเรียงเป็นตัวหนังสือเพื่อเป็นบทเล็ก ๆ
หนึ่งแห่งประวัติศาสตร์การก่อต้ังส�ำนักกฎหมาย และไม่ว่าเวลาจะผ่านไป
นานเท่าใด หลักแห่งความถูกต้องของนิติธรรม หลักแห่งความเสมอภาค
ยุติธรรม และหลักแหง่ ความมสี ิทธิเสรภี าพจะคงด�ำรงต้ังม่ันอยใู่ นจติ ใจของ
พวกเราทกุ คน หากมคี ำ� หนง่ึ เดยี วทจ่ี ะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความประทบั ใจทง้ั หมด
ทผ่ี มไดก้ ลา่ วมานี้ ค�ำหนง่ึ เดยี วนน้ั คอื “ศรทั ธา” และผมใครข่ อขอบพระคณุ
ท่านอาจารย์ ท่านอาจารย์ผู้หญิงและผู้มีพระคุณทุก ๆ ท่านท่ีท�ำให้ผม
เปน็ ผมจวบจนทุกวันน้ี
170
ดร.ประภสั ร์ จงสงวน
“เลขท่ี ๑๐ สขุ มุ วทิ ซอย ๕”.....สำ� หรบั คน
ภายนอกค�ำค�ำน้ีคงไมม่ ีความหมายอะไรเปน็ พิเศษ
แต่ส�ำหรับพวกเราทุกคนที่เคยท�ำงานที่นี่ ค�ำค�ำนี้
มคี วามหมาย “พเิ ศษ” ทยี่ ง่ิ ใหญแ่ ละจะยงั คงอยใู่ น
ความทรงจ�ำของพวกเราตลอดไป......เพราะทีน่ คี้ อื
“สำ� นกั กฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวนิ ”
ส�ำหรับพวกเรา ความ “พิเศษ” ของ “ส�ำนักกฎหมาย ดร. อุกฤษ
มงคลนาวนิ ไม่ไดอ้ ย่ทู เี่ ปน็ อาคารท่สี วยงาม (จนไดร้ บั การขนานนามวา่ เปน็
“White House” ประเทศไทย) หรือการมีอุปกรณ์เครื่องใช้ส�ำนักงานที่
ทนั สมัย แต่อย่ทู ก่ี ารมี “ทา่ นอาจารย์อกุ ฤษ มงคลนาวิน” เป็นอาจารยข์ อง
พวกเรา ทา่ นอาจารยไ์ ดท้ ำ� ใหส้ ถานทแี่ หง่ นไี้ มเ่ ปน็ เพยี งแตส่ ำ� นกั งานกฎหมาย
ที่มีแต่ “คนท�ำงาน ในท่ีท�ำงาน” แต่ท่านอาจารย์ได้ท�ำให้สถานที่น้ีเป็นท้ัง
“บ้าน” และ “โรงเรียน” ของพวกเรา เป็นท่ีท่ี ให้ความรัก ความอบอุ่น
ความเขา้ ใจ ความรู้ และเปน็ ท่ีปลกู ฝังคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมให้กับพวกเรา
เพือ่ ใหพ้ วกเราเป็นคน (นกั กฎหมาย) ทม่ี คี ุณภาพของสังคมตลอดไป
ผมเอง...ถึงแม้จะอยู่กับท่านอาจารย์เพียงช่วงเวลาส้ัน ๆ แต่ท่าน
อาจารย์ก็ให้ความเมตตาอบรมส่ังสอนผมเป็นอย่างดี ต้ังแต่วันแรกท่ีผมได้
รับความกรณุ าจากทา่ นอาจารย์รับเข้าทำ� งานเมอ่ื ปี ๒๕๒๔ จวบจนวนั ที่ผม
ไปกราบลาท่านอาจารย์เพ่ือไปท�ำงานที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยเมื่อ
ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ และโดยท่ีการท�ำงานกับท่านอาจารย์เป็นการท�ำงานครั้ง
แรกในชีวติ การท�ำงานของผม ดงั นน้ั ทกุ อยา่ งท่ีทา่ นอาจารยไ์ ดอ้ บรมส่ังสอน
ผมจึงเป็นเสมือนเบ้าหลอมท่ีหล่อหลอมให้ผมเป็น “ผม” ท่านอาจารย์ได้
171
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคิดลนาวนิ
ปลูกฝังแนวคิดทั้งในส่วนที่เก่ียวกับการท�ำงานที่จะต้องท�ำอย่างเต็มที่
เตม็ ความสามารถ อย่างมจี ดุ ยืนบนความถูกต้อง ไม่วา่ เราจะอยใู่ นตำ� แหนง่
หรือท�ำหน้าท่ีอะไร ไปจนถึงการปฏิบัติตัวและการวางแผนที่เป็นแบบอย่าง
ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา และความสุขุมท่ีจะต้องยืนอยู่บนขาของตัวเองด้วย
ความรู้ความสามารถของตัวเอง ซึ่งในส่วนนี้ผมยังจ�ำค�ำของท่านอาจารย์ได้
เป็นอยา่ งดี ท่านพดู กบั ผมวา่ “อย่าไปอาศัยร่มเงาคนอน่ื เพราะถ้าร่มเงาน้ัน
ไมอ่ ยแู่ ล้ว เราจะอยูอ่ ย่างไร ต้องว่ิงไปหาร่มเงาอน่ื ทกุ ๆ คร้งั อย่างนนั้ หรือ
เพราะฉะน้นั เราจะตอ้ งสร้างร่มเงาของตวั เอง.....” คำ� สอนของท่านอาจารย์
เหล่าน้ีอยู่ในหัวใจและในหัวผมตลอดเวลาและเป็นส่ิงที่ผมยึดถือปฏิบัติตาม
อย่างเคร่งครัดตงั้ แตว่ ันแรกทผ่ี มเขา้ ทำ� งานท่ีการทางพิเศษแห่งประเทศไทย
เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ในตำ� แหน่งพนกั งานบริหารทวั่ ไป จนถึงด�ำรงต�ำแหนง่
ผวู้ า่ การฝา่ ยกฎหมายและกรรมสทิ ธทิ์ ดี่ นิ จนยา้ ยไปทำ� งานทอี่ งคก์ ารรถไฟฟา้
ขนสง่ มวลชน (ภายหลงั ขยายขอบเขตอำ� นาจหนา้ ทแี่ ละยกระดบั ขน้ึ เปน็ การ
รถไฟฟ้าขนสง่ มวลชนแหง่ ประเทศไทย) ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมือ่ ปี ๒๕๔๐
ในต�ำแหน่งผู้อ�ำนวยการ (ภายหลังเปลี่ยนต�ำแหน่งเป็นผู้ว่าการ) และเป็น
ผู้รับผิดชอบก่อสร้างรถไฟฟ้าใต้ดินสายแรกของประเทศไทย ตั้งแต่การจด
กรรมสิทธ์ิท่ีดิน การก่อสร้าง และการเปิดให้บริการ และได้มีโอกาสถวาย
งานรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องใน
โอกาสเสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงท�ำพิธีเปิดให้บริการรถไฟฟ้า นอกจาก
น้ันโครงการนี้ยังเป็นโครงการขนาดใหญ่ (มูลค่าโครงการมากกว่าแสนล้าน
บาท) โครงการเดยี วในประวตั ศิ าสตรก์ ารกอ่ สรา้ งทไี่ มม่ ขี อ้ พพิ าทแมแ้ ตเ่ รอ่ื ง
เดยี ว หลงั จากนนั้ ไดเ้ ปน็ ผชู้ ว่ ยรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงคมนาคม เมอ่ื ปี พ.ศ.
๒๕๕๖ และท้ายท่ีสดุ ไปท�ำงานท่กี ารการรถไฟแหง่ ประเทศไทย เมอ่ื ปี พ.ศ.
๒๕๕๗ ทำ� ให้การรถไฟฯ เริ่มมภี าพลักษณ์ท่ีดีข้นึ และเป็นผูว้ ่าการการรถไฟ
172
คนแรกในประวัติศาสตร์ของการรถไฟฯ ที่ปิดการเดินรถเพ่ือซ่อมทาง เป็น
ผู้น�ำค�ำขวัญ “เรา (การรถไฟฯ) จะกลับมาเป็นความภาคภูมิใจของคนไทย
และประเทศไทย” ทำ� ใหค้ นรถไฟมขี วญั และกำ� ลงั ใจทจ่ี ะปรบั ปรงุ การรถไฟฯ
ความส�ำเร็จในชีวิตการท�ำงานท้ังหมดของผมได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า
เพราะค�ำสอนของท่านอาจารย์ในวันนั้นที่มีส่วนผลักดันท�ำให้ผมมาอยู่ ณ
จุดนี้ในวันนี้ได้... ทั้ง ๆ ที่ผมไมไ่ ด้จบวิศวะ...และทกุ อย่างท่ผี มทำ� ได้กเ็ พราะ
“ทา่ นอาจารย์” และเลขท่ี ๑๐ สขุ ุมวทิ ซอย ๕... ผมขอกราบขอบพระคุณ
173
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคิดลนาวิน
นายรณชติ แยม้ สอาด
สำ� หรับผมคำ� ว่า “ลูกศิษย”์ กบั “อาจารย”์
นั้น เป็นค�ำท่ีกินความหมายอย่างกว้างขวางและ
ลกึ ซ้ึง เพราะในชีวิตนท้ี กุ ๆ คนย่อมตอ้ งเล่าเรียน
ในวัยท่ีต้องเรียน แต่ตัวผมเองนั้นค�ำสองค�ำนี้ได้
ตามติดผมเข้ามายังวัยท�ำงานแบบไม่สามารถแยก
ออกได้ ทีเ่ ปน็ เช่นน้เี พราะส�ำนักกฎหมาย ดร. อกุ ฤษ มงคลนาวิน แห่งนเี้ อง
เปน็ ทง้ั ทที่ ำ� งานแหง่ แรกในชวี ติ ผมเมอ่ื จบปรญิ ญาตรี และแหง่ แรกอกี เชน่ กนั
เมือ่ ผมกลบั มาจากการลาไปเรยี นปรญิ ญาโท ท้ังสองชว่ งเวลาทผี่ มทำ� หนา้ ที่
ทนายความตลอด ๑๐ ปีเศษเป็นต้นมาน้ัน ส�ำนักงานและท่านอาจารย์ใน
ฐานะหัวหน้าส�ำนักงานเป็นเสมือนเบ้าหลอม ไม่ว่าจะเป็นทนายความหรือ
บรรดาเจ้าหน้าท่ีต่างก็รู้ดีว่าตนเองต้องท�ำหน้าท่ีบทบาทของตนเองอย่างไร
เพอื่ ใหผ้ ลงานออกมาอย่างมอื อาชพี มีคณุ ภาพ ถูกต้อง และชอบธรรม
ตลอดช่วงเวลาที่ผมได้มีโอกาสท�ำงาน ณ ท่ีแห่งน้ี คงปฏิเสธไม่ได้ว่า
ท�ำไมบรรดาลูกความทั้งไทยและต่างประเทศจ�ำนวนมากถึงได้ไว้วางใจและ
มอบหมายให้ส�ำนักงานเป็นทนายความหรือที่ปรึกษากฎหมายให้ ท่ีเป็น
เช่นนี้เพราะแม้ท่านอาจารย์จะมีภารกิจของบ้านเมืองมากมายก็ตาม
แตท่ า่ นกย็ งั จดั สรรเวลาใหก้ บั การประชมุ รว่ มกบั ทนายความทงั้ สำ� นกั งานเปน็
ประจ�ำ รวมถงึ การตรวจแฟ้มงานทกุ ๆ แฟม้ ด้วยตนเอง และไมเ่ พียงแต่การ
ทำ� งานเทา่ นนั้ ชว่ งเวลาหลงั เลกิ งานเกอื บทกุ วนั ลานจอดรถหลงั สำ� นกั งานก็
จะแปรสภาพเป็นสนามแบดมินตัน เพือ่ ท่ีทนายความ เจา้ หน้าที่ แมก้ ระทง่ั
ญาติของท่านอาจารย์เอง และตัวท่านอาจารย์ก็จะลงมาเล่นกับพวกเรา
อย่างสนุกสนานเฮฮา เหมือนกับว่าให้ลืมเรื่องงานและหันมาออกก�ำลังกาย
อยา่ งเปน็ กันเองเสมือนหนึง่ เปน็ ครอบครวั เดยี วกัน
174
ขณะทผี่ มกำ� ลงั เขยี นบทความนี้ ภาพเกา่ ๆ แหง่ ความทรงจำ� ในสำ� นกั งาน
แห่งนกี้ พ็ ลนั ปรากฏข้นึ มาเอง ท�ำใหผ้ มรู้สึกดวี ่าส�ำนกั งานแหง่ นี้จะถกู จดจ�ำ
อย่างไมอ่ าจลมื เลอื นตลอดไป
175
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคิดลนาวนิ
นางสาวกงิ่ กมล สนิ มา
ดิฉันเร่ิมท�ำงานเป็น “ทนายความ” ที่ส�ำนัก
กฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน เม่ือวันท่ี ๙
พฤษภาคม ๒๕๒๑ ภายหลังศึกษาจบนิติศาสตร
บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๑) เหรียญทอง จาก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยที่ยังไม่ทันได้รับ
พระราชทานปริญญาบัตร ซ่ึงนับเป็นโชคดีมากส�ำหรับ “ผู้หญิง” ที่เรียน
สาขานิติศาสตร์ในยุคสมัยนั้น ท่ีเรียนจบ มีงานท�ำทันที และเป็นงานท่ีตรง
สาขาวชิ าชีพทีไ่ ดร้ ำ�่ เรียนมา นี่เปน็ ความประทับใจแรกท่ีเกิดข้ึน ที่ส�ำนกั งาน
กฎหมายแหง่ นที้ ไี่ ดใ้ หโ้ อกาส “ผหู้ ญงิ ” ไดพ้ สิ จู นค์ วามสามารถในการทำ� งาน
ในวิชาชพี กฎหมายเช่นเดยี วกับ “ผ้ชู าย”
การได้เร่ิมท�ำงานที่น่ีถือได้ว่าเป็นการเปิดโลกใบใหม่ (จากโลกใบเดิม
ที่แสนจะเรยี บงา่ ยของดฉิ ัน) ใหไ้ ด้พบเจอกบั เรื่องราว ปญั หา ความซบั ซอ้ น
ทางธุรกิจ คดีความ และลูกความที่หลากหลายซึ่งมีความคาดหวังอย่างสูง
ยิ่งท่ีจะได้รับค�ำปรึกษากฎหมายหรือการช่วยเหลือจากทนายความเพ่ือให้
ไดส้ งิ่ ท่ีตนเองตอ้ งการ ในชวี ิตการทำ� งานแตกต่างจากชวี ิตสมยั เรยี นหนงั สือ
ในมหาวทิ ยาลัยอยา่ งสน้ิ เชิง เพราะการทำ� งานต้อง “ไมผ่ ิดพลาด” มิฉะนนั้
ความเสียหายย่อมตกแก่ลูกความและส�ำนักงานไม่มากก็น้อย ต่างจาก
การสอบในมหาวิทยาลัย หากท�ำพลาด อาจไม่ได้เกรด A แต่ถ้าไม่
เลวรา้ ยมากกค็ งไมแ่ ย่ขนาดสอบตก หรอื ได้เกรด F ดิฉนั ถือว่าโชคดีมากที่มี
“รุ่นพ่ีทนายความ” ระดับอาวุโสท่ีมีประสบการณ์ท�ำงานมานานทั้งสาย
บู๊ (คดีความ) และสายบุ๋น (ที่ปรึกษากฎหมาย) รวม ๔ คน ช่วยกันดูแล
176
มอบหมายงานสง่ั สอนและถา่ ยทอดประสบการณท์ ำ� งานใหต้ ลอดระยะเวลา
ที่เริ่มท�ำงาน และรับเข้าเป็น “ทีมงาน” ภายหลังเร่ิมมีความแกร่งกล้าและ
ปรับตัวรอดกบั ลกู ความได้แลว้
ภายหลงั ทำ� งานได้ ๔ ปี ดิฉนั มโี อกาสทด่ี ีอย่างไมน่ กึ ฝนั และเปน็ ความ
ประทบั ใจอกี ประการหนงึ่ คอื การไดร้ บั ทนุ จากสำ� นกั งานไปศกึ ษาตอ่ ในระดบั
ปรญิ ญาโททางกฎหมาย ณ Harvard Law School ทปี่ ระเทศสหรฐั อเมริกา
ซง่ึ ไมไ่ ดผ้ า่ นการสอบคดั เลอื กหรอื แขง่ ขนั จากขอ้ เขยี นหรอื การสมั ภาษณใ์ ด ๆ
แต่เป็นทุนท่ีไดร้ ับจากทา่ นอาจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวนิ ว่าให้ทนุ เพราะ
พจิ ารณาจากผลการท�ำงานที่ดี เพ่อื น ๆ ท่ที ราบในขณะน้ันตา่ งแสดงความ
ยินดีเพราะไม่คาดคิดมาก่อนว่าส�ำนักงานแห่งนี้ซึ่งเป็นองค์กรเอกชนจะให้
ทนุ ไปศึกษาต่อปรญิ ญาโททางดา้ นกฎหมายในต่างประเทศ เพราะในยคุ นนั้
มีแตท่ ุนของ กพ. เทา่ นัน้ ไม่มที ุนของภาคเอกชนท่ีให้แกส่ าขากฎหมาย
เม่ือส�ำเร็จการศึกษาจากต่างประเทศ ดิฉันได้กลับเข้ามาท�ำงานที่
ส�ำนักงานแห่งน้ีตามเดิม และได้ท�ำงานที่ซับซ้อนและหลากหลายย่ิงข้ึน
โดยมพี ท่ี นายอาวโุ สคอยเปน็ “คร”ู ใหเ้ หมอื นเดมิ ทำ� ใหด้ ฉิ นั ทำ� งานดว้ ยความ
มั่นใจ อบอุ่นใจ และสบายใจว่า เม่ือใดมีปัญหา ก็มีผู้เปรียบเสมือน “ครู”
ในวชิ าชพี คอยใหค้ ำ� ปรกึ ษาและความชว่ ยเหลอื อยตู่ ลอดเวลา (ความประทบั
ใจนมี้ อี ยตู่ ลอดชว่ งเวลาทำ� งาน ถงึ แมว้ า่ ตอ่ มาดฉิ นั จะไดล้ าออกจากสำ� นกั งาน
ความเปน็ “คร”ู ของพี่ ๆ กไ็ มเ่ คยจางหายไปไหน)
ในเดอื นสงิ หาคม ๒๕๔๑ ดฉิ นั ขอลาออกจากการเปน็ “ทนายความ”
ของส�ำนักงานเพอ่ื ลดภาวะและปัญหาความเครียด (Stress) จากการทำ� งาน
โดยเบนเขม็ ไปสู่การเป็น “in - house lawyer” ของสาขาธนาคารพาณิชย์
ต่างประเทศระยะหนึ่ง และปัจจุบันท�ำงานเป็น “อาจารย์สอนหนังสือ”
177
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวิน
ของมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชน ความรู้และประสบการณ์ท�ำงานกว่า ๑๐
ปีที่ได้สะสมไว้ขณะทำ� งานที่ส�ำนกั งาน ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ไดต้ ิดตวั เปน็
“ต้นทุน” ท่ีดีอันประเมินค่ามิได้ และได้น�ำไปพัฒนาต่อยอดในการท�ำงาน
และถ่ายทอดตอ่ ให้แก่ลูกศษิ ย์ร่นุ ใหม่สืบไป
178
ดร.ชาญวทิ ย์ สวุ รรณะบณุ ย์
ผมมีโอกาสท�ำงานท่ีส�ำนักกฎหมาย ดร.
อุกฤษ มงคลนาวิน เป็นเวลา ๙ ปี ระยะเวลา
ดังกล่าวเรียกได้ว่าเป็นช่วงเวลาท่ีมีความสุขที่สุด
ในการทำ� งานของผม ก้าวแรกของผมในส�ำนักงาน
แห่งนี้ รู้สึกเหมือนว่าได้ท�ำงานใน “Le Petit
Trianon” ปราสาทหลังน้อยแห่งพระราชวังแวร์ซายในฝรั่งเศส ส�ำนักงาน
แห่งนสี้ ร้างความประทบั ใจกบั ผมในหลายแงม่ มุ ทง้ั ในดา้ นการปฏบิ ัตอิ าชพี
กฎหมาย การมเี พอ่ื นรว่ มงานทดี่ ี และความเมตตาของเจา้ ของสำ� นกั งานผซู้ งึ่
เปน็ อาจารยข์ องผม เทา่ ทจี่ ำ� ได้ อาจารย์ ดร.อกุ ฤษไมเ่ คยดลุ กู ศษิ ยแ์ ละลกู จา้ ง
คนใดรุนแรง สิ่งน้ันอาจจะเป็นเพราะท่านเป็นครูบาอาจารย์ของพวกเรามา
ก่อน จึงท�ำให้พวกเราแม้จะได้แยกย้ายไปท�ำงานที่อ่ืน แต่จะกลับมาพบกัน
ทุกปีเพ่ืออวยพรท่านอาจารย์ ดร.อุกฤษของพวกเราในวันข้ึนปีใหม่ ผมคิด
วา่ การมที ที่ ำ� งานทดี่ ี นายจา้ งทดี่ ี และเพอื่ นรว่ มงานทดี่ ี ถอื เปน็ โชคทวี่ เิ ศษสดุ
ในชวี ติ คงจะไมม่ เี จา้ นายแหง่ ไหนทพ่ี นกั งานลาออกจะสงั่ สอนพนกั งานผนู้ นั้
และอวยพรใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ ในอาชีพการงานแห่งใหม่ ผมรู้สึกเสยี ดาย
อยา่ งมากทใี่ นขณะนส้ี ำ� นกั งานแหง่ นไ้ี ดก้ ลายเปน็ ตำ� นานในวชิ าชพี กฎหมาย
ไปแลว้ แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี สำ� นกั งานแหง่ นก้ี เ็ ปน็ ทส่ี รา้ งใหผ้ มประสบความสำ� เรจ็
ในวชิ าชพี และจะอยู่ในความทรงจำ� ของผมตลอดไป
179
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวิน
นายอาชว สมทุ รานนท์
ก่อนที่จะเข้ามาท�ำงานที่ส�ำนักกฎหมาย
ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ในปี พ.ศ. ๒๕๓๓ นั้น
ผมได้จบนิติศาสตรบัณฑิตจากมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ เนตบิ ัณฑติ ไทย ท�ำงานในสำ� นักงาน
กฎหมายอ่ืนเป็นเวลาประมาณ ๓ ปี ก่อนท่ีจะไป
เรียนต่อตา่ งประเทศ และจบปริญญาโทด้านกฎหมาย ๒ ใบ และปริญญาโท
ด้านบริหารธุรกิจอีกหน่ึงใบจากมหาวิทยาลัยในประเทศสหรัฐอเมริกา เม่ือ
กลับจากต่างประเทศก็ไดส้ มัครงานยังสำ� นักงานกฎหมายต่าง ๆ ทม่ี ีช่ือเสียง
ของประเทศไทยในขณะนั้น ๓ - ๔ แห่ง โดยสำ� นักงานกฎหมาย ดร.อกุ ฤษ
มงคลนาวิน เปน็ หน่งึ ในนนั้
หลังจากได้มีโอกาสสัมภาษณ์งานที่ส�ำนักกฎหมาย ดร.อุกฤษ
มงคลนาวิน และได้เปรียบเทียบคุณลักษณะของส�ำนักกฎหมายแต่ละแห่ง
ผมไดต้ ดั สนิ ใจทจ่ี ะเขา้ มาทำ� งานกบั สำ� นกั งานกฎหมาย ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวนิ
ด้วยความคิดและความรู้สึกว่า เป็นส�ำนักงานกฎหมายที่ไม่เหมือนใครและ
ไมม่ ีใครเหมอื น มีความเป็นเอกลกั ษณ์พิเศษทเ่ี ปน็ Unique และ Prestige
เจ้าของส�ำนักงานคือ ท่านอาจารย์ ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวิน เป็นนกั กฎหมาย
ท่มี ชี อ่ื เสยี งสงู สดุ คนหน่ึงของประเทศ เปน็ อดีตประธานสภานิตบิ ญั ญตั ิแหง่
ชาติ อดีตประธานวุฒิสภาหลายสมัย เป็นศาสตราจารย์และอดีตคณบดี
คณะนติ ศิ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มตี กึ สำ� นกั งานกฎหมายทส่ี วยงาม
เหมือนท�ำเนียบขาวในประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นส�ำนักงานกฎหมายของ
คนไทยที่ท�ำงานครอบคลุมจากงานคดีความถึงงานกฎหมายการค้าระหว่าง
ประเทศ นอกจากนนั้ แลว้ ยงั มีกิจกรรมอืน่ ๆ อกี มากท่ที �ำเพอื่ ประโยชนข์ อง
180
ประเทศชาตบิ า้ นเมอื งและประชาชน รวมถงึ การพฒั นากฎหมายตา่ ง ๆ เพอื่
สว่ นรวม
ผมท�ำงานอยู่ท่ีส�ำนักงานกฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน เป็นเวลา
เกือบ ๕ ปี ซ่ึงเป็นระยะเวลาท่ีมีความสุข มีคุณค่า ผมได้รับการส่ังสอน
จากท่านอาจารย์ ได้รับการฝึกฝนให้ท�ำงานด้านต่างประเทศและการร่วม
ลงทุนจากพี่สุวิทย์ สวุ รรณ งานธุรกจิ ท่ัวไปจาก ดร.อภชิ ัย จนั ทรเสน รวมทง้ั
ได้กัลยาณมิตรอีกมากมาย อีกทั้งยังได้หุ้นส่วนทางธุรกิจซ่ึงเป็นศิษย์เก่า
ร่วมส�ำนักซึ่งได้ออกมาตั้งส�ำนักงานกฎหมายร่วมกันและอยู่กันยืดยาวมา
จนถึงปัจจุบนั เปน็ ระยะเวลากว่า ๒๒ ปี อันไดแ้ ก่ พีส่ มประสงค์ มัคคสมัน
คุณพรพรหม กาญจนจารี และคณุ วจิ ิตรพรรณ คล้ายอุบล
ส�ำนักงานกฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ท�ำให้ผมได้รับแบบอย่าง
ท่ีดีในการประกอบวิชาชีพกฎหมาย โดยผมได้แนวทางปฏิบัติจากการ
เรยี นรจู้ ากสำ� นกั งานกฎหมาย ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวนิ ซงึ่ เปน็ ตวั อยา่ งทด่ี มี าก
ของความเปน็ นกั กฎหมายแบบมอื อาชพี มคี ณุ ธรรมมจี รยิ ธรรมมคี วามซอ่ื สตั ย์
มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา รวมท้ังจะต้องไม่มีค�ำว่าชุ่ยในการท�ำงาน
โดยเด็ดขาด ซึ่งการที่ผมได้มีโอกาสเรียนรู้และได้มีโอกาสท่ีจะส่งต่อ
คุณลักษณะของการเป็นนักกฎหมายที่ดีดังกล่าวไปยังน้อง ๆ นักกฎหมาย
ในส�ำนักงานกฎหมายของผมเอง หรือผ่านการสอนหนังสือในมหาวิทยาลัย
ต่าง ๆ ย่อมเป็นส่วนช่วยในการพัฒนาบุคลากรในประเทศ ท้ังยังเป็นการ
ช่วยเหลือสังคมโดยรวม ซ่ึงเป็นหลักส�ำคัญท่ีได้รับการถ่ายทอดจากการ
ทำ� งานที่สำ� นกั งานกฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน
181
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวิน
นายฉตั รชยั อนิ ทสวุ รรณ
ไม่เคยคิดฝันเลยว่าจะมีบุญได้เข้าท�ำงาน
ที่ส�ำนักกฎหมายแห่งนี้ ซ่ึงเจ้าของส�ำนักฯ เป็น
ถึงประธานรัฐสภา ดร. อุกฤษ มงคลนาวิน
ณ เวลาน้นั เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ขณะเรียนกฎหมาย
ที่มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง บรรดาอาจารย์
และนักศึกษาต่างร�่ำลือถึงกิตติศัพท์ของส�ำนัก
กฎหมายแหง่ น้เี ป็นอยา่ งยง่ิ อีกด้วย
หลังจากจบปริญญาตรีทางกฎหมายและเผชิญกับประสบการณ์ใน
ประเทศนิวซีแลนด์และออสเตรเลียได้ ๕ ปี ผมกลับมาส่งใบสมัครงานไป
ส�ำนักงานทนายความหลายแห่ง แม้ว่าได้งานจากส�ำนักอ่ืนแล้ว แต่ก็ยัง
อยากมาสมั ภาษณท์ สี่ ำ� นกั ฯแหง่ นด้ี ว้ ยซงึ่ สมั ภาษณโ์ ดยทา่ นอาจารย์ดร.อกุ ฤษ
และคณุ พส่ี วุ ทิ ย์สวุ รรณทนายความอาวโุ สและสดุ ทา้ ยทา่ นอาจารย์ดร.อกุ ฤษ
กก็ รุณารบั ผมเขา้ ท�ำงานอย่างท่ผี มไมค่ าดคดิ
ท่านอาจารย์ ดร. อุกฤษ ได้บรรจใุ ห้ผมท�ำงานในแผนกทีป่ รึกษาฝ่าย
ต่างประเทศ และยังมีโอกาสประสานงานกับแผนกคดีความอีกด้วย ระบบ
ของสำ� นกั ฯ แหง่ นผี้ สมผสานเปน็ อยา่ งดรี ะหวา่ งไทยและตะวนั ตก บรรยากาศ
จงึ อบอวลไปด้วยมิตรภาพ ช่วยเหลอื กันและกันระหว่างทนายความด้วยกัน
หรือพนักงานตา่ ง ๆ
ด้านภาษาอังกฤษ จะมีท่านอาจารย์คลอสเนอร์ หรือรุ่นพ่ี ๆ คอยให้
ค�ำปรึกษาและตรวจทานร่างเอกสารตา่ ง ๆ ของผม ตลอดจนบรรดาทนาย
รนุ่ พ่ี ๆ รวมถงึ คณุ พสี่ ุวิทย์ สุวรรณ ดร. อภิชัย จนั ทรเสน และ ดร. ชาญวทิ ย์
182
สวุ รรณบณุ ย์ ลว้ นพรอ้ มใหค้ ำ� แนะนำ� ในการรา่ งคำ� ปรกึ ษาทางกฎหมาย และ
การท�ำงานอ่นื ๆ ซึ่งทำ� ใหผ้ มมีความมั่นใจในการท�ำงานอย่างมาก
เวลาท่านอาจารย์ ดร. อุกฤษเดินตรวจส�ำนักงาน ท่านอาจารย์ได้
ทักทายทุกคนในสำ� นักงาน ไดใ้ หค้ ำ� แนะน�ำ แม้แต่ผมขอลาออกเปน็ ช่ัวโมง!
ท่านอาจารย์ไม่โกรธ ไม่ว่า ได้แต่อธิบายว่าจะไปเจอกับวัฒนธรรมอะไร
ในส�ำนักกฎหมายแบบอินเตอร์ ไปแล้วก็หาเวลามาเจอกันบ้าง อาชีพอย่าง
เรา โลกมันแคบ ซง่ึ จริงอยา่ งท่ีท่านอาจารย์พร่�ำสอนทุกประการ
จนบัดน้ี ซง่ึ เวลาผ่านมา ๒๖ ปี คำ� สอนของทา่ นอาจารย์ ดร. อุกฤษ
มงคลนาวิน ยังคงสะท้อนอยู่ในใจของผมอยู่เสมอมาอย่างเป็นพระคุณ
ตอ่ ผมอยา่ งมหาศาล
183
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวิน
นายดเิ รก พฒุ คำ�
ความรู้สึกของทุกคนท่ีอยู่ภายใต้ร่มโพธิ์
ร่มไทรของท่านอาจารย์อุกฤษและท่านผู้หญิง
มณฑินี มงคลนาวิน ซึ่งให้ความรักความเมตตา
แก่ทุกคนเหมือนพ่อปกครองลูก ในส่วนส�ำนัก
กฎหมาย ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวิน ผมในฐานะเป็น
ส่วนหนึ่งขององค์กรหรือครอบครัวนี้ ใคร่ขอเรียนว่า การได้เป็นส่วนหนึ่ง
ขององค์กรหรือครอบครัวน้ี ผมไม่เคยน้อยหน้าใคร ผมสามารถยืดอกพูด
ได้อย่างชัดถ้อยชัดค�ำว่าผมท�ำงานที่ไหน เพราะค�ำถามที่จะตามมาแทบ
ทกุ ครง้ั กค็ อื เขา้ ทำ� งานทน่ี ไ่ี ดอ้ ยา่ งไร ทา่ นอาจารยท์ า่ นคดั เลอื กคนทจ่ี ะเขา้ มา
ทำ� งานอยา่ งมาก เพราะตอ้ งเปน็ คนดี มคี วามรู้ มชี าตติ ระกลู ตอ้ งจฬุ าฯ หรอื
ธรรมศาสตรเ์ ทา่ นน้ั แตใ่ นความเปน็ จรงิ แลว้ ทา่ นอาจารยใ์ หค้ วามเมตตาและ
ไมถ่ อื ตวั ปฏบิ ตั กิ บั ทกุ คนอยา่ งเสมอภาค ไมไ่ ดเ้ ลอื กวา่ จบจากไหน เปน็ ลกู ใคร
เวลางานก็ท�ำเต็มที่ บางคร้ังถงึ ดกึ ท่านมอบใหพ้ ี่ ๆ คอยให้ความรูแ้ ละพาไป
หาประสบการณ์ท�ำงาน ทำ� ให้ทุกคนมีความแข็งแกร่ง แต่เวลาเลิกงานแล้ว
ท่านอาจารย์เสมือนพ่อของทุกคน ถึงแม้ท่านจะเป็นบุคคลระดับแถวหน้า
ของประเทศกต็ าม ก็เล่นแบดมินตันกับทุกคนได้ด้วยความสนกุ สนาน ไม่ว่า
คนนัน้ จะเป็นทนายความหรือเจา้ หน้าท่ีระดับไหน ทา่ นกไ็ ม่ถือตวั ให้ความ
เมตตา แจกเงินตลอดครับ (แตบ่ างครงั้ ทา่ นก็เอาคนื )
ผมเข้าท�ำงานท่ีส�ำนักกฎหมาย ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ต้ังแต่วันท่ี
๒๗ เมษายน ๒๕๒๗ นับถงึ วนั น้ีก็เป็นระยะเวลากว่า ๓๒ ปแี ลว้ จากเด็ก
บา้ นนอกเขา้ มาเรยี นมหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหงและหางานทำ� ไปดว้ ยทา่ นอาจารย์
และท่านผู้หญิงได้ให้ความอนุเคราะห์อุปการะผมอย่างมากมายมหาศาล
ท่านท้ังสองให้ชีวิตความเป็นอยู่ท่ีมีความมั่นคง (ให้ยืมเงินไปซ้ือบ้าน)
184
ให้การศึกษาท่ีส่องสว่างในอนาคต (ให้ทุนการศึกษา) ให้หน้าท่ีการงานที่
เชิดหน้าชูตาแก่วงศ์สกุล (ให้ท�ำงานในส�ำนักงานที่อยู่แนวหน้าของประเทศ
และได้รับความเช่ือถือจากนานาประเทศ) ในชีวิตน้ีอย่าว่าแต่จะทดแทน
พระคุณเลยครับ แม้แต่จะพูดว่าขอรับใช้จนกว่าชีวิตจะหาไม่ก็ยังทดแทน
ทที่ ่านทัง้ สองให้มาไมห่ มด ผมขอกราบขอบพระคุณอยา่ งสูงมา ณ ทนี่ ี้ครับ
185
รศ. ดร. เจษฎ์ โทณะวณกิ
นับต้ังแต่ก้าวแรกท่ีลงจากรถโดยสาร
เพอ่ื เดนิ เขา้ สสู่ ำ� นกั กฎหมายของทา่ นอาจารย์
ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน ผมรู้สึกถึงความ
ยิ่งใหญ่อลังการของตัวตึกที่สุขุมวิท ซอย ๕
และประทับใจกับสถาปัตยกรรมของอาคารท้ังสองหลังท่ีอยู่ตรงหน้า
ใจหน่ึงก็นึกหวั่น ๆ อยู่ว่า ส�ำนักกฎหมายเช่นนี้ท่านจะรับเราเข้า
ฝกึ งานหรือ เม่อื พชี่ าญพงษ์ ดีวี (หรือผมเรียกว่า อาป๋อ) ไดพ้ าผมเขา้
พบท่านอาจารย์ ความรู้สึกถึงความย่ิงใหญ่อลังการแห่งตัวตึกไม่เป็น
เรอ่ื งทน่ี า่ แปลกอกี ตอ่ ไป เพราะเมอื่ พบทา่ นอาจารยอ์ กุ ฤษ บคุ ลกิ ภาพ
ของท่านแสดงออกถงึ ลกั ษณะเฉกเช่นตวั ตึกเหลา่ น้นั ความประทบั ใจ
ในสถาปัตยกรรมกลายเป็นความท่ึง และนับถือในความสามารถ
ของผ้อู อกแบบ ซ่ึงก็คือท่านอาจารยอ์ กุ ฤษนัน่ เอง ท่ียิ่งไปกว่านั้นและ
ยังคงอยู่ในหัวจิตหัวใจของผมอยู่จนทุกวันนี้ ส่ิงท่ีสัมผัสและได้รับท่ี
ถือว่าแสดงออกถึงความยิ่งใหญ่ที่สุดของท่านอาจารย์ในวันนั้นท่ีมีต่อ
ผมจวบจนถึงวันน้ียังไม่เส่ือมคลายคือ “ความเมตตา ความกรุณา”
ที่ท่านมีให้เสมอ ไม่เพียงแต่ที่ท่านรับผมเข้าเป็นเด็กฝึกงาน แต่ยังให้
โอกาสผมไดเ้ ขา้ พบเพอ่ื ถามปญั หาทไี่ ม่ได้เร่ืองได้ราว ท่านก็มีอุเบกขา
อันดีในอันที่จะรับฟังประเด็นต่าง ๆ ของผม และสอนส่ังให้รู้ความ
อยู่เสมอ ซ่ึงก็เป็นอีกหน่ึงส่ิงท่ีท่านยังคงมอบให้จนถึงทุกวันนี้ และ
ทา้ ยทสี่ ดุ ของการฝกึ งาน ทา่ นอาจารยไ์ ดก้ รณุ าเขยี นหนงั สอื แนะนำ� ตวั
ท่ีมหาวิทยาลัยก�ำหนดให้ต้องมีไปยังมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ดซึ่ง
เป็นมหาวิทยาลัยช้ันน�ำของโลก ถ้าผมไม่มีหนังสือแนะน�ำตัวจาก
185
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคิดลนาวนิ
นายธวชั ชยั ชองดารากลุ
ตงั้ แตท่ ก่ี ระผมได้เขา้ ท�ำงานทสี่ �ำนกั กฎหมาย
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เป็นต้นมา กระผมมีความ
ภูมิใจในสวัสดิการของส�ำนักงานเป็นอย่างมาก
ท่ีส�ำนักงานได้จัดให้มีสวัสดิการเพื่อท่ีอยู่อาศัย
แก่ทนายความและเจ้าหน้าท่ีของส�ำนักงาน ซ่ึง
ท่านอาจารย์ได้จัดแบ่งพื้นที่ซึ่งปัจจุบันคือ ซอยร่มเกล้า ๖ ถนนร่มเกล้า
แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร เป็นแปลงย่อยแล้วขายใน
ราคาถูกแก่ทนายความและเจ้าหน้าท่ีโดยการให้ผ่อนช�ำระเป็นรายเดือน
เพื่อให้ทนายความและเจ้าหน้าท่ีได้มีที่ดินปลูกบ้านอยู่อาศัยเป็นของตัว
เอง ซ่ึงกระผมก็ได้ปลูกบ้านอยู่อาศัยจนถึงปัจจุบันนี้ และปัจจุบันท�ำเล
ดังกล่าวเป็นท�ำเลท่ีดี มีความสะดวกสบายในการเดินทาง เน่ืองจาก
ถนนร่มเกล้าเป็นถนนขนาดใหญ่ อยู่ใกล้สนามบิน สามารถใช้เส้นทาง
มอเตอร์เวย์ไปมาได้อย่างสะดวก จึงเห็นได้ว่าท่านอาจารย์ได้เล็งเห็นความ
เจริญท่ีแผ่ขยายออกไปยังชานเมือง จึงได้ใช้ท่ีดินที่มีนบุรีท�ำเป็นสวัสดิการ
แกท่ นายความและเจ้าหน้าที่ ทำ� ให้ในปัจจุบนั นีก้ ระผมมีความสขุ สบายตาม
อัธยาศัยเปน็ อยา่ งมาก
186
นายประพศั สร อนิ ทรเสน
ปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ทา่ นอาจารยไ์ ด้จัดสรรท่ดี ิน
เป็นสวัสดิการเพื่อที่อยู่อาศัย โครงการท่ี ๒ ท่ี
ถนนร่มเกล้า เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร เพ่ือ
ใช้เป็นท่ีอยู่อาศัยของทนายความและเจ้าหน้าที่
ขนาดที่ดนิ ๗ ไร่ โดยแบ่งเป็นแปลงจ�ำนวน ๔๐ แปลง แปลงละประมาณ
๕๐ ตารางวา สร้างร้ัวรอบบริเวณเป็นสัดส่วน ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก
เดนิ ไฟฟา้ และนำ้� บาดาลเขา้ ถงึ ทกุ แปลง ราคาคดิ เปน็ ตารางวาละ ๑,๗๐๐.๐๐
(หนง่ึ พนั เจด็ รอ้ ยบาทถว้ น) ราคาในเวลานน้ั ใหท้ นายความและเจา้ หนา้ ทเี่ ขา้
ลงชือ่ จองซือ้ เตม็ ภายใน ๒ วนั ซึง่ ทนายความและเจ้าหนา้ ทีไ่ ดเ้ ขา้ ปลกู บ้าน
เป็นที่อย่อู าศยั จนทุกวันน้ี
ในเวลาต่อมา โครงการนี้อยู่ห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิเพียง
๘ กโิ ลเมตรเท่าน้ัน ราคาท่ีดินในเวลาปจั จบุ ันนี้ (พ.ศ. ๒๕๖๐) ขึ้นราคาไปถงึ
ตารางวาละประมาณ ๒๕,๐๐๐ ถึง ๓๕,๐๐๐ บาท เท่ากับเป็นการสร้าง
โอกาสและความม่ันคงในที่อยู่อาศัย เป็นสวัสดิการโครงการที่ ๒ ให้กับ
ทนายความและเจ้าหนา้ ที่ สำ� นักกฎหมาย ดร. อกุ ฤษ มงคลนาวิน
187
หลากอหกุ ลฤาษยแนมวงคคิดลนาวิน
ศาสตราจารย์ ดร.อกุ ฤษ มงคลนาวนิ
ภาพถา่ ยเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๘ โดยคณะทนายความ
มอบใหเ้ มอื่ ส�ำนกั งานมีอายคุ รบ ๒๕ ปี
188
เกิดเม่ือวันท่ี - ๑๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๗๖
บตุ ร - นาวาโทพระมงคลนาวาวุธ และ
นางต่วนทพิ ย์ มงคลนาวิน
สำ� เร็จการศกึ ษา วฒุ ิบตั รและเกียรตบิ ัตร
- นติ ศิ าสตรบณั ฑติ และสงั คมสงเคราะหศ์ าสตรบณั ฑติ จากมหาวทิ ยาลยั
ธรรมศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๐๑ และ ๒๕๐๒ ตามล�ำดบั
- ปริญญาเอกทางกฎหมาย มหาวทิ ยาลยั ปารีส ประเทศฝรงั่ เศส พ.ศ.
๒๕๐๙
- นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง พ.ศ.
๒๕๓๐, จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๓๒ และมหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ
พ.ศ. ๒๕๓๕
- ปรญิ ญาบตั ร (กติ ตมิ ศกั ด)์ิ วทิ ยาลยั ปอ้ งกนั ราชอาณาจกั ร พ.ศ. ๒๕๓๑
- ศาสตราจารย์พิเศษทางนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.
๒๕๒๒
ครอบครวั
- สมรสกับท่านผูห้ ญิงมณฑินี มงคลนาวนิ
- บุตรชายบุญธรรมสองคน คอื ดร.พืชภพ มงคลนาวิน และ
ดร.รฐั ชาติ มงคลนาวิน
189
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคิดลนาวนิ
เครื่องราชอสิ ริยาภรณ ์
ในประเทศ :
- ตติยจลุ จอมเกล้าวเิ ศษ (ต.จ.ว.) วนั ที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๒๗
- มหาปรมาภรณ์ช้างเผอื ก (ม.ป.ช.) วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๒๗
- มหาวชริ มงกฎุ (ม.ว.ม.) วนั ที่ ๕ ธนั วาคม ๒๕๒๘
- ทุตยิ จุลจอมเกล้า (ท.จ.) วันท่ี ๕ พฤษภาคม ๒๕๓๐
- ทุติยจุลจอมเกลา้ วเิ ศษ (ท.จ.ว.) วันที่ ๕ พฤษภาคม ๒๕๓๒
- เหรยี ญรัตนาภรณ์ ชัน้ ท่ี ๓ วันท่ี ๑๒ เมษายน ๒๕๓๔
- ปฐมดิเรกคณุ าภรณ์ วันที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๐
- เหรียญกาชาดสมนาคณุ ชนั้ ที่ ๑
- เหรียญกาชาดสดดุ ี ชนั้ ที่ ๑ วันท่ี ๘ สิงหาคม ๒๕๕๔
ต่างประเทศ :
- อิสริยาภรณช์ น้ั สูงสุดจากสาธารณรฐั เกาหลี พ.ศ. ๒๕๒๘
- อสิ รยิ าภรณ์ Commandeur De La Le’gion D’honneur จาก
สาธารณรฐั ฝรั่งเศส พ.ศ. ๒๕๒๙
190
ผลงานและการดำ� รงต�ำแหนง่ ทส่ี �ำคญั
- ผู้ก่อตั้ง และคณบดีคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(พ.ศ. ๒๕๑๕ - ๒๕๒๑)
- สมาชิกสภานติ ิบญั ญตั แิ หง่ ชาติ ชดุ ท่ี ๑ และชดุ ท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๕ -
๒๕๑๖)
- รองประธานสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดนิ คนที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๑๙ -
๒๕๒๐)
- ผเู้ สนอกอ่ ตัง้ และเปน็ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร ป.ป.ป.ชดุ ที่ ๑
และชุดท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๗ - ๒๕๑๘)
- ประธานวฒุ ิสภา และประธานรฐั สภา (พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๓๒ และ
พ.ศ. ๒๕๓๕)
- ประธานสภานิติบญั ญตั ิแหง่ ชาติ และประธานรัฐสภา (พ.ศ. ๒๕๓๔
- ๒๕๓๕)
- ประธานคณะกรรมการตลุ าการรัฐธรรมนญู (พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๓๒
และ พ.ศ. ๒๕๓๔ - ๒๕๓๕)
- ประธานคณะกรรมการขา้ ราชการรัฐสภา (ก.ร.)
- ประธานการประชุมสหภาพรัฐสภาสากล คร้ังที่ ๗๘ กรุงเทพฯ
๑๒ - ๑๗ ตุลาคม ๒๕๓๐
- ประธานด�ำเนินงานโครงการก่อสร้างตึก สก. โรงพยาบาล
จุฬาลงกรณ์ เนื่องในโอกาสท่ีสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
เฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๖๐ พรรษา พ.ศ. ๒๕๓๕
191
หลากอหุกลฤาษยแนมวงคคดิ ลนาวนิ
- ประธานด�ำเนินงานก่อสร้างอุโบสถวัดถ้�ำสิงโตทอง ต�ำบลปากช่อง
อ�ำเภอจอมบึง จงั หวดั ราชบุรี เนือ่ งในโอกาสสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรม
ราชินนี าถ เฉลิมพระชนมพรรษาครบ ๖๐ พรรษา พ.ศ. ๒๕๓๕
- กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั
ปจั จบุ นั ด�ำรงตำ� แหน่งทีส่ ำ� คัญ
- กรรมการสภากาชาดไทย ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๒๗ - ปจั จุบนั
- ประธานกรรมการมูลนิธิ ตึก สก.ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ พ.ศ. ๒๕๓๕
- ปจั จุบัน
- ประธานกรรมการ พรี ะยานเุ คราะหม์ ลู นธิ ิ ในพระอปุ ถมั ภข์ องสมเดจ็
พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี พ.ศ.๒๕๒๗ - ปัจจุบนั
- ประธานกรรมการมลู นิธิศาสตราจารยด์ ร.อุกฤษ - ท่านผหู้ ญิงมณฑินี
มงคลนาวิน พ.ศ. ๒๕๓๕ - ปัจจุบัน
- ประธานกรรมการก่อตั้งและด�ำเนินการ “พิพิธภัณฑ์สักทอง”
วดั เทวราชกญุ ชรวรวิหาร
- ประธานกรรมการก่อต้ังและด�ำเนินการ “พิพิธภัณฑ์มงคลนาวิน”
วดั ถ้ำ� สงิ โตทอง อ�ำเภอจอมบงึ จงั หวัดราชบรุ ี
192
ผลงานสำ� คญั ในอดีต
- ประธานด�ำเนินการโครงการเตียงคนไข้ปันน�้ำใจสู่ชนบท
เฉลมิ กาญจนาภเิ ษก เพอื่ มอบเตยี งคนไขใ้ หแ้ กโ่ รงพยาบาลของรฐั บาลประจำ�
อำ� เภอ เนื่องในโอกาสพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงครองสริ ิราชสมบตั ิ
ครบ ๕๐ ปี
- ประธานด�ำเนินงานโครงการสร้างโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดน
ตวั อยา่ ง ๔ ภาค ภาคละ ๑ แหง่ เนอื่ งในโอกาสพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั
ทรงครองสิริราชสมบตั ิครบ ๕๐ ปี โดยพรี ะยานเุ คราะห์มูลนธิ ฯิ เป็นเงิน ๑๐
ลา้ นบาท
- ประธานด�ำเนินการจัดท�ำสารานุกรมกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ชุดแรกของประเทศไทย
- รองประธานกรรมการมูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรม
ราชนิ ีนาถ
- ประธานคณะกรรมการพจิ ารณาผลงานทางวชิ าการ คณะนิตศิ าสตร์
จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั พ.ศ. ๒๕๒๑ - ๒๕๕๕
- ประธานกรรมการอสิ ระอำ� นวยความยตุ ธิ รรมและสง่ เสรมิ สทิ ธเิ สรภี าพ
ใน ๓ จังหวัดชายแดนใต้ (กอยส.) ๑๖ มกราคม ๒๕๔๙ - ๑๙ กันยายน
๒๕๔๙
- ประธานกรรมการอิสระว่าด้วยการส่งเสริมหลักนิติธรรมแห่งชาติ
(คอ.นธ.) พ.ศ. ๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
- ประธานกรรมการมูลนธิ ถิ นนแหง่ สนั ติภาพ พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๕๘
กรรมการสภามหาวิทยาลยั ม.ส.ธ. พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๒๗
193
หลากหลายแนวคิด อุกฤษ มงคลนาวิน
เลม่ ๔ กำ� เนิดสำ� นกั กฎหมาย
บรรณาธกิ าร ท่านผหู้ ญิงมณฑินี มงคลนาวิน
พมิ พ์คร้ังที่ ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๐
จำ� นวนพมิ พ์ ๑,๐๐๐ เล่ม
เลขมาตรฐานสากลประจ�ำหนงั สือ 978-616-429-646-6
จดั พมิ พ์โดย ดร.อกุ ฤษ - ทา่ นผหู้ ญิงมณฑินี มงคลนาวิน
หา้ มท�ำซ�้ำ ดดั แปลง ไม่ว่าจะทง้ั หมดหรือบางสว่ น ไม่วา่ โดยวิธกี ารใด
สงวนลิขสทิ ธ ิ์ เว้นแตจ่ ะได้รบั อนุญาตเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรจากเจา้ ของลิขสิทธ์ิ
พิมพท์ ่ี บริษัทอมรนิ ทร์พรน้ิ ติ้งแอนด์พับลชิ ชงิ่ จ�ำกัด (มหาชน)
๓๗๖ ถนนชยั พฤกษ์ แขวงตลิง่ ชัน เขตตลิ่งชนั กรุงเทพฯ ๑๐๑๗๐
โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๒๒ - ๙๐๐๐ โทรสาร ๐ ๒๔๓๓ - ๒๗๔๒, ๐ ๒๔๓๔ - ๑๓๘๕
E-mail: [email protected] Homepage: http://www.amarin.com
นติ ธิ รรม ยุติธรรม สนั ติธรรม LAW JUSTICE PEACE
ข้าพเจา้ มีความเชื่อในหลกั “นติ ิธรรม” I have a firm believe in the
(THE RULE OF LAW) โดยถอื วา่ “กฎหมาย” “RULE OF LAW” as I hold the
เปน็ กฎเกณฑ์ท่ีส�ำคัญของบา้ นเมือง ดังนัน้ ประเทศ “Law” to be the most important
จะต้องมกี ฎหมายทเ่ี ปน็ “ธรรม” และผู้ใช้กฎหมาย regulator of behavior in the country.
ต้องใชด้ ้วยความ “ยตุ ิธรรม” ดว้ ยความเสมอภาค It follows that a nation must have
ปราศจาก “อคต”ิ สังคมและประเทศชาตจิ ึงจะมี laws which are right and just, and
“สนั ตสิ ขุ ” (สันติธรรม) those who administer the law must
do so white justice and equality
ศาสตราจารย์ ดร.อุกฤษ มงคลนาวิน
๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ Prof. Dr. Ukrit Mongkolnavin
5 December 1970