The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฝึกเล่นแซกโซโฟน ด้วยตนเอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ittiruth kullertpittaya, 2020-11-10 03:24:58

แซกโซโฟน

ฝึกเล่นแซกโซโฟน ด้วยตนเอง

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ให้กว้าง ล้ินส่วนหลังอยู่ในลักษณะสูง ช่องปากขยายกว้าง กระแสลมท่ีเป่า
จะไหลเอื่อย หรือการเป่าจูโจมอย่างแรงและเร็วลมท่ีออกมาจะอุ่น เหมาะกับ
การเป่าเสียงที่ต้องการจู่โจมแรงและเร็ว เช่น เสียงท่ีใช้นิ้วผี เป็นต้น
2. ลมเย็น เป็นลมท่ีเป่าออกมามีความเย็น เช่น การผิวปาก กระแส
ลมจะมีความเร็วแต่ง่ายแก่การควบคุม การที่จะเป่าให้แซกโซโฟนมีเสียงนุ่ม
ราบร่ืน ควรใช้ลมเย็นในการเป่า อย่างไรก็ตามนักแซกโซโฟนจะใช้ลมท้ังสอง
ลักษณะในการเป่า ขึ้นอยู่กับเสียงท่ีต้องการ

แบบฝึกหัดสำ� หรับการเป่าลมให้ออกอยา่ งสม�ำ่ เสมอและอย่ใู นจดุ เดียวกัน
แบบฝึกหัดที่ 1 ให้น�ำน�้ำใสแก้วแล้วเป่าด้วยหลอดกาแฟ เป่าให้ฟองน�้ำ
อยู่ในระดับเดียวกันจนหมดลม
แบบฝึกหัดท่ี 2 น�ำเทียนที่จุดไฟแล้วมาเป่าให้เปลวเทียนเอนคงที่แต่ไม่
ให้เทียนดับ โดยควบคุมปริมาณของลมท่ีเป่าออกท�ำนองเดียวกันกับหลอด
กาแฟ

49

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ข้อสังเกต
1. การหายใจท่ีถูกต้องในการเป่า หลอดลมจะเปิดตลอดเวลาสามารถ
ทดสอบได้โดยหายใจเข้าจนเต็มที่ กลั้นลมหายใจแล้วยังสามารถพูดได้แสดง
ว่าหายใจถูกต้อง
2. หยุดลมโดยใช้กล้ามเนื้อของกะบังลมบังคับ ไม่ใช้วิธีการเปิด
หลอดลม
3. ขณะทเี่ ปา่ กลา้ มเนอ้ื จะตงึ อนั เกดิ จากแรงดนั ของกะบงั ลม กลา้ มเนอ้ื
หน้าท้องจะค่อยๆเข้าทีละนิดขณะเป่าแต่ไม่เร็วจนเกินไปเพราะแรงดันของ
กะบังลมดันให้ลมออกสู่ช่องปาก

การวางปากในการเป่าแซกโซโฟน
การวางปากในการเป่าแซกโซโฟน หมายถึงอวัยวะท่ีใช้ในการเป่า
บริเวณริมฝีปาก คาง ตลอดจนกล้ามเนื้อรอบปากที่รัดรอบก�ำพวด และลิ้น
แซกโซโฟน การวางปากเป็นหัวใจส�ำคัญในการเป่าแซกโซโฟน ผู้ฝึกใหม่มักจะ
มีปัญหาว่าจะวางปากอย่างไร ตรงไหนถึงจะเป่าได้ส�ำเนียงแซกโซโฟนที่ถูก
ตอ้ ง เพราะบาครงั้ ผฝู้ กึ ใหมอ่ าจจะไดร้ บั คำ� ตำ� หนจิ ากผอู้ ยขู่ า้ งเคยี งวา่ เปา่ เสยี ง

50

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ดังอย่างกับห่านร้อง หรือเสียงแหลมอย่างกับหนูร้อง ผู้เป่าอาจจะเกิดความ
ร�ำคาญตัวเองท่ีไม่สามารถเป่าให้ได้เสียงตามความต้องการ เสียงห่าน เสียง
หนู ท่ีออกมาจากการเป่าแซกโซโฟน มีสาเหตุมาจากการวางปากไม่ถูกต้อง

องค์ประกอบที่ส�ำคัญในการวางปากแซกโซโฟน
1. โครงสร้างของรูปหน้า
รูปหน้ามีส่วนช่วยให้การเป่าแซกโซโฟนง่ายข้ึน และช่วยในการเลือก
แซกโซโฟนให้เหมาะสบกับใบหน้า เช่น
- คางรูปสี่เหล่ียม คางรูปส่ีเหลี่ยมจะมีความยาวของกระดูกด้านหน้า
มากกว่าปกติ ซ่ึงเหมาะส�ำหรับแซกโซโฟนท่ีมีก�ำพวดขนาดใหญ่ เช่น เทนเนอ
ร์ บาริโทน หรือเบส
- คางรปู แหลม คางรปู แหลมเหมาะสำ� หรบั แซกโซโฟนทมี่ กี ำ� พวดขนาด
เล็ก เช่น โซปราโน หรืออัลโต
- ฟันบนย่ืน โดยทั่วไปบุคคลที่มีลักษณะฟันบนยื่น มักจะง่ายแก่การ
ปรับในการวางปากแซกโซโฟน เว้นไว้แต่ว่าฟันจะย่ืนมากเกินไปจนไม่สามารถ
ปรับได้

51

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

- ฟนั ลา่ งยน่ื ลกั ษณะของฟนั ลา่ งยน่ื เหมาะแกก่ ารปรบั ใหเ้ ขา้ กบั กำ� พวด
ที่ใหญ่ เช่น เทเนอร์ หรือบาริโทน เพราะไม่จ�ำเป็นต้องอ้าปากกว้างมากนักใน
การเป่า แต่จะยากส�ำหรับท่ีจะปรับให้เข้ากับก�ำพวดที่เล็กอย่างโซปราโน หรือ
อัลโต
2. กล้ามเนื้อบริเวณปาก
กล้ามเนื้อบริเวณริมฝีปากมีความส�ำคัญอย่างย่ิงในการเป่าแซกโซโฟน
ริมฝึปากจะต้องไม่เครียด และเป็นไปอย่างธรรมชาติที่สุด ริมฝีปากมีหน้าท่ี
รวบก�ำพวดไม่ให้ลมร่ัวเท่าน้ัน พึงระลึกเสมอว่าริมฝีปากไม่รัดหรือเกร็ง ริม
ฝีปากบนและล่างท�ำงานเป็นคู่ ถ้าด้านใดด้านหน่ึงเกร็ง อีกด้านหน่ึงจะเกร็ง
ตามด้วย ฟันบนและริมฝีปากบนท�ำงานเป็นคู่ ท�ำหน้าท่ีต้ังรับและโต้ตอบ
ก�ำพวด ฟันล่างและริมฝีปากล่างท�ำงานเป็นคู่ ท�ำหน้าท่ีสนับสนุนก�ำพวด
การวางปากเป็นองค์ประกอบที่ส�ำคัญมาก เพราะสามารถเปล่ียนเสียง
ทเี่ ปา่ ออกมาไดส้ ารพดั ทา่ ทางทเี่ ปน็ ธรรมชาตมิ ากทสี่ ดุ เปน็ สงิ่ ทน่ี กั แซกโซโฟน
ควรค�ำนึงถึงเป็นอย่างย่ิง
ส่ิงที่ส�ำคัญคือ การเป่าแซกโซโฟนใช้แรงกดดันของขากรรไกรหรือการ
รัดตัวกล้ามเน้ือบริเวณริมฝีปากไม่ใช้ฟันกัด
การพัฒนากล้ามเน้ือบริเวณปาก
การพัฒนากล้ามเนื้อบริเวณปากที่จะใช้ในการเป่าแซกโซโฟนใช้เวลา
ประมาณ 1 เดือน เพื่อพัฒนา โดยปฏิบัติทุกวันๆละ 5 นาที เพ่ือให้กล้ามเน้ือ
มีความคุ้นเคย โดยเฉพาะริมฝีปากล่าง ฟันล่าง และมุมปาก

ข้อแนะน�ำในการเตรียมกล้ามเนื้อเพ่ือเป่าแซกโซโฟน
1. กล้ามเน้ือมุมปาก การหาจุดศูนย์กลางของปากเพื่อใช้ในการเป่านั้น
อาศยั การวัดจากมุมปากทง้ั สองข้าง กลา้ มเน้ือทม่ี ุมปากควรพัฒนาใหแ้ ข็งแรง

52

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

พอสมควร โดยฝึกการยิ้มในลักษณะริมฝีปากบิด ขณะย้ิมให้ดึงมุมปากไปด้าน
หลังให้มากท่ีสุดเท่าที่จะท�ำได้ อาจจะเร่ิมด้วยเสียงปกติก่อนแล้วค่อยๆปรับ
เสียงให้ต�่ำลงจนต่�ำท่ีสุด เพื่อเปิดหลอดลมให้กว้าง ให้ฝึกการยิ้มโดยปิดปาก
และผิวปาก เสียงต�่ำสลับกันประมาณ 50 ครั้ง หลังจากครั้งที่ 50 จะรู้สึก
เม่ือยริมฝีปากจึงหยุดการฝึก กระจกจะเป็นครูท่ีดีที่สุดท่ีจะใช้ในการฝึก
2. กล้ามเน้ือที่คาง ดึงกล้ามเนื้อริมฝีปากล่างให้แนบกับคางในขณะ
เดยี วกนั ควรรักษาเสน้ รอบปากให้อยใู่ นลกั ษณะเส้นตรง พยายามใหก้ ล้ามเนอ้ื
ริมฝีปากและกล้ามเนื้อบริเวณคางแนบติดกับกระดูกคางแน่นเท่าท่ีจะแน่นได้
ดึงไว้ประมาณ 10 วินาที ประมาณ 25 ครั้ง
นำ� เอาลกั ษณะทกี่ ลา่ วมาแลว้ ทง้ั หมดมารวมกนั เรม่ิ ตน้ ดว้ ยผวิ ปากเสยี ง
ต่�ำ แล้วค่อยๆดึงมุมปากท้ังสองข้างไปสู่ลักษณะยิ้ม แต่ลักษณะการผิวปากยัง
คงรูปอยู่ แล้วค่อยดึงกล้ามเน้ือของริมฝีปากล่างให้แนบติดกับคาง ดึงขา
กรรไกรลา่ งลงเลก็ นอ้ ย รวมแลว้ กจ็ ะไดล้ กั ษณะของปากในการเปา่ แซกโซโฟน
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกำ� พวดกบั ปาก แรงรดั กำ� พวดทใี่ ชใ้ นการเปา่ มอี ยู่ 2 ชนดิ
คือ แรงรัดที่เกิดจากริมฝีปากและแรงรัดที่เกิดจากคาง เพราะว่าคางมีความ
เท่ียงกว่าริมฝีปาก และสามารถควบคุมแรงรัดได้นานกว่า
ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการเปา่ และเปน็ มลู เหตใุ หเ้ สยี งทเ่ี ปา่ ออกมาไมช่ ดั การวาง
ปากและการใช้ลมเป็นจุดแรกท่ีจะต้องค�ำนึงก่อน ไม่ใช่แก้ปัญหาโดยใช้ลิ้นใน
การเป่าให้แรงขึ้นอีกประการหน่ึง แรงรัดในการเป่าต้องอยู่ในลักษณะที่คงที่
ไม่หย่อนหรือไม่แน่นไป
3. ตำ� แหนง่ ของกำ� พวดขณะเปา่ ตำ� แหนง่ ของกำ� พวดขณะเปา่ ทแี่ นน่ อน
น้ัน ข้ึนอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ขนาดของก�ำพวด โครงสร้างของรูป
หน้า แต่อย่างไรก็ตามแซกโซโฟนทุกขนาดอาศัยพ้ืนฐานการวางปากท่ีเหมือน
กันเพียงแต่ปรับให้เข้ากับขนาดเล็กหรือใหญ่เท่าน้ัน ส่ิงที่ส�ำคัญก็คือ ต�ำแหน่ง

53

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ของก�ำพวดต้องอยู่ตรงกลางระหว่างมุมปากทั้งสอง เพราะกระแสลมท่ีเป่าจะ
ตรงเข้าสู่ก�ำพวดตรงกลางพอดี
ความลึกของการอบก�ำพวดแซกโซโฟน อาจจะวัดได้โดยเอากระดาษพิมพ์
อย่างบางสอดเข้าไประหว่างก�ำพวด และล้ินแซกโซโฟนจนสุดด้วยความ
ระมัดระวัง เพราะอาจจะท�ำให้ล้ินแตกได้ ใช้ดินสอจุดท�ำเครื่องหมายบริเวณ
ท่ีกระดาษหยุดน่ันคือ บริเวณที่จะอบก�ำพวด ใช้หัวแม่มือข้างใดข้างหนึ่งจับไว้
ท่ีจุดแล้วอมก�ำพวดจนจดท่ีจุดหัวแม่มือ ความลึกท้ังด้านบนของก�ำพวดและ
ด้านล่างของลิ้นเท่ากัน กล้ามเนื้อริมฝีปากรัดรอบก�ำพวดสิ่งที่ส�ำคัญอีก
ประการหน่ึงคือ ให้ใช้หูฟังเสียงท่ีเป่าว่าควรให้ก�ำพวดลึกเพียงใดเสียงถึงจะมี
คุณภาพ

ข้อสังเกตในการวางปาก
1. ริมฝีปากล่างตั้งอยู่บนฟันล่าง ประมาณจุดกลางของริมฝีปากอ่อน
โดยอาศัยแรงสนับสนุนจากขากรรไกรในการคาบก�ำพวด
2. กล้ามเน้ือริมฝีปากล่างและกล้ามเนื้อบริเวณคางแนบกับกระดูกคาง

54

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ต้องแน่ใจว่ากล้ามเนื้อไม่โป่งออกมา
3. มุมปากทั้งสองข้างแนบแน่นอย่างเป็นธรรมชาติมากท่ีสุด
4. กล้ามเนื้อริมฝีปากบนและล่างท�ำงานเป็นคู่ รวบรอบก�ำพวดอย่าง
เป็นธรรมชาติ
5. ฟันบนเพียงแตะก�ำพวดเท่าน้ัน ไม่กัด
6. การวางปากจะอยู่ในท่าเดียวกันไม่ว่าจะเป่าเสียงสูงหรือเสียงต�่ำไม่
ลดขากรรไกรให้ต่�ำเมื่อเป่าเสียงต�่ำ และไม่รัดกล้ามเน้ือริมฝีปากแน่นเม่ือเป่า
เสียงสูง
7. ถ้ามีเสียงลมออกมาจากริมฝีปากข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้าง
แสดงว่ากล้ามเน้ือริมฝีปากรวบไม่สนิท
8. ถ้าเสียงท่ีเป่าออกมาพร่า มีเสียงลมออกมาก่อน แสดงว่าแรง
สนับสนุนจากขากรรไกรน้อยเกินไป
9. ถ้าเสียงท่ีเป่าออกมามีความบางแหบค่อย แสดงว่าอมก�ำพวดน้อย
เกินไป
10. ถ้าเสียงท่ีเป่าออกมาเหมือนกับเสียงห่านร้อง ยากแก่การควบคุม
แสดงว่าอบก�ำพวดลึกเกินไป
11. ถ้าเสียงท่ีเป่าออกมาเพ้ียนสูงกว่าปกติ โดยเฉพาะเสียงต่�ำยากแก่
การเป่า คุณภาพของเสียงบางเหมือนออกไม่เต็มเสียง อาจจะเป็นเพราะว่า
ใช้ฟันกัดก�ำพวด หรือกล้ามเน้ือริมฝีปากรัดก�ำพวดแน่นเกินไป
12. ถ้าเสียงแหลมเหมือนหนูร้องออกมาจากแซกโซโฟน แสดงว่าส่วน
บนและส่วนล่างของก�ำพวดอยู่ในปากไม่เท่ากัน
13. น้�ำหนักของแซกโซโฟนควรอยู่บนสายคล้องคอ ไม่ใช่อยู่บนริมผี
ปากล่าง หรือบนหัวแม่มือขวา
14. ต้องแน่ใจว่าขณะที่เป่าไม่เก็บลมไว้ที่แก้มจนแก้มป่อง ให้ใช้กระจก
ส่องดู

55

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

15. ไม่ลดขากรรไกรให้ต่�ำลงเมื่อเป่าเสียงต่�ำ
16. หลอดลมอยู่ในลักษณะเปิดตลอดเวลาท่ีเป่า ให้ออกเสียง “ออ”
ซ่ึงเป็นลักษณะท่ีหลอดลมเปิด เวลาเป่าหลอดลมจะอยู่ในลักษณะเหมือนเวลา
ออกเสียง “ออ”

ฟันบนและริมฝีปากบนท�ำงานคู่กันเสมือนแฝด ซ่ึงเป็นฝ่ายรับและฝ่าย
ต้าน ท�ำนองเดียวกันริมฝีปากล่างวางบนฟันล่างเสมือนแฝดเป็นฝ่ายกดรัด
ก�ำพวดไปยังฝ่ายรับริมฝีปากบนและฟันบน แต่กระน้ันก็ตาม กล้ามเนื้อทุก
ส่วนที่ประกอบในการวางปากต้องอยู่ในลักษณะธรรมชาติที่สุดไม่เกร็ง แบบ
ฝึกหัดส�ำหรับคลายความเครียดของกล้ามเนื้อริมฝีปาก ขอย�้ำอีกครั้งว่าเป็น
แบบฝึกหัดส�ำหรับคลายความเครียดของริมฝีปากเท่านั้นไม่ใช้ลักษณะท่ีเป่า
แซกโซโฟนโดยปกติ
ให้เป่าเสียงซอล (G) แล้วใช้น้ิวชี้ของมือขวา เผยอริมฝีปากบนด้านใด
ด้านหน่ึงให้สูงข้ึนในขณะที่เป่า ซึ่งจะท�ำให้มีลมออกมาพร้อมกับเสียงแซกโซ
โฟน แลว้ เปลย่ี นไปเผยอรมิ ฝปี ากอกี ดา้ นหนงึ่ ในลกั ษณะเชน่ เดยี วกนั เมอ่ื เผยอ
เสร็จท้ังสองข้างแล้วค่อยเผยอริมฝีปากบนโดยไม่ต้องใช้น้ิวช่วยดูกระจกใน
ขณะฝึก เผยอให้สามารถมองเห็นฟันหน้าสองซี่

56

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทที่ 6
เสียงแซกโซโฟนท่ีมีคุณภาพ

57

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทที่6
เสยี งแซกโซโฟนที่มคี ุณภาพ

เสยี งของแซกโซโฟนเหมือนกับการพูด จะพูดชัดหรอื ไมช่ ัดนนั้ เปน็ เร่ือง
เฉพาะบุคคล ซึ่งขึ้นอยู่กับการใช้อวัยวะของร่างกายที่เกี่ยวกับการพูดได้ถูก
ต้อง เด็กฝึกพูดภาษาใหม่ๆย่อมพูดค�ำไม่ชัด การฝึกใหม่ๆ ย่อมมีเสียงที่ไม่ชัด
คือ ไมม่ ีคณุ ภาพ แตก่ ็ไมไ่ ด้หมายความวา่ การฝึกนานหรอื อาศัยเวลานานแลว้
จะได้เสียงที่ชัดหรือเป็นเสียงท่ีมีคุณภาพ ข้ึนอยู่กับว่าได้รับการฝึกที่ถูกต้อง
และใช้อวัยวะในการเป่าท่ีถูกต้องหรือไม่

58

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ลักษณะการเกิดเสียงของแซกโซโฟน
การฝึกเสียงของแซกโซโฟนให้มีคุณภาพต้องอาศัยองค์ประกอบดังน้ี
1. มีอวัยวะท่ีใช้ประกอบในการเป่าท่ีสมบูรณ์ ปาก ฟัน ลิ้น นิ้ว เป็นต้น
2. มีเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพดี คือ อยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ หรือดีพอที่จะ
เป่าได้ ซึ่งรวมถึงก�ำพวดและลิ้น
3. การวางปากท่ีถูกต้อง การวางปากยังถือเป็นหัวใจของการป่าแซก
โซโฟน ถ้าวางปากไม่ถูกแล้วจะสร้างปัญหาได้หลายๆปัญหาตามมาในการเป่า
ไมว่ ่าจะเป็นการเปา่ เสียงที่มีคุณภาพ ส�ำเนียงของและการพฒั นาเทคนคิ ตา่ งๆ
ท�ำได้ยาก ฉะนั้นการวางปากจ�ำเป็นอย่างยิ่ง ส�ำหรับนักเป่าที่จะต้องท�ำให้ถูก
ควรจะแก้ปัญหาเสียก่อนที่จะสายดีกว่าไปแก้ทีหลัง
4. การหายใจดังได้กล่าวมาแล้ว ในบทท่ีว่าด้วยการหายใจ การท่ีจะ
เป่าให้เสียงมีคุณภาพน้ันต้องมีลมพอที่จะหนุนให้เสียงอยู่ในระดับเสมอกันคือ
ไม่ลุ่มๆดอนๆ

59

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

การฝึกเป่าให้เสียงมีคุณภาพ
1. ฝึกเป่าเพ่ือหาจุดกลางของเสียง ซึ่งเป็นเสียงท่ีมีคุณภาพไม่เพ้ียน
เพราะถ้าเสียงต่�ำกว่าจุดกลางเสียงจะเพ้ียนต�่ำและมีลักษณะกระจาย และถ้า
เสียงสูงกว่าจุดกลางจะเพ้ียนสูงมีความห้าวเหมือนกับบีบเสียงให้ออกมา
การหาจุดกลางของเสียง
• เป่า F# โดยปล่อยให้ขากรรไกรล่างต่�ำลงใช้การรัดตัวของกล้าม
เนื้อริมฝีปากในการเป่า แล้วค่อยๆรัดกล้ามเน้ือให้แน่นข้ึนเร่ือยๆ จนกระท่ัง
เป่าเสียงไม่ออก เสียงที่ออกมาจะเร่ิมจากเสียงต�่ำสุดแล้วค่อยๆ เปล่ียนสูงขึ้น
จนสูงสุด
• เป่า F# ให้มีเสียงต่�ำท่ีสุดเท่าท่ีจะท�ำได้ โดยวางปากให้กล้ามเน้ือ
หลวมท่ีสุด แล้วเป่า F# ให้มีเสียงสูงที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ โดยรัดกล้ามเนื้อท่ี
ปากให้แน่นท่ีสุด แล้วหาจุดกลางระหว่างเสียงทั้งสอง
อยา่ งไรกต็ ามจดุ กลางของเสยี งจะเปน็ จดุ ทเี่ สยี งมคี วามกงั วานมากทสี่ ดุ
หูของท่านจะบอกได้ว่าจุดใดของเสียงท่ีเป่าน้ันมีความกังวานกว่าจุดอื่นๆ โดย
ลกั ษณะท่วั ไปแล้วเสยี งที่มคี ุณภาพ เกิดจากการเปา่ ดว้ ยจ�ำนวนลมท่พี อเหมาะ
บวกกับแรงรัดของการวางปากท่ีสอดคล้องกับแรงลม
ข้อควรค�ำนึงคือ กระแสลมท่ีเป่าต้องมีความสม่�ำเสมอติดต่อกัน โดย
ไม่ขาดระยะหรือลมไม่ออกมาเป็นลักษณะของลูกคล่ืน
2. เป่าเสียงยาว พยายามควบคุมให้เสียงอยู่บนจุดกลางของเสียงอาจ
จะเรมิ่ ดว้ ยเสยี งเบาทส่ี ดุ แลว้ คอ่ ยๆดงั ขนึ้ จนดงั ทสี่ ดุ แลว้ คอ่ ยๆเบาจนเบาทสี่ ดุ
โดยใช้ลมเพียงลมเดียว
ความดัง – เบาของเคร่ืองหมาย จะมีความเหล่ือมล้�ำกันอยู่ ไม่ได้แยก
กันโดยเด็ดขาด ฉะนั้นเวลาเป่าก็ควรเป่าให้เสียงค่อยๆดังขึ้นหรือค่อยๆเบาลง
แต่มีลักษณะที่ติดต่อเหลื่อมล�้ำกัน ไม่เป็นลูกคลื่นหรือลุ่มๆ ดอนๆ

60

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทฝึกเป่าส�ำหรับฝึกให้เสียงมีคุณภาพ
การฝึกช้าๆ เป็นการฝึกท่ีควรค�ำนึงถึง เพราะจะสามารถฟังเสียงที่เป่า
ได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้แล้วยังมีเวลาที่คิดถึงองค์ประกอบต่างๆในการเป่า
เช่น การหายใจ การวางปาก แรงรัด แรงลมที่เป่า ฯลฯ
ส�ำเนียงแซกโซโฟน (INTONATION)
การเป่าแซกโซโฟนให้มีส�ำเนียงท่ีถูกต้อง หรือจะไม่ให้เพี้ยนน้ัน อาศัย
องค์ประกอบหลายประการ อาจจะเป็นเร่ืองง่ายส�ำหรับคนบางคน แต่ก็ไม่
เสมอไป สาเหตุการเป่าเพ้ียนหรือเสียงที่ออกมาเพ้ียนพอจะสรุปได้ดังนี้
1. การไดย้ นิ เสยี งไมถ่ กู ตอ้ ง ในวงการนกั ดนตรดี ว้ ยกนั คณุ คงเคยไดย้ นิ
คำ� วา่ คนนน้ั เพย้ี นบา้ งคนโนน้ เพย้ี นบา้ ง ความเพย้ี นทว่ี า่ นน้ั เปน็ การไดย้ นิ เสยี ง
เพยี้ นไปจากเสยี งจรงิ ๆ การเปา่ ถา่ ยทอดเสยี งทไี่ ดย้ นิ ยอ่ มเพยี้ นไปดว้ ย เหมอื น
กับการที่ได้ยินได้ฟังนิทานที่ผิดเพี้ยนไปจากความเดิม การเล่าต่อสู่ผู้ฟังอ่ืน
ข้อความย่อมผิดเพ้ียนตามที่ได้ยินมา

61

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

2. หหู รอื การไดย้ นิ เสยี งทถ่ี กู ตอ้ ง นน้ั เปน็ พรสวรรคเ์ บอ้ื งตน้ อนั ประเสรฐิ
ส�ำหรับนักดนตรี จาใช้ว่าตนหูเพี้ยนแล้วไม่สามารถเป็นนักดนตรีได้ ข้ึนอยู่กับ
ว่าเพี้ยนนั้นควรจะได้รับการฝึกการได้ยินเสียงที่ถูกต้อง ก็จะสามารถเปลี่ยน
เป็นสมบูรณ์ได้
3. ความเครียดของการวางปาก ความเครียดของการวางปากอาจ
เกิดข้ึนได้โดยเฉาะริมฝีปากด้านบน เป็นสาเหตุที่ท�ำให้เสียงเพ้ียน ตัวโน้ตยิ่ง
สูงเสียงยิ่งเพ้ียน เนื่องจากความเครียดของกล้ามเนื้อมากขึ้น การคลาย
ความเครียดของกล้ามเนื้อบริเวณริมฝีปากด้านบน มีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งใน
การเป่าแซกโซโฟนให้ดูแบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องบทฝึกส�ำหรับเสียงเกิน
4. การเปล่ียนต�ำแหน่งขากรรไกรเม่ือเป่าเสียงที่ต่างกัน อาจจะเป็น
ความรู้สึกทางธรรมชาติก็เป็นได้ที่ว่า เมื่อนักแซกโซโฟนเห็นตัวโน้ตต�่ำก็มักจะ
ลดขากรรไกรให้ต่�ำตามลงไปด้วย หรือบางครั้งขากรรไกรอาจจะเกร็งเกินไป
ในขณะเป่า ซ่ึงเป็นสาเหตุท่ีท�ำให้เสียงแซกโซโฟนท่ีออกมาเพี้ยนไปจากเสียง
ที่ควรจะเป็น ขอย�้ำอีกคร้ังว่าต�ำแหน่งของขากรรไกรจะไม่เคลื่อนไมว่าจะเป่า
ในระดับเสียงสูงหรือเสียงต่�ำ ต�ำแหน่งของขากรรไกรจะอยู่คงท่ี
5. การวางต�ำแหน่งของก�ำพวดผิดที่ ความต้ืนลึกของการอมก�ำพวด
น้อยหรือมากเกินไป หรือความไม่เท่ากันในการอมก�ำพวดระหว่างด้านบนของ
ก�ำพวด และด้านล่างที่มีลิ้นอยู่ ก็เป็นสาเหตุให้เสียงแซกโซโฟนท่ีเป่าออกมา
เพ้ียนได้
6. ก�ำพวดและการวางปากไม่เหมาะสมกัน ความเหมาะสมของแต่ละ
บุคคลย่อมข้ึนอยู่กับอวัยวะที่ประกอบข้ึนในร่างกายของแต่ละบุคคลเป็นองค์
ประกอบการเลือกก�ำพวดให้เหมาะนั้นขึ้นอยู่กับการทดลองเป่ากับก�ำพวด
หลายๆอัน แล้วเลือกก�ำพวดท่ีสามารถเป่าออกเสียงได้สะดวกและเพี้ยนน้อย
ท่ีสุด

62

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

7. เครื่องเพ้ียน แซกโซโฟนบางคันไม่มีมาตรฐานในการประกอบ ท�ำให้
เสียงที่เป่าออกมาน้ันเพี้ยนอย่างไม่สามารถจะแก้ไขได้ นอกจากเปลี่ยนเคร่ือง
ใหม่ แต่ลักษณะความผิดปกติบางอย่างของเคร่ืองท่ีท�ำให้เสียงเพี้ยนก็ยังมี
โอกาสท่ีจะซ่อมได้โดยช่างซ่อมที่มีความรู้ความช�ำนาญ
ลักษณะท่ี 1 ส�ำเนียงทางท�ำนอง (MELODIC INTONATION) ความ
ถูกต้องของส�ำเนียงในแนวท�ำนอง
ลักษณะท่ี 2 ส�ำเนียงในทางประสาน (HARMONIC INTONATION)
ความถูกต้องของส�ำเนียงในแนวประสาน
พัฒนาการเป่าให้มีส�ำเนียงที่ถูกต้องได้ระดับนั้น อาศัยการฝึกและการ
ฟังเป็นปัจจัยส�ำคัญ
1. ฝึกเป่าให้ได้เสียงท่ีเป็นจุดกลางของเสียง (ดูบทท่ีว่าด้วยการฝึกเป่า
ให้เสียงมีคุณภาพ) และฝึกบันไดเสียงทุกบันไดเสียง
2. ฝึกเป่าข้ันคู่ 3 ของบันไดเสียง โดยเป่าช้าๆ เพ่ือจะได้มีโอกาสฟัง
เสียงได้ชัด ในขณะที่เป่าควรฝึกในทุกบันไดเสียง
3. เป่าขั้นคู่ในคอร์ดของบันไดเสียง ควรฝึกในทุกบันไดเสียง
4. แบบฝึกหัดท่ีท�ำให้เกิดความคล่องของนิ้ว พร้อมท�ำให้ส�ำเนียงดีข้ึน
และชว่ ยคลายความเครยี ดของกลา้ มเนอื้ ของรมิ ฝปี ากดา้ นบนละดา้ นลา่ ง ควร
ฝึกในทุกบันได้เสียง

สิ่งควรปฏิบัติเมื่อเป่าในระดับเสียงสูงแล้วส�ำเนียงเพ้ียนสูง
1. คลายความเครียดของริมฝีปากล่าง โดยเฉพาะลดแรงกดท่ีมีต่อล้ิน
ปี่ให้น้อยลง
2. คลายความเครยี ดของกลา้ มเนอ้ื บรเิ วณรมิ ฝปี ากแตไ่ มล่ ดขากรรไกร
ให้ต�่ำลง

63

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

3. เมื่อปฏิบัติตามข้อ 1 และ 2 แล้ว ส�ำเนียงยังเพี้ยนสูงอยู่ ให้กดแป้น
นิ้วของมือขวาลง
4. อย่าลืมว่าเครื่องมือควรอยู่ในสภาพสมบูรณ์มากที่สุด ควรได้รับการ
ตรวจสอบด้วยช่างผู้ช�ำนาญอย่างน้อยปีละคร้ัง เพราะแป้นนวมอาจจะห่าง
หรือแคบเกินไป ซ่ึงเป็นสาเหตุให้ส�ำเนียงเพี้ยนได้
5. ลองใช้นิ้วแทน เพื่อฟังความแตกต่างของเสียง ระหว่างเสียงท่ีใช้นิ้ว
แท้และเสียงที่ใช้นิ้วแทน

เสียงสั่นหรือเสียงระรัว (VIBRATO)
การเป่าแซกโซโฟนให้มีเสียงไพเราะข้ึน จ�ำเป็นต้องอาศัยเสียงสั่นหรือ
เสียงระรัว (VIBRATO) จะท�ำให้ผู้ฟังเพลงเกิดความพอใจในเสียงที่มีความ
ระรัวหรือรู้จักกันโดยท่ัวไปว่า ลูกคอ ในท�ำนองเดียวกันเสียงของแซกโซโฟน
ที่มีคุณภาพอาศัยเสียงระรัวเป็นองค์ประกอบเพื่อเพิ่มรสนิยม

64

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

มารเ์ ซล มลั ย์ (MARCEL MULE) ปรมาจารยแ์ ซกโซโฟน ชาวฝรง่ั เศส
เป็นคนแรกท่ีใช้ขากรรไกร และกล้ามเนื้อริมฝีปากในการเสริมเสียงระรัวใน
เสียงของแซกโซโฟน และนิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างเสียง
เดิมกบั เสยี งระรัว เสียงระรวั เป็นการเสริมให้เสียงมีความกงั วานน่าฟงั ขึ้นจาก
เดิม แต่ยังรักษาเสียงเดิมอยู่
ลักษณะของเสียงระรัว
เสียงระรัวเป็นการท�ำเสียงเรียบให้เป็นลูกคลื่น ซ่ึงประกอบด้วยความถี่และ
ความกว้างของคล่ืนแต่ละลูกจากการบังคับและการคุมของผู้เป่าว่าจะให้มี
ความกว้างหรือแคบมากน้อยเพียงใด
เสียงระรัวที่นิยมใช้ส�ำหรับเป่าแซกโซโฟนมี 3 ชนิด ดังนี้
1. ขากรรไกรระรัว เป็นการเล่ือนขากรรไกรขึ้นลง เพ่ือให้เกิดเสียง
ระรัว แต่ริมฝีปากล่างยังคงท�ำหน้าท่ีรักษาระดับการวางปากให้คงที่อยู่ ขณะ
ท่ีขากรรไกรระรัว

65

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

2. การฝึกขากรรไกรระรัวให้นึกถึงคำ� ว่า อา หรือ วา – วา อาการของ
ขากรรไกรจะเคล่ือนขึ้นลงเหมือนออกเสียง ญา – ญา หรือ วา – วา
3. ริมฝีปากระรัว กล้ามเน้ือของริมฝีปากล่างจะท�ำหน้าท่ีระรัว โดยท่ี
ขากรรไกรจะอยู่คงที่เพื่อรักษาระดับการวางปาก
การฝึกรมิ ฝปี ากระรวั ใหเ้ ปา่ G แลว้ ใชน้ วิ้ ของมือขวาคลงึ ริมฝปี ากลา่ ง
เหมือนอาการระรัวในขณะท่ีเป่า เสียงท่ีเป่าจะออกมาเป็นเสียงระรัว
กระแสลมระรัว อาศัยกระแสลมท่ีเป่าระรัวเสียง โดยเป่าให้กระแสลม
เป็นลูกคลื่นที่ติดต่อกันไม่ขาดระยะและมีความสม�่ำเสมอ

พึงระลึกเสมอว่าเสียงระรัวไม่ได้เกิดจากการปิดเปิดของกล่องเสียงใน
ล�ำคอซ่ึงมีเสียงคล้าย ๆ แกะร้องหรืออาการไอ เพราะกระแสเสียงจะขาดเป็น
ช่วงไม่ติดต่อกัน

การฝึกเสียงระรัว
ให้ต้ังเคร่ืองเคาะจังหวะ (METRONOME) โดยให้โน้ตตัวด�ำความเร็ว
ท่ี 60 โดยให้ฝึกโน้ตตัวด�ำมีเสียงระรัว 4 คร้ัง ต่อ 1 ตัว

66

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทท่ี 7
ศิลปะการเป่าแซกโซโฟน

67

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทที่ 7
ศิลปะการเป่าแซกโซโฟน

เม่ือพูดถึงศิลปะการเป่าแซกโซโฟน แน่นอนที่สุดผู้เป่าต้องได้เรียนรู้ขั้น
พื้นฐานอย่างดีแล้วซึ่งหมายรวมถึง การหายใจ การวางปาก ในบทต้นๆ ส่วน
ในบทน้ีจะกล่าวถึงศิลปะท่ีสูงข้ึนในการเป่าแซกโซโฟน
ท�ำอย่างไรจึงจะเป่าเก่ง ท�ำอย่างไรจึงจะพัฒนาไปสู่ความเก่งท่ีนักแซกโซโฟน
ทุกคนปรารถนา
การเป่าเก่งหรือจะพัฒนาไปสู่ความเก่งประกอบด้วยปัจจัย ดังน้ี
1. การวางนิ้ว
การวางน้ิวในการเป่าแซกโซโฟนควรเป็นไปตามธรรมชาติท่ีสุด ลดขึ้น
แล้วปล่อยมือลงข้างๆ อย่างธรรมชาติ ลักษณะของมือและน้ิวที่วางบนแป้น
น้ิวแซกโซโฟน จะมีลักษณะเหมือนลักษณะของมือและนิ้ว ขณะยืนปล่อยมือ
ลงข้างๆ คือมีความโค้งเป็นธรรมชาติ น้�ำหนักของจะไม่อยู่บนมือขวา แต่จะ

68

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

อยู่บนสายคล้องคอ
น้ิวทุกน้ิววางอยู่บนแป้นน้ิวไม่เกร็ง การกดแป้นน้ิวในขณะที่เป่าเป็นไป
ตามธรรมชาตคิ อื ไมก่ ระแทก เมอื่ ปลอ่ ยแปน้ นวิ้ นว้ิ จะไมก่ ระเดง้ หา่ งออกจาก
แป้นน้ิวพยายามให้น้ิวติดอยู่กับแป้นน้ิวตลอดเวลา
2. การฝึกความเร็วของนิ้ว
ศิลปะของการใช้น้ิว
ระยะเวลาของตัวหยุด เม่ือจะเป่าให้นึกถึงเสียงท่ีจะเป่าก่อน ในขณะ
เดียวกันให้เปล่ียนนิ้วไปยังเสียงท่ีจะเป่า ฝึกในท�ำนองเดียวกันน้ีตลอดทั้งบท

69

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ฝึกในทุกบันไดเสียง พยายามฝึกอย่างช้าๆ เพ่ือสร้างสมาธิของนิ้วให้อยู่กับ
แป้นน้ิว
การพัฒนาความเร็วของนิ้ว ต้องฝึกอย่างสม่�ำเสมอจนเป็นกิจวัตร ส่ิง
ที่ควรระมัดระวังคือ ไม่ควรเป่าให้เร็วเกินความสามารถที่จะควบคุมจังหวะ
ส�ำเนียงและความชัดเจนของเสียงได้การฝึกผิดๆ จนติดเป็นนิสัย เป็นปัญหา
ท่ียากต่อการแก้ไข การฝึกอย่างเร็วนั้นควรเป็นความเร็วที่สามารถควบคุมได้
ทั้งจังหวะ ส�ำเนียง และความชัดเจนในกรณีท่ีไม่สามารถจะเป่าตรงท่ียากๆได้
นั้น ควรจะลดความเร็วลงมา อุปกรณ์ท่ีช่วยได้อีกอย่างคือ ดินสอด�ำ ส�ำหรับ
ท�ำเครื่องหมายในโน้ตเพลง เพื่อเตือนความจ�ำว่าตรงที่เราผิดเราได้แก้ไขให้ดี
ข้ึนแล้วหรือยัง
แบบฝึกหัดการฝึกความเร็วของนิ้ว
ฝึกทุกบันไดเสียง ท้ังเมเจอร์และไมเนอร์ โดยฝึกตั้งแต่ตัวโน้ตท่ีต�่ำท่ีสุด
ไปจนถึงโน้ตท่ีสูงท่ีสุด ในแต่ละบันไดเสียง
ฝึกเป่าบันไดเสียงคู่ 3 ในทุกๆบันไดเสียง
ฝึกเป่าข้ันคู่เสียง ในแต่ละคอร์ดทุกบันไดเสียง

70

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

3. นิ้วแทน
ความคล่องตัวในการใช้นิ้วเป็นเรื่องของทักษะท่ีเกิดจากการฝึกหัด วลี
เพลงบางวลีมีความไม่คล่องตัวอย่างมากส�ำหรับการใช้น้ิวแท้ในการเป่าให้ได้
เสียงที่ต้องการ นิ้วแทนช่วยแก้ปัญหาให้การใช้น้ิวได้คล่องตัวข้ึนในวลีเพลง
เหล่านั้น นิ้วแทนบางนิ้วเสียงอาจจะเพ้ียนสูง หรือต�่ำไปจากเสียงเดิม แต่ก็พอ
จะอนุโลมได้ส�ำหรับวลีเพลงที่เร็ว ส่วนวลีเพลงที่ช้าควรใช้นิ้วแท้ไม่ควรใช้นิ้ว
แทนโดยไม่จ�ำเป็น
นักแซกโซโฟนจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้จักน้ิวแทนทุกน้ิว แล้วฝึกจน
สามารถน�ำมาใช้ได้ทันที เม่ือเห็นวลีเพลงท่ีจ�ำเป็นจะต้องใช้นิ้วแทนโดยที่ไม่
ต้องเสียเวลาคิดว่าควรใช้นิ้วอย่างไร ฉะนั้นนิ้วแทนจึงเป็นเสมือนวิทยายุทธ์
ส�ำหรับนักแซกโซโฟน
ตัวอย่างวลีเพลงท่ีใช้นิ้วแทน
F# น้ิวแทนควรจะใช้เม่ือวลีเพลงอยู่ในลักษณะบันไดเสียงโครมาติก
คือการไล่เสียงกันแบบครึ่งเสียง
B FLAT น้ิวแทน B FLAT นิ้วแทนมีให้เลือกใช้ได้ถึง 4 นิ้ว แต่ละนิ้ว
ที่จะใช้ข้ึนอยู่กับความเหมาะสมกับวลีเพลง

4. การใช้นิ้วลมและการใช้ล้ิน (SLUR AND TONGUING)
เสียงของแซกโซโฟนที่ถูกเป่าออกมาประกอบด้วยอาการ 2 ลักษณะ
คือ การใช้ลมและการใช้ล้ิน นักแซกโซโฟนจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องรู้ว่าเมื่อไร
ใชล้ มและเมอ่ื ไรใชล้ นิ้ ในการเปา่ ความวจิ ติ รพสิ ดารของเสยี งในคตี วรรณกรรม
แต่ละบทถูกประพันธ์ข้ึนโดยอาศัย การใช้ลมและการใช้ล้ินในการเป่า เพ่ือให้
เป็นแนวท�ำนองที่น่าสนใจยิ่งขึ้นเป็นหลักเบ้ืองต้น

71

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

4.1 การใช้นิ้วลม
เป็นลักษณะของเสียงท่ีเป่าออกมา มีความติดต่อกันไม่ขาดระยะโดยใช้ลม
เดียวกัน ตัวโน้ตท่ีเขียนจะมีเครื่องหมายการใช้ลมในลักษณะเส้นโค้งก�ำกับอยู่
ตวั โนต้ ตวั แรกจะใชล้ น้ิ เพยี งตวั เดยี ว สว่ นตวั โนต้ ทตี่ ามมาจะใชล้ มตลอดตดิ ตอ่
กนั อาการของอวยั วะภายในปากจะอยกู่ บั ทใี่ นขณะกระแสลมผา่ นเขา้ สกู่ ำ� พวด
4.2 การใช้ล้ิน
เป็นลักษณะของเสียงท่ีเป่าออกมาถูกแยกเสียงแต่ละเสียงออกจากกัน
โดยใช้ลิ้น ตัวโน้ตที่เขียนจะไม่มีเส้นโค้งก�ำกับอยู่
ถ้าต้องการให้เสียงมีช่องว่างระหว่างเสียงหรือมีเสียงส้ันมากยิ่งข้ึน ตัว
โน้ตจะถูกประจุไว้ที่หัวเป็นเคร่ืองหมายแต่ค่าของตัวโน้ตยังคงเดิม
หมายเหตุ ตัวโน้ตทุกตัวถึงแม้จะมีเสียงส้ัน แต่ยังมีสิทธิที่จะต้องเป่าอย่างมี
คุณภาพ
อาการของล้ินขณะเป่า
โดยกระดิกปลายลิ้นไปแตะด้านล่างของลิ้นแซกโซโฟน แล้วตวัดล้ิน
กลบั ทเี่ ดมิ ในขณะเดยี วกนั กระแสลมทเี่ ปา่ ยงั พงุ่ อยอู่ ยา่ งเดมิ มไิ ดเ้ ปลย่ี นแปลง
การฝึกลิ้นเพ่ือใช้ในการเป่า
ให้พูดค�ำว่า “ที” หรือ “ทา” อาการของล้ินในขณะเป่าจะอยู่ในลักษณะ
เดียวกันเมื่อพูด “ดู” หรือ “ทู” ต้ังเคร่ืองเคาะจังหวะในอัตรา 60 เคาะต่อหนึ่ง
นาที
ข้อควรระวัง
พยายามฝกึ ดว้ ยอตั ราจงั หวะทส่ี ามารถควบคมุ ได้ รวมทงั้ คา่ ของตวั โนต้
ทุกตัวต้องแน่ใจว่าเท่ากัน ส�ำเนียงถูกต้อง การใช้น้ิวไม่เกร็งหรือไม่กระดกห่าง
จนเกินไป กระแสลมที่เป่ามีความสม่�ำเสมอ

72

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

5. เครื่องหมายและการถ่ายทอดความรู้สึกในเพลง
การเป่าตัวโน้ตและเครื่องหมายได้ถูกต้อง มิได้หมายความว่าเป็นการ
บรรเลงดนตรี นักเป่าก็คือนักเป่าไม่ใช่นักดนตรี เพราะนักเป่านั้นเพียงเป่าให้
เป็นเสยี ง ส่วนค�ำวา่ นกั ดนตรนี ้นั เป็นผู้บรรเลงดนตรที ำ� เสยี งใหเ้ ป็นดนตรี การ
ถ่ายทอดอารมณ์เพลงจากตัวโน้ตเป็นดนตรีน่ันแหละคือ วิญญาณศิลปิน
การบรรเลงดนตรีเป็นการถ่ายทอดภาษาของความรู้สึกท่ีมีต่อเพลง
การที่จะถ่ายทอดอารมณ์หรือเข้าถึงอารมณ์ของเพลง ก็ต้องศึกษาองค์
ประกอบของดนตรีเสียก่อน เช่น ตัวโน้ต แนวท�ำนอง แนวประสาน ลักษณะ
ของเสียง เป็นต้น เมื่อเข้าใจองค์ประกอบแล้วถึงจะเข้าใจอารมณ์เพลงของ
ตัวโน้ต เคร่ืองหมายต่างๆ ไม่ใช่ดนตรี ส่ิงเหล่าน้ีเป็นแต่เพียงองค์ประกอบ
เท่าน้ันท่ีจะเช่ือมโยงไปสู่ความเป็นดนตรี ความเป็นดนตรีจึงอยู่เหนือ
เครื่องหมายหรืออยู่เหนือตัวโน้ตน่ันเอง
ควรระลึกอยู่เสมอว่า ตัวโน้ตทุกตัวท่ีเป่าเป็นการเป่าดนตรี ซ่ึงมีการ
ถ่ายทอดทางอารมณ์ไม่ได้เป่าตัวโน้ต ความเป็นดนตรีของเสียงที่เป่าออกมา

73

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ต้องมีความหมายทางอารมณ์ ท�ำไมเสียงแตรรถไม่เป็นเสียงดนตรี ท�ำไมเสียง
นกหวีดไม่เป็นเสียงดนตรี เพราะเสียงแตรรถ เสียงนกหวีดเป็นแต่เพียงเสียง
ไม่ได้ถ่ายทอดอารมณ์ในแง่ดนตรี
6. การจากไปของเสียงท่ีเป่า
การจากไปของเสียงที่เป่าหรือการหยุดเสียง มีอยู่ 4 ลักษณะด้วยกัน
1. หยุดโดยการเบาเสียง โดยค่อย ๆ เบาเสียงลงทีละน้อย ๆ จนหาย
ไปในท่ีสุด
2. หยุดโดยการเบาเสียงเหมือนกันแต่เบาแล้วหยุดลมท่ีเป่า
3. หยุดลมที่เป่าแต่ไม่ต้องเบาเสียง
4. หยุดโดยทันทีทันใดโดยการใช้ลิ้นหยุด

74

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทที่ 8
ก�ำพวดแซกโซโฟน (Mouth Piece)

75

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทท่ี 8
ก�ำพวดแซกโซโฟน

ก�ำพวดหรือที่รู้จักและเรียกกันโดยทั่วไปว่า ปากเป่า (Mouth Piece)
โดยทวั่ ไปปญั หาทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ กบั กำ� พวด เชน่ กำ� พวดไมเ่ หมาะกบั ปาก เสยี ง
ทึบ หรือเสียงใสเกินไป สิ่งเหล่าน้ีเป็นส่ิงที่ควรค�ำนึงภายหลังท่ีได้เรียนรู้พ้ืน
ฐานการเป่าแซกโซโฟนแล้ว ส�ำหรับผู้ฝึกใหม่ไม่จ�ำเป็นที่จะเสาะแสวงหา
ก�ำพวดใหม่ ในขณะท่ียังไม่ได้เรียนรู้ข้ันพ้ืนฐานก่อน จนกระทั่งให้รู้แน่นอนว่า
ก�ำพวดเป็นสาเหตุที่ท�ำให้คุณภาพเสียงไม่ดีแล้วจึงค่อยเปล่ียน อย่าเปล่ียน
ก�ำพวดโดยไม่รู้ว่าอะไรเป็นอะไร นอกจากจะส้ินเปลืองเงินแล้วยังสิ้นเปลือง
เวลาโดยใช่เหตุ โดยปกติแล้วก�ำพวดที่ติดมากับแซกโซโฟนท่ีซ้ือใหม่จะเป็น
ก�ำพวดขนาดกลางเหมาะส�ำหรับผู้ฝึกใหม่

76

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ด้วยเหตุผลหลายๆประการท่ีท�ำให้นักแซกโซโฟนเลือกก�ำพวดที่แตกต่างกัน
เช่น ลักษณะของกล้ามเนื้อบริเวณปาก โครงสร้างของกระดูกคาง ความหนา
บางของริมฝีปาก นอกจากนี้แล้วยังค�ำนึงถึงว่า ประเภทของเพลงท่ีเป่าเป็น
อย่างไร เปา่ เด่ยี ว เปา่ ประสาน เปา่ เพลงคลาสสกิ หรอื เปา่ เพลงแจส๊ สงิ่ เหล่า
น้ีมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดในการเลือกใช้ก�ำพวดให้เหมาะสมประกอบกับ
ความพอใจของผู้เป่าว่าชอบเสียงอย่างไรด้วย

77

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

วัสดุที่ใช้ท�ำก�ำพวด
1. ก�ำพวดท่ีใช้กันทุกวันน้ีท�ำด้วยไม้เน้ือแข็งสีด�ำ แก้ว เหล็ก พลาสติก
วัสดุที่ใช้แต่ละชนิดมีคุณสมบัติแตกต่างกันดังน้ี
2. ก�ำพวดที่ท�ำด้วยไม้เนื้อแข็ง ส่วนมากจะเอาแก่นของไม้เนื้อแข็งมา
ท�ำ ถ้าได้รับการรักษาอย่างดีก็สามารถใช้ได้หลายปี แต่มีข้อเสียคือ แตกได้
ง่าย
3. ก�ำพวดที่ท�ำด้วยเหล็ก ก�ำพวดเหล็กมักมีขนาดเล็กกว่าก�ำพวดที่ท�ำ
ด้วยวัสดุอย่างอื่น เหมาะส�ำหรับเทเนอร์ หรือบาริโทน หรือคนที่ชอบขนาด
ของก�ำพวดเล็ก
4. ก�ำพวดที่ท�ำด้วยแก้วเป็นที่นิยมใช้โดยท่ัวไป เพราะราคาถูกไม่แตก
เหมือนเม่ือก่อน

สิ่งท่ีควรรู้เก่ียวกับก�ำพวด
ส่วนประกอบของก�ำพวด
แคมท้ังสองข้างต้องอยู่ในลักษณะที่เท่ากัน หน้าประกบระหว่างล้ินปี่
และก�ำพวดต้องเรียบเสมอตลอดแนว เม่ือลิ้นปี่ประกบกับก�ำพวดจะต้องไม่มี
รอยลมรั่วออกข้างๆ ความลึกของเพดานก�ำพวดท�ำให้เสียงมีความใส และ
ความตื้นของเพดานก�ำพวดท�ำให้เสียงทึบ

ปากก�ำพวด
หนา้ สนั้ ปลายปากกำ� พวดกบั ลนิ้ ปจ่ี ะกวา้ ง ลน้ิ ปท่ี ใี่ ชค้ วรเปน็ ลนิ้ ปท่ี อี อ่ น
เพราะสามารถระรัวในระยะที่กว้างได้ เสียงท่ีออกมาจะเป็นเสียงที่ใสเหมาะ
ส�ำหรับเป่าเพลงแจ๊ส
หน้ากลาง ปลายก�ำพวดกับล้ินปี่จะห่างกันปานกลาง ลิ้นปี่ท่ีใช้ควรเป็น

78

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ล้ินที่มีความอ่อน–แข็งปานกลาง เสียงที่ออกมาจะไม่ใสและไม่ทึบจนเกินไป
เหมาะส�ำหรับเป่าเพลงคลาสสิก
หน้ายาว ปลายปากก�ำพวดกับปลายล้ินปี่จะแคบ ลิ้นปี่ที่ใช้ควรเป็นล้ิน
ที่แข็ง เพราะมีระยะแคบในการระรัวเสียงที่ออกมาจะทึบหนักแน่น
ส�ำหรับผู้ฝึกใหม่ขอแนะน�ำให้ใช้ก�ำพวดขนาดกลางก่อน
สิ่งท่ีควรพิจารณา
ผเู้ ริม่ เรียน และผทู้ น่ี ยิ มเป่าเพลงคลาสสิกควรใช้กำ� พวดแคบปานกลาง
ส�ำหรับผู้ที่นิยมเพลงแจ๊ส ควรใช้ก�ำพวดที่กว้างมากข้ึนกว่าปานกลางเล็กน้อย

ลิ้นแซกโซโฟน
ล้ินแซกโซโฟน หรือลิ้นปี่มีความส�ำคัญมากพอสมควร เพราะล้ินปี่
เป็นต้นก�ำเนิดเสียงของ แซกโซโฟน ลิ้นปี่มีส่วนเก่ียวข้องอย่างมากกับเสียง
ทึบเสียงใส เสียงบาง เสียงมีอ�ำนาจ และการใช้ลมมากหรือน้อย แต่การเป่า
ผิดตัวโน้ต ผิดจังหวะ และการผิดบันไดเสียงนั้นไม่ได้เก่ียวข้องกับล้ินปี่

79

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ลิ้นอ่อน ลิ้นแข็ง ล้ินไม่เสมอ เป็นปัญหาที่นักแซกโซโฟนควรค�ำนึงถึง
อย่างมาก ลิ้นท่ีดีจะระรัวเสียงให้มีคุณภาพ ในท�ำนองเดียวกันล้ินไม่ดีก็ย่อม
ระรัวเสียงท่ีขาดคุณภาพ
ลักษณะของล้ินแซกโซโฟน
ลิ้นแซกโซโฟนท่ีขายตามท้องตลาดทั่วไปมีอยู่ 2 ลักษณะ คือ
1. ลักษณะของลิ้นที่มีเนินกลางเป็นรูปตัววี (V) นิยมเรียกกันว่า แบบ
เยอรมัน
2. ลักษณะของล้ินท่ีมีเนินกลางเป็นรูปตัวยู (U) นิยมเรียกกันว่า แบบ
ฝรั่งเศส ลิ้นประเภทน้ีได้รับความนิยมมากกว่าประเภทแรก

80

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

การเลือกล้ินปี่
ในการเลือกล้ินเพื่อให้ได้ลิ้นที่ดี อย่างน้อยที่สุดก็ควรจะรู้จักส่วน
ประกอบของลิ้นเพื่อช่วยในการเลือก
ส่วนประกอบของลิ้นปี่
ถ้ามีโอกาสหรือมีเงินพอท่ีจะซ้ือเป็นกล่องได้ ก็ควรจะเลือกย่ีห้อลิ้นปี่ที่
มีมาตรฐานเช่ือถือได้ว่าใน 1 กล่องมีล้ินปี่ท่ีมีคุณภาพเกินคร่ึง
ถ้าจะต้องซ้ือปลีกก็ควรจะซื้อจากร้านที่เปิดโอกาสให้เลือกล้ินปี่ได้ ซ่ึง
โดยท่ัวไปแล้วการเลือกล้ินปี่ต้องอาศัยสายตาและความรู้เป็นหลัก ทางร้าน
คงไม่ยอมให้เลือกล้ินปี่โดยการลดลองเป่าเป็นแน่
กอ่ นทจ่ี ะซอื้ ลน้ิ ปก่ี ค็ วรจะรวู้ า่ กำ� พวดทใี่ ชอ้ ยเู่ หมาะสมกบั ลนิ้ ปเ่ี บอรอ์ ะไร
ความสัมพันธ์ระหว่างความกว้างของปากก�ำพวดกับความอ่อนแข็งของล้ินปี่
ลนิ้ ออ่ นจะมคี วามระรวั ของปลายล้นิ มากเหมาะส�ำหรบั กำ� พวดทปี่ ากเปดิ กวา้ ง
ส่วนลิ้นแข็งจะมีความระรัวของปลายลิ้นน้อยเหมาะส�ำหรับก�ำพวดท่ีปากแคบ

81

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
82

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทท่ี 9
การฝึกแซกโซโฟน

83

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทที่ 9
การฝกึ แซกโซโฟน

เมื่อพูดถึงการฝึกอาจพูดได้ว่าการฝึกเป็นเรื่องท่ีได้รับความสนใจน้อย
มากในวงการนักดนตรีของไทยเรา โดยแต่ละคนอาจจะมีเหตุผลต่างๆกัน
เหตุผลที่กล่าวมานั้น เป็นการสร้างลักษณะนิสัยท่ีไม่ดีต่อการฝึก ขาด
ความรู้ความเข้าใจในตัวนักดนตรี เพราะที่จริงแล้วความเป็นเอกมาจากการ
ฝกึ นกั แซกโซโฟนเอกของโลกยงั ตอ้ งฝกึ ความเกง่ ของนกั แซกโซโฟนเอกเหลา่
นั้นมาจากการฝึกที่ถูกต้อง
ปรัชญาของการฝึก “ฝึกท�ำให้ทุกอย่างสมบูรณ์ เพราะการฝึกที่ผิดเป็น
เหตุให้ปฏิบัติผิด”
การฝึกคือ การพัฒนาไปสู่ความเก่ง พัฒนาทักษะ กล้ามเนื้อ และ

84

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

พรสวรรค์ทางดนตรีให้เจริญไปในทางท่ีถูกต้อง
การฝึกและการบรรเลงมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน การบรรเลงนั้น
เป็นการแสดงในท่ีสาธารณชน ข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึนไม่อาจจะกลับไปแก้ไขได้
ต้องปล่อยให้ผ่านไป และท่ีส�ำคัญก็คือการบรรเลงเป็นการอวดวิทยายุทธ์ท่ีได้
ฝึกมา อวดความสามารถในการบรรเลงท่ีจะถ่ายทอดอารมณ์ทางดนตรีไปสู่ผู้
ฟัง
ส่วนจุดประสงค์ของการฝึกน้ันเป็นการเรียนรู้ทักษะการควบคุมกล้าม
เนื้อที่ใช้ในการเป่าแซกโซโฟน ไม่ว่าจะเป็นริมฝีปาก ระบบการหายใจ นิ้ว
สมาธิ ฝึกระบบประสาทให้ตอบสนองต่อดนตรี ฝึกหูให้เคยชินกับเสียงท่ีถูก
ต้อง แก้ไขข้อบกพร่องให้สมบูรณ์

ฝึกที่ไหน
สถานทฝ่ี กึ ควรเปน็ สถานทที่ ส่ี งบสามารถสรา้ งสมาธใิ นการฝกึ โดยไมม่ ี
สิ่งใดมารบกวนหรือไม่รบกวนบุคคลอื่น ห้องฝึกควรเป็นห้องส่วนบุคคล
อากาศถ่ายเทได้สะดวก อุณหภูมิเหมาะสมประมาณ 75๐ องศาฟาเรนไฮน์ ใน
ห้องควรจะมีกระจกไว้ส�ำหรับตรวจสอบในการวางปากและท่าทางในการเป่า
ถ้าเป็นไปได้ควรมีเปียโนส�ำหรับการบรรเลงประกอบ

ฝึกเม่ือไร
การฝึกควรปฏิบัติให้เป็นกิจวัตรประจ�ำวัน นักเรียนแซกโซโฟนควรมี
เวลาฝึกอย่างน้อยวันละ 2 ช่ัวโมง นักแซกโซโฟนอาชีพควรฝึกอย่างน้อย
สม�่ำเสมอ ไม่ควรท่ีจะฝึกวันเดียว 10 ชั่วโมง แล้วหยุดไป 10 วัน ในขณะฝึก
เมื่อรู้สึกเหนื่อยควรจะหยุดพัก เพราะไม่มีประโยชน์ที่จะฝืน เมื่อร่างกาย
อ่อนเพลียไม่สามารถควบคุมได้ท�ำให้การเรียนรู้ได้ผลน้อย นอกจากจะท�ำให้

85

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

เหนื่อยมากขึ้นแล้วยังท�ำให้จิตใจเบื่อหน่ายต่อการฝึกอีกทอดหนึ่งพึงระลึก
เสมอว่า การฝึกจะสมบูรณ์ก็ต่อเม่ือร่างกายและจิตใจสมบูรณ์เมื่อเหน่ือยควร
หยุดพัก

ลักษณะนิสัยที่ดีในการฝึก
1. การฝึกท่ีดีต้องค�ำนึงถึงคุณภาพของการฝึกเป็นส�ำคัญ ระยะเวลาท่ี
ใช้ฝึกควรขึ้นอยู่กับสมาธิใช้เวลาสั้น แต่มีสมาธิฝึกย่อมดีกว่าใช้เวลาอัน
ยาวนาน แต่ไม่มีสมาธิ
2. ฝึกด้วยอัตราจังหวะช้า ถือเป็นหัวใจของการฝึก เพราะการฝึกช้า
ๆ มีโอกาสแก้ไขข้อบกพร่องสามารถฟังเสียงที่เป่าได้ชัดแม่นย�ำและสามารถ
สร้างสมาธิในการฝึกได้ เม่ือฝึกได้ถูกต้องแม่นย�ำแล้วจึงค่อย ๆ เปลี่ยนอัตรา
จังหวะให้เร็วขึ้น แต่ไม่เร็วจนเกินความสามารถท่ีจะควบคุมได้

86

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

3. ฝึกจุดอ่อน วลีที่ยาก กระสวนจังหวะที่เป่าไม่ถูก การฝึกเป็นการ
แก้ไขข้อบกพร่องให้ถูกต้องย่ิงขึ้น ไม่ควรเสียเวลาในสิ่งท่ีเป่าได้อยู่แล้ว ควร
สนใจแก้ไขส่ิงท่ีท�ำไม่ถูกหรือเป่าไม่ได้ ควรจริงจังต่อข้อผิดพลาดโดยใช้เวลา
พินิจพิจารณาว่า ท�ำไมถึงเป่าผิด แล้วจะแก้ไขอย่างไร อย่าฝึกอย่างผิด ๆ จน
เคยชิดต่อความผิดน้ันแล้ว เข้าใจเอาว่าความผิดคือความถูกต้อง
4. ใช้เคร่ืองเคาะจังหวะและเคร่ืองต้ังเสียงในการฝึก จ�ำเป็นอย่างย่ิง
ที่จะต้องมีเครื่องเคาะจังหวะควบคู่กับการฝึกตลอดเวลา เพื่อสร้างความคงที่
แมน่ ยำ� ของจงั หวะ ไมค่ วรเดาจงั หวะดว้ ยถอื วา่ รแู้ ลว้ เพราะจะเปน็ สาเหตขุ อง
จังหวะไม่คงท่ีเร็วบ้างช้าบ้างโดยไม่รู้ตัว และในท่ีสุดจะล้มเหลวต่อการฝึก
นอกจากนแ้ี ลว้ ควรมเี ครอื่ งตงั้ เสยี งอยา่ เพมิ่ เชอ่ื หตู วั เองเกนิ ไป ควรฝกึ ตง้ั เสยี ง
ให้เคยชินกับเสียงท่ีถูกต้องก่อน
5. กระจก ทกุ คร้ังทฝ่ี ึกควรมีกระจก เพราะกระจกคือครูท่ีจะบอกใหเ้ รา
ทราบว่าการวางปาก หรือท่าทางการจับแซกโซโฟนถูกต้องหรือไม่
6. มีทัศนคติที่ดีต่อการฝึก นอกจากสร้างสมาธิในการฝึกแล้วควรสร้าง
ทัศนคติท่ีดีต่อการฝึก ฝึกเพ่ือดนตรี ไม่ควรฝึกเพราะถูกบังคับ หรือฝึกดนตรี
เพ่ือสร้างฐานทางสังคม
7. บันทึกเทปทุกคร้ังที่ฝึกเพื่อฟัง และแก้ไขข้อบกพร่องในการฝึกคร้ัง
ต่อไป
8. ฝึกความจ�ำโดยฝึกวลีเพลงส้ันๆ 10 เท่ียว (ดูโน้ต) แล้วอีก 10 เท่ียว
โดยอาศัยความจ�ำเป่า อีก 10 เที่ยว โดยดูโน้ตอีกคร้ังหน่ึง

ฝึกอะไร
การฝึกทุกครั้งควรจัดเป็นตารางว่า ฝึกอะไรบ้าง นานเท่าใด ไม่ควรฝึก
อย่างหน่ึงอย่างใดจนเบื่อต่อการฝึก

87

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ตัวอย่างการแบ่งเวลาในการฝึกระยะ 2 ช่ัวโมง (เวลามากน้อยให้
เปลี่ยนไปตามอัตราส่วน)
• เป่าเสียงยาว (20 นาที) เพื่อ
ฝึกส�ำเนียง
ฝึกเสียงระรัว
ฝึกความดังเบาของเสียง
ฝึกการวางปาก
• ฝึกบันไดเสียง (20 นาที)
บันไดเสียงตั้งแต่ตัวต�่ำสุดถึงสูงสุด
เป่าคู่ 3 ในบันไดเสียง
เป่าข้ันคู่ ในคอร์ด
เป่าโดยเปล่ียนเครื่องหมาย การใช้ลม การใช้ลิ้น
ควรเปล่ียนบันไดเสียงทุกคร้ังที่เป่า
• แบบฝึกหัดหรือบทฝึกท่ีอยู่ในบันไดเสียงเดียวกัน (30 นาที)
• พัก (5 นาที)
• ฝึกบทคีตวรรณกรรมส�ำหรับการบรรเลงเดี่ยว (30 นาที)
• ฝึกจักษุสัมผัส (SIGHT READING) (15 นาที) โดยใช้บทฝึก
อะไรก็ได้ที่ไม่เคยผ่านสายตามาก่อน เพื่อฝึกสายตาในการสัมผัสกับโน้ตท่ีไม่
เคยอ่านมาก่อนโดยเน้นกระสวนจังหวะเป็นหลัก
เตือนความจ�ำ ก่อนท่ีจะลงมือฝึกซ้อมอย่าลืมเอาล้ินปี่แช่น�้ำ หรืออมไว้
ในปาก เพื่อที่จะให้ล้ินปี่อมน้�ำคงตัวก่อนท่ีจะเป่าประมาณ 3 – 5 นาที ส่วน
การเตรียมเครื่องมือควรปฏิบัติดังนี้
1. เอาสายคล้องคอแซกโซโฟนคล้องคอ
2. เอาก�ำพวดต่อติดกับคอแซกโซโฟน

88

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

3. เอาคอแซกโซโฟนต่อติดกับล�ำตัว ขันสกรูที่ข้อต่อไม่ให้หลวมหรือ
แน่นจนเกินไป
4. เอาแซกโซโฟนคล้องกับสายคล้องคอ
5. เอาล้ินปี่ท่ีแช่น้�ำไว้แล้วประกอบกับหน้าประกบ โดยให้ใช้ปลายล้ิน
ปี่เสมอกับปลายปากก�ำพวด ใช้หัวแม่มือข้างใดข้างหน่ึงกดไว้ แล้วใช้มืออีก
ข้างสวมข้อรัดลิ้นปี่ ขันสกรูรัดให้พอดี ไม่หลวมหรือไม่แน่นจนเกินไป
6. ปรับระดับสายคล้องคอให้พอดีในการเป่า แต่ไม่ปรับระดับโดยก้ม
หรือเงยหน้าให้ดูรูปท่าทางในการเป่าประกอบ

ตัวอย่างการฝึกในระยะเวลาสองชั่วโมง
เปา่ เสยี งยาวใชเ้ วลาประมาณ 20 นาที ในการฝกึ แตล่ ะครง้ั ควรเปลยี่ น
บันไดเสียงส�ำหรับตัวอย่างน้ันจะใช้บันไดเสียง G เมเจอร์
1. ฝึกเป่าบันไดเสียงใช้เวลาประมาณ 20 นาที
2. เป่าบทฝึกบันไดเสียง G เมเจอร์
3. พักประมาณ 5 นาที
4. ฝึกบทคีตวรรณกรรมในบันไดเสียง G เมเจอร์

89

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ปรัชญาการแสดง
การแสดงเป็นเป้าหมายสุดยอดของการเรียนดนตรี จะเป็นการแสดง
เพื่อตนเองหรือแสดงในท่ีสาธารณะก็แล้วแต่ ย่อมจะบ่งถึงความคล่องตัวใน
การแสดง ซ่ึงข้ึนอยู่กับการฝึกท่ีผ่านมา
ในบทนี้จะกล่าวถึงการแสดงดนตรีในที่สาธารณะ ทั้งการบรรเลงเดี่ยว
และบรรเลงเป็นวง
1. การแสดงออกทางดนตรี ถอื เปน็ พรสวรรคอ์ ยา่ งหนงึ่ ซงึ่ ออกมาจาก
จิตและวิญญาณ ถึงกระน้ันก็ตาม การแสดงออกทางดนตรียังรวมถึงองค์ประ
กอบอ่ืนๆ อีกด้วย เช่น คุณภาพของเสียงที่เป่าออกมา เคร่ืองหมายทางดนตรี
การจากไปของเสียงที่เป่า เสียงระรัว วลี และประโยคเพลง ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีต้อง
อาศัยการฝึกนอกเหนือจากพรสวรรค์
2. ปรัชญาการแสดง เป็นเรื่องที่จะต้องฝึกและท�ำความเข้าใจ โดยมี
ข้อท่ีควรค�ำนึงถึงดังน้ี
2.1 ไมส่ มควรอย่างยง่ิ ทจ่ี ะขอโทษผฟู้ งั จากขอ้ ผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดข้นึ
นักแสดงต้องใจกล้าพอที่จะแสดง โดยไม่ค�ำนึงถึงข้อผิดพลาดท่ีเกิดขึ้น
2.2 เสียงทุกเสียงท่ีเป่าออกมา ต้องมีความหมายทางดนตรีและมี
คุณภาพแม้แต่การตั้งเสียง
2.3 คิดในทางที่ดีในขณะบรรเลง หลีกเล่ียงความคิดในทางลบ เช่น
ความผิดพลาดอาจจะเกิดขึ้นและในที่สุดก็เกิดขึ้น
2.4 พยายามเข้าใจหลักธรรมชาติท่ีว่า ไม่มีใครจะชอบทุกอย่างท่ี
บรรเลงถือเสียว่าเม่ือไม่ชอบมันไม่ใช่ความผิดของเรา แต่ใช่ว่าถือโอกาสไม่
ซ้อมเสียเลย ซ้อมให้ดีที่สุดและบรรเลงให้สุดความสามารถ
2.5 ความม่ันใจในการบรรเลงมาจากการซ้อมและการเตรียมตัวท่ีดี
2.6 เป้าหมายของการบรรเลงควรดีกว่าการบรรเลงคราวที่แล้ว

90

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

2.7 ไม่ควรท�ำหน้ายุ่งเม่ือเป่าผิด ให้เป่าผ่านความผิดที่เกิดข้ึน
2.8 จดุ ที่ๆจะตอ้ งใชค้ วามสามารถพิเศษหรอื จุดทย่ี าก ควรคำ� นงึ ถึงโน้ต
ก่อนที่จะนกึ ถึงการถ่ายทอดอารมณ์เพลง อยา่ งไรก็ตามควรที่จะฝึกให้ชำ� นาญ
จนสามารถถ่ายทอดอารมณ์เพลงได้
3. ถ้าเป็นไปได้ควรบันทึกในการบรรเลงเพ่ือที่จะได้ฟังเปรียบเทียบว่า
ส่ิงที่คิดไว้กับเทปแตกต่างกันอย่างไร
4. ท่าทางในการแสดง น�้ำหนักควรอยู่บนขาท้ังสองข้าง
5. การโค้งให้เกียรติ กระท�ำอย่างไม่เคอะเขินบนเวทีผู้แสดงย่อมเป็น
ศิลปิน
6. ความคล่องตัวและความจัดเจนต่อการแสดงย่อมท�ำให้มีส่ิงที่จะต้อง
ระวังมากข้ึน แต่ถ้าจะคิดในแง่ดีแล้วไม่มีใครที่จะแสดงทุกอย่างสมบูรณ์ และ
การแสดงเร่ิมเม่ือก้าวแรกที่คุณขึ้นสู่เวที

อยา่ งไรกต็ ามทกี่ ลา่ วมาทง้ั หมดเปน็ เพยี งขอ้ สงั เกตโดยทวั่ ไปเทา่ รน้ั ไมม่ ี
อะไรดีไปกว่าประสบการณ์ตรง นักเรียนดนตรีต้องกล้าแสดงและพร้อมเสมอ
ที่จะแสดง ความไม่พร้อมที่จะแสดงเป็นการพลาดโอกาสอันย่ิงใหญ่ในฐานะ
ศิลปิน

91

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
92

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทที่ 10
ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น

93

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทท่ี 10
ทฤษฎีดนตรสี ากลเบ้อื งต้น

ทฤษฎีดนตรีสากลเป็นส่ิงจ�ำเป็นที่ต้องศึกษาเพ่ือเป็นแนวทางพื้นฐานสู่
การปฏิบัติเคร่ืองดนตรีโน้ตดนตรีสากลและเครื่องหมายต่างๆ คือสัญลักษณ์
ท่ีให้ปฏิบัติ ดังนั้นทฤษฎีดนตรีสากลจึงควรศึกษาและฝึกเพื่อให้เกิดทักษะ
ปฏิบัติจนเกิดความคล่องแคล่วด้วยความเข้าใจ

ทฤษฎีดนตรีสากล
1. บรรทัดห้าเส้น (Staff)
บรรทัดห้าเส้น (Staff) ประกอบด้วยเส้นตรงขนานกันจ�ำนวน 5 เส้น
และช่องบรรทัดจ�ำนวน 4 ช่อง โดยเส้นบรรทัดมีระยะห่างเท่ากัน การนับเส้น
หรือบรรทัดห้าเส้นให้นับตามล�ำดับจากล่างไปบนโดยนับเส้นหรือช่องล่างสุด
เป็น 1 2 3 4 5 ตามล�ำดับ ในการบันทึกตัวโน้ตและสัญลักษณ์ต่างๆ ทาง
ดนตรีสากลจะบันทึกบนบรรทัดห้าเส้นเป็นหลัก

2. ตัวโน้ต (Note)
ตัวโน้ต เป็นสัญลักษณ์ท่ีใช้บันทึกแทนระดับเสียง และความยาวของ
เสียง ส่วนประกอบส�ำคัญของตัวโน้ต ได้แก่ ส่วนหัวตัวโน้ต และส่วนหางตัว

94

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

โน้ต ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะโน้ตต่างๆ

2.1 เม่ือตัวโน้ตอยู่ต่�ำกว่าเส้นท่ี 3 หางตัวโน้ตจะชี้ขึ้น

2.2 เมื่อตัวโน้ตอยู่สูงกว่าเส้นที่ 3 หางตัวโน้ตจะชี้ลง

2.3 เม่ือกลุ่มตัวโน้ตอยู่เส้นท่ี 3 หางตัวโน้ตจะช้ีข้ึนหรือลงก็ได้ ขึ้นอยู่
กับกลุ่มตัวโน้ต

95

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

การรวบรวมหางตัวเขบ็ต
โน้ตตัวเขบ็ตลักษณะเดียวกัน เช่น ตัวเขบ็ต 1 ช้ัน หรือตัวเขบ็ต 2 ช้ัน
สามารถเขยี นหางตวั โนต้ รวบรวมเปน็ หมวดหมู่ เพอ่ื ความสวยงามเปน็ ระเบยี บ
ง่ายต่อการอ่าน

96

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

3. ค่าตัวโน้ต
ค่าตัวโน้ต ลักษณะตัวโน้ตมีหลายลักษณะ ค่าตัวโน้ตลักษณะต่างๆ
สามารถเปรียบเทียบค่าความยาวโน้ต และมีช่ือเรียกลักษณะโน้ตต่างๆ ดังน้ี
ภูมิเปรียบเทียบค่าตัวโน้ต

แผนภูมเปรียบเทียบค่าตัวโน้ต

97

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

ตารางเปรียบเทียบค่านับ

จะเหน็ วา่ คา่ จงั หวะนบั ของโนต้ ตวั กลมมากทสี่ ดุ ตวั ขาว ตวั ดำ� ตวั เขบต็
1 ช้ัน ตัวเขบ็ต 2 ชั้นและตัวเขบ็ต 3 ชั้น จะมีค่าลดลงทีละครั้งตามลำ� ดับ เช่น

98


Click to View FlipBook Version