The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฝึกเล่นแซกโซโฟน ด้วยตนเอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ittiruth kullertpittaya, 2020-11-10 03:24:58

แซกโซโฟน

ฝึกเล่นแซกโซโฟน ด้วยตนเอง

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

4. ตัวหยุด (Rest)
ตัวหยุด คือ สัญลักษณ์ทางดนตรีท่ีก�ำหนดให้เงียบเสียงหรือไม่ให้เล่น
ในระยะ เวลาตามค่าตัวหยุดนั้นๆ ตัวหยุดมีหลายชนิดสอดคล้องกับตัวโน้ต
ลักษณะต่างๆ

ตัวหยุดลักษณะต่างๆ ตามค่าตัวโน้ต
5. เส้นน้อย (Leger Lines)
เส้นน้อย คือ เส้นส้ันๆ ท่ีอยู่ต่�ำกว่าหรือสูงกว่าบรรทัดห้าเส้น มีระยะ
ห่างเท่ากับบรรทัดห้าเส้นโน้ตที่อยู่ต่�ำหรือสูงมากๆ จะต้องอาศัยเส้นน้อยตาม
ล�ำดับ เช่นโน้ตที่คาบเส้นจะเรียงล�ำดับกับโน้ตท่ีอยู่ในช่องถ้าหากเส้นน้อยมี
มากกว่าสามเส้น ควรใช้วิธีการเปล่ียนกุญแจประจ�ำหลักหรือใช้เคร่ืองหมาย
คู่แปดช่วย เพื่อให้สะดวกต่อการอ่าน

99

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

6. กุญแจ (Clef)
กุญแจ คือ สัญลักษณ์ทางดนตรีท่ีบันทึกไว้ท่ีบรรทัดห้าเส้น เพ่ือก�ำหนด
ระดับเสียงโน้ตที่อยู่ในช่องและอยู่บนเส้นของบรรทัดห้าเส้น กุญแจที่ใช้ใน
ปัจจุบันมี 3 แบบ ดังนี้

6.1 กุญแจซอล หรือกุญแจ G (G clef) คือ กุญแจท่ีก�ำหนดให้โน้ตซอล
(G) อยู่บรรทัดเส้นท่ี 2 กุญแจชนิดน้ีนิยมมากในกลุ่มนักดนตรี นักร้อง ใช้กับ
เครื่องดนตรีท่ีนิยมทั่วไป เช่น กีตาร์ ไวโอลินทรัมเป็ต ฯลฯ กญแจซอลมีช่ือ
เรียกภาษาอังกฤษ คือ เทรเบิลเคลฟ (Treble clef)

6.2 กุญแจฟา หรือกุญแจ F (F clef) คือ กุญแจท่ีก�ำหนดให้โน้ตฟา
(F) อยู่บนเส้นท่ี 4 กุญแจชนิดนี้นิยมใช้กับเสียงร้องหรือเครื่องดนตรีท่ีมีเสียง
ต่�ำ เช่น เชลโล เบส ทรอมโบน ฯลฯ กุญแจฟามีช่ือเรียกภาษาอังกฤษอีกชื่อ
คือ เบสเคลฟ (Bass clef)

6.3 กุญแจโด หรือกุญแจ C (C clef) คือ กุญแจท่ีก�ำหนดให้เสียงโด
(C) อยู่บนเส้นใดก็ได้ของบรรทัดห้าเส้น ให้เป็นเสียงโดกลาง

100

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

7. การเรียกชื่อตัวโน้ต
การเรียกชื่อตัวโน้ตสากลท่ีนิยมมี 2 ระบบ ได้เเก่
7.1 ระบบโซฟา (So-Fa system) ใช้เรียกตัวโน้ตเรียงล�ำดับจากเสียง
ต�่ำไปเสียงสูง ดังน้ี โด (Do) เร (Re) มี (Mi) ฟา (Fa) ซอล (Sol) ลา (La) ที
(Ti)

7.2 ระบบตัวอักษร (Latter system) ใช้เรียกช่ือโน้ตเรียงล�ำดับจาก
เสียงต่�ำไปเสียงสูง
ดังนี้ A B C D E F G โดยใช้ตัวอักษร A แทนด้วยตัว ลา

การเรียกชื่อโน้ตในกุญแจ
เม่ือใช้กุญแจซอล (G clef) เรียงล�ำดับจากตัวโด ดังนี้

101

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

เม่ือใช้กุญแจฟา (F clef) เรียงล�ำดับจากตัวโด ดังนี้

8. เส้นกันห้อง (Bar line)
เส้นกันห้อง คือ เส้นตรงแนวตั้งท่ีขีดขวางบรรทัดห้าเส้น เพ่ือก้ันแบ่ง
โน้ตในแต่ละห้อง ให้มีจ�ำนวนจังหวะตามท่ีเครื่องหมายก�ำหนดจังหวะก�ำหนด
ไว้
8.1 ใช้ก้ันห้องเพลง

8.2 ใช้ก้ันจบตอนหรือจบท่อนเพลง โดยใช้เส้นกันห้องคู่ (Double Bar
Line)

102

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

9. การเพ่ิมค่าตัวโน้ต
การเพ่ิมค่าตัวโน้ต และเพิ่มค่าตัวหยุด สามารถท�ำได้ดังน้ี
9.1 การประจุด (Dot) คือ การประจุดท่ีด้านขวาตัวโน้ต หรือท่ีตัวหยุด
จะมีผลให้ค่าโน้ตน้ันๆเพ่ิมมากข้ึนครึ่งหน่ึงของค่าตัวโน้ตน้ัน เช่น

9.2 เครื่องหมายโยงเส้นทาย (Tie) ใช้กับโน้ตที่มีระดับเสียงเดียวกัน
จะเพ่ิมค่าเท่ากับค่าโน้ตสองตัวรวมกัน โดยจะเล่นท่ีโน้ตตัวแรก ลากเสียงไป
ส้ินสุดที่ตัวสุดท้ายที่เคร่ืองหมายท่ีก�ำหนดไว้ เช่น

103

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

9.3 ใช้สัญลักษณ์เฟอร์มาตา (Fermata) หรือเป็นเส้นโค้งคร่ึงวงกลม
มีจุดตรงกลาง ใช้บันทึกไว้ท่ีหัวโน้ต เพ่ือเพิ่มค่าตัวโน้ตให้ลากยาวเท่าใดก็ได้
ไม่ได้ก�ำหนดไว้ข้ึนอยู่กับความพึงพอใจของผู้เล่น เช่น

10. เคร่ืองหมายก�ำหนดจังหวะ (Time Signature)
เคร่ืองหมายก�ำหนดจังหวะ คือ ตัวเลขสองตัวที่เขียนไว้หลังกุญแจ
คลา้ ยลักษณะเลขเศษส่วนแตไ่ ม่มีเสน้ ขีดค่นั กลาง เลขตวั บนจะบอกว่า 1 ห้อง
เพลงมีกี่จังหวะ ส่วนเลขตัวล่างบอกโน้ตที่ใช้เป็นเกณฑ์ 1 จังหวะ เช่น

104

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

นอกจากน้ีเคร่ืองหมายก�ำหนดจังหวะ ยังมีลักษณะท่ีเป็นสัญลักษณ์ซ่ึง
ใช้แทนตัวเลขได้ เช่น

11. อัตราจังหวะ
อัตราจังหวะ เป็นเครื่องหมายก�ำหนดอัตราจังหวะ ที่บอกถึงค่าตัวโน้ต
และจ�ำนวนจังหวะในแต่ละห้องเพลง อัตราจังหวะ (Time) เป็นกลุ่มโน้ตที่ถูก
จัดแบ่งจังหวะเคาะที่เท่าๆ กันในแต่ละห้องเพลงและท�ำให้เกิดชีพจรจังหวะ
(Pulse) คือ การเน้นจังหวะหนัก-เบา กลุ่มอัตราจังหวะโดยทั่วไปมี 3 ลักษณะ
คือ
11.1 อตั ราจังหวะสองธรรมดา (Simple duple time) คอื จังหวะเคาะ
ในแต่ละห้องเพลงมี 2 จังหวะ เช่น

105

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

11.2 อัตราจังหวะสามธรรมดา (Simple triple time) คือ จังหวะเคาะ
ในแต่ละห้องเพลงมี 3 จังหวะ เช่น

11.3 อัตราจังหวะส่ีธรรมดา (Simple quadruple time) คือ จังหวะ
เคาะในแต่ละห้องเพลงมี 4 จังหวะ เช่น

เครอื่ งหมาย > คอื การเนน้ จงั หวะทโี่ นต้ ในจงั หวะที่ 1 ของแตล่ ะอตั รา
จังหวะ
แสดงการเคาะอัตราจังหวะ 1 จังหวะ
พ้ืนฐานการเคาะ 1 จังหวะ อาจใช้การตบเท้าจากจุดเริ่มต้นตบเท้าลง
คือ จังหวะตก แล้วยกเท้าขึ้นจุดเดิม คือ จังหวะยก

106

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทท่ี 11
แบบฝึกหัดการเป่าแซกโซโฟน

107

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
108

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
109

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
110

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
111

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
112

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
113

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
114

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
115

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
116

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
117

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
118

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
119

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
120

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
121

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
122

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
123

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง
124

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทท่ี 12
การดูแลรักษาแซกโซโฟน

125

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

บทที่ 12
การดูแลรักษาแซกโซโฟน

การดูแลรักษาแซกโซโฟน ไม่ใช่เร่ืองยากแต่ต้องอาศัยการปฏิบัติจน
เป็นนิสัย

ข้อแนะน�ำในการดูแลรักษา
1. หลงั จากการเปา่ ทำ� ความสะอาดทกุ ครงั้ เชด็ ทง้ั ภายใน และภายนอก
ตัวแซกโซโฟนก่อนท่ีจะเก็บ หัวแซก ล้ิน คอแซกโซโฟนควรจะล้างเช็ดให้แห้ง
ทุกคร้ัง ห่อด้วยผ้าแห้งใส่ไว้ในล�ำโพงแซกโซโฟน หัวแซกและคอแซกโซโฟน
ควรแยกออกจากกัน
2. นวมบางตัวจะมีน�้ำลายจับอยู่ ท�ำให้นวมติดขัด ควรใช้กระดาษบาง
เช่น กระดาษที่ใช้ห่อบุหรี่ ใส่ไว้ระหว่างนวมของ G#, C#, F และ F# และ
พวกน้ิวแทนโดยเฉพาะ D, E และ F
3. เมื่อไม่ใช้ควรเก็บแซกโซโฟนไว้ในกล่อง และไม่ควรเก็บกล่องแซก
โซโฟนในที่ท่ีมีโอกาสหล่นหรือกระแทกได้ง่าย
การดูแลรักษาภายใน ภายหลังจากการใช้เคร่ืองทุกครั้ง ควรปฏิบัติ
ตามข้ันตอนต่อไปน้ี เพ่ือ ยืดอายุ การใช้งาน ของเครื่อง
1. เชด็ ทำ� ความสะอาดปากเปา่ และ คอปากเปา่ ดว้ ย ผา้ หยอดทำ� ความ
สะอาด (Cleaning Swab) ตามรูปส�ำหรับ Baritone Saxophone ให้ปล่อย
น�้ำลายท่ีคอปากเป่าออกให้หมด
2. ใช้อุปกรณ์จากชุดท�ำความสะอาด Saxophone ท�ำความสะอาด
ภายใน ตามรูป

126

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

3. อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ควรท�ำ ความสะอาดคอปากเป่า ตามขั้น
ตอนต่อไปน้ี
3.1 ผสมน้�ำสบู่ (Brass Soap) กับน้�ำอุ่น (30 - 40 C) ในอัตราส่วน
น�้ำสบู่ 1 ส่วนต่อน้�ำอุ่น 10-15 ส่วน
3.2 ปิดรูเสียงที่คอปากเป่า เพ่ือไม่ให้ น�้ำไหลออกทางรู
3.3 ใช้แส้ล้างแตรจุ่มน�้ำสบู่ ท�ำความสะอาด ภายใน คอปากเป่า ให้
ทั่ว
3.4 ล้างน�้ำสบู่และคราบสกปรก ออกให้หมด ด้วยน้�ำสะอาด
3.5 เช็ดคอปากเป่าให้แห้ง ด้วยผ้า หยอดท�ำความสะอาด (Cleaning
Swab)

127

ฝึกกแาซรกเปโ่ซา โฟน ด้วยตนเอง

การดูแลรักษาภายนอก เพือ่ ยดื อายุการใช้งาน ของเครอื่ ง ควรปฏบิ ตั ิ
ตาม ขั้นตอน ต่อไปน้ีทุกคร้ังภายหลังจากการใช้เคร่ือง
1. เช็ดท�ำความสะอาด ตัวเครื่องภายนอก ด้วยผ้า Polishing Cloth
โดย อาจจะชบุ ดว้ ยนำ�้ ยา Lacquer Polish สกั เลก็ นอ้ ย เชด็ บรเิ วณที่ สกปรก
มาก ส�ำหรับ เคร่ืองที่ เคลือบ ด้วย แลคเกอร์พิเศษ ห้ามใช้น้�ำยา เช็ดนิเกิล
(Metal Polish) เพราะ จะท�ำให้ แลคเกอร์ ที่เคลือบอยู่ หลุดออกได้ ส่วน
เคร่ือง ท่ีชุบด้วยเงิน ให้ใช้น้�ำยาขัดเงิน (Silver Polish) แทน
2. การ ใช้น�้ำยาขัดเคร่ือง ควร กระท�ำเฉพาะ บริเวณ ท่ีเป็น ตัวเคร่ือง
เท่าน้ัน การท�ำความสะอาด กระเด่ืองน้ัน ควรน�ำผ้า มาพับเป็น แถบเล็ก แล้ว
สอดเข้ากับ ร่องต่างๆ ของกระเด่ือง เช็ดเพียงเบา ๆ หากเป็นซอก ท่ีผ้าเข้า
ไม่ถึง ก็ให้ใช้ ลวดสักหลาด (Tone hole cleaner) ท�ำความสะอาด

การดูแลรักษานวม น้�ำ และของเหลว ทุกชนิด เป็นส่ิงไม่พึงประสงค์
ต่อนวม จึงห้ามน�ำ เคร่ืองไป ล้างน้�ำ หรือโดนฝน และ ภายหลัง การใช้เคร่ือง
ทุกคร้ัง จะต้อง ซับความชื้น ออกจากนวม ด้วยกระดาษซับนวม (Cleaning
Paper) ตามรูป โดย สอดกระดาษ ซับนวม เข้าไป ระหว่าง รูเสียง กับนวม
แล้วกดแป้น หรือ กระเดื่อง ของนวมนั้นหลาย ๆ ครั้ง จนนวมแห้ง รูเสียง
ของ Octave Key ก็ มีความส�ำคัญ ไม่น้อย เม่ือ มีฝุ่น หรือ คราบสกปรก
เกาะติดมากๆ อาจจะท�ำให้ เสียง ท่ี เป่าออกมา เพี้ยน ไม่สมบูรณ์ ควรท�ำ
ความสะอาด ด้วย ลวดสักหลาด (Tone hole cleaner) และ กระดาษซับ
นวม เป็นประจ�ำ

128




Click to View FlipBook Version