The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสถานการณ์ทางสังคม ประจำปี 2558

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TPSO 11, 2021-05-02 22:35:07

รายงานสถานการณ์ทางสังคม ประจำปี 2558

รายงานสถานการณ์ทางสังคม ประจำปี 2558

รายงานสถานการณ์ทางสังคม
ประจาปี 2558

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 12
กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์



คำนำ

การดาเนินงานด้านการพัฒนาสังคมจาเป็นต้องอาศัยข้อมูลสถิติที่ถูกต้อง สอดคล้องกับ
สภาพความเป็นจริง และมีความเป็นปัจจุบัน เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการกาหนดแผนงานด้าน
การพัฒนาสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
ท้องถิ่น การเกบ็ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกบั สถานการณ์ทางสังคมอย่างครอบคลุมในทุกประเดน็ ที่เกี่ยวข้อง
จากแหล่งข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ สามารถตรวจสอบและอ้างอิงได้ และมีการพิจารณาทบทวนปัจจยั
แวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ทางสังคมในพื้นที่ จะทาให้สามารถประเมินและวิเคราะห์
สถานการณ์ทางสังคมได้อย่างถกู ต้อง แม่นยา และมีความเข้าใจในสภาพปัญหาอย่างชัดเจนและลึกซึง้
สามารถคาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ที่กาลังจะเกิดขึ้นและนาไปสู่การกาหนดแนวทางการ
ป้องกัน/แก้ไข/เตรียมความพร้อมรองรับสถานการณ์ในรูปของแผนงาน/โครงการได้อย่างเหมาะสม
สอดคล้องกบั บริบทของพื้นที่ และมีการดาเนินการเพื่อใหเ้ กิดผลในทางปฏิบัติ

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษย์ รับผิดชอบพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดสงขลา สตูล ปัตตานี
ยะลา และนราธิวาส มีภารกิจที่สาคัญประการหนึ่งคือ การจัดทาแผนการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ซึ่ง
เป็นการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภายใต้สังกัดกระทรวงฯ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ในการ
จัดทาแผนการพัฒนาสังคมฯในภาพรวมระดับกลุ่มจังหวัดจะต้องอาศัยข้อมูลที่ถูกต้อง สะท้อนถึงสภาพ
ความเป็นจริงภายในพื้นที่ และชีใ้ ห้เห็นถึงปัจจัยแวดล้อมทีเ่ กี่ยวข้องและส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ การ
เก็บรวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูลจึงเป็นสิง่ จาเปน็ ที่จะทาใหไ้ ด้มาซึ่งข้อมูลพืน้ ฐานสาคัญสาหรับการกาหนด
แผนพัฒนาสังคมฯ ดังกล่าว รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดในพื้นที่ 5
จังหวัดชายแดนภาคใต้ (สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) ฉบับนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องและวิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูลที่มีความสอดคล้องกัน ร่วมกับการวิเคราะห์ปัจจัย
แวดล้อมต่างๆ ที่แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของสถานการณ์อันส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่ ซึ่งจะ
เป็นประโยชน์ต่อการจัดทาแผนการพัฒนาสังคมฯ รวมท้ังเป็นข้อมูลพื้นฐานสาหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หรอื ผทู้ ี่สนใจและต้องการใช้ประโยชน์จากข้อมลู ท้ังนี้ สานกั งานส่งเสริมและสนับสนนุ วิชาการ 12 หวัง
เปน็ อย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนีจ้ ะเป็นประโยชน์ต่อการจัดทาแผนขององค์กรและผสู้ นใจใช้ประกอบ ในการ
ดาเนินงาน และหากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ ทีน่ ้ี

กลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์
สานกั งานส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชาการ 12



สำรบัญ หนา้

คานา ข
สารบญั ค
สารบญั ตาราง
บทที่ 1 บทนา 1
3
1.1 ความเป็นมา 3
1.2 วตั ถุประสงค์ 3
1.3 ขอบเขตการดาเนินงาน
1.4 วิธีการดาเนินงาน 5
บทที่ 2 วิธีการศกึ ษา 5
2.1 วิธีการศกึ ษา
2.2 การวิเคราะหข์ ้อมูล 7
บทที่ 3 รายงานสถานการณท์ างสงั คมระดับกลุ่มจังหวดั 13
3.1 ข้อมูลทัว่ ไปของพื้นที่ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 26
3.2 รายงานสถานการณป์ ัญหาทางสงั คมของท้องถิ่น ปี 2557 (อปท.) 42
3.3 ข้อมลู สถานการณ์ทางสงั คมในพื้นที่ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้
3.4 นโยบายและยุทธศาสตรท์ ีเ่ กีย่ วข้องกบั การดาเนินงานด้านการพัฒนาสังคม 58

ในพืน้ ที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ 59
บทที่ 4 วิเคราะหส์ ถานการณท์ างสงั คมระดบั กลุ่มจังหวัด 61
62
4.1 ปญั หาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณค์ วามไม่สงบในพืน้ ที่ 64
5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้

4.2 ปญั หาการค้ามนุษย์
4.3 ปัญหายาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน
4.4 ปญั หาผู้สงู อายุ
4.5 สถานการณค์ วามรนุ แรงในครอบครวั ในพืน้ ที่ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้



สำรบัญตำรำง หนา้
8
ตารางที่ 1 แสดงข้อมลู การแบ่งเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในพืน้ ที่
5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ จาแนกรายจังหวัด 8

ตารางที่ 2 แสดงจานวนและรายได้เฉลี่ยของประชากรในพืน้ ที่ 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 9
จาแนกรายจังหวดั 14
15
ตารางที่ 3 แสดงทนุ ทางสงั คมในพื้นที่ 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 15
ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลปัญหาด้านทีอ่ ยู่อาศัยและสิง่ แวดล้อม 16
ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลปญั หาด้านสุขภาพอนามยั 16
ตารางที่ 6 แสดงข้อมลู ปัญหาด้านการศกึ ษา 17
ตารางที่ 7 แสดงข้อมลู ปัญหาด้านการมีงานทาและรายได้ 17
ตารางที่ 8 แสดงข้อมลู ปญั หาด้านความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรพั ย์สิน 18
ตารางที่ 9 แสดงข้อมูลปญั หาด้านวัฒนธรรมและจริยธรรม 19
ตารางที่ 10 สรุปปญั หาเชิงประเด็นสังคม 20
ตารางที่ 11 แสดงข้อมลู ปัญหาด้านเดก็ (อายุต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์) 21
ตารางที่ 12 แสดงข้อมูลปญั หาเยาวชน (อายุ 18-25 ปี) 21
ตารางที่ 13 แสดงข้อมูลปญั หาครอบครัว 22
ตารางที่ 14 แสดงข้อมูลปญั หาสตรี (อายุ 25 ปีข้ึนไป – 60 ปี) 22
ตารางที่ 15 แสดงข้อมลู ปัญหาผสู้ ูงอายุ 23
ตารางที่ 16 แสดงข้อมูลปัญหาคนพิการ 28
ตารางที่ 17 แสดงข้อมูลปัญหาแรงงาน
ตารางที่ 18 สรปุ ปัญหาเชิงกลุ่มเป้าหมายทีต่ อ้ งได้รับการพัฒนา 29
ตารางที่ 19 แสดงจานวนสตรีหมา้ ยทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบ

ในพนื้ ที่ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ จาแนกรายจังหวัดและรายปี
ตารางที่ 20 แสดงจานวนเด็กกาพร้าทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากสถานการณค์ วามไม่สงบ

ในพนื้ ที่ 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ทั้งทีอ่ าศยั อยู่ภายในพืน้ ที่
และอยู่ภายนอกพืน้ ที่ รวมทั้งขอ้ มลู การจบการศกึ ษา จาแนกรายจงั หวดั



สำรบญั ตำรำง (ตอ่ )

หนา้

ตารางที่ 21 แสดงจานวนผพู้ ิการจากสถานการณ์ จาแนกรายจังหวดั ตามข้อมลู 29

การให้ความช่วยเหลือ

ตารางที่ 22 แสดงจานวนและอัตราการคลอดบตุ รของวัยรุ่นไทย จาแนกรายภาค ปี 2556 32

ตารางที่ 23 แสดงจานวนและอตั ราการคลอดบุตรของวยั รุ่นไทย จาแนกรายจังหวัด 32

(เฉพาะในพืน้ ที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้) ปี 2556

ตารางที่ 24 แสดงจานวนผสู้ ูงอายุ โดยเปรียบเทียบแนวโน้มระหว่าง 34

พ.ศ. 2552 – พ.ศ. 2556

ตารางที่ 25 จานวนประชากร 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามสถานภาพแรงงาน 39

ตารางที่ 26 จานวนแรงงานไทยทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ไปทางานต่างประเทศ 40

จาแนกตามวิธีเดินทาง

ตารางที่ 27 ประเดน็ ยุทธศาสตรแ์ ละกลยุทธ์ตามที่ปรากฏในแผนยุทธศาสตร์ 56

กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ พ.ศ. 2555 – 2559

ตารางที่ 28 สรปุ สถานการณป์ ญั หา และจัดลาดบั ความสาคัญของปญั หา 66

6

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีบทบาทและภารกิจในการพัฒนาสังคม
ให้มีคุณภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีระบบสวัสดิการขั้นพื้นฐานรองรับอย่าง
เหมาะสม มีความม่ันคงปลอดภัยในชีวิตและมีระบบการคุ้มครองทางสังคมที่มีประสิทธิภาพ การ
ขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมเพื่อมุ่งไปสู่เป้าหมายการเป็นสังคมที่มีคุณภาพจาเป็นต้องอาศัยเคร่ืองมือ
และกลไกในการดาเนินงานทั้งในส่วนของหน่วยงานที่สนองนโยบายและถ่ายทอดสู่การปฏิบัติในพื้นที่
ข้อมูลสารสนเทศและสถิติการเกิดปัญหาทางสังคม รายงานสถานการณ์ทางสังคมที่สอดคล้องกับ
สภาวะแวดล้อมในปัจจุบัน องค์ความรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนการดาเนินงาน ตลอดจน
ระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์ต่างๆ ที่
เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้สภาวการณ์ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็น
ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ซึ่งล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบต่อ
สังคมและคุณภาพชีวิตของคนในสังคม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสารที่ขับเคลื่อนอย่าง
ไม่หยุดนิ่งส่งผลต่อการรับรู้ ความเข้าใจ และพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปของคนในสังคม รวมท้ังส่งผล
กระทบให้เกิดปัญหาทางสังคมที่มีความยุ่งยากซับซ้อนและยากต่อการแก้ไขมากยิ่งขึ้น การดาเนินการ
เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาจาเป็นต้องอาศัยการบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
เชื่อมโยงการทางานของหน่วยงานราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น เพื่อถ่ายทอดสู่การ
ปฏิบัติในระดับท้องถิ่นอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหา บริบททางสังคมและ
ความหลากหลายภายในชุมชนท้องถิน่

สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 เป็นหน่วยงานภายใต้สังกัดของกรมพัฒนาสังคม
และสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยเป็นหน่วยงานราชการ
ส่วนกลางที่ตั้งอยู่ในภูมิภาค ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลเขตพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่ง
ประกอบด้วย จงั หวัดสงขลา สตูล ยะลา ปตั ตานี และนราธิวาส การดาเนินงานในพื้นที่ดังกล่าวนับเป็น
ภารกิจที่มีความท้าทาย เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีอัตลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่นและมีบริบททางสังคมที่
หลากหลาย โดยมีความแตกต่างของวิถีวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา และภาษา การเป็นพื้นที่ที่ต้ังอยู่
บริเวณชายแดนซึ่งเป็นเขตรอยต่อกับประเทศเพื่อนบ้านส่งผลให้เกิดปัญหาทางสังคมที่สาคัญตามมา
ได้แก่ ปัญหายาเสพติด ปัญหาการค้ามนุษย์ ปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงาน เป็นต้น นอกจากนี้พื้นที่

7

จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังประสบกับปัญหาจากสถานการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา ซึ่งได้ส่งผลให้เกิดความสูญเสียและผลกระทบต่อกลุ่มเป้าหมาย เช่น
การเสียชีวิตของผู้นาครอบครัว ผู้ได้รับบาดเจ็บและผู้พิการ กลุ่มสตรีหม้าย และเด็กกาพร้า ที่
จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ ปัญหาต่างๆ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้นับวันจะมีความ
หลากหลายและทวีความรุนแรงมากขึ้น ในขณะเดียวกันกระแสความเปลีย่ นแปลงจากภายนอกประเทศ
เป็นสิ่งที่จะต้องตั้งรับและปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจากความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งชุมชน
ท้องถิ่นต้องมีความพร้อมและมีภมู ิคุ้มกันเพียงพอทีจ่ ะรองรับผลกระทบจากสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น
เพื่อการดารงอยู่อย่างเข้มแขง็ ภายใต้สภาวะการเปลีย่ นแปลง

สานักงานส่งเสริมและสนบั สนุนวิชาการ 12 ซึ่งรบั ผดิ ชอบพืน้ ที่ 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้มีภารกิจ
สาคัญในการสร้างสรรค์และพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาการที่สอดคล้องกับสถานการณ์ทางสังคมใน
ปัจจุบัน เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม รวมท้ัง
การบูรณาการแผนพัฒนาสังคมและสวัสดิการของหน่วยงานสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
ม่ันคงของมนุษย์ในเขตพื้นที่เพื่อจัดทาแผนพัฒนาสังคมและสวัสดิการในภาพรวมระดับกลุ่มจังหวัดที่
สอดคล้องกับนโยบายในระดับประเทศและตอบสนองต่อสภาพปัญหาและความต้องการของท้องถิ่น การ
ขับเคลื่อนการดาเนินงานให้เป็นไปตามภารกิจและบรรลุผลตามเป้าหมายจาเป็นต้องอาศัยองค์ความรู้ที่มี
ประสิทธิภาพและบุคลากรที่ปฏิบัติงานอย่างเต็มศักยภาพ แต่ท้ังนี้สิ่งสาคัญคือการทางานอยู่บนพื้นฐาน
ของการมีข้อมูลที่ถูกต้อง สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง มีความทันสมัยและเป็นปัจจุบัน สามารถ
สะท้อนสถานการณ์ปัญหาและสภาพทางสังคมของชุมชนท้องถิ่นได้อย่างครอบคลุมทุกมิติ การรวบรวม
ประมวลผล วิเคราะห์และจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้จะเป็น
ฐานข้อมูลสาคัญทาให้หน่วยงานมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องชัดเจนเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคม
ภายในชุมชนท้องถิ่นปัจจุบัน มีแนวทางในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลหรือแกนนาที่จะส่งเสริมให้เข้ามามีส่วน
ร่วมในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาท้องถิ่น รวมท้ังมีการนาองค์ความรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของชุมชน
ท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาได้อย่างสอดคล้อง อันเป็นการน้อมนากระแสพระราชดารัสของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น รายงานสถานการณ์ทาง
สังคมจะเป็นข้อมูลพื้นฐานที่สาคัญในการวิเคราะห์และจัดทาแผนบูรณาการด้านการพัฒนาสังคมและ
สวัสดิการในภาพรวมระดับกลุ่มจังหวัด รวมท้ังสามารถนาไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดทาแผนพัฒนา
ท้องถิ่นหรือแผนงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ในการกาหนดแนวทางพัฒนาและแก้ไขปัญหาทาง
สงั คมทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกบั บริบทของชุมชนท้องถิ่นต่อไป

8

1.2 วัตถปุ ระสงค์

1.2.1 เพื่อรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน สรุปและวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมในภาพรวมระดับกลุ่ม
จังหวัด ซึ่งสามารถนาไปใช้ประกอบการจัดทาแผนการพัฒนาสังคมและสวัสดิการระดับกลุ่มจังหวัด
รวมทั้งแผนพัฒนาอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง

1.2.2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องชัดเจนเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมในท้องถิ่น
และส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการคิด วิเคราะห์ และกาหนดแนวทางการพัฒนาที่สอดคล้องกับบริบทของ
ชุมชนท้องถิ่น

1.2.3 เพือ่ เป็นข้อมูลพืน้ ฐานประกอบการตดั สินใจในระดับนโยบายของผบู้ ริหารระดับสูง

1.3 ขอบเขตกำรดำเนินงำน

1.3.1 ขอบเขตด้านพืน้ ที่
- 5 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ประกอบด้วย จังหวัดสงขลา สตูล ยะลา ปัตตานี และ

นราธิวาส
1.3.2 ขอบเขตด้านเน้ือหา
การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดเป็นการเก็บ

รวบรวมข้อมลู ทุติยภูมจิ ากแหล่งข้อมลู ที่เกีย่ วข้อง โดยมีขอบเขตของเน้ือหาประกอบด้วย
1) ข้อมูลท่ัวไป และข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัดในพื้นที่ 5

จังหวัดชายแดนภาคใต้จากแหล่งข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้อง
2) รายงานสถานการณ์ทางสังคมของท้องถิ่น ปี 2557 ตามแบบรายงาน อปท.1 ที่จัดทา

โดยสานกั ตรวจและประเมินผล
3) ข้อมลู การวิเคราะหส์ ถานการณ์ทางสังคมในภาพรวมระดับกลุ่มจงั หวัด

1.4 วธิ ีกำรดำเนินงำน

1.4.1 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 เก็บรวบรวมข้อมูลท่ัวไป และข้อมูลเกี่ยวกับ
สถานการณ์ทางสังคมในภาพรวมระดับกลุ่มจังหวัดจากแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ข้อมูลจากเว็บไซต์
ของหน่วยงานต่างๆ ทีร่ ับผดิ ชอบการดาเนินงานที่เกีย่ วข้องกบั งานด้านสังคม

1.4.2 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 ดาเนินการสืบค้นและเก็บรวบรวมข้อมูล
รายงานสถานการณ์ทางสังคมของท้องถิ่นจากระบบโปรแกรม อปท.1 ปี 2557 บน website สานักตรวจ
และประเมินผล (http://bie.m-society.go.th)

9

1.4.3 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 ประมวลผลข้อมูลสถานการณ์ทางสังคมใน
ภาพรวมระดบั กลุ่มจังหวัด และบันทึกตามรปู แบบที่กาหนด

1.4.4 สานักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 12 สรุปและวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ทางสังคม
ระดับกลุ่มจังหวัด และจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมนาเสนอต่อผู้บริหารและนาไปใช้ประโยชน์ใน
งานที่เกี่ยวข้องต่อไป

10

บทที่ 2

วิธีกำรศกึ ษำ

2.1 วธิ ีกำรศึกษำ

การจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคมใช้วิธีการวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research)
โดยการเก็บรวบรวมข้อมลู ทุติยภูมิเกี่ยวกับสถานการณ์ทางสังคมในพืน้ ที่ 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้จาก
แหลง่ ขอ้ มลู ที่เกีย่ วข้อง และเกบ็ รวบรวมข้อมูลรายงานสถานการณ์ทางสังคมของท้องถิ่น ปี 2557 จาก
เว็บไซต์ของสานักตรวจและประเมินผล (http://bie.m-society.go.th) ทาการประมวลผลข้อมูลใน
ภาพรวมจากแหล่งข้อมูลทั้ง 2 ส่วน บันทึกข้อมูลตามรูปแบบที่กาหนด และวิเคราะห์ผลรายงาน
สถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวดั ในพืน้ ที่ 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้

2.2 กำรวเิ ครำะหข์ ้อมูล

ข้อมลู ทตุ ิยภูมิที่เกบ็ รวบรวมจากแหล่งข้อมูลทีเ่ กี่ยวข้อง และจากเว็บไซต์ที่รวบรวมข้อมูลรายงาน
สถานการณ์ทางสังคมของท้องถิ่น จะมีการนามาประมวลผลร่วมกันและวิเคราะห์ในภาพรวมของ
สถานการณ์ทางสังคมระดับกลุ่มจังหวัด โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อสะท้อนถึง
สถานการณ์ทางสังคมโดยรวม ปัญหาทางสังคมที่สาคัญทั้งในเชิงประเด็นและเชิงกลุ่มเป้าหมาย ปัจจัย
แวดล้อมทีเ่ ชื่อมโยงกับสถานการณ์ทางสังคมในพืน้ ที่ ซึ่งผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลสามารถนาไปใช้ในการ
ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาสงั คมและสวัสดิการระดับกลุ่มจังหวดั แผนพฒั นาจังหวัด แผนพฒั นาท้องถิ่น
รวมทั้งเปน็ ข้อมูลพืน้ ฐานประกอบการกาหนดนโยบายของผบู้ ริหาร

11

บทที่ 3

รำยงำนสถำนกำรณท์ ำงสังคมระดับกลุม่ จังหวัด

รายงานสถานการณ์ทางสังคมในระดับกลุ่มจังหวัดเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจาก
รายงานสถานการณ์ปัญหาทางสังคมของท้องถิ่น ปี 2557 (อปท.) ที่เป็นข้อมูลออนไลน์ในเว็บไซต์ของ
สานักตรวจและประเมินผล (http://bie.m-society.go.th) และข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอื่นๆ เช่น เว็บไซต์
เอกสารเผยแพร่ที่เกี่ยวข้อง และนาข้อมูลมาสรุป วิเคราะห์ และจัดทารายงานสถานการณ์ทางสังคม
ระดับกลุ่มจงั หวัด โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี

ส่วนที่ 3.1 ข้อมูลทว่ั ไปของพื้นที่ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้
ส่วนที่ 3.2 รายงานสถานการณป์ ญั หาทางสังคมของท้องถิ่น ปี 2557 (อปท.)
ส่วนที่ 3.3 ข้อมูลสถานการณท์ างสังคมในพืน้ ที่ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้
ส่วนที่ 3.4 นโยบายและยุทธศาสตรท์ ี่เกีย่ วข้องกบั การดาเนินงานด้านการพัฒนาสังคมในพื้นที่
5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

12

สว่ นที่ 3.1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของพืน้ ที่ 5 จงั หวัดชำยแดนภำคใต้

13

ข้อมูลท่วั ไปของพื้นท่ี 5 จังหวดั ชำยแดนภำคใต้

พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ต้ังอยู่ตอนล่างสุดของประเทศ ประกอบด้วย จังหวัดสงขลา สตูล

ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส เป็นพื้นที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและสนับสนุน

วิชาการ 12 ในการดาเนินงานด้านการพัฒนาสังคมและสวสั ดิการ พืน้ ที่โดยทั่วไปมีลกั ษณะดังนี้

1. การแบ่งเขตการปกครอง

พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีการแบ่งเขตการปกครองส่วนท้องถิ่น กาหนดเป็นจานวน

ทั้งสิ้น 451 อปท. โดยจาแนกเป็น อบจ. 5 แห่ง อบต. 346 แห่ง และเทศบาล 100 แห่ง รายละเอียดของ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จาแนกรายจังหวดั ปรากฎตามตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงข้อมูลการแบ่งเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

จาแนกรายจงั หวดั

จงั หวดั การแบ่งเขตการปกครอง รวม
อบจ. อบต. เทศบาล
สงขลา 141
สตลู 1 93 47 42
ปตั ตานี 1 34 7 115
ยะลา 1 99 15 64
นราธิวาส 1 47 16 89
1 73 15 451
รวม 5 346 100

2. ประชากร

จานวนประชากรในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในปี 2557 มีจานวนทั้งสิ้น 3,686,677

คน โดยจานวนประชากรจาแนกรายจังหวัด และรายได้เฉลี่ยของประชากร มีรายละเอียดตามตารางที่ 2

จังหวดั ประชากร (คน) รวม รายได้เฉลี่ยของ
ประชากร
สงขลา ชาย หญิง 1,400,540 119,041
สตูล 312,377 99,624
ปตั ตานี 683,880 716,660 685,310 64,157
ยะลา 511,385 94,611
นราธิวาส 155,426 156,951 774,065 71,786
รวม/เฉลี่ย 3,686,677 89,844
339,306 346,004

253,825 257,560

383,500 390,565

1,815,937 1,870,740

ทีม่ า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 พฤศจิกายน 2557

14

3. ทุนทางสังคม

ทุนทางสังคมในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีจานวนท้ังสิน้ 2,897 กลุ่ม สามารถจาแนก

ได้เปน็ รายกลุ่มและรายจังหวดั ตามรายละเอียดในตารางที่ 3

จังหวัด สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส รวม
ทนุ ทางสังคม

ศพค. (ศนู ย์) 131 32 110 59 77 409

สภาเด็กฯ (ตาบล) 118 6 114 58 53 349

อพม. (ตาบล) 127 41 115 60 68 411
อพมก. (ตาบล) 4 - 23 51 39 117

อผส. (ตาบล) 3 - 25 54 74 156

กองทุนสตรีฯ (กองทุน) 127 38 105 59 76 405

ศูนย์สามวัยฯ (ศูนย์) 1 1 1 - 2 5

เครอื ข่าย พม. (เครอื ข่าย) 16 7 12 8 13 56

กองทุนสวัสดิการชุมชน - 30 84 38 22 174
(กองทุน)

กลุ่มอาชีพ (กลุ่ม) 188 1 339 30 88 746

องค์กร 6 11 21 26 6 70
สาธารณประโยชน์
(องค์กร) 9687 9 39
มลู นิธิ (มลู นิธิ)

ตาบลต้นแบบ (ตาบล) 12 12 12 12 12 60

รวม 742 185 969 462 539 2,897

ที่มา : หนว่ ยเคลือ่ นที่เยยี วยา 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้

ข้อมูล ณ วันที่ 30 พฤศจกิ ายน 2557

4. การศกึ ษา
a. สถาบันการศกึ ษาในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
- โรงเรียนในสงั กัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา 1,415 แหง่
- โรงเรียนในสังกัดสานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา 117 แห่ง
- โรงเรียนในสังกัดขององค์การบริหารส่วนจังหวดั 1 แหง่
- โรงเรียนในสังกัดเทศบาล 4 แห่ง

15

- โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 1 แหง่
- โรงเรียนสาธิต 4 แหง่
- โรงเรียนนานาชาติ 1 แห่ง
- โรงเรียนเอกชน 144 แห่ง
- โรงเรียนราชตารวจตระเวนชายแดน 2 แห่ง
- โรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม – สามัญ 185 แหง่
- โรงเรียนในสังกัดสานักงานพระพุทธศาสนา 1 แหง่
- โรงเรียนในสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 2 แห่ง
- โรงเรียนในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการอาชีวะศกึ ษา 3 แหง่
- วิทยาลัยรฐั บาล 10 แหง่
- วิทยาลัยเอกชน 11 แห่ง
- มหาวิทยาลัย 5 แห่ง
b. แนวทางการส่งเสริมการศกึ ษาในพืน้ ที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
- การเสริมสร้างความสมานฉันท์ ปรองดอง พัฒนาคุณภาพชีวิต รวมถึงการธารง
เอกลักษณ์ วัฒนธรรมในประวตั ิศาสตร์ของจังหวดั ชายแดนภาคใต้
- การบูรณาการการจัดการศกึ ษา ท้ังในส่วนของการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา และ
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา
- การกาหนดกิจกรรมและโครงการให้มีความหลากหลาย เพื่อส่งเสริมให้คุณภาพ
การศกึ ษาจังหวดั ชายแดนภาคใต้ดขี ึน้

5. การประกอบอาชีพ
การประกอบอาชีพของประชาชนในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่อาศัยการพึ่งพิง

ธรรมชาติและเป็นไปตามลักษณะภูมิประเทศ โดยมีการประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรและการประมง
เป็นส่วนใหญ่ ผลผลิตได้แก่ ยางพารา ผลไม้ ปาล์มน้ามัน และอาหารทะเล รองลงมาคืออุตสาหกรรมซึ่ง
เป็นการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและอาหารทะเลเป็นส่วนใหญ่ นอกจากน้ันเป็นการประกอบอาชีพ
ทางด้านการค้าและบริการ

16

6. การสาธารณสุข
ในพืน้ ที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีสถานใหบ้ ริการด้านสาธารณสุขที่จาแนกได้เป็น 20 กลุ่ม

ดังนี้
- โรงพยาบาลศูนย์ 2 แหง่
- โรงพยาบาลท่วั ไป 17 แห่ง
- โรงพยาบาลเอกชน 6 แหง่
- โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม 1 แห่ง
- โรงพยาบาลชมุ ชน 43 แห่ง
- สานักงานสาธารณสุข 8 แหง่
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 242 แห่ง
- สถานีอนามัย 337 แหง่
- สถานพยาบาลเอกชน 64 แหง่
- สถานบริการเอกชน 145 แหง่
- คลินกิ เอกชน 360 แหง่
- วิทยาลยั พยาบาล 1 แห่ง
- วิทยาลยั การสาธารณสุข 1 แห่ง
- ศูนย์อนามัย 1 แห่ง
- ศูนย์สขุ ภาพชุมชน 39 แหง่
- ศูนย์บริการสาธารณสขุ ของเทศบาล 22 แหง่
- ศนู ย์บาบัดรักษายาเสพติด 2 แหง่
- ศนู ย์ควบคุมโรคติดต่อ 1 แหง่
- ศูนย์วณั โรค 1 แหง่
- ศูนย์ฝกึ อบรมและพัฒนาสุขภาพภาคประชาชน 1 แห่ง

7. สภาพพื้นที่
1. การปฏิบัติงานครอบคลุมพื้นที่ 20,809.730 ตารางกิโลเมตร มีประชากรรวมท้ังสิ้น

3,686,677 คน
2. ลกั ษณะของพืน้ ทีใ่ น 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นภเู ขาและป่าไม้ รวมท้ังมี

พืน้ ทีต่ ดิ ชายฝง่ั ทะเลทั้งด้านตะวนั ออกฝ่ังอ่าวไทยและด้านตะวันตกฝง่ั อนั ดามนั พืน้ ทีต่ งั้ อยู่บริเวณชายแดน

17

ที่มีอาณาบริเวณติดต่อกับประเทศมาเลเซียใน 4 จังหวัด คือ จังหวัดสงขลา สตูล ยะลา และนราธิวาส มี
ด่านเข้าออกระหว่างประเทศหลายเส้นทาง รวมทั้งท่าข้ามและช่องทางธรรมชาติ มีท่าอากาศยาน
นานาชาติ ท่าเรือน้าลึก ท่าเรือท่องเที่ยว เป็นแหล่งอุตสาหกรรมแปรรูปยางและไม้ยางพารา และ
อุตสาหกรรมอาหารทะเลและอาหารทะเลแปรรูปที่สาคัญ มีแหล่งท่องเที่ยวเมืองชายแดนรองรับ
นกั ท่องเที่ยวจากประเทศเพื่อนบ้าน และแหลง่ ท่องเที่ยวในทะเล ได้แก่ บริเวณเกาะตะรุเตา-อาดัง-ราวี-
หลีเป๊ะ ในจังหวัดสตูล การนับถือศาสนาและรูปแบบของวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับโลกมุสลิมเป็นส่วน
สาคัญอนั เปน็ สื่อกลางในการสร้างความร่วมมือและการค้าระหว่างประเทศได้ โดยรวมแล้วลกั ษณะของ
พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้นับว่ามีศักยภาพที่จะพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการค้าและการผลิตที่สาคัญ
ของประเทศ

3. ประชากรในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่วนใหญ่เป็นประชากรมุสลิมโดยมีสัดส่วน
ถึงร้อยละ 62 และหากพิจารณาเฉพาะประชากรใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ไม่นับรวมสงขลา) จะมี
ประชากรมุสลิมถึงร้อยละ 82 ซึ่งมีวิถีชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีที่สอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติ
ตามศาสนบัญญัติของมุสลิม อันส่งผลต่อแนวคิดด้านการศึกษา การประกอบอาชีพและความเป็นอยู่ที่
เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะของท้องถิ่น

4. พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นพื้นที่ที่มีอัตลักษณ์ และความหลากหลายด้านวิถีชีวิต
สังคม และวัฒนธรรม รวมท้ังศาสนาและภาษาในการส่ือสารที่มีความแตกต่าง ดังน้ันการทางานร่วมกับ
พื้นที่จึงต้องอาศัยความรู้ ความเข้าใจ เทคนิคและวิธีการที่ต้องคานึงถึงบริบทที่มีความละเอียดอ่อน มี
ลักษณะเฉพาะ ผู้ปฏิบัติงานจึงต้องตระหนักและเรียนรู้ที่จะเข้าใจการเปลี่ยนแปลง โดยให้ความสาคัญ
สูงสุดต่อการส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย บนพื้นฐานของความไว้วางใจ
และการให้เกียรติ สร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
อย่างสร้างสรรค์ นาไปสู่สนั ติสุขอย่างยง่ั ยืน

18

ส่วนที่ 3.2 รำยงำนสถำนกำรณป์ ัญหำทำงสังคมของท้องถนิ่
ปี 2557 (อปท.)

19

สว่ นท่ี 3.2 สถำนกำรณ์ปัญหำทำงสังคมของทอ้ งถ่ินในพื้นท่ี 5 จังหวดั ชำยแดนภำคใต้

สถานการณ์ปัญหาทางสังคมของท้องถิ่น ปี 2557 จากเว็บไซต์ของสานักตรวจและประเมินผล

(http://bie.m-society.go.th) ที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ 5 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ สามารถสรุปรายงานสถานการณ์ปัญหาในเชิงประเด็นสังคม และปัญหาเชิง

กลุ่มเป้าหมายที่ตอ้ งได้รับการพัฒนา ตามรายละเอียด ดงั นี้

1. ปญั หาเชิงประเด็นสังคม

ปญั หาเชิงประเดน็ สังคมในพืน้ ที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามข้อมูลทีม่ กี ารเก็บรวบรวมจาก

แบบฟอร์ม อปท. จาแนกได้เป็น 6 ประเด็น ได้แก่ ปัญหาด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม ปัญหาด้าน

สุขภาพอนามัย ปญั หาด้านการศกึ ษา ปญั หาด้านการมีงานทาและรายได้ ปญั หาด้านความไม่ปลอดภัยใน

ชีวิตและทรัพย์สิน และปัญหาด้านวัฒนธรรมและจริยธรรม ซึ่งประเด็นปัญหาแต่ละด้านมีสถิติข้อมูล

รายละเอียดของปัญหา ดงั นี้

ตำรำงท่ี 4 ปญั หำด้ำนท่อี ย่อู ำศัยและสิ่งแวดลอ้ ม

ปัญหำด้ำนทอ่ี ยูอ่ ำศยั และสิ่งแวดลอ้ ม จำนวน(ครวั เรอื น) ร้อยละ
13.33
1. ครัวเรอื นทีอ่ าศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม 5,391 17.19
37.02
2. ครวั เรอื นที่มสี ภาพที่อยู่อาศัยไม่ม่ันคงถาวร 6,953
24.89
3. ครัวเรอื นทีอ่ าศัยอยู่ในพื้นทีเ่ สี่ยงภัยทางธรรมชาติในระดับที่เป็น 14,974
7.58
อันตรายต่อชีวติ และทรัพย์สิน
100
4. ครัวเรือนที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย เช่น อาศัยอยู่ในพื้นที่ 10,067

สาธารณะ ที่ราชพัสดุ อยู่ในเขตป่าสงวนภายในบริเวณวัด ที่เช่า

การถูกไล่ที่ เป็นต้น

5. ครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยอันตรายต่อชีวิตและ 3,065

ทรัพย์สิน

รวม 40,450

จากตารางที่ 4 พบว่า ปัญหาด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
ส่วนใหญ่ เป็นประเด็นปัญหาครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยทางธรรมชาติในระดับที่เป็นอันตรายต่อ
ชีวติ และทรพั ย์สิน ซึ่งพบเปน็ จานวน 14,974 ครวั เรอื น คิดเป็นร้อยละ 37.02 รองลงมา คือปญั หาครัวเรือน
ที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย เช่น อาศัยอยู่ในพื้นที่สาธารณะ ที่ราชพัสดุ อยู่ในเขตป่าสงวนภายในบริเวณ
วัด ที่เช่า การถูกไล่ที่ เป็นต้น พบเป็นจานวน 10,067 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 24.89 และปัญหาครัวเรือน
ที่มสี ภาพที่อยู่อาศัยไม่ม่ันคงถาวร พบเป็นจานวน 6,953 ครวั เรอื น คิดเปน็ ร้อยละ 17.19

20

ตำรำงท่ี 5 ปญั หำด้ำนสขุ ภำพอนำมยั

ปญั หำด้ำนสุขภำพอนำมยั จำนวน(คน) ร้อยละ
1. ประชาชนที่ตดิ สุรา 7,631 19.77
2. ประชาชนทีต่ ดิ สารเสพติดร้ายแรง เช่น ยาบ้า ยาอี สารระเหย กญั ชา 11,871 30.76
เป็นต้น
3. ประชาชนทีต่ ดิ เชื้อเอดส์/ป่วยเปน็ โรคเอดส์ 2,741 7.10
4. ประชาชนที่ติดโรคระบาดในรอบปี เช่น โรคไข้เลือดออก โรค 5,202 13.48
อหวิ าตกโรค โรคไข้หวัดนก โรคฉี่หนู เปน็ ต้น
5. ประชาชนที่เสียชีวิตในรอบปีจากโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความ 4,922 12.75
ดนั เปน็ ต้น
6. ประชาชนที่เจ็บป่วยเร้ือรังไม่สามารถประกอบอาชีพได้ และไม่มี 1,058 2.74
ผดู้ แู ล
7. ประชาชนทีม่ อี าการทางจิต/ประสาท 4,807 12.46
8. ประชาชนที่เจ็บป่วย ไม่สามารถไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลได้ 360 0.93
(ยากจน, อยู่ในทีห่ ่างไกลทุรกันดาร)
38,592 100
รวม

จากตารางที่ 5 พบว่า ปัญหาด้านสุขภาพอนามัยในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่

เป็นประเด็นปัญหาประชาชนที่ติดสารเสพติดร้ายแรง เช่น ยาบ้า ยาอี สารระเหย กัญชา เป็นต้น ซึ่งพบ

เป็นจานวน 11,871 คน คิดเป็นร้อยละ 30.76 รองลงมา คือปัญหาประชาชนที่ติดสุรา พบเป็นจานวน

7,631 คน คิดเป็นร้อยละ 19.77 และปัญหาประชาชนที่ติดโรคระบาดในรอบปี เช่น โรคไข้เลือดออก โรค

อหวิ าตกโรค โรคไข้หวัดนก โรคฉีห่ นู เปน็ ต้น พบเปน็ จานวน 5,202 คน คิดเป็นร้อยละ 13.48

ตำรำงท่ี 6 ปญั หำด้ำนกำรศึกษำ

ปญั หำด้ำนกำรศึกษำ จำนวน(คน) รอ้ ยละ
1. เด็ก (อายุ 6-15 ปี) ที่ไม่สามารถเข้าศกึ ษาต่อตามภาคบงั คบั ได้ 2,284 18.02
2. เดก็ (อายุ 6-15 ปี) ที่ออกเรียนกลางคนั ในภาคการศกึ ษาบังคับ 1,613 12.72
3. เยาวชน (อายุ 18-25 ปี) หลังจบการศึกษาระดับปริญญาตรี/ 3,936 31.05
การศกึ ษาสายอาชีพแล้ว ไม่มีงานทาในรอบ 1 ปี
4. คนที่จบการศึกษาชั้นประถมศึกษา แต่ไม่สามารถอ่านออกเขียน 4,845 38.22
ภาษาไทยได้
12,678 100
รวม

21

จากตารางที่ 6 พบว่า ปญั หาด้านการศกึ ษาของพื้นที่ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้สว่ นใหญ่ เป็น

ประเด็นปัญหาคนที่จบการศึกษาช้ันประถมศึกษา แต่ไม่สามารถอ่านออกเขียนภาษาไทยได้ ซึ่งพบเป็น

จานวน 4,845 คน คิดเป็นร้อยละ 38.22 รองลงมา คือปัญหาเยาวชน (อายุ 18-25 ปี) หลังจบการศึกษา

ระดับปริญญาตรี/การศึกษาสายอาชีพแล้ว ไม่มีงานทาในรอบ 1 ปี พบเป็นจานวน 3,936 คน คิดเป็น

ร้อยละ 31.05 และปัญหาเด็ก (อายุ 6-15 ปี) ที่ไม่สามารถเข้าศึกษาต่อตามภาคบังคับได้ พบเป็นจานวน

2,284 คน คิดเปน็ ร้อยละ 18.02

ตำรำงท่ี 7 ปัญหำด้ำนกำรมีงำนทำและรำยได้

ปัญหำด้ำนกำรมีงำนทำและรำยได้ จำนวน(คน) ร้อยละ

1. ประชาชนในวัยทางานที่ไม่มีงานทาหรือไม่ประกอบอาชีพ และไม่มี 21,324 24.72

รายได้

2. ประชาชนที่มรี ายได้นอ้ ย ขาดแคลนทุนประกอบอาชีพเพื่อยังชีพ 34,507 40.01

3. ประชาชนที่มรี ายได้น้อยที่มหี นีส้ ินและมีปญั หาในการส่งใช้เงินกู้ยืม 30,422 35.27

รวม 86,253 100

จากตารางที่ 7 พบว่า ปัญหาด้านการมีงานทาและรายได้ในพื้นที่ 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ส่วน

ใหญ่ เป็นประเด็นปัญหาประชาชนที่มีรายได้น้อย ขาดแคลนทุนประกอบอาชีพเพื่อยังชีพ ซึ่งพบเป็นจานวน

34,507 คน คิดเป็นร้อยละ 40.01 รองลงมา คือปัญหาประชาชนที่มีรายได้น้อยที่มีหนี้สินและมีปัญหาใน

การส่งใช้เงินกู้ยืม พบเป็นจานวน 30,422 คน คิดเป็นร้อยละ 35.27 และปัญหาประชาชนในวัยทางานที่ไม่

มีงานทาหรอื ไม่ประกอบอาชีพ และไม่มีรายได้ พบเป็นจานวน 21,324 คน คิดเปน็ ร้อยละ 24.72

ตำรำงท่ี 8 ปัญหำดำ้ นควำมไม่ปลอดภัยในชีวติ และทรัพยส์ ิน

ปญั หำด้ำนด้ำนควำมไม่ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน จำนวน(คน) รอ้ ยละ
1. ประชาชนถูกทาร้ายทางร่างกายในรอบปีที่ผ่านมา 504 1.99
2. ประชาชนถูกล่วงละเมิดทางเพศในรอบปีที่ผ่านมา 48 0.19
3. ประชาชนถูกลักทรัพย์/ชิงทรัพย์/ถูกทาลายทรัพย์สินในรอบปีที่ผ่าน 1,887 7.43
มา
4. ประชาชนที่ได้รบั อุบัติเหตุจากยานพาหนะในรอบปีที่ผ่านมา 3,168 12.48
5. ประชาชนที่ประสบภัยจากการทางานในรอบปีที่ผ่านมา 1,218 4.80
6. ประชาชนที่ประสบสาธารณภัยในรอบปี (ภยั ที่เกิดจากธรรมชาติ) 17,556 69.17
จำนวน(คน) ร้อยละ
ปัญหำด้ำนด้ำนควำมไม่ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน (ต่อ) 1,001 3.94
7. บุคคลสญู หายในพืน้ ที่ 25,382 100

รวม

22

จากตารางที่ 8 พบว่า ปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินในพื้นที่ 5 จังหวัด

ชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่ เป็นประเด็นปัญหาประชาชนที่ประสบสาธารณภัยในรอบปี (ภัยที่เกิดจาก

ธรรมชาติ) ซึ่งพบเป็นจานวน 17,556 คน คิดเป็นร้อยละ 69.17 รองลงมา คือปัญหาประชาชนที่ได้รับ

อุบัติเหตุจากยานพาหนะในรอบปีที่ผ่านมา พบเป็นจานวน 3,168 คน คิดเป็นร้อยละ 12.48 และปัญหา

ประชาชนถูกลักทรัพย์/ชิงทรัพย์/ถูกทาลายทรัพย์สินในรอบปีที่ผ่านมา พบเป็นจานวน 1,887 คน คิดเป็น
ร้อยละ 7.43

ตำรำงท่ี 9 ปัญหำดำ้ นวัฒนธรรมและจรยิ ธรรม

ปัญหำด้ำนด้ำนวัฒนธรรมและจรยิ ธรรม จำนวน(คน) ร้อยละ

1. ร้านค้าที่ขายเหล้า/บุหรี่ อยู่ในบริเวณใกล้เคียงสถานศึกษาและศาสน 757 61.54

สถาน

2. ร้านสือ่ ลามก/ร้านคาราโอเกะ/สถานเริงรมณ์/โต๊ะสนุ๊ก 473 38.46

รวม 1,230 100

จากตารางที่ 9 พบว่า ปัญหาด้านวัฒนธรรมและจริยธรรมของในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดน

ภาคใต้ส่วนใหญ่ เป็นประเด็นปัญหาร้านค้าที่ขายเหล้า/บุหรี่ อยู่ในบริเวณใกล้เคียงสถานศึกษาและศาสน

สถาน ซึ่งพบเปน็ จานวน 757 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54 รองลงมา คือปญั หาร้านสือ่ ลามก/ร้านคาราโอเกะ/

สถานเริงรมณ์/โต๊ะสนุ๊ก พบเปน็ จานวน 473 คน คิดเป็นร้อยละ 38.46

ตำรำงท่ี 10 สรปุ ปญั หำเชิงประเด็นสังคม

สรปุ ปัญหำเชิงประเด็นสงั คม จำนวน ร้อยละ

1. ปญั หาด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม 40,450 ครัวเรือน 19.77

2. ปัญหาด้านสุขภาพอนามยั 38,592 คน 18.86

3. ปญั หาด้านการศกึ ษา 12,678 คน 6.20

4. ปัญหาด้านการมีงานทาและรายได้ 86,253 คน 42.16

สรปุ ปญั หำเชิงประเด็นสังคม (ตอ่ ) จำนวน รอ้ ยละ

5. ปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 25,382 คน 12.41

6. ปญั หาด้านวัฒนธรรมและจริยธรรม 1,230 คน 0.60

รวม 204,585 100

จากตารางที่ 10 พบว่า ปญั หาเชิงประเด็นสังคมในพืน้ ที่ 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้ที่เปน็ ปัญหา

สาคัญอันดับแรก เป็นประเด็นปัญหาด้านการมีงานทาและรายได้ ซึ่งมีอัตราส่วนร้อยละ 42.16

รองลงมา คือปัญหาด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 19.77 และปัญหาด้านสุขภาพอนามัย
คิดเปน็ ร้อยละ 18.86

23

2. ปัญหาเชิงกลุ่มเป้าหมายที่ตอ้ งได้รับการพัฒนา

ปญั หาเชิงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการพัฒนาในพื้นที่ 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้ตามข้อมูลที่

มีการเก็บรวบรวมจากแบบฟอร์ม อปท. จาแนกได้เป็น 7 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ปัญหาด้านเด็ก ปัญหา

เยาวชน ปัญหาครอบครัว ปัญหาสตรี ปัญหาผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ปัญหาคนพิการ และปัญหาแรงงาน

ซึ่งประเด็นปัญหาของแต่ละกลุ่มเป้าหมายมีสถิติขอ้ มูลรายละเอียดของปัญหา ดังนี้

ตำรำงท่ี 11 ปัญหำดำ้ นเดก็ (อำยตุ ่ำกวำ่ 18 ปีบรบิ ูรณ)์

ปญั หำด้ำนเดก็ (อำยตุ ำ่ กวำ่ 18 ปีบรบิ รู ณ์) จำนวน(คน) รอ้ ยละ
1. เดก็ ขาดผอู้ ปุ การะ 2,230 7.17
2. เด็กถูกทอดทิง้ 1,992 6.40
3. เด็กไม่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน 1,726 5.55
4. เดก็ ทีอ่ ยู่ในครอบครวั เลีย้ งเดี่ยว 6,715 21.59
5. เดก็ ในครอบครัวยากจนไม่มีค่าใช้จา่ ยทางการศกึ ษา 7,957 25.58
6. เดก็ ทีม่ พี ฤติกรรมไม่เหมาะสมและพบเห็นได้ในทีส่ าธารณะ
5,245 16.86
- ดื่มเคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ และติดสารเสพติดร้ายแรง
เช่น ยาบ้า ยาอี สารระเหย กัญชา เป็นต้น 1,369 4.40
2,170 6.98
- มัว่ สมุ และทาความราคาญใหก้ บั ชาวบ้าน 409 1.31
- ติดเกมส์และเล่นการพนันต่างๆ 556 1.79
- มีพฤติกรรมทางเพศ จำนวน(คน) ร้อยละ
- อื่นๆ (ระบ)ุ 76 0.24
127 0.41
ปญั หำด้ำนเดก็ (อำยตุ ำ่ กว่ำ 18 ปีบรบิ รู ณ์) (ต่อ) 57 0.18
7. เด็กเร่ร่อน ขอทาน 328 1.05
8. เดก็ ทีไ่ ม่มีชื่อในทะเบียนบ้าน 124 0.40
9. เด็กทีไ่ ร้สญั ชาติ 23 0.07
10.เดก็ ที่ตงั้ ครรภก์ ่อนวัยอันควร 31,104 100
11.เดก็ ต่างด้าวไม่มีสัญชาติไทย
12.เดก็ ที่ถูกทารุณกรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศ

รวม

จากตารางที่ 11 พบว่า ปัญหาด้านเด็กในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่ เป็น
ประเด็นปัญหาเด็กในครอบครัวยากจนไม่มีค่าใช้จ่ายทางการศึกษา ซึ่งพบเป็นจานวน 7,957 คน คิดเป็น
ร้อยละ 25.58 รองลงมา คือปัญหาเดก็ ทีอ่ ยู่ในครอบครวั เลี้ยงเดี่ยว พบเป็นจานวน 6,715 คน คิดเป็นร้อย

24

ละ 21.59 และปญั หาเดก็ ที่มพี ฤติกรรมไม่เหมาะสมและพบเห็นได้ในที่สาธารณะ ในส่วนของปัญหาการดื่ม

เคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ และติดสารเสพติดร้ายแรง เช่น ยาบ้า ยาอี สารระเหย กัญชา เป็นต้น

พบเป็นจานวน 5,245 คน คิดเปน็ ร้อยละ 16.86

ตำรำงท่ี 12 ปัญหำเยำวชน (อำยุ 18-25 ปี)

ปัญหำเยำวชน (อำยุ 18-25 ปี) จำนวน(คน) รอ้ ยละ

1. เยาวชนที่อยู่ในครอบครวั เลีย้ งเดี่ยว 5,012 23.80

2. เยาวชนในครอบครวั ยากจนไม่มีค่าใช้จ่ายทางการศกึ ษา 6,347 30.14

3. เยาวชนที่มพี ฤติกรรมไม่เหมาะสมและพบเห็นได้ในที่สาธารณะ

- ดื่มเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ และติดสารเสพติดร้ายแรง 6,222 29.54

เช่น ยาบ้า ยาอี สารระเหย กญั ชา เปน็ ต้น

- มั่วสุมและทาความราคาญใหก้ ับชาวบ้าน 1,036 4.92

- ติดเกมส์และเล่นการพนนั ต่างๆ 1,766 8.39

- มีพฤติกรรมทางเพศ 247 1.17

- อื่นๆ (ระบ)ุ 57 0.27

4. เยาวชนเร่ร่อน ขอทาน 25 0.12

5. เยาวชนทีไ่ ม่มีชือ่ ในทะเบียนบ้าน 61 0.29

6. เยาวชนที่ไร้สญั ชาติ 36 0.17

7. เยาวชนที่เลีย้ งดบู ตุ รตามลาพัง 136 0.65

ปัญหำเยำวชน (อำยุ 18-25 ปี) (ตอ่ ) จำนวน(คน) ร้อยละ

8. เยาวชนต่างด้าวไม่มีสัญชาติไทย 113 0.54

9. เยาวชนที่ถกู ทารณุ กรรมทางร่างกายจิตใจและทางเพศ 3 0.01

รวม 21,061 100

จากตารางที่ 12 พบว่า ปัญหาเยาวชนในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่ เป็น

ประเด็นปัญหาเยาวชนในครอบครัวยากจนไม่มีค่าใช้จ่ายทางการศึกษา ซึ่งพบเป็นจานวน 6,347 คน คิด

เป็นร้อยละ 30.14 รองลงมา คือปัญหาเยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมและพบเห็นได้ในที่สาธารณะ ใน

ส่วนของปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ และติดสารเสพติดร้ายแรง เช่น ยาบ้า ยาอี สาร

ระเหย กัญชา เป็นต้น พบเป็นจานวน 6,222 คน คิดเป็นร้อยละ 29.54 และ ปัญหาเยาวชนที่อยู่ใน

ครอบครวั เลีย้ งเดีย่ ว พบเปน็ จานวน 5,012 คน คิดเป็นร้อยละ 23.80

25

ตำรำงท่ี 13 ปัญหำครอบครวั

ปัญหำครอบครวั จำนวน ร้อยละ
(ครอบครัว)
69.02
1. ครอบครวั หย่าร้าง 4,831 0.33

2. ครอบครัวที่กระทาความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ และคน 23 4.00
9.76
พิการ 16.89

3. ครอบครวั ที่มคี นในครอบครัวกระทาความรุนแรงต่อกัน 280

4. ครอบครัวทีไ่ ม่เลีย้ งดูบพุ การีได้ 683

5. ครอบครวั ที่มหี ัวหน้าครอบครัวประพฤติตวั ไม่เหมาะสม 1,182

รวม 6,999 100

จากตารางที่ 13 พบว่า ปัญหาครอบครัวในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่ เป็น

ประเด็นปัญหาครอบครัวหย่าร้าง ซึ่งพบเป็นจานวน 4,831 ครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 69.02 รองลงมา

คือปัญหาครอบครัวทีม่ ีหัวหน้าครอบครัวประพฤติตัวไม่เหมาะสม พบเป็นจานวน 1,182 ครอบครัว คิด

เป็นร้อยละ 16.89 และปัญหาครอบครัวที่ไม่เลี้ยงดูบุพการีได้ พบเป็นจานวน 683 ครอบครัว คิดเป็น

ร้อยละ 9.76

ตำรำงท่ี 14 ปัญหำสตรี (อำยุ 25 ปีข้นึ ไป – 60 ปี)

ปญั หำสตรี จำนวน (คน) รอ้ ยละ

1. สตรีที่ถกู ละเมิดทางเพศ 961 5.82

2. สตรีที่ถกู ทาร้ายร่างกายและจิตใจ 101 0.61

3. สตรีหม้ายทีต่ อ้ งเลีย้ งดบู ตุ รเพียงลาพงั 6,893 41.75

4. สตรีทีม่ รี ายได้นอ้ ยขาดแคลนทุนประกอบอาชีพ 8,555 51.82

รวม 16,510 100

จากตารางที่ 14 พบว่า ปัญหาสตรีในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่ เป็นประเด็น

ปัญหาสตรีที่มีรายได้น้อยขาดแคลนทุนประกอบอาชีพ ซึ่งพบเป็นจานวน 8,555 คน คิดเป็นร้อยละ

51.82 รองลงมา คือปัญหาสตรีหม้ายที่ต้องเลี้ยงดูบุตรเพียงลาพัง พบเป็นจานวน 6,893 คน คิดเป็นร้อย

ละ 41.75 และปญั หาสตรีทีถ่ ูกละเมิดทางเพศ พบเป็นจานวน 961 คน คิดเป็นร้อยละ 5.82

26

ตำรำงท่ี 15 ปัญหำผ้สู งู อำยุ

ปัญหำผ้สู งู อำยุ จำนวน (คน) รอ้ ยละ

1. ผสู้ งู อายทุ ี่ยังไม่ได้ไปแจ้งจดทะเบียนเพื่อรับเบีย้ ยังชีพได้ตามกาหนด 7,552 44.89

2. ผสู้ งู อายุที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ไม่มีคนดูแล ไม่มีรายได้ และสมควร 2,868 17.05

ได้รบั ความช่วยเหลือ

3. ผู้สูงอายุไม่สามารถเข้าถึงบริการ/กิจกรรมสาหรับผู้สูงอายุในด้าน 3,490 20.75

ต่างๆ

4. ผสู้ งู อายทุ ีถ่ กู กระทาความรุนแรงทางร่างกายหรือจติ ใจ 146 0.87

5. ผสู้ งู อายุที่ไม่มีชือ่ ในทะเบียนบ้าน/ไม่มีบตั รประชาชน 92 0.55

6. ผสู้ ูงอายทุ ีย่ ากจนและมีภาระต้องเลีย้ งดบู ุตรหลาน 2,674 15.90

รวม 16,822 100

7. ผสู้ ูงอายุทีไ่ ด้รบั เบีย้ ยงั ชีพ 174,641

จากตารางที่ 15 พบว่า ปัญหาด้านผู้สูงอายุในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่ เป็น

ประเด็นปัญหาผู้สูงอายุที่ยังไม่ได้ไปแจ้งจดทะเบียนเพื่อรับเบี้ยยังชีพได้ตามกาหนด ซึ่งพบเป็นจานวน

7,552 คน คิดเป็นร้อยละ 44.89 รองลงมา คือปัญหาผู้สูงอายุไม่สามารถเข้าถึงบริการ/กิจกรรมสาหรับ

ผู้สูงอายุในด้านต่างๆ พบเป็นจานวน 3,490 คน คิดเป็นร้อยละ 20.75 และปัญหาผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือ

ตัวเองไม่ได้ ไม่มีคนดูแล ไม่มีรายได้ และสมควรได้รับความช่วยเหลือ พบเป็นจานวน 2,868 คน คิดเป็น

ร้อยละ 17.05

ตำรำงท่ี 16 ปัญหำคนพิกำร

ปญั หำคนพิกำร จำนวน (คน) ร้อยละ
1. บุคคลที่เข้าข่ายความพิการแต่ยังไม่ได้รับการตรวจประเมินจาก 1,742 35.73
แพทย์และยังไม่ได้ข้ึนทะเบียนคนพิการ
2. คนพิการมีความต้องการกายอุปกรณ์ 2,319 47.56
3. คนพิการทีถ่ ูกทอดทิง้ /ไม่ได้รับความเอาใจใส่จากครอบครัว 240 4.92
4. คนพิการทีย่ ังไม่เคยได้รับความช่วยเหลือ 575 11.79
4,876 100
รวม 23,873
5. คนพิการทีไ่ ด้รับการจดทะเบียน 28,374
6. คนพิการทีไ่ ด้รบั เบีย้ ยังชีพ 685
7. คนพิการที่ทางานในสถานประกอบการ

27

จากตารางที่ 16 พบว่า ปัญหาด้านคนพิการในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่ เป็น

ประเด็นปัญหาคนพิการมีความต้องการกายอุปกรณ์ ซึ่งพบเป็นจานวน 2,319 คน คิดเป็นร้อยละ 47.56

รองลงมาคือปัญหาบุคคลที่เข้าข่ายความพิการแต่ยังไม่ได้รับการตรวจประเมินจากแพทย์และยังไม่ได้ขึ้น

ทะเบียนคนพิการ พบเป็นจานวน 1,742 คน คิดเป็นร้อยละ 35.73 และปัญหาคนพิการที่ยังไม่เคยได้รับ

ความช่วยเหลือ พบเป็นจานวน 575 คน คิดเป็นร้อยละ 11.79

ตำรำงท่ี 17 ปัญหำแรงงำน

ปญั หำแรงงำน จำนวน (คน) ร้อยละ

1. คนที่ถูกเลิกจ้างและว่างงานไม่มีรายได้สมควรได้รับความ 7,178 95.24

ช่วยเหลือ

2. แรงงานต่างด้าวในท้องถิน่ ที่ยงั ไม่ได้รับการจดทะเบียน 359 4.76

รวม 7,537 100

3. แรงงานไทยที่อพยพมาจากต่างจังหวัด 1,452

4. แรงงานต่างด้าวในท้องถิ่นที่จดทะเบียนแล้ว 17,694

5. ครอบครัวแรงงานต่างด้าวในท้องถิ่น 1,830 ครอบครวั

จากตารางที่ 17 พบว่า ปัญหาด้านแรงงานในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ส่วนใหญ่ คือ

ปัญหาคนที่ถูกเลิกจ้างและว่างงานไม่มีรายได้สมควรได้รับความช่วยเหลือ ซึ่งพบเป็นจานวน 7,178 คน

คิดเป็นร้อยละ 95.24 รองลงมาคือปัญหาแรงงานต่างด้าวในท้องถิ่นที่ยังไม่ได้รับการจดทะเบียน พบเป็น

จานวน 359 คน คิดเป็นร้อยละ 4.76

ตำรำงท่ี 18 สรปุ ปัญหำเชิงกลุ่มเปำ้ หมำยทต่ี อ้ งได้รับกำรพัฒนำ

สรปุ ปัญหำเชิงกลุ่มเป้ำหมำยท่ตี ้องได้รบั กำรพัฒนำ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
1. ปัญหาด้านเดก็ (อายุต่ากว่า 18 ปีบริบรู ณ์) 31,104 29.65
2. ปัญหาเยาวชน (อายุ 18-25 ปี) 21,061 20.08
3. ปญั หาครอบครวั 6,999 6.67
4. ปัญหาสตรี (อายุ 25 ปีข้ึนไป – 60 ปี) 16,510 15.74
5. ปญั หาผสู้ งู อายุ (60 ปีข้ึนไป) 16,822 16.03
6. ปญั หาคนพิการ 4,876 4.65
7. ปัญหาแรงงาน 7,537 7.18
104,909 100
รวม

28

จากตารางที่ 18 พบว่า ปัญหาเชิงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการพัฒนาในพื้นที่ 5 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ที่เป็นปัญหาสาคัญอันดับแรก เป็นประเด็นปัญหาปัญหาด้านเด็ก (อายุต่ากว่า 18 ปี
บริบรู ณ์) ซึ่งมีอัตราส่วนร้อยละ 29.65 รองลงมา คือปัญหาเยาวชน (อายุ 18-25 ปี) คิดเปน็ ร้อยละ 20.08
และปญั หาปญั หาผสู้ ูงอายุ (60 ปีข้ึนไป) คิดเปน็ ร้อยละ 16.03

สรปุ ผลกำรสำรวจข้อมลู แบบรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคม ปี 2557 (อปท.1)
จากข้อมูลรายงานสถานการณ์ปัญหาทางสังคมของท้องถิ่นในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี
2557 จากเว็บไซต์ของสานักตรวจและประเมินผล (http://bie.m-society.go.th) ที่เก็บรวบรวมข้อมูลจาก
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ จานวน 396 แหง่ สามารถสรปุ สถานการณ์
ปัญหาและจัดลาดับความสาคัญของปญั หาได้ดังนี้
ปัญหำเชิงประเด็นสังคม สามารถจัดลาดับความสาคัญของปัญหาและสรุปปัญหาที่สาคัญ 3
อนั ดับแรก ดังนี้
ปญั หำด้ำนกำรมีงำนทำและรำยได้

- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 1 คือ ปัญหาประชาชนที่มีรายได้น้อย ขาดแคลนทุน
ประกอบอาชีพเพื่อยังชีพ

- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 2 คือ ปัญหาประชาชนที่มีรายได้น้อยที่มีหนี้สินและมี
ปญั หาในการสง่ ใชเ้ งินกู้ยืม

- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 3 คือ ปัญหาปัญหาประชาชนในวัยทางานที่ไม่มีงานทา
หรอื ไม่ประกอบอาชีพ และไม่มรี ายได้

ปญั หำด้ำนท่อี ยอู่ ำศัยและสิ่งแวดล้อม
- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 1 คือ ปัญหาครัวเรือนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยทาง

ธรรมชาติในระดับที่เปน็ อันตรายต่อชีวิตและทรพั ย์สิน
- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 2 คือ ปัญหาครัวเรือนที่ไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่อยู่อาศัย เช่น

อาศัยอยู่ในพืน้ ที่สาธารณะ ที่ราชพสั ดุ อยู่ในเขตป่าสงวนภายในบริเวณวัด ที่เช่า การถูกไล่ที่ เปน็ ต้น
- ประเดน็ ปัญหาที่พบเปน็ อนั ดับ 3 คือ ปญั หาครวั เรอื นที่มสี ภาพที่อยู่อาศัยไม่มนั่ คงถาวร

ปัญหำดำ้ นสขุ ภำพอนำมัย
- ประเดน็ ปญั หาทีพ่ บเป็นอันดับ 1 คือ ปญั หาประชาชนที่ติดสารเสพติดร้ายแรง เช่น ยาบ้า

ยาอี สารระเหย กญั ชา เปน็ ต้น
- ประเด็นปัญหาที่พบเปน็ อันดับ 2 คือ ปัญหาประชาชนที่ตดิ สุรา

29

- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 3 คือ ปัญหาประชาชนที่ติดโรคระบาดในรอบปี เช่น โรค
ไข้เลือดออก โรคอหวิ าตกโรค โรคไข้หวัดนก โรคฉีห่ นู เป็นต้น

ปญั หำเชิงกลุ่มเป้ำหมำยท่ตี ้องได้รับกำรพัฒนำ สามารถจดั ลาดับความสาคัญของปัญหาและ
สรปุ ปญั หาที่สาคญั 3 อันดบั แรก ดังนี้

ปญั หำด้ำนเด็ก (อำยตุ ำ่ กว่ำ 18 ปีบรบิ รู ณ)์
- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 1 คือ ปัญหาเด็กในครอบครัวยากจนไม่มีค่าใช้จ่ายทาง

การศกึ ษา
- ประเดน็ ปัญหาที่พบเปน็ อนั ดบั 2 คือ ปัญหาเด็กทีอ่ ยู่ในครอบครวั เลีย้ งเดีย่ ว
- ประเดน็ ปัญหาทีพ่ บเป็นอันดับ 3 คือ ปัญหาเด็กที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมและพบเห็นได้

ในที่สาธารณะ ในส่วนของปญั หาการดื่มเคร่ืองดื่มทีม่ ีแอลกอฮอล์ สบู บหุ รี่ และติดสารเสพติดร้ายแรง เช่น
ยาบ้า ยาอี สารระเหย กญั ชา เป็นต้น

ปญั หำเยำวชน (อำยุ 18-25 ป)ี
- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 1 คือ ปัญหาเยาวชนในครอบครัวยากจนไม่มีค่าใช้จ่าย

ทางการศกึ ษา
- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 2 คือ ปัญหาเยาวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมและพบ

เห็นได้ในที่สาธารณะ ในส่วนของปัญหาการดื่มเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ และติดสารเสพติด
ร้ายแรง เช่น ยาบ้า ยาอี สารระเหย กัญชา เปน็ ต้น

- ประเดน็ ปัญหาทีพ่ บเปน็ อนั ดบั 3 คือ ปัญหาเยาวชนทีอ่ ยู่ในครอบครัวเลีย้ งเดีย่ ว
ปญั หำผูส้ งู อำยุ (60 ปีข้ึนไป)

- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 1 คือ ปัญหาผู้สูงอายุที่ยังไม่ได้ไปแจ้งจดทะเบียนเพื่อรับ
เบยี้ ยังชีพได้ตามกาหนด

- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 2 คือ ปัญหาผู้สูงอายุไม่สามารถเข้าถึงบริการ/กิจกรรม
สาหรบั ผสู้ ูงอายใุ นด้านต่างๆ

- ประเด็นปัญหาที่พบเป็นอันดับ 3 คือ ปัญหาผสู้ ูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ไม่มีคนดูแล
ไม่มีรายได้ และสมควรได้รบั ความช่วยเหลือ

30

ส่วนที่ 3.3 ขอ้ มลู สถำนกำรณ์ทำงสงั คมในพนื้ ที่ 5 จงั หวดั ชำยแดนภำคใต้

31

ส่วนท่ี 3.3 ข้อมูลจำกแหล่งข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับสถำนกำรณ์ทำงสังคมในพื้นท่ี 5 จังหวัด
ชำยแดนภำคใต้

1. ขอ้ มลู สถำนกำรณค์ วำมไม่สงบในพื้นท่ี 5 จังหวัดชำยแดนภำคใต้
สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เริ่มปรากฎชัดเจนและทวีความ

รุนแรงมากขึ้นนับจากเดือนมกราคม 2547 จนถึงปัจจบุ ัน (ตุลาคม 2557) ซึง่ เป็นเวลากว่าหนึ่งทศวรรษ
ที่สถานการณ์ปัญหายังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเน่ือง พื้นที่เกิดเหตุอยู่ใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่
จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และพื้นที่ 4 อาเภอของจังหวัดสงขลา ได้แก่ อาเภอจะนะ อาเภอเทพา
อาเภอสะบ้าย้อย อาเภอนาทวี สถานการณ์ปัญหาเกิดจากความขัดแย้งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ทาให้มีการก่อเหตุความรุนแรงทั้งในรูปแบบของการลอบทาร้าย วางระเบิด วางเพลิง และการจลาจล
ผู้เสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บมีท้ังข้าราชการฝ่ายปกครอง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ลูกจ้างของรัฐ ผู้นาชุมชน ผู้นาทางศาสนา รวมท้ังประชาชนท่ัวไป และผู้ที่ได้รับผลกระทบต่อเนื่องจาก
การเกิดสถานการณ์คือ กลุ่มเด็กกาพร้า สตรีหม้าย และผู้พิการจากสถานการณ์ที่ต้องประสบปัญหา
กบั การใชช้ ีวติ ที่ขาดผู้นาซึ่งเป็นเสาหลักของครอบครัว ขาดผดู้ แู ล/ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้

สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมาส่งผลให้มี
จานวนผู้เสียชีวิตและผู้ได้รับบาดเจ็บเป็นจานวนมาก จากสถิติล่าสุดต้ังแต่เดือนมกราคม 2547 –
ตุลาคม 2557 พบว่า เหตุการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้นท้ังหมด 14,579 ครั้ง ทาให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจบ็
รวมกันประมาณ 17,397 คน ในบรรดาผู้เสียชีวิต 6,189 คน ส่วนใหญ่เป็นมุสลิม 3,636 คน หรือคิด
เป็น 58.75% ของผู้เสียชีวิตท้ังหมด และเป็นผู้เสียชีวิตที่เป็นชาวพุทธ 2,395 คน หรือประมาณ
38.70% ในทางตรงข้าม ในบรรดาผู้บาดเจ็บประมาณ 11,208 คน ส่วนใหญ่จะเป็นชาวพุทธประมาณ
6,625 คนหรือ 59.11% และเป็นชาวมุสลิม 3,581 คน หรือประมาณ 31.95 % (ข้อมูลจากเวบ็ ไซต์ของ
ศูนย์เฝ้าระวงั สถานการณภ์ าคใต้ http://www.deepsouthwatch.org/node/5974)

จากสถิติเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลังปี 2550 จานวนเหตุการณ์ลดลง แต่อัตราผู้เสียชีวิตและ
บาดเจ็บเพิ่มสูงขึ้น เป็นเหตุให้จานวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในพื้นที่ยังมีจานวนคงที่ ซึ่งแสดงให้เห็นถึง
แนวโน้มความรุนแรงของสถานการณ์ที่มีลกั ษณะค่อนข้างผันผวน แตก่ ม็ ีรปู แบบเฉพาะในลกั ษณะที่เป็น
สถานการณท์ ี่ ‘อ่อนไหว สบั สน ซับซ้อน และมีโอกาสลุกลามมากขึ้น’

32

สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีลักษณะผันผวน แต่มีแนวโน้ม

ของความสูญเสียและผลกระทบที่จะเกิดข้ึนอย่างต่อเนอ่ื ง ทาให้เกิดกลุ่มเป้าหมายทางสังคมทีต่ อ้ งได้รับ

ความช่วยเหลือ ได้แก่ กลุ่มสตรีหม้าย เด็กกาพร้า และผพู้ ิการจากสถานการณ์ ซึ่งจากเหตกุ ารณ์ความ

ไม่สงบที่เกิดขึ้นนับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน (กันยายน 2557) เป็นเวลากว่า 10 ปี ที่มีจานวน

สตรีหม้าย เด็กกาพร้า และผู้พิการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสถิติข้อมูลของผู้ที่อยู่ในความดูแลของ

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พบว่า สตรีหม้ายมีจานวนท้ังสิ้น 2,789 คน เด็ก

กาพร้าจากสถานการณ์มีจานวนทั้งสิ้น 5,412 คน และผู้พิการจากสถานการณ์มีจานวนทั้งสิ้น 591 คน

(ข้อมูลจากหน่วยเคลือ่ นทีเ่ ยียวยาฯ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้)

ตารางที่ 19 แสดงจานวนสตรีหม้ายที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่

5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้ จาแนกรายจงั หวัดและรายปี

ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี

พืน้ ท่ี 2547- 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 รวม

2549 756
1,095
จังหวดั นราธิวาส 118 133 129 83 76 93 52 34 38 827
96
จงั หวัดปัตตานี 274 119 149 126 101 98 65 97 66

จังหวัดยะลา 167 143 190 69 37 54 47 71 49

จังหวดั สงขลา 41 23 5 1 3 2 1 9 11

33

ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี

พืน้ ท่ี 2547- 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 รวม
จังหวัดสตูล 2549

1 - 2 2 1 3 4 2 - 15

รวม 601 418 475 281 218 250 169 213 164 2,789

หมายเหตุ : สตรีหม้ายจังหวัดสตลู เปน็ ผู้ทีไ่ ด้รับผลกระทบมาจากจังหวัดยะลา นราธวิ าส และปัตตานี

ที่มา : หน่วยเคล่ือนที่เยียวยาฯ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

ข้อมลู ณ วันที่ 30 กันยายน 2557

ตารางที่ 20 แสดงจานวนเด็กกาพร้าที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความไม่สงบใน

พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ท้ังที่อาศัยอยู่ภายในพื้นที่ และอยู่ภายนอกพื้นที่ รวมท้ังข้อมูลการจบ

การศกึ ษา จาแนกรายจงั หวัด

ขอ้ มลู เดก็ กำพรำ้ จบ

พื้นท่ี อยใู่ นพืน้ ท่ี (คน) อยนู่ อกพืน้ ท่ี รวม (คน) กำรศึกษำ
(คน) (คน)
จังหวดั นราธิวาส 1,676 218 1,894 -
จงั หวดั ยะลา 1,100 259 1,359 5
จงั หวัดปตั ตานี 1,508 428 1,936 18
จงั หวัดสงขลา 199 - 199 -
จังหวดั สตลู 24 - 24 -

รวม 4,507 905 5,412 23

ทีม่ า : หนว่ ยเคลือ่ นทีเ่ ยยี วยาฯ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้

ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557

ตารางที่ 21 แสดงจานวนผู้พิการจากสถานการณ์ จาแนกรายจังหวัดตามข้อมูลการให้ความ

ช่วยเหลือ

การช่วยเหลือผพู้ ิการรายเดือน จงั หวัด จังหวดั จังหวัด จงั หวัด รวม (คน)

ตามลกั ษณะความพิการ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา

(คน) (คน) (คน) (คน)

เดือนละ 1,000 บาท/ราย 35 22 75 5 137

เดือนละ 2,000 บาท/ราย - 4 17 - 21

เดือนละ 3,000 บาท/ราย 210 93 113 13 429

34

การช่วยเหลือผพู้ ิการรายเดือน จงั หวดั จงั หวดั จังหวดั จังหวัด รวม (คน)
ตามลกั ษณะความพิการ นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา
(คน) (คน) (คน)
เดือนละ 4,000 บาท/ราย (คน)
รวม 2 1 1-4
247 120 206 18 591

ที่มา : หนว่ ยเคล่อื นทีเ่ ยยี วยาฯ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

ข้อมูล ณ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2557

2. ข้อมลู สถำนกำรณป์ ัญหำกำรค้ำมนุษย์
ปัญหาการค้ามนุษย์ในประเทศไทยนับวันยิ่งทวีความรนุ แรงมากขนึ้ ทกุ ขณะ โดยในปัจจุบัน

ประเทศไทยได้รับการประเมินสถานะของปัญหาการค้ามนุษย์อยู่ในระดับที่ 3 (Tier 3) ซึ่งแสดงถึง
สถานการณ์การค้ามนุษย์ที่อยู่ในระดับรุนแรง และไม่มีความก้าวหน้าในการรับมือกับสถานการณ์
การค้ามนษุ ย์

จังหวัดชายแดนภาคใต้มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศมาเลเซีย เป็นศูนย์กลางความเจริญใน
หลาย ๆ ด้าน ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การค้า การศึกษา การคมนาคม การท่องเที่ยว เป็นแหล่งรวมของ
สถานบันเทิงต่าง ๆ โดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ที่เป็นเขตรอยต่อกับประเทศมาเลเซียซึ่งเป็นศูนย์กลางของ
สถานบันเทิงทีต่ งั้ ข้ึนเพื่อรองรบั นกั ท่องเทีย่ ว นอกจากนีย้ งั เปน็ เมืองท่าและเมืองชายทะเลที่สาคญั ทาให้
มีการเคลื่อนย้ายของประชากรจากทุกภูมิภาคของประเทศไทยและจากต่างประเทศเข้ามาเป็นจานวน
มาก และเกิดปัญหาสังคมมากมาย โดยเฉพาะปัญหาการค้ามนษุ ย์ สถานการณก์ ารค้ามนุษย์ในพืน้ ที่ 5
จังหวดั ชายแดนภาคใต้ มี 3 ลกั ษณะ ได้แก่

1) จังหวัดต้นทาง คือ มีการล่อลวงเด็ก สตรี และแรงงานชาย กลุ่มผู้ใช้แรงงาน
ไปแสวงหาประโยชน์ในจังหวัด หรอื ส่งต่อไปยังประเทศมาเลเซีย

2) จังหวัดทางผ่าน คือ เป็นเส้นทางผ่านของการนาเด็ก สตรี และแรงงานชายจาก
ไทย และจากประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว พม่า กัมพูชา เป็นต้น ไปแสวงหาประโยชน์ ในประเทศ
มาเลเซีย สงิ คโปร์

3) จังหวัดที่เป็นปลายทาง คือ มีการนาเด็ก สตรี และแรงงานชายมาแสวงหา
ผลประโยชน์โดยการบังคับให้ค้าประเวณีและใช้แรงงานประมง โดยเฉพาะในพื้นที่อาเภอที่ติดกับ
ชายแดนและบริเวณท่าเรือประมง

35

ปัญหาการค้ามนุษย์ในพืน้ ที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้มีระดับความรุนแรงมากขึ้นเมื่อพบว่ามี
ผู้อพยพชาวโรฮิงญาจากประเทศพม่าลักลอบเดินทางผ่านด่านชายแดนไทยในพื้นที่อาเภอสะเดา
จังหวดั สงขลา และพืน้ ทีอ่ าเภอสุไหงโกลก จงั หวัดนราธิวาส เพือ่ เดินทางตอ่ ไปยงั ประเทศมาเลเซีย โดย
เป็นกระบวนการค้ามนุษย์ที่อาศัยประเทศไทยเป็นประเทศทางผ่านเพื่อนาไปค้าแรงงานท้ังในภาค
การเกษตรและภาคการประมง

นอกจากนี้ยังพบปัญหาการลักลอบเข้ามาในประเทศไทยของกลุ่มชาวมุสลิมที่ไม่ทราบ
สัญชาติแน่ชัด แต่ต้องสงสัยว่าเป็นผู้อพยพชาวอุยกูร์ โดยถูกควบคุมตัวได้ที่อาเภอรัตภูมิ และอาเภอ
สะเดา จังหวัดสงขลา ทั้งนี้มีความเป็นไปได้ว่ากลุ่มมุสลิมดังกล่าวอาจเกี่ยวข้องกับกระบวนการค้ า
มนุษย์ในลักษณะของการขนส่งแรงงานออกนอกประเทศเพื่อผลประโยชน์ โดยอาศัยประเทศไทยเป็น
เส้นทางผ่านเพื่อเดินทางต่อไปยังประเทศที่สาม ซึง่ คาดว่าปลายทางอาจเป็นประเทศมาเลเซีย หรอื อาจ
เปน็ การเดินทางผา่ นประเทศมาเลเซียเพื่อไปยังประเทศปลายทางอ่นื

3. ข้อมูลสถำนกำรณ์กำรคลอดบุตรของวยั รนุ่ ไทย
การต้ังครรภใ์ นวัยรุ่น หมายถึง การต้ังครรภ์ในสตรที ีม่ อี ายรุ ะหว่าง 10 – 19 ปี โดยถืออายุ

ณ เวลาทีค่ ลอดบุตร ซึง่ อาจแบ่งได้เปน็ adolescents คือช่วงอายุ 15 – 19 ปี และ younger adolescents
คือช่วงอายุ 10 - 14 ปี

การตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่นมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น และเป็นปัญหาสังคมที่สะสมมาอย่าง
ต่อเนอ่ื ง ปัญหาการต้ังครรภ์ของสตรีในวัยรุ่นจะส่งผลกระทบต่อประชากรในแง่ของการพัฒนาประเทศ
เนื่องจากเด็กหรือเยาวชนเป็นวัยที่อยู่ในระยะของการศึกษาเล่าเรียน หากมีการต้ังครรภ์ในช่วงอายุ
ดังกล่าวจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตและสภาพจิตใจ เน่ืองจากต้องออกจากระบบ
การศกึ ษากลางคัน มีความเครียดและขาดความพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งในระหวา่ งต้ังครรภ์
และหลังคลอด ทาให้คุณภาพชีวิตของทารกลดลง ซึ่งอนาคตของประเทศไทยจะต้องเผชิญกับปัญหา
“เดก็ เกิดนอ้ ย แตด่ ้อยคณุ ภาพ” ข้อมลู จานวนและอัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่นไทย ปี 2556 แสดงให้
เห็นดังตารางที่ 22

36

ตารางที่ 22 แสดงจานวนและอตั ราการคลอดบุตรของวยั รุ่นไทย จาแนกรายภาค ปี 2556

อั ต ร า ก า ร ค ล อ ด

ภาค หญิงอายุ หญิงทีค่ ลอดบตุ รอายุตา่ กว่า 20 ปี บุตรของวัยรุ่น อายุ
15 – 19 ปี อายุ < 14 ปี อายุ 15 – 19 ปี รวม 15 – 19 ปี (ต่อหญิง
ก ลุ่ ม อ า ยุ เ ดี ย ว กั น

พันคน)

ทั้งหมด 2,332,419 3,680 96,890 100,570 41.54
กรงุ เทพมหานคร 197,812 317 7,685 8,002 38.85
568,928 1,195 27,838 29,033 48.93
กลาง

เหนือ 400,125 693 15,969 16,662 39.91

ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 809,369 1,029 31,348 32,377 38.73

ใต้ 356,185 446 14,050 14,496 39.45

ทีม่ า : ข้อมูลจดทะเบียนการเกิด กลุ่มวชิ าการและเทคโนโลยกี ารทะเบียน สานกั บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง

ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557

ภาพรวมของประเทศไทยในปี 2556 พบว่า อัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่น อยู่ที่ 41.54

เมือ่ จาแนกรายภาค พบว่า ภาคกลางมีอัตราการคลอดบุตรของวยั รุ่นสูงสุด อยู่ที่ 48.93 รองลงมาเป็น

ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และกรุงเทพมหานคร มีอัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่น

ต่าสุด อยู่ที่ 38.85 และสาหรับพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้มีจานวนและอัตราการคลอดบุตรของ

วัยรุ่น ตามรายละเอียดในตารางที่ 23

ตารางที่ 23 แสดงจานวนและอัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่นไทย จาแนกรายจังหวัด

(เฉพาะในพืน้ ที่ 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้) ปี 2556

อั ต ร า ก า ร ค ล อ ด

ที่ จังหวดั หญิงอายุ หญิงทีค่ ลอดบุตรอายุตา่ กว่า 20 ปี บุตรของวัยรุ่น อายุ
15 – 19 ปี อายุ < 14 ปี อายุ 15 – 19 ปี รวม 15 – 19 ปี (ต่อหญิง
ก ลุ่ ม อ า ยุ เ ดี ย ว กั น

พนั คน)

ทั้งหมด 152,426 164 5,427 5,591 35.60

1 สงขลา 52,369 75 2,153 2,228 41.11
2 สตลู 12,199 21 505 526 47.40

3 ปตั ตานี 31,236 24 934 958 29.90

37

อั ต ร า ก า ร ค ล อ ด

ที่ จงั หวัด หญิงอายุ หญิงที่คลอดบตุ รอายตุ ่ากว่า 20 ปี บุตรของวัยรุ่น อายุ
15 – 19 ปี อายุ < 14 ปี อายุ 15 – 19 ปี รวม 15 – 19 ปี (ต่อหญิง
ก ลุ่ ม อ า ยุ เ ดี ย ว กั น

พันคน)

4 ยะลา 22,923 19 784 803 34.20

5 นราธิวาส 33,699 25 1,051 1,076 31.19

ทีม่ า : ข้อมลู จดทะเบียนการเกิด กลุ่มวชิ าการและเทคโนโลยกี ารทะเบียน สานกั บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง

ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557

ภาพรวมของพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่า อัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่น อยู่ที่
35.60 เม่ือจาแนกรายจังหวัดพบว่า จังหวัดสตูลมีอัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่นสูงสุด อยู่ที่ 47.40
รองลงมาเป็นจังหวัดสงขลา ยะลา นราธิวาส และจงั หวดั ปัตตานีมีอัตราการคลอดบุตรของวัยรุ่นต่าสุด
อยู่ที่ 29.90

4. ข้อมลู สถำนกำรณ์ปญั หำผสู้ ูงอำยุ
ปัจจุบนั จานวนประชากรสูงอายุในประเทศไทยมีอัตราส่วนทีเ่ พิม่ สูงขึน้ เนื่องจากอตั ราการ

เกิดของเด็กที่ลดลง ทาให้จานวนประชากรวัยเยาว์ลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่วิทยาการทาง
การแพทย์มีความเจริญก้าวหน้าทาให้ประชากรมีช่วงอายุที่ยืนยาวมากขึ้น โครงสร้างประชากรไทยมี
การเปลีย่ นแปลงไปอย่างมาก จากเดิมที่มปี ระชากรวัยเด็กเปน็ จานวนมาก และมีประชากรวัยสูงอายุอยู่
ในสัดส่วนที่ไม่มากนัก ปัจจุบันกลายเป็นประชากรวัยสูงอายุมีจานวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในขณะที่
สดั ส่วนประชากรวัยเด็กลดน้อยลงเรือ่ ยๆ สังคมไทยกาลังก้าวสู่สังคมผู้สงู อายอุ ย่างไม่อาจหลีกเลีย่ งได้

พืน้ ที่ 5 จงั หวัดชายแดนภาคใต้มีสัดส่วนของประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึน้ เช่นเดียวกับภาคอื่นๆ
ของประเทศไทย โดยในส่วนของ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จังหวัดที่มีจานวนประชากรสูงอายุมากที่สุดคือ
จังหวัดสงขลา รองลงมาคือนราธิวาส ปัตตานี ยะลา และจังหวัดสตูล เป็นจังหวัดที่มีจานวนประชากร
สูงอายุน้อยที่สดุ โดยจานวนของประชากรสูงอายุของแต่ละจังหวดั ปรากฏรายละเอียดตามตารางที่ 24

38

ตารางที่ 24 แสดงจานวนผสู้ ูงอายุ โดยเปรียบเทียบแนวโน้มระหว่าง พ.ศ. 2552 – พ.ศ. 2556

จงั หวัด จานวนประชากรสงู อายุ (คน)

พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2556

สงขลา 142,692 154,061 166,874

สตูล 26,114 28,009 30,525
ปตั ตานี 64,993 67,878 71,937

ยะลา 43,979 46,862 50,686

นราธิวาส 63,692 67,421 72,567
รวม 341,470 364,231 392,589

ที่มา : บริการขอ้ มลู /สถิติ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

ข้อมลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2557

สถานการณ์ปัญหาสาหรับสังคมผู้สูงอายุหรือสิ่งที่ผู้สูงอายุต้องเผชิญ ได้แก่ ปัญหาด้าน
สุขภาพของผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะมีสภาพร่างกายที่อ่อนแอลงเม่ือมีอายุมากขึ้น มีโรค
ประจาตัว/มีอาการป่วยเร้ือรัง/ประสบปัญหาความพิการ หากจาแนกกลุ่มผสู้ งู อายตุ ามเกณฑข์ องสุขภาพ
และความสามารถในการดูแลตนเอง สามารถจาแนกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี
สามารถช่วยเหลือตนเองและผอู้ ื่นได้ กลุ่มผสู้ ูงอายุทีม่ ีสขุ ภาพอยู่ในระดับค่อนข้างดี อาจมีโรคประจาตัว
บางอย่าง แต่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และกลุ่มผู้สูงอายุที่มีสุขภาพไม่ดี มีโรคประจาตัว/โรคเร้ือรัง/
พิการ หรอื ชราภาพมาก ซึ่งกลุ่มนีไ้ ม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้และต้องมบี ุคคลอืน่ ดูแล

ปัญหาด้านการเข้าถึงบริการและสิทธิที่ยังไม่ได้รับ ผู้สูงอายุโดยท่ัวไปจะมีสภาพร่างกาย
เสื่อมถอยตามวัยที่มากขึ้น การได้รับการดูแลและบริการด้านสาธารณสุขจึงเป็นสิ่งจาเป็น แต่ผู้สูงอายุ
บางกลุ่มอาจไม่สามารถเข้าถึงบริการหรือสิทธิที่พึงได้รับ เน่ืองจากอาศัยอยู่ในพื้นที่ห่างไกล มีฐานะ
ยากจน และสขุ ภาพร่างกายไม่เอือ้ อานวย รวมท้ังขาดผดู้ ูแล นอกจากนผี้ สู้ ูงอายใุ นพืน้ ที่จงั หวดั ชายแดน
ภาคใต้ยังประสบกับภาวะความยากลาบากเนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ซึ่งเป็นอุปสรรค
ต่อการเข้าถึงบริการของภาครัฐ สิทธิและบริการที่ผู้สูงอายุพึงได้รับตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
แห่งชาติมีหลายประการ แต่ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ขาดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิทธิและบริการ
ดังกล่าว และการใช้สิทธิบางอย่างมีขั้นตอนค่อนข้างมาก ทาให้ยากต่อการเข้าถึงสิทธิของผู้สูงอายุ อีก
ท้ังหนว่ ยงานภาครฐั บางแหง่ ยงั ไม่อานวยความสะดวกต่อการเข้าถึงสิทธิของผสู้ งู อายดุ ังกล่าว

ปัญหาด้านบทบาทของผู้สูงอายุในครอบครัวที่พบว่า ผู้สูงอายุมีบทบาทและความสาคัญ
ภายในครอบครัวลดน้อยลง โดยไม่ได้รับการยอมรับนับถือหรือเคารพเชื่อฟังเหมือนเช่นในอดีต คนใน

39

ครอบครวั ใหเ้ วลากับผู้สงู อายุน้อยลง ผสู้ งู อายุถกู มองข้ามและมีสถานะภายในครอบครวั ที่เปลี่ยนแปลง
ไปจากผู้อาวโุ สทีท่ รงคุณค่ากลายเป็น “คนแก่ที่เป็นภาระ” และอาจตอ้ งทาหน้าที่ในการเลีย้ งดูหลานทั้ง
โดยเตม็ ใจและจาเป็นเนื่องจากต้องพึง่ พาบุตรในการยังชีพของตนเอง

ปัญหาการถูกทอดทิ้งและต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยวของผู้สูงอายุ จากการศึกษาของวิทยาลัย
ประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพบว่า ผู้สูงอายุในประเทศไทยที่ถูกทอดทิง้ ให้อยู่ตามลาพงั
มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และผลการศึกษาจากวารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก พบว่า
ผู้สูงอายุในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีแนวโน้มของการถูกทอดทิ้งให้อยู่อย่างโดดเดี่ยวเพิ่มมากขึ้น
เชน่ กัน โดยลักษณะของการถูกทอดทิง้ มี 4 ลักษณะ ได้แก่ การดแู ลอย่างไม่เพียงพอ ในกรณีทีผ่ ู้สูงอายุ
ยังอาศัยอยู่ร่วมกับบุตรหลาน แต่ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่เท่าที่ควร การทอดทิ้งแบบจาเป็น เป็น
สถานการณท์ ี่ผสู้ ูงอายุถกู ทอดทิ้งใหโ้ ดดเดีย่ ว ในกรณีที่ครอบครัวมีฐานะยากจนและบตุ รต้องไปทางาน
นอกพื้นที่ นอกจากนี้ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ประสบปัญหาจากสถานการณ์ความไม่สงบยัง
ส่งผลให้คนวัยแรงงานจานวนมากต้องเสียชีวิตลง ผู้สูงอายุขาดผู้ดูแล และบางกรณีอาจต้องดูแลบุตร
หลานที่ทุพพลภาพ การทอดทิ้งแบบจงใจปล่อยปละละเลย ซึ่งเป็นภาวะที่ผู้สูงอายุยังอาศัยอยู่ร่วมกัน
กับบุตร แต่กลับถูกละเลยอย่างตั้งใจหรือปฏิบัติราวกับผู้สูงอายเุ ป็นคนรบั ใช้ภายในครอบครัว และการ
ทอดทิ้งอย่างสมบูรณ์แบบ เป็นลักษณะการทอดทิ้งแบบจงใจโดยการนาไปทิ้งในสถานที่อื่น เช่น ศาสน
สถาน หรอื ขบั ไล่ออกจากบ้าน ความรสู้ ึกของการถกู ทอดทงิ้ ให้โดดเดีย่ วจะส่งผลเสียต่อสขุ ภาพร่างกาย
รวมถึงสภาพจิตใจของผสู้ งู อายุในที่สุด

5. ข้อมลู สถำนกำรณค์ วำมรุนแรงในครอบครัวในพื้นท่ี 5 จังหวัดชำยแดนภำคใต้
ข้อมูลจากผลการสารวจสถานการณ์ความรุนแรงในภาพรวม 76 จังหวัด ปี 2556 โดย

ศูนย์การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม สานักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์
สานักงานปลดั กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์ พบว่า สถานการณค์ วามรุนแรงใน
ครอบครัวปัจจุบันมีสาเหตุสาคัญมาจากการเสพสุรา ความเครียด/ปัญหาสุขภาพจิต และปัญหาการ
เสพยาเสพติด โดยความสัมพันธ์ของผกู้ ระทาและผถู้ ูกกระทาความรุนแรง ส่วนใหญ่เปน็ คู่สมรส (สามี-
ภรรยา) และกลุ่มบุคคลที่ถูกกระทาหรือได้รับผลกระทบจากความรุนแรงส่วนใหญ่เป็นสตรี กลุ่มเด็ก/
เยาวชน และกลุ่มผู้สงู อายหุ รือผู้พิการ

สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวเม่ือพิจารณารายจังหวัด พบว่า ในพื้นที่ 5 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้มี 3 จงั หวดั ทีถ่ ูกระบุว่ามีบคุ คลในครอบครัวทีม่ ีความสมั พนั ธ์ไม่อบอุ่น ซึ่งได้แก่ จงั หวัด
ยะลา สงขลา และสตลู โดยอยู่ในลาดับที่ 6, 8 และ 9 จาก 10 อนั ดบั แรก และในประเด็นทีว่ า่ มีบุคคลที่

40

มีอารมณ์รุนแรงหรือชอบใช้กาลังในครอบครัว พบว่ามี 3 จังหวัดที่ติดอันดับ 1 ใน 10 ได้แก่ จังหวัด
ยะลา สตูล และสงขลา โดยอยู่ในลาดับที่ 4, 8 และ 10 ตามลาดับ ประเด็นที่กล่าวถึงผู้ที่เคยได้รับ
ผลกระทบจากการกระทาความรุนแรงในครอบครัวในรอบ 1 ปี พบว่า จังหวัดยะลา สงขลา และสตูล
ติดอยู่ในลาดับที่ 4, 8 และ 10 ตามลาดับ และประเด็นที่กล่าวถึงครอบครัวที่มีการกระทาความรุนแรง
ทั้งทางด้านร่างกาย/จิตใจ/ทางเพศ โดยบุคคลในครอบครัวเดียวกัน พบว่า จังหวัดยะลา และสงขลา
เป็นจังหวดั ทีเ่ กิดปัญหาดังกล่าวในอันดบั ต้นๆ โดยอยู่ในลาดบั ที่ 5 และ 7 ตามลาดบั

ในส่วนของสถานการณ์ด้านความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน เม่ือพิจารณาราย
จังหวัดพบว่า จังหวัดยะลาติด 1 ใน 10 ของจังหวัดอันดับแรกที่มีการกระทาความรุนแรงในครอบครัว
โดยอยู่ในลาดับที่ 2 ลักษณะของความรุนแรงคือ เป็นการกระทาความรุนแรงทางร่างกาย จิตใจ และ
ทางเพศ สาเหตุของความรุนแรงส่วนใหญ่เกิดจากการเสพสุรา การเสพยาเสพติด และการหึงหวง/
นอกใจ

สถานการณ์ด้านความรุนแรงในที่สาธารณะ/ชุมชน เม่ือพิจารณาในระดับจังหวัด พบว่า
จังหวัดสตูลเป็น 1 ใน 10 ของจังหวัดอันดับแรกที่ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมามีคนในชุมชนเคยถูกกระทาความ
รนุ แรงจากบุคคลอืน่ ทีร่ ู้จักกัน โดยจงั หวัดสตลู อยู่ในลาดบั ที่ 7

สถานการณด์ ้านความรุนแรงในสถานทีท่ างาน เมื่อพจิ ารณาในระดับจังหวัด พบว่า จงั หวัด
ยะลาเป็น 1 ใน 10 ของจังหวัดอันดับแรกที่ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ผู้ที่ทางานเคยถูกกระทาความรุนแรง/
พบเห็นความรุนแรงในสถานที่ทางาน โดยจังหวัดยะลาอยู่ในลาดับที่ 10 ลักษณะของการกระทาความ
รนุ แรงเป็นความรนุ แรงทางด้านจติ ใจมากที่สุด

เม่ือพิจารณาเฉพาะพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งมีสถานการณ์ความไม่สงบและเกิด
เหตุความรุนแรงในพื้นที่ พบว่า จากผลการสารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวใน
จังหวัดยะลามีมากที่สุด โดยพบว่ามีจานวนของครอบครัวไม่อบอุ่นมากที่สุด รวมท้ังในครอบครัวมี
บุคคลที่มีอารมณ์รุนแรงหรือชอบใช้กาลังมากที่สุด และในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา มีผู้ที่เคยถูกกระทาความ
รนุ แรง (ทางดา้ นรา่ งกาย/จติ ใจ/เพศ) มากทีส่ ดุ นอกจากนีย้ งั พบว่า มีการกระทาความรุนแรงตอ่ กันโดย
บคุ คลในครอบครัวมากทีส่ ุด

สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน พบว่า ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา จังหวัด
ยะลา มีผู้ที่เคยพบเห็น/ทราบการกระทาความรุนแรงในครอบครัว (ทางร่างกาย/จิตใจ/เพศ) ของคนใน
ชมุ ชนมากทีส่ ดุ

41

ในส่วนของความรุนแรงในที่สาธารณะ/ชุมชน พบว่า จังหวัดยะลา มีคนในชุมชนเคยถูก
กระทาความรุนแรงจากบุคคลอื่นที่รู้จกั กนั มากทีส่ ุด รวมทั้งคนในชมุ ชนเคยถูกกระทาความรุนแรงจาก
บุคคลอืน่ ที่ไม่รู้จักกันมากทีส่ ดุ

สถานการณ์ความรุนแรงในสถานที่ทางาน พบว่า จังหวัดยะลามีผู้ทางานที่เคยถูกกระทา
หรอื พบเหน็ การกระทาความรนุ แรงในสถานที่ทางานมากทีส่ ดุ

ผลจากการสารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงปี 2556 สาหรบั พื้นที่ 5 จังหวัดชายแดน
ภาคใต้ พบว่าจังหวัดที่มีสถานการณ์ความรุนแรงเกิดขึ้นมากที่สุดคือจังหวัดยะลา โดยลักษณะของ
ความรุนแรงจะมีท้ังความรุนแรงในครอบครัวอันเกิดจากการกระทาของบุคคลภายในครอบครัวที่ชอบ
ใช้ความรุนแรง และในรอบ 1 ปีที่ผ่านมาบุคคลในครอบครัวได้รับผลกระทบจากความรุนแรงทางด้าน
ร่างกาย/จิตใจ/ทางเพศ การมคี รอบครัวทีไ่ ม่อบอุ่น และเมื่อพจิ ารณาในระดับชุมชนพบว่า จงั หวดั ยะลา
มีผู้ที่เคยพบเห็นการกระทาความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนมากที่สุด และมีคนในชุมชนที่เคย
ถูกกระทาความรุนแรงจากบคุ คลอืน่ ที่รู้จักกัน และจากบุคคลอืน่ ทีไ่ ม่รู้จักกันมากที่สุด รวมท้ังมีการพบ
เห็นผู้ถูกกระทาและการกระทาความรุนแรงในสถานที่ทางานมากที่สุด และจังหวัดที่มีสถานการณ์
ความรุนแรงในลักษณะของความรุนแรงในครอบครัว ความรุนแรงในชุมชน/ที่สาธารณะ และความ
รุนแรงในสถานที่ทางานในลาดับรองลงมา ได้แก่ จังหวัดสตูล และจังหวัดสงขลา

6. ขอ้ มลู สถำนกำรณ์ยำเสพติดในพื้นทีจ่ ังหวัดชำยแดนภำคใต้
สถานการณ์ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง (5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

รวม จังหวัดตรัง และพัทลุง) ข้อมูลจากเว็บไซต์ของศูนย์อานวยการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด
จงั หวัดสงขลา (http://drug.songkhla.go.th/files/com_orders/2014-11/20141110_vkdewhfm.pdf)

จากข้อมูลการจับกุมและข้อมูลการข่าวในห้วงตุลาคม 2556 – กันยายน 2557 พบว่า
ยังคงมีการนาเข้ายาเสพติดอย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มนักค้าต่างประเทศ (นักค้ามาเลเซีย) และกลุ่มนักค้า
ชาวไทย เพื่อนามาจาหน่ายให้กับลูกค้าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง โดยพื้นที่ที่มีการลักลอบนาเข้ายาเสพ
ติดส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ชายแดนซึ่งมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซีย ได้แก่ อาเภอสะเดา อาเภอนา
ทวี จังหวัดสงขลา, อาเภอควนโดน จังหวัดสตูล, อาเภอแว้ง อาเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส และ
อาเภอเบตง จังหวัดยะลา

ช่องทางที่มีการลักลอบนาเข้ายาเสพติดและสามารถจับกุมผู้กระทาความผิดได้อย่าง
ต่อเน่อื ง ได้แก่

42

- ด่านศุลกากรสะเดา, ด่านตรวจคนเข้าเมืองปาดังเบซาร์ อาเภอสะเดา จังหวัด
สงขลา

- ด่านศุลกากรสุไหงโกลก, ด่านตรวจคนเข้าเมืองสุไหงโกลก อาเภอสุไหงโกลก
จังหวดั นราธิวาส

- ด่านบ้านประกอบ อาเภอนาทวี จังหวัดสงขลา
- ด่านตรวจโต้นนท์ อาเภอนาทวี จงั หวดั สงขลา
- ด่านศุลกากรเบตง, จดุ ตรวจพรมแดนเบตง อาเภอเบตง จังหวัดยะลา
- จุดตรวจพศิ ุทธิ์ศกั ดิ์ อาเภอควนโดน จงั หวัดสตลู
- ด่านศลุ กากรวงั ประจัน อาเภอควนโดน จังหวัดสตูล
- ช่องทางธรรมชาติที่อาเภอชายแดนต่างๆ เช่น อาเภอสุไหงโกลก อาเภอแว้ง จังหวัด
นราธิวาส อาเภอควนโดน จังหวดั สตูล อาเภอสะเดา อาเภอนาทวี จังหวดั สงขลา และอาเภอเบตง จงั หวัด
ยะลา
การค้าและแพร่ระบาดของยาเสพติด ยาเสพติดมีการค้าและการแพรร่ ะบาดครอบคลุมทุก
พื้นที่ในเขตภาคใต้ตอนล่าง โดยมีการแพร่ระบาดอย่างมากในพื้นที่อาเภอเมืองและพื้นที่อาเภอสาคัญ
เช่น อาเภอหาดใหญ่ อาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา อาเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส อาเภอ เบตง
จังหวดั ยะลา เป็นต้น ส่วนพืน้ ที่ทีเ่ ป็นศนู ย์กลางกระจายยาเสพติด ได้แก่ อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา
อาเภอสไุ หงโกลก จงั หวัดนราธิวาส อาเภอเบตง จงั หวัดยะลา
ข้อมูลการบาบัดรักษายาเสพติด ประเภทของยาเสพติดที่มีผู้เข้ารับการบาบัดรักษามาก
ที่สุด ได้แก่ ยาบ้า รองลงมาคือ กัญชาแห้ง พืชกระท่อม ไอซ์ และเฮโรอีน โดยในห้วงตุลาคม 2556 –
กันยายน 2557 ในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีผู้เข้ารับการบาบัดรักษาจากจังหวัดสงขลามาก
ที่สดุ รองลงมาคือจงั หวัดสตลู และจงั หวัดปตั ตานี ตามลาดับ โดยส่วนใหญ่จะเข้ารบั การบาบดั รกั ษาใน
ระบบบังคับบาบดั กลุ่มผู้ทีเ่ ข้ารบั การบาบัดรักษามากที่สดุ คือกลุ่มเดก็ และเยาวชน ซึ่งมีอายุอยู่ระหว่าง
15 – 24 ปี โดยมีอตั ราส่วนรอ้ ยละ 51.49 ของผู้เข้ารับการบาบัดรักษาทั้งหมด ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มเสพ
มากที่สุด สาเหตุของการเข้ามาข้องเกี่ยวกับยาเสพติดมาจากความอยากลองและการถูกเพื่อนชักชวน
ส่วนสาเหตุของการเข้ารับการบาบัดรักษา ได้แก่ การบังคับบาบัดตาม พ.ร.บ. ความต้องการอยากเลิก
ยา ต้องโทษ และมีปญั หาทางจิตใจ

43

7. ข้อมลู สถำนกำรณ์แรงงำนในพื้นท่ี 5 จงั หวัดชำยแดนภำคใต้
a. ประชากรและกาลงั แรงงาน
จากการสารวจภาวะการทางานของประชากรใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ครึ่งหลังปี

2556 (กรกฏาคม – ธันวาคม) พบว่า มีประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปจานวน 2.97 ล้านคน เป็นผู้อยู่ในกาลัง
แรงงาน จานวน 2.11 ล้านคน ประกอบด้วยผู้มีงานทาจานวน 2.07 ล้านคน ผู้ว่างงาน จานวน 29,794 คน
และผู้รอฤดูกาล จานวน 5,368 คน สาหรับผู้ที่ไม่อยู่ในกาลังแรงงาน จานวน 8.58 แสนคน อัตราการ
ว่างงานร้อยละ 1.41 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2555 ร้อยละ 0.44 ส่วนอัตราการมีส่วนร่วมในกาลัง
แรงงานร้อยละ 71.08 ลดลงร้อยละ 0.73 (ข้อมูลสถานการณ์ตลาดแรงงาน 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ จาก
เวบ็ ไซต์ของหอ้ งสมุดกรมจัดหางาน http://www.policy.doe.go.th/ebookdoc/020400014095_1.pdf)

ตารางที่ 25 จานวนประชากร 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามสถานภาพแรงงาน

สถานภาพ ครึง่ ปีหลัง การเปลี่ยนแปลง
จานวน %
ปี 2555 ปี 2556

1. ประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป 2,913,765 2,965,252 51,487 1.77
1.1 ผทู้ ีอ่ ยู่ในกาลังแรงงาน 2,092,285 2,107,722 15,437 0.74

1.1.1 ผทู้ ีม่ งี านทา 2,070,380 2,072,560 2,180 0.11

1.1.2 ผวู้ ่างงาน 20,298 29,794 9,496 46.78
1.1.3 ผทู้ ี่รอฤดกู าล 1,607 5,368 3,761 234.04
1. 2 ผู้ ที่ ไ ม่ อ ยู่ ใ น ก า ลั ง 821,480 857,530 36,050 4.39
แรงงาน
อตั ราการว่างงาน 0.97 1.41 0.44

อตั ราการมสี ่วนรว่ ม 71.81 71.08 -0.73

ทีม่ า : สานกั งานสถิตแิ ห่งชาติ

ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2557

7.2 ภาวะการว่างงาน

สาหรับจานวนผู้ว่างงานใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ครึ่งหลังปี 2556 มีจานวนท้ังสิ้น

29,794 คน คิดเป็นอัตราการว่างงานร้อยละ 1.41 ของผู้อยู่ในกาลังแรงงาน เม่ือเปรียบเทียบกับช่วง

เดียวกันของปีก่อน คือช่วงครึ่งปีหลังของปี 2555 พบว่า อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.44 เม่ือ

พิจารณาอัตราการว่างงานเป็นรายจังหวัด พบว่า จังหวัดปัตตานีมีอัตราการว่างงานมากที่สุด ร้อยละ

44

2.21 รองลงมาคือจงั หวัดนราธิวาส อตั ราการว่างงาน ร้อยละ 2.07 และจังหวัดสตูลมีอัตราการว่างงาน

น้อยที่สุดคือ ร้อยละ 0.53

7.3 การไปทางานต่างประเทศ

แรงงานไทยที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปทางานต่างประเทศใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้

ครึ่งหลังปี 2556 (กรกฎาคม – ธันวาคม) มีจานวน 1,140 คน เม่ือเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน

คือช่วงครึ่งปีหลังของปี 2555 พบว่า แรงงานไทยที่เดินทางไปทางานต่างประเทศเกือบทุกวิธีการเดินทางมี

จานวนเพิ่มขึน้ ยกเว้น วิธีเดินทางด้วยตนเองและวิธีบริษทั จัดหางานจัดส่งที่มจี านวนลดลง

ตารางที่ 26 จานวนแรงงานไทยที่ได้รบั อนุญาตให้ไปทางานต่างประเทศ จาแนกตามวิธี

เดินทาง ครึง่ หลังปี 2556

จังหวดั กรมกำร บริษทั เดินทำง นำยจำ้ ง นำยจ้ำง RE- รวม
จดั หำ จดั หำงำน ด้วย พำไป สง่ ไป ENTRY
ปัตตานี งำน เอกชน ตนเอง ทำงำน ฝกึ งำน
ยะลา จดั ส่ง
นราธวิ าส จดั ส่ง
รวม 3 จงั หวดั ชำยแดนภำคใต้
สงขลา - 1 7 2 2 36 48
สตูล
รวม 2 จงั หวดั ชำยแดนภำคใต้ - 5 16 3 2 65 91
รวม 5 จังหวัดชำยแดนภำคใต้ - 2 7 5 - 34 48

- 8 30 10 4 135 187

- 7 42 266 40 568 923
1 - 4 8 1 16 30

1 7 46 274 41 584 953

1 15 76 284 45 719 1,140

ทีม่ า : สานกั งานบริหารแรงงานไทยไปทางานต่างประเทศ กรมจัดหางาน

ข้อมลู ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2557

7.4 การทางานของคนต่างด้าว
คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้ทางานในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ เดือน

ธันวาคม 2556 มีจานวนทั้งสิ้น 87,851 คน จาแนกเป็นคนต่างด้าวเข้าเมืองถูกกฎหมาย จานวน
87,775 คน (ร้อยละ 99.91) และคนต่างดา้ วเข้าเมอื งผิดกฎหมาย จานวน 76 คน (ร้อยละ 0.09)

45

แผนภูมิ แสดงจานวนคนต่างด้าวใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้จาแนกตามลักษณะ
การเข้าเมือง ณ ธันวาคม 2556

คนตา่ งด้าวใน 5 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 87,851 คน

คนตา่ งด้าวเข้าเมอื งถูกกฎหมาย 87,775 คน (99.91%) คนตา่ งด้าวเข้าเมอื งผิดกฎหมาย 76 คน (0.09%)

มาตรา 9 มาตรา 12 (ส่งเสริมการลงทุน) มาตรา 13 (ชนกลุ่มน้อย)
87,695 คน 80 คน 76 คน

ตลอดชีพ 0 คน ทวั่ ไป 1,709 คน MOU* 85,986 คน

พสิ จู น์สญั ชาติ 60,846 คน นาเข้า 25,140 คน

ทีม่ า : สานักบริหารแรงงานตา่ งด้าว กรมการจัดหางาน
หมายเหตุ : * คนตา่ งด้าวมาตรา 9 MOU (บันทึกข้อตกลงวา่ ด้วย การจ้างงานแรงงานตา่ งด้าวกบั ประเทศ คู่

ภาคี : Memorandum of Understanding) เฉพาะ 3 สัญชาติ ได้แก่ พม่า ลาว และกัมพูชา
อนุญาตให้ทางาน 2 ตาแหนง่ คือ คนรับใชใ้ นบ้านและกรรมกร
*มาตรา 13 มติครม. 3 สัญชาติ ใบอนุญาตมีอายุคราวละ 1 ปี เม่ือใบอนุญาตหมดอายุจะเริ่ม
นับใหม่ ทาให้ยอดลดลงแลว้ จะค่อยเพ่มิ ข้ึนตามจานวนการตอ่ อายใุ บอนุญาตเข้าทางาน

46

ส่วนที่ 3.4 นโยบำยและยทุ ธศำสตรท์ ี่เก่ียวขอ้ งกับกำรดำเนินงำนดำ้ นกำร
พฒั นำสงั คมในพน้ื ที่ 5 จังหวดั ชำยแดนภำคใต้

47

ส่วนที่ 3.4 นโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานด้านการพัฒนาสังคมในพื้นที่ 5
จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

1. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 11 (พ.ศ.
2555 – 2559)

1.1 ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งความเปน็ ธรรมในสังคม
1.1.1 การสรา้ งความม่นั คงทางเศรษฐกิจและสังคมให้ทุกคนในสงั คมไทยควบคู่กับ

การเสริมสรา้ งขดี ความสามารถในการจัดการความเสีย่ งและสร้างโอกาสในชีวติ ให้แก่ตนเอง
1.1.2 การจดั บริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิขนั้ พื้นฐาน เน้นการสรา้ งภูมิคุ้มกัน

ระดับปจั เจก และสร้างการมีสว่ นร่วมในกระบวนการตดั สินใจในการพัฒนาประเทศ
1.1.3 การเสริมสร้างพลังให้ทุกภาคส่วนสามารถเพิ่มทางเลือกการใช้ชีวิตในสังคม

และมีสว่ นร่วมในเชงิ เศรษฐกิจ สังคม และการเมอื งได้อย่างมคี ุณค่าและศกั ดิ์ศรี
1.1.4 การสานสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้มีคุณค่าร่วมและตระหนักถึง

ผลประโยชน์ของสังคม และเสริมสร้างการบริหารราชการแผ่นดินที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส มีระบบ
ตรวจสอบและการรบั ผิดชอบทีร่ ัดกุม

1.2 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาคนสู่สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวติ อย่างย่ังยืน
1.2.1 การปรับโครงสรา้ งและการกระจายตัวประชากรใหเ้ หมาะสม
1.2.2 การพฒั นาคณุ ภาพคนไทยใหม้ ีภูมิคมุ้ กันต่อการเปลีย่ นแปลง
1.2.3 การส่งเสริมการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพอย่างเป็นองค์รวม
1.2.4 การส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวติ
1.2.5 การเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของสถาบนั ทางสังคม

1.3 ยทุ ธศาสตรค์ วามเข้มแขง็ ภาคเกษตร ความม่ันคงของอาหารและพลังงาน
1.3.1 การพัฒนาทรพั ยากรธรรมชาติทีเ่ ป็นฐานการผลิตภาคเกษตรให้เข้มแข็งและ

ยง่ั ยืน
1.3.2 การเพิม่ ประสทิ ธิภาพและศกั ยภาพการผลิตภาคเกษตร
1.3.3 การสรา้ งมูลค่าเพิม่ ผลผลติ ทางการเกษตรตลอดหว่ งโซ่การผลติ
1.3.4 การสรา้ งความม่ันคงในอาชีพและรายได้ให้แก่เกษตรกร
1.3.5 การสร้างความมั่นคงด้านอาหารและพัฒนาพลังงานชีวภาพในระดับ

ครัวเรือนและชุมชน

48

1.3.6 การสร้างความม่ันคงด้านพลังงานชีวภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ
และความเข้มแข็งภาคเกษตร

1.3.7 การปรับระบบบริหารจัดการภาครัฐเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงด้านอาหาร
และพลงั งาน

1.4 ยทุ ธศาสตรก์ ารปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจสู่การเตบิ โตอย่างมคี ณุ ภาพและยัง่ ยืน
1.4.1 การปรับโครงสรา้ งเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่มคี ุณภาพและย่ังยืน
1.4.2 การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม
1.4.3 การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันที่มีประสิทธิภาพ เท่าเทียม และ

เป็นธรรม
1.4.4 การบริหารจดั การเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีเสถียรภาพ

1.5 ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจและสังคม

1.5.1 การพัฒนาความเชื่อมโยงด้านการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ภายใต้กรอบ
ความรว่ มมอื ในอนภุ ูมิภาคต่างๆ

1.5.2 การพัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับอนุ
ภมู ภิ าค

1.5.3 การสรา้ งความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
1.5.4 การเข้าร่วมเป็นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศและภูมิภาคภายใต้
บทบาททีส่ รา้ งสรรค์ เปน็ ทางเลือกในการดาเนินนโยบายระหว่างประเทศในเวทีโลก
1.5.5 การสร้างความเป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจในภูมิภาคด้านการพัฒนา
ทรพั ยากรมนษุ ย์ การเคลื่อนย้ายแรงงาน และการส่งเสริมแรงงานไทยในต่างประเทศ
1.5.6 การมีส่วนร่วมอย่างสาคัญในการสร้างสังคมนานาชาติที่มีคุณภาพชีวิต
ป้องกันภยั จากการก่อการรา้ ยและอาชญากรรม ยาเสพติด ภยั พิบตั ิ และการแพรร่ ะบาดของโรคภัย
1.5.7 การเสริมสร้างความร่วมมือที่ดีระหว่างประเทศในการสนับสนุนการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมีจริยธรรมและไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม พร้อมท้ังเปิดรับความ
ร่วมมือกบั องค์กรระหวา่ งประเทศที่ไม่แสวงหากาไร
1.5.8 การเร่งรัดการใชป้ ระโยชน์จากข้อตกลงการคา้ เสรีทีม่ ีผลบงั คับใช้แล้ว
1.5.9 การส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นฐานการลงทุน และการประกอบธุรกิจใน
เอเชีย รวมท้ังเป็นฐานความร่วมมอื ในการพฒั นาภูมภิ าค

49

1.5.10 การป รับ ป รุงและเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีก าร พั ฒ น า
ภายในประเทศ ตั้งแตร่ ะดบั ชมุ ชนท้องถิน่

1.6 ยุทธศาสตรก์ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน
1.6.1 การอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม
1.6.2 การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศเพื่อเตรียมพร้อม

ไปสู่การเปน็ เศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนตา่ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
1.6.3 การยกระดับขีดความสามารถในการรองรบั และปรับตวั ต่อการเปลีย่ นแปลง

สภาพภมู อิ ากาศเพือ่ ให้สงั คมมีภูมิคมุ้ กัน
1.6.4 การเตรียมความพร้อมรองรับกับภยั พิบัติทางธรรมชาติ
1.6.5 การสร้างภูมิคุ้มกันด้านการค้าจากเง่ือนไขด้านสิ่งแวดล้อมและวิกฤตจาก

การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
1.6.6 การเพิ่มบทบาทประเทศไทยในเวทีประชาคมโลกที่เกี่ยวข้องกับกรอบความ

ตกลงและพันธกรณีด้านสิง่ แวดล้อมระหว่างประเทศ
1.6.7 การควบคุมและลดมลพิษ
1.6.8 การพฒั นาระบบการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้มี

ประสิทธิภาพ โปร่งใส และเปน็ ธรรมอย่างบรู ณาการ
2. นโยบายของรัฐบาล
รฐั บาลปัจจบุ นั ทีม่ ี พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี มีการกาหนด

แ น ว น โ ย บ า ยใ นก า ร ดา เ นิน ง า น เพื่ อ พัฒ น า ป ร ะ เท ศ ร ว ม ทั้ ง สิ้ น 11 ด้ า น ป ร ะ ก อ บ ด้วย
2.1 การปกป้องและเชดิ ชูสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์
โดยจะใช้มาตรการทางกฎหมายมาตรการทางสังคมจิตวิทยา และมาตรการทาง

ระบบสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศในการดาเนินการกับผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมทั้งด้านวาจา
และการกระทาที่มุ่งประสงค์ร้าย และสั่นคลอนสถาบันหลกั ของชาติ รวมท้ังเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ
ที่ถกู ต้องและเป็นจรงิ เกี่ยวกบั สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์และพระราชกรณียกิจเพือ่ ประชาชน

2.2 การรักษาความมน่ั คงของรฐั และการต่างประเทศ
2.2.1 ในระยะเรง่ ดว่ น รัฐบาลได้ให้ความสาคัญต่อการเตรียมพรอ้ มสู่ประชาคมการเมือง

และความมน่ั คงอาเซียนในกิจการ 5 ด้าน ประกอบด้วย

50

- การบริหารจดั การชายแดน
- การสร้างความม่นั คงทางทะเล
- การแก้ไขปญั หาอาชญากรรมข้ามชาติ
- การสร้างความไว้วางใจกบั ประเทศเพือ่ นบ้าน
- การเสริมสร้างในการปฏิบตั ิการทางการทหารรว่ มกนั ของอาเซียน โดยเน้นความ
ร่วมมือเพอ่ื ป้องกัน แก้ไขข้อพิพาทต่าง ๆ รวมถึงการแก้ไขปัญหาเส้นเขตแดนโดยใช้กลไกระดับทวิภาคี
และพหุภาคี
2.2.2 เร่งแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยนายุทธศาสตร์
เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนามาใช้ตามแนวทางกัลยาณมิตรแบบสันติวิธี สร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการ
ยุติธรรมตามหลกั นิตธิ รรมและหลกั สิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบตั ิ ควบคู่กบั การพฒั นาเศรษฐกิจและ
สังคมทีส่ อดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพื้นที่
2.2.3 พัฒนาและเสริมสร้างของกองทัพและระบบป้องกันประเทศให้ทันสมัย มีความ
พร้อมในการรักษาอธิปไตย และผลประโยชน์ของชาติ รวมถึงการบูรณาการความร่วมมือระหว่าง
ภาครฐั กับภาคเอกชนในอตุ สาหกรรมป้องกันประเทศได้
2.2.4 เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับนานาประเทศบนหลักการที่ว่านโยบายการ
ต่างประเทศเป็นส่วนประกอบสาคัญของนโยบายองค์รวมท้ังหมดในการบริหารราชการแผ่นดิน
2.3 การลดความเหล่อื มล้าของสังคม และการสรา้ งโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ
2.3.1 ในระยะเฉพาะหน้า จะเร่งสร้างโอกาส อาชีพ และการมรี ายได้ทีม่ น่ั คงแก่ผทู้ ี่เข้า
สู่ตลาดแรงงาน
2.3.2 ป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ รวมถึงปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง การ
ทารุณกรรมต่อแรงงานข้ามชาติ การท่องเทีย่ วทีเ่ น้นบริการทางเพศและเดก็ และปัญหาคนขอทาน
2.3.3 ในระยะต่อไป จะพัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคม ระบบการออมและระบบ
สวสั ดิการชุมชนให้มีประสิทธิภาพและมีความยั่งยืนมากยิ่งข้นึ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิจัดสวัสดิการ
ช่วยเหลือและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของผดู้ ้อยโอกาส ผู้พิการ ผสู้ ูงอายุ สตรีและเดก็
2.3.4 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการมีเงิน
หรือกิจกรรมที่เหมาะสม เพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคต โดยเป็นการเตรียมความ
พร้อมที่อาศัยความร่วมมือของภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครวั
2.3.5 เตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมที่มีความหลากหลาย
2.3.6 จัดระเบียบสังคม สร้างมาตรฐานด้านคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล


Click to View FlipBook Version