The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kalyarat N. Torat, 2023-02-17 03:39:25

ภาษาไทยเหลือล้น ท่วมท้นหลักภาษา

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หลักการใช้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑


หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ จัดท าโดย นางสาวกิตติยาภรณ์ สุพระวงค์ นางสาวกัลยรัตน์ โทรัตน์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร


ค ำน ำ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน “ภาษาไทยเหลือล้น ท่วมท้น หลักภาษา” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มนี้ จัดท าขึ้นโดยยึดตามมาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียน ได้ศึกษาสาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ทักษะการใช้ หลักภาษาไทยที่ถูกต้องและเหมาะสม หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน “ภาษาไทยเหลือล้น ท่วมท้น หลักภาษา” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มนี้ ประกอบด้วยเนื้อหาหลักภาษาไทย ๖ บทเรียน โดยแต่ละบทประกอบด้วยมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และสาระส าคัญตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ มีกิจกรรมและค าถามคิดวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาการบวนการคิด ของผู้เรียนที่สามารถน าไปเชื่อมโยงกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ หรือน าไป ปรับใช้ในชีวิตประจ าวันได้ คณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน “ภาษาไทยเหลือล้น ท่วมท้นหลักภาษา” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์และเป็นเครื่องมือช่วยให้ครูผู้สอนและผู้เรียน เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบรรลุเป้าหมาย ด้านการเรียนหลักการใช้ ภาษาไทย สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะผู้จัดท า


สำรบัญ เรื่อง หน้า บทที่ ๑ ตริตรอง เสียงภาษา ๑ เสียงในภาษาไทย ๒ ลักษณะของเสียงในภาษาไทย ๓ เสียงในภาษาไทยและรูปตัวอักษรแทนเสียง ๔ การออกเสียงภาษาไทย ๑๘ แบบฝึกหัดท้ายบท ๒๐ บทที่ ๒ จินตนา การสร้างค า ๒๒ การสร้างค าในภาษาไทย ๒๓ ค ามูล ๒๓ ค าประสม ๒๔ ค าซ้อน ๒๕ ค าซ้ า ๒๖ ค าพ้อง ๒๖ แบบฝึกหัดท้ายบท ๒๘ บทที่ ๓ ชนิด หน้าที่ ประจ า ๓๐ ชนิดและหน้าที่ของค าในภาษาไทย ๓๐ ลักษณะของพยางค์ กลุ่มค า และประโยค ๓๐ ส่วนประกอบของประโยคในการสื่อสาร ๓๒ ชนิดและหน้าที่ของค าในประโยค ๓๓ แบบฝึกหัดท้ายบท ๔๕


สำรบัญ เรื่อง หน้า บทที่ ๔ เทียบเคียงค า พูดและเขียน ๔๗ ความแตกต่างของภาษา ๔๘ ภาษาพูด ๔๘ ภาษาเขียน ๕๐ เปรียบเทียบภาษาพูดและภาษาเขียน ๕๒ แบบฝึกหัดท้ายบท ๕๕ บทที่ ๕ กาพย์ยานี ๑๑ ๕๗ ฉันทลักษณ์กาพย์ยา ๑๑ ๕๘ หลักการแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ๕๙ แบบฝึกหัดท้ายบท ๖๐ บทที่ ๖ กลเม็ด สุภาษิต ๖๒ ส านวน สุภาษิต และค าพังเพย ๖๓ ความหมายของส านวน สุภาษิต และค าพังเพย ๖๓ ลักษณะของส านวน สุภาษิต และค าพังเพย ๖๖ แบบฝึกหัดท้ายบท ๖๗ บรรณานุกรมลิขิต ๖๙ ~ หลักพิชิต ภาษาไทย ~


เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลังของภาษา ภูมิปัญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ๑. อธิบำยลักษณะของเสียงในภำษำไทย ๒. สร้ำงค ำในภำษำไทย ๓. วิเครำะห์ชนิดและหน้ำที่ของค ำในประโยค ๔. วิเครำะห์ควำมแตกต่ำง ของภำษำพูดและภำษำเขียน ๕. แต่งบทร้อยกรอง ๖. จ ำแนกและใช้ส ำนวน ที่เป็นค ำพังเพย และสุภำษิต


“จินตนา การสร้างค า”


๑. เสียงในภำษำไทย เสียงในภาษา หมายถึง เสียงของมนุษย์ที่เปล่งออกมา เพื่อใช้ใน การสื่อสาร เสียงในภาษาไทยประกอบด้วย เสียงสระ เสียงพยัญชนะ และเสียงวรรณยุกต์ อวัยวะที่ใช้ออกเสียง ได้แก่ ปอด หลอดลม และกล่อง เสียงท าล าคอ เมื่อลมผ่านเส้นเสียงจะท าให้เส้นเสียงสะบัด เกิดเป็นเสียงก้อง ถ้าไม่สะบัดมากเสียงก็จะไม่ก้อง จากนั้นลมก็จะถูกปล่อยผ่านไปทางช่องปาก แล้วไปกระทบกับส่วนต่าง ๆ ของปาก เช่น ลิ้นไก่ ลิ้น ริมฝีปาก ฟัน ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน ท าให้เสียงถูกกักกั้นลมด้วยอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่ง ในช่องปาก หรือถูกกักลมในช่องปาก แล้วปล่อยบางส่วนออกไปทางข้างลิ้น หรือดันลมให้เสียดแทรกอวัยวะต่าง ๆ ออกมา หรือดันลมให้ขึ้นจมูก ท าให้เกิด เป็นเสียงต่าง ๆ ภาพแสดงอวัยวะต่าง ๆ ที่ใช้ในการออกเสียง อวัยวะต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ต่างมีหน้าที่โดยตรงอยู่แล้ว เช่น ปาก เป็นทางผ่านของอาหารด่านแรก โดยมีฟันท าหน้าที่ขบเคี้ยวอาหาร และลิ้น ท าหน้าที่ลิ้มรสอาหาร ส่วนจมูกท าหน้าที่หายใจและดมกลิ่น นอกจากนั้นอวัยวะ เหล่านี้ก็ยังท าหน้าที่ในการออกเสียงดังที่อธิบายข้างต้นอีกด้วย ถ้าอวัยวะเหล่านี้ ผิดปกติ มนุษย์จะไม่สามารถออกเสียงได้ หรือออกเสียงได้แต่ไม่ชัดเจน ๒


๑.๑ ลักษณะของเสียงในภำษำไทย เสียงในภาษาไทย มี ๓ ชนิด คือ เสียงสระ เสียงพยัญชนะ และเสียง วรรณยุกต์ โดยมีลักษณะดังต่อไปนี้ ๓ ๑.เสียงสระ เป็นเสียงที่เปล่งออกมาจากปอด หลอดลม กล่องเสียง ผ่านล าคอ สู่ช่องปาก ช่องจมูก โดยสะดวก ลมที่เปล่งออกมาจะไม่ถูกสกัดกั้นจากอวัยวะ ในปาก แต่จะมีการเปลี่ยนแปลงระดับของลิ้นและรูปริมฝีปาก โดยการยกลิ้นขึ้น ในระดับต่างกันและริมฝีปากห่อมากน้อยต่างกัน ท าให้เกิดเสียงก้อง เส้นเสียง สั่นสะเทือน และสามารถออกเสียงได้ยาวนาน เสียงสระเป็นเสียงที่ช่วยให้พยัญชนะออกเสียงได้ เพราะเสียงพยัญชนะ จะต้องอาศัยเสียงสระควบคู่เสมอ เสียงสระในภาษาไทยมี ๒๑ หน่วยเสียง และมีอักษรที่ใช้แทนเสียงได้ เรียกว่า รูปสระ มี ๒๑ รูป แต่เดิมมักจะคุ้นเคย กับการท่องเสียงสระคู่สั้น - ยาว ทั้งสระเดี่ยวและประสม จึงมีความเข้าใจ ว่าสระประสมมี ๖ หน่วยเสียง นับรวมกับสระเดี่ยว ๑๔ หน่วยเสียง เป็น ๒๔ หน่วยเสียง ปัจจุบันราชบัณฑิตยสถานได้พิจารณาว่าสระในภาษาไทย มี ๒๑ หน่วย คือ สระเดี่ยว ๑๘ หน่วยเสียง สระประสม ๓ หน่วยเสียง ตามหลักภาษาศาสตร์ ซึ่งนักภาษาศาสตร์ใด้พิจารณาว่าเสียงสระประสม ในภาษาไทยมีเพียง ๓ หน่วยเสียง ได้แก่ เอีย เอือ และอัว ซึ่งเป็นสระเสียงยาว เสียง สระ สระเดี่ยว อะ อา อิ อี อึ ฮือ อุ อู เอะ เอ แอะ แอ โอะ โอ เอาะ ออ เออะ เออ สระประสม เอีย เอือ อัว ๒. เสียงพยัญชนะ เป็นเสียงที่เปล่งออกมาจากปอด หลอดลม กล่องเสียง ผ่านล าคอสู่ช่องปากช่องจมูก โดยให้ลิ้นกล่อมเกลาเสียงให้กระทบกับเพดาน ปุ่มเหงือก ฟัน หรือให้ริมฝีปากกระทบกัน ลมที่เกิดขึ้นจะถูกสกัดกั้นในล าคอ ช่องปากหรือช่องจมูก เสียงที่เกิดขึ้นมีลักษณะเสียงแปร คือ มีลักษณะแตกต่าง กันไป โดยเสียงที่แปรเกิดเป็นเสียงพยัญชนะ มีจ านวน ๒๑ หน่วยเสียง และมี อักษรแทนเสียงพยัญชนะจ านวน ๔๔ รูป เสียง พยัญชนะ พยัญชนะต้น - เดี่ยว ควบกล้ า อักษรน า พยัญชนะท้าย - กง กน กม เกย เกอว กก กด กบ


๔ ๓. เสียงวรรณยุกต์ เป็นเสียงที่มีท านองสูงต่ าเหมือนเสียงดนตรี โดยจะได้ยิน เสียงวรรณยุกต์ขณะที่ออกเสียงพยัญชนะ หรือสระ เสียงวรรณยุกต์นี้บางเสียง ถูกสกัดกั้น หรือไม่ถูกสกัดกั้น จึงเกิดเป็นเสียงสูงต่ า บางเสียงอยู่ระหว่างเสียงสูง กับเสียงต่ า บางที่ก็เป็นเสียงต่ าแล้วค่อย ๆ เลื่อนไปสู่เสียงสูง เสียงวรรณยุกต์ มี ๕ เสียง เรียงจากเสียงต่ าไปหาเสียงสูงได้ ดังนี้ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา เสียง วรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ๑.๒ เสียงในภำษำไทยและรูปตัวอักษรแทนเสียง ๑) เสียงและรูปสระ ๑.๑) ต าแหน่งที่เกิดเสียงสระในภาษาไทย เสียงสระเกิดจากลมที่ถูก ขับออกจากปอดและถูกบังคับให้ผ่านหลอดลม กระทบเส้นเสียงในหลอดลม แล้วผ่านออกจากล าคอโดยตรง โดยไม่มีการปิดกั้นทางลม อวัยวะที่ช่วย ในการออกเสียงสระ คือ ลิ้นกับริมฝีปาก เสียงสระบางเสียงเกิดจากลิ้นส่วนหน้า บางเสียงเกิดจากลิ้นส่วนกลาง และบางเสียงเกิดจากลิ้นส่วนหลัง ซึ่งลิ้น จะกระดกในระดับสูงต่ าต่างกัน ส่วนริมฝีปากบางเสียงเกิดจากรูปริมฝีปาก ห่อกลม บางเสียงเกิดจากรูปริมฝีปากปกติ บางเสียงเกิดจากรูปปากกว้างหรือรี ถ้าลิ้นยกอยู่ในระดับใดเพียงระดับเดียว เสียงสระที่เกิดขึ้นเรียกว่า สระแท้ ถ้าลิ้นเลื่อนจากระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่งอย่างรวดเร็ว จะเกิดเสียงสระสอง หรือสามเสียงพร้อม ๆ กัน เรียกว่า สระประสม หรือสระเลื่อน


เสียงสระ ลิ้น ริมฝีปาก อะ อา วางในท่าปกติ อ้าปากปกติ อิ อี ส่วนหน้ากระดกขึ้นสูง เหยียดปากออกเล็กน้อย อึ อือ ส่วนหลังยกขึ้นสูง เผยอขึ้นเล็กน้อย ไม่กลม อุ อู ส่วนหลังยกขึ้นสูง ห่อกลมเล็ก เอะ เอ ส่วนหน้ากระตกขึ้นสูง แต่ต่ ากว่าขณะออกเสียง อิ เหยียดออกเหมือน อิ แต่ขากรรไกรล่างลดต่ าลงกว่า ขณะออกเสียง อิ แอะ แอ ส่วนหน้าลดต่ าลงกว่า ขณะออกเสียง เอะ เหยียดออก ขากรรไกรล่าง ลดต่ าลงกว่าเมื่อออกเสียง เอะ โอะ โอ ส่วนหลังกระดกขึ้นสูง แต่ต่ ากว่าขณะออกเสียง อุ ห่อกลม เอาะ ออ ส่วนหลังลดต่ าลงกว่า ขณะออกเสียง โอ ห่อกลม เออะ เออ ส่วนหลังกระดกขึ้นสูง แต่ไม่เท่ากับขณะออกเสียง เอือ อ้าปากปกติ ๕ ๑.๒) ลักษณะการออกเสียงสระ ๑. การออกเสียงสระแท้ มีลักษณะของลิ้นและริมฝีปากที่ใช้ ในการออกเสียง ดังนี้ จากตารางข้างตันจะเห็นว่า สระทั้งหมด ๙ คู่ จะออกเสียงแถวหน้า เป็นเสียงสั้น ๙ เสียง แถวหลังออกเสียงเป็นเสียงยาว ๙ เสียง รวม ๑๘ เสียง ลักษณะลิ้นและปากจะอยู่ในท่าเดิมตลอด มีเพียงลิ้นส่วนใดส่วนหนึ่งเท่านั้น ที่เคลื่อนที่ ลิ้นเพียงส่วนเดียวที่ท าให้เกิดเสียง จึงเรียกสระทั้ง ๑๘ เสียงนี้ว่า สระแท้ หรือสระเดี่ยว


๖ เสียงสระ ลิ้น ริมฝีปาก เอีย ลิ้นส่วนหน้ากระดกสูงขึ้น แล้วลดต่ าลงมา ปากอ้ากว้าง ขากรรไกรล่างเคลื่อนต่ าลงมา เอือ ลิ้นส่วนกลางกระดกสูงขึ้น แล้วลดต่ าลงมา ปากอ้าเพราะขยับขากรรไกรล่างลง อัว ลิ้นส่วนหน้ากระดกสูงขึ้น แล้วลดต่ าลงมา ริมฝีปากที่จีบกลมจะอ้าออกเล็กน้อย ๒. การออกเสียงสระประสม มีลักษณะการใช้ลิ้นและริมฝีปาก ในการออกเสียง ดังนี้ จากการออกเสียงจะเห็นว่า ลิ้นส่วนหน้า ลิ้นส่วนกลาง และลิ้นส่วนหลัง จะขยับเคลื่อนที่ ท าหน้าที่ออกเสียงร่วมด้วย จึงเรียกว่าเสียง สระประสม ซึ่งลักษณะเสียงที่ประสมกัน มีดังนี้ อี + อา = เอีย อือ + อา = เอือ อู + อา = อัว ๓. รูป อ า ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ รูปเหล่านี้มีลักษณะการออก เสียง ประสมกัน ระหว่างเสียงสระกับเสียงพยัญชนะ ดังนี้ อ า มีเสียง อะ + ม ไอ มีเสียง อะ + ย ไอ มีเสียง อะ + ย เอา มีเสียง อะ + ว ฤ มีเสียง ร + อึ ฤๅ มีเสียง ร + อือ ฦ มีเสียง ล + อึ ฦๅ มีเสียง ล + อือ ดังนั้น รูป อ า ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไม่นับว่าเป็นเสียงสระ เพราะมีเสียง สระที่เป็นสระแท้ประสมอยู่แล้ว จึงนับว่าเป็นลักษณะของพยางค์


๗ ๑.๓) การใช้รูปสระแทนเสียงสระ ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงสระมี ๒๑ รูป (ตามต าราของ พระยาอุปกิตศิลปสาร) มีชื่อเรียกและวิธีใช้ ดังนี้ รูปสระ ชื่อสระ การใช้รูปสระโดยตรง ประสมกับรูปอื่น ะ วิสรรชนีย์ ประวิสรรชนีย์หลังพยัญชนะ เป็นสระ อะ เช่น มะระ ประสมกับรูปอื่น เป็นสระ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เช่น เละ แทะ โต๊ะ เกาะ เถอะ ั ไม่หันอากาศ หรือไม้ผัด เขียนข้างบนพยัญชนะ เป็นเสียงสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด เช่น ม + อะ + น = มัน ประสมกับรูปอื่น เป็นสระ อัว เช่น กลัว า ลากข้าง เขียนข้างหลังพยัญชนะ เป็นสระอา เช่น กา มา นา ประสมกับรูปอื่น เป็นสระ อ า เอา เอาะ เช่น น า เมา เคาะ ิ พินทุ์อิ เขียนข้างบนพยัญชนะ เป็นสระ อิ ประสมกับรูปอื่น เป็นสระอี อึ อือ เอีย เอือ และใช้แทนตัว อ ของสระ เออ เมื่อมี ตัวสะกด เช่น ด + เออ + น = เดิน ่ ฝนทอง เขียนข้างบนพินทุ์ อิ เป็นสระ อี ประสมกับรูปอื่น เป็นสระ เอีย เช่น เสีย นฤคหิต หรือหยาด น้ าค้าง เขียนข้างบนลากข้าง เป็นสระ อ า เขียนข้างบนพินทุ์ อิ เป็นสระ อึ " ฟันหนู เขียนข้างบนพินทุ์ อิ เป็นสระ อือ ประสมกับสระอื่น เป็นสระ เอือ เช่น เรือ ุ ตีนเหยียด เขียนข้างล่างพยัญชนะ เป็นสระ อุ เช่น ยุ่ง คุณ


๘ รูปสระ ชื่อสระ การใช้รูปสระโดยตรง ประสมกับรูปอื่น ู ตีนคู้ เขียนข้างล่างพยัญชนะ เป็นสระ อู เช่น สูง ศูนย์ เ ไม้หน้า เขียนข้างหน้าพยัญชนะ เป็นสระ เอ เช่น เสเพล เขียนไม้หน้าสองรูป เป็นสระ แอ เช่น แรง ใช้ประสมกับรูปอื่น เป็น เอะ แอะ เออะ เออ เอาะ เอีย เอือ เอา เช่น เตะ และ เถอะ เธอ เกาะ เสีย เรือ เขา โ ไม้โอ เขียนข้างหน้าพยัญชนะ เป็นสระโอ เช่น โมโห ใช้ประสมกับสระอื่น เป็นสระ โอะ เช่น โต๊ะ โปะ ใ ไม้ม้วน เขียนข้างหน้าพยัญชนะแทนเสียง อะ เมื่อมี ย เป็นตัวสะกด เช่น ห + อะ + ย + เสียงโท = ให้ ไ ไม้มลาย เขียนข้างหน้าพยัญชนะแทนเสียง อะ เมื่อมี ย เป็นตัวสะกด เช่น ม + อะ + ย + เสียงโท = ไม้ ใช้ประสมกับตัว ย ในค า ที่มาจาก ภาษาสันสกฤต เช่น ไสย ไวยากรณ์ อ ตัวออ เขียนข้างหลังพยัญชนะ เป็นสระ ออ เช่น ขอ มอง ว ตัววอ เขียนข้างหลังหยัญชนะ เป็นสระอัวเมื่อมีตัวสะกด เช่น ช+ อัว + น = ชวน ย ตัวยอ เขียนข้างหลังพยัญชนะแทนเสียง อะ เมื่อมี ย เป็นตัวสะกด ในค าที่มาจากภาษาสันสกฤต เช่น ไสย ไวยากรณ์ ประสมสระกับรูปอื่น เป็นสระเอีย เช่น เปีย ฤ รึ แทนเสียง ริ เช่น ฤทธิ์ แทนเสียง รึ เช่น มฤตยู หฤทัย แทนเสียง เรอ เช่น ฤๅษี ฤๅ รือ แทนเสียง รือ เช่น ฤๅษี ฦ ลึ แทนเสียง ลึ ฦๅ ลือ แทนเสียง ลือ เช่น ฦๅชา ฦๅสาย


๙ จากตารางข้างต้นจะเห็นว่า รูปสระทั้งหมด ๒๑ รูป จะประสมกัน เกิดเป็นเสียงสระ รูปสระเหล่านี้ใช้แทนเสียงสระโดยตรง และประสมรูปสระ ต่าง ๆ เพื่อแทนเสียงข้างต้น เช่น ะ ใช้แทนสระอะ และประสมกับรูปอื่น ๆ เป็นเสียงสระเอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เป็นต้น นอกจากนี้รูปสระต่าง ๆ ยังมีวิธีใช้เขียนเมื่อประสมกับพยัญชนะและประสมกับสระอื่น ๆ ที่ต่างกัน ดังนี้ ๑. เขียนหน้าพยัญชนะต้น เช่น เฉไฉ ใบไม้ โมเม เป็นต้น ๒. เขียนหลังพยัญชนะต้น เช่น สาระ มฤตยู รอก่อน ชวน เป็นต้น ๓. เขียนบนพยัญชนะต้น เช่น มัว กิน ถึง ฝีมือ เป็นต้น ๔. เขียนใต้พยัญชนะต้น เช่น มุ่ง กู ดู งู เป็นต้น ๕. เขียนโดด ๆ โดยไม่ต้องประสมกับพยัญชนะ เช่น ฤทัย ฤๅษี เป็นต้น ๖. เขียนประสมกับสระอื่น อาจเขียนบนพยัญชนะ หลังพยัญชนะ หรือล้อมรอบพยัญชนะก็ได้ เช่น เมีย มือ ถึง เสีย มัว เธอ เลอะ ขนมเปี๊ยะ เป็นต้น ๗. ไม่มีรูปสระ มีแต่เสียงสระเท่านั้น เช่น บ่ ณ ธ ลม เป็นต้น ๒) เสียงและรูปพยัญชนะ ๒.๑) ต าแหน่งที่เกิดของเสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะเกิดจากลม ที่ถูกขับออกจากปอด ผ่านมาตามหลอดลม กระทบเส้นเสียงในหลอดลมแล้วผ่านมาถึง ล าคอ ลมที่ออกมานี้จะถูกกักกั้นไว้ในส่วนต่าง ๆ ของช่องปากบางส่วน หรือถูกกัก ทั้งหมด แล้วจึงปล่อยลมออกมาทางปาก หรือขึ้นจมูกก็ได้ ท าให้เรารู้สึกว่าการออกเสียง พยัญชนะไม่สะดวกเท่ากับการออกเสียงสระ จุดที่ลมถูกกักกั้นแล้วปล่อยให้ลม ออกมานั้น เป็นที่เกิดของเสียงพยัญชนะ เรียกว่า ที่เกิด ที่ตั้ง หรือฐานกรณ์ พยัญชนะ มีที่เกิดหลายแห่ง ดังนี้ ๑. เกิดจากการกักลม แล้วปล่อยออกมาจากล าคอ เช่น เสียง /ก//ค//ง/ ๒. เกิดจากการเอาลิ้นไปแตะที่เพดานปาก แล้วปล่อยลมออกมา เช่น เสียง /จ//ฉ//ย/ ๓. เกิดจากการเอาลิ้นไปแตะปุ่มเหงือก แล้วปล่อยลมออกมา เช่น เสียง /ฏ//ฑ//ฒ//ณ/ ๔. เกิดจากการเอาลิ้นไปแตะที่ฟัน แล้วปล่อยลมออกมา เช่น เสียง /ต//ถ//ท//น/ ๕. เกิดจากการกักลมที่ริมฝีปาก แล้วปล่อยเสียงออกมา เช่น เสียง /บ//ป//พ//ฟ//ม/ ๖. เกิดในที่ต่าง ๆ เช่นเสียง /ร//ล/ เกิดที่สิ้น เสียง /ว/ เกิดจากการห่อริมฝีปาก


๑๐ ๒.๒) ลักษณะและประเภทของเสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะในภาษาไทยแบ่งได้หลายประเภท โดยยึดจาก ลักษณะของลมที่ผ่านช่องปาก หรือช่องจมูกออกมา ดังตารางต่อไปนี้ ประเภทของ เสียงพยัญชนะ ลักษณะของเสียง เสียงระเบิด เป็นเสียงที่เปล่งออกมาแล้วลมถูกจับกัก หรือกั้นด้วยอวัยวะ ส่วนใดส่วนหนึ่งภายในช่องปาก ได้แก่ เสียง /ป//ต//จ//ก//อ//พ/ /ท//ช//ค//บ//ด/ เสียงนาสิก เป็นเสียงที่เปล่งออกมาแล้วลมถูกกักไว้ ณ ที่ใดที่หนึ่งภายในช่องปาก แล้วลดลิ้นไก่ลงท าให้ลมออกไปทางจมูก ได้แก่ /ม//ง//น/ เสียงข้างลิ้น เป็นเสียงที่เปล่งออกมาแล้วถูกกักไว้ภายในช่องปาก แล้วปล่อยให้ลม บางส่วนออกไปทางข้างลิ้น ได้แก่ /ล/ เสียงกระทบ เป็นเสียงที่เปล่งออกมาขณะที่ปลายลิ้นสั่นสะบัด ถ้าปลายลิ้นสั่น หลายครั้งจะเกิดเป็นเสียงรัว ถ้าปลายลิ้นสะบัดเพียงครั้งเดียว เรียกเสียงกระทบ ได้แก่ /ร/ เสียงเสียดแทรก เป็นเสียงที่เปล่งออกมาแล้วลมต้องบีมผ่านช่องแคบ ๆ ท าให้เกิดเสียงซู่ซ่าได้แก่ เสียง /ฟ//ซ//ฮ/ เสียงกึ่งสระ เป็นเสียงเลื่อนระหว่างเสียงสระ ๒ เสียง ได้แก่ เสียง /ย/ ซึ่งเป็นเสียง ที่เกิดเมื่ออวัยวะออกเสียงเลื่อนจากต าแหน่งสระอิ หรืออี ไปยังสระ ที่ตามมา ส่วนเสียง /ว/ เป็นเสียงกึ่งสระที่เกิดเมื่ออวัยวะออกเสียง เลื่อนจากต าแหน่งสระอุ หรืออู ไปยังสระที่ตามมา


๒.๓) การใช้อักษรแทนเสียงพยัญชนะ เสียงพยัญชนะ ในไทย มี ๒๑ หน่วยเสียง คือ เสียง /ก/ /ค/ /ง/ /จ/ /ช/ /ซ/ /ด/ /ต/ /ท/ /น/ /บ/ /ป/ /พ/ /ฟ/ /ม/ /ย/ /ร/ /ล/ /ว/ /อ/ /ฮ/ มีตัวอักษรแทนเสียงพยัญชนะ ๔๔ รูป พยัญชนะบางเสียงมีรูปมากกว่าเสียง ดังนี้ เสียงพยัญชนะ รูปพยัญชนะ ๑. /ก/ ก ๒. /ค/ ข ฃ ค ฅ ฆ ๓. /ง/ ง ๔. /จ/ จ ๕. /ช/ ฉ ช ฌ ๖. /ซ/ ซ ศ ษ ส ๗. /ด/ ด ฎ ๘. /ต/ ต ฏ ๙. /ท/ ท ธ ฑ ฒ ถ ฐ ๑๐. /น/ น ณ ๑๑. /บ/ บ ๑๒. /ป/ ป ๑๓. /พ/ ผ พ ภ ๑๔. /ฟ/ ฝ ฟ ๑๕. /ม/ ม ๑๖. /ย/ ย ญ ๑๗. /ร/ ร ๑๘. /ล/ ล ฬ ๑๙. /ว/ ว ๒๐. /อ/ อ ๒๑. /ฮ/ ห ฮ ๑๑


๒.๔) การใช้พยัญชนะ สามารถแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. พยัญชนะต้นเสียง คือ พยัญชนะที่อยู่ต้นค าหรือต้นพยางค์ ซึ่งใช้ได้ ๓ ลักษณะดังนี้ พยัญชนะต้น ลักษณะพยัญชนะต้น ตัวอย่าง พยัญชนะ ต้นเดี่ยว พยัญชนะหนึ่งตัวอยู่ต้นค า หรือต้น พยางค์ ซึ่งหน่วยเสียงพยัญชนะทั้ง ๒๑ หน่วยเสียงในภาษาไทยสามารถปรากฏ เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ได้ทุกหน่วย กิน นั่ง พูด ยืน เดิน พยัญชนะ ควบกล้ า พยัญชนะควบแท้ในภาษาไทย มีหน่วยเสียงพยัญชนะ ที่สามารถออกเสียงควบกล้ า คือ ออกเสียงพยัญชนะ ๒ เสียง ติดต่อกัน โดยไม่มี เสียงสระคั่นกลาง ปรากฏทั้งสิ้น ๑๑ คู่ /ปร/ แปร ปรับ /ปล/ ปลา ปลอบ /ตร/ ตรง แตร /กล/ กล้า กลอง /กร/ กรุง เกรียว /กว/ กวาง กวาด /พล/ เพลง พลู ผลิ /พร/ พราน พริก พฤกษ์ /คล/ คลาน คล้อย เขลา /คร/ ครอง เครา ขรัว /คว/ ความ คว้าง ขวาง พยัญชนะควบไม่แท้ในภาษาไทย คือ ค าที่ประสมกับพยัญชนะตัวอื่น แล้วออกเสียงเพียงเสียงเดียว ตัวที่ออกมาควบกล้ าด้วยไม่ออกเสียง จริง เศร้า ไซร้ สระ สร้อย (หรืออาจออกเสียงเป็นเสียง อื่นไป เช่น ทราบ พุทรา ต้นไทร ฉะเชิงเทรา ทรัพย์) อักษรน า พยัญชนะต้นสองเสียงที่ออกเสียง ร่วมกันสนิทและท าให้เสียงพยัญชนะ ตัวที่สองเสียงสูงขึ้นกว่าเดิม หมา หมอ หมู หนู แหน หนา หนี หงาย หรูหรา หลวม อย่า อยู่ อย่าง อยาก เสียงพยัญชนะทั้งสองประสมกัน แต่ไม่กลมกลืนกันสนิท จึงมีเสียง อะ กลางค ากึ่งเสียง กนก ขนม ขนุน เฉลิม ฉลาด ตลาด ตลก ตลอด ฝรั่ง สนาม สนุกสนาน ๑๒


๒. พยัญชนะท้ายเสียง หมายถึง เสียงพยัญชนะที่อยู่ท้ายค า หรือพยางค์ เรียกว่ามาตราตัวสะกด มีอยู่ทั้งหมด จ านวน ๘ เสียง ดังนี้ มาตรา ตัวสะกด เสียง รูปพยัญชนะเสียง ตัวอย่าง แม่กก /ก/ ก ข ค ฆ ปัก สุข ยุค เมฆ แม่กด /ด/ จ ด ต ถ ท ธ ฎ ฏ ฑ ฒ ช ซ ศ ษ ส โปรด กฎ ชาติ ปรากฏ นิจ คช บาท พุธ อากาศ โทษ รส ก๊าซ อิฐ ครุฑ วัฒนา รถ แม่กบ /บ/ บ ป พ ภ ฟ ลบ บาป เทพ กราฟ โลภ แม่กง /ง/ ง ลิง แห่ง แสง แม่กน /น/ น ณ ญ ร ล ฬ ซน คุณ กาญจน์ พร นิล กาฬ แม่กม /ม/ ม ชม คาม เข็ม แม่เกย /ย/ ย ขาย ควาย เชย แม่เกย /ว/ ว หิว แว่ว ขาว แก้ว เลี้ยว เปรี้ยว เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์นี้ ถ้าตัวใดมีครื่องหมายทัณฑฆาต (- ์) ก ากับอยู่ แสดงว่าพยัญชนะตัวนั้น ไม่ต้องออกเสียง จะออกเสียงเฉพาะเสียงพยัญชนะ ท้ายตัวที่เหลือ เช่น พิมพ์(พิม) ศุกร์(สุก) พจน์(พด) ทิพย์วงศ์(วง) เป็นต้น ๓) เสียงและรูปวรรณยุกต์ ๓.๑) ลักษณะและประเภทของเสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ เป็นเครื่องหมายแสดงระดับเสียงสูงต่ าในภาษา ค าที่มีรูปพยัญชนะและ สระเหมือนกัน ถ้าเสียงวรรณยุกต์ต่างกัน จะท าให้ค านั้นมีความหมายต่างกัน เช่น ไข ไข่ ไข้ ปา ป่า ป้า ป๊า ป๋า ๑๓


เสียงวรรณยุกต์จะปรากฏทุกครั้งเมื่อมีการออกเสียง ค าไทยทุกค า จะปรากฎเสียงวรรณยุกต์ก ากับอยู่ด้วยเสมอ ค าบางค ามีรูปวรรณยุกต์ก ากับ หรืออาจจะไม่มีรูปวรรณยุกต์ก ากับอยู่ก็ได้ วรรณยุกต์มี ๔ รูป ๕ เสียง ดังนี้ เสียง วรรณยุกต์ รูป วรรณยุกต์ ระดับเสียง ตัวอย่าง หมายเหตุ สามัญ - ปานกลาง มีระดับเสียงคงที่ กิน ทอง ลืม ย า ไม่มีรูปวรรณยุกต์แทนเสียง เอก ่ ต่ าสุด มีเสียงคงที่ สม่ าเสมอ เก่ง ผ่า หนัก สุข บางค าไม่มีรูปวรรณยุกต์ โท ้ ตอนต้นเป็นเสียงสูง ปลายเสียงเปลี่ยน ระดับเป็นเสียงต่ า ใกล้ ข้า ค่า ช่าง มาก นาบ บางค ามีรูปวรรณยุกต์ ่ก ากับ แต่มีเสียงวรรณยุกต์โท บางค า ไม่มีรูปวรรณยุกต์ก ากับ ตรี สูง โต๊ะ จ๊ะ กั๊ก รัก คิด น้อง ไว้ ใช้ บางค ามีรูปวรรณยุกต์ก ากับ และบางค าใช้รูปวรรณยุกต์ แต่มีเสียงวรรณยุกต์ตรี จัตวา ตอนต้นเสียงต่ าตอน ปลายเสียงเนระดับ เสียงที่สูงขึ้น แจ๋ว ก๋วยเตี๋ยว เหลือง เขียว บางค าไม่มีรูปวรรณยุกต์ก ากับ จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นค าว่า ค าไทยทุกค าต้องมีเสียงวรรณยุกต์ ก ากับเสมอ เสียงบางเสียงอาจมีรูปหรือไม่มีรูปก็ได้ วรรณยุกต์ที่มีแต่เสียงไม่มีรูป เช่น กา มา เดือน เสียงสามัญ ขาด จาก หลบ เสียงเอก ฆาต แรด พูด เสียงโท รัก น้อง วัด เสียงตรี สาว ขา สวย เสียงจัตวา ส าหรับวรรณยุกต์ที่มีรูป รูปกับเสียงอาจไม่ตรงกันก็ได้ ๑๔


วรรณยุกต์ที่มีเสียงกับรูปตรงกัน เช่น ข่า สง่า หมี่ วรรณยุกต์รูปเอก เสียงเอก ก้อง จ้า ป้า วรรณยุกต์รูปโท เสียงโท โต๊ะ แก๊ส กั๊ก วรรณยุกต์รูปตรี เสียงตรี แต๋ว จ๋า ปิ๋ม วรรณยุกต์รูปจัตวา เสียงจัตวา วรรณยุกต์ที่มีเสียงไม่ตรงกับรูป เช่น ว่า ค่า ง่าย โล่ง วรรณยุกต์รูปเอก เสียงโท ร้อน น้อง ฟ้า ค้ า วรรณยุกต์รูปโท เสียงตรี ๓.๒) หลักการผันเสียงวรรณยุกต์เนื่องจากเสียงวรรณยุกต์จะใช้ ควบคู่กับรูปพยัญชนะเสมอ ดังนั้นในการผันเสียงวรรณยุกต์เพื่อแยกความหมาย ค า ผู้เรียนจ าเป็นต้องมีความรู้เรื่องไตรยางศ์ หรืออักษรสามหมู่ และเรื่องค าเป็น ค าตาย พอสังเขป ดังนี้ ๑. ไตรยางศ์คือ การจัดพยัญชนะไทยทั้ง ๔๔ รูป แบ่งเป็นสามหมู่ เพื่อให้การสะดวกในการผันอักษร ดังนี้ ๒. ค าเป็น คือ ค าที่ประสมกับสระเสียงยาวในแม่ ก กา เช่น พี่ ป้า ไป เรือ และค าที่สะกดในแม่กง กน กม เกย เกอว เช่น ลุง กิน นม เลย หิว รวมทั้งค าที่ประสมด้วยเสียงอ า ไอ ใอ เอา เช่น น้ า ใจ ไม่ เมา ๓. ค าตาย คือ ค าที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นในแม่ ก กา เช่น มะระ เกะกะ เอะอะ เลอะเทอะ และค าที่สะกดในแม่กก กด กบ เช่น นก มด จับ ไตรยางศ์ อักษรสูง ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห อักษรกลาง ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ อักษรต่ า ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ ๑๕


การผันวรรณยุกต์ของอักษรต่ าค าเป็นและอักษรต่ าค าตาย มีข้อที่น่า สังเกตประการหนึ่งว่า อักษรต่ าค าตาย สระเสียงสั้น และอักษรต่ าค าตายสระ เสียงยาวจะมีพื้นเสียงที่แตกต่างกัน ดังจะได้แสดงไว้ในวิธีผันเสียงวรรณยุกต์ ต่อไปนี้ ลักษณะพยางค์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา อักษรสูง ค าเป็น ข่า ฝ่าย เสื่อ ข้า ฝ้าย เสื้อ ขา ฝาย เสือ ค าตาย ขะ ขัด ขาด ข้ะ ขั้ด ขาด อักษรกลาง ค าเป็น กา กัน กาง ก่า กั่น ก่าง ก้า กั้น ก้าง ก๊า กั๊น ก๊าง ก๋า กั๋น ก๋าง ค าตาย จะ จับ จาบ จ้ะ จั้บ จ้าบ จ๊ะ จั๊บ จ๊าบ จ๋ะ จั๋บ จ๋าบ อักษรต่ า ค าเป็น คา คัน วาว ค่า คั่น ว่าว ค้า คั้น ว้าว ค าตาย สระเสียงสั้น ค่ะ คึ่ก คะ คึก ค าตาย สระเสียง ยาว วาก เชิด ว้าก เชิ้ด อักษรกลางผันได้ครบทั้ง ๕ เสียง ขณะที่อักษรสูงและอักษรต่ าไม่ สามารถผันครบ ๕ เสียงได้ ทั้งยังมีรูปและเสียงไม่ตรงกัน แต่มีวิธีผันอักษรสูง อักษรต่ าให้ครบ ๕ เสียง ได้ดังนี้ ๑๖


๑.อักษรต่ าที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง สามารถผันคู่กันได้ ดังนี้ อักษร เสียงวรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา สูง - ข่า ข้า - ขา ต่ า คา - ค้า ค้า - อักษร เสียงวรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา ห น า งา หง่า ง่า ง้า หงา อ น า ยา อย่า ย่า ย้า หยา ๒.อักษรต่ าที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง สามารถผันให้ครบ ๕ เสียงได้ โดยใช้ ห น า หรือ อ น า ดังนี้ การใช้รูปวรรณยุกต์ มีหลักการใช้ดังนี้ ๑. วางเหนือพยัญชนะต้นที่เป็นพยัญชนะเดี่ยว เช่น พ่อ แม่ น้อง เป็นต้น ๒. พยัญชนะต้นที่เป็นพยัญชนะเดี่ยวที่มีรูปสระเหนือพยัญชนะนั้น ให้วางรูปวรรณยุกต์เหนือสระ เช่น พี่ เสื้อ มื้อ เป็นต้น ๓. ถ้าพยัญชนะต้นเป็นพยัญชนะควบกล้ า ให้วางรูปวรรณยุกต์ เหนือพยัญชนะต้นตัวที่สอง เช่น กว้าง กล้า หน้า เป็นต้น ๔. ถ้าพยัญชนะต้นเป็นอักษรควบกล้ า อักษรน า มีสระเหนือ พยัญชนะต้น ให้วางรูปวรรณยุกต์เหนือสระที่พยัญชนะต้นตัวที่สอง เช่น หนี้ หนึ่ง ปล้ า เป็นต้น ๑๗ อักษรต่ า คือ พยัญชนะที่มีพื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ มี ๒๔ ตัว แบ่งเป็นอักษรต่ าคู่ และอักษรต่ าเดี่ยว อักษรต่ าคู่ คือ อักษรที่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๔ ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮ อักษรต่ าเดี่ยว คือ อักษรต่ าที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มี ๑๐ ตัว ได้แก่ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ ควรรู้


๑.๓ กำรออกเสียงภำษำไทย เสียงในภาษาไทยเป็นเสียงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง ผู้เรียน ต้องจดจ าศึกษาและฝึกฝนการอ่านออกเสียงให้ถูกต้อง เพราะถ้าออกเสียงผิด การเขียนก็จะผิดด้วย จะท าให้เป็นอุปสรรคในการสื่อสาร การออกเสียงในภาษาไทยให้ถูกต้อง มีลักษณะดังนี้ ๑. ออกเสียงพยัญชนะ และถ้อยค าให้คล่องแคล่วถูกต้อง ชัดเจน ตามหลักการออกเสียงภาษาไทย ไม่ออกเสียงช้า หรือเร็วเกินไป เช่น มกราคม ออกเสียงว่า มะ-กะ-รา-คม สัปดาห์ ออกเสียงว่า สับ-ดา หรือ สับ-ปะ-ดา อาชญากร ออกเสียงว่า อาด-ยา-กอน หรือ อาด-ชะ-ยา-กอน ๒. ออกเสียงควบกล้ าชัดเจน เป็นธรรมชาติ ไม่ดัดเสียง ไม่เน้น เสียงเกินไป เช่น ปรับปรุง กรุยกราย กล้อง แกล้ง กล้วย ควาย ขวนขวาย ขวัด ไขว่ เป็นต้น ๓. ระมัดระวังไม่ออกเสียนเลียนแบบต่างประเทศ เช่น เสียง /จ/ /ช/ /ล/ /ว/ /ฟ/ /ท/ /ด/ ไม่พูด ฉัน เป็น Chan ประเทศไทย ไม่ออกเสียงเป็น ประเทศไช หรือออกเสียง /ร/ โดยรัวลิ้นมากเกินไป ๔. ไม่ออกเสียงตัดค า ย่อค า หรือรวบค า เช่น อย่างนี้ ไม่ออกเสียงว่าเป็น หยั่งเนี้ยะ หยั่งงี้ มหาวิทยาลัย ไม่ออกเสียงว่าเป็น มหาลัย ดิฉัน ไม่ออกเสียงว่าเป็น เดี๊ยน ดั๊น ๕. เมื่อพูดอย่างเป็นทางการต้องใช้ภาษาไทยกลาง และต้องออก เสียงให้ชัดเจน ระมัดระวังไม่ออกเสียงส าเนียงท้องถิ่น เช่น โกหก ไม่ออกเสียง เป็น กอหก ฉัน ไม่ออกเสียงเป็น ฉั่น แต่เมื่อสนทนาอย่างไม่เป็นทางการกับคน ในท้องถิ่นเดียวกัน หรือผู้ที่คุ้นเคย ควรรักษาเอกลักษณ์ภาษาท้องถิ่นของตน และใช้ภาษาถิ่นด้วยความภูมิใจ ๖. ไม่พูดภาษาไทยปนกับภาษาต่างประเทศ เพราะผู้ฟังอาจ ไม่เข้าใจ ๗. ระมัดระวังการออกเสียงวรรณยุกต์ให้ถูกต้อง โดยไม่ออกเสียง เพี้ยน เช่น พ่อ แม่ ไม่ออกเสียงเพี้ยนเป็น พ้อ แม้ ๘. อ่านเว้นวรรคให้ถูกต้อง ๑๘


ข้อสังเกต ๑. การเขียนอักษรไทยไม่มีสัญลักษณ์บอกว่าจบประโยค หรือจบข้อความ ผู้สื่อสารต้องรู้จักเว้นวรรค เมื่อจบข้อความ หากมีค าเชื่อ เช่น และ แต่ กับ ต้อง เขียนประโยคติดกัน ๒. การเขียนตัวอักษรแทนเสียง ตัว /อ/ /ว/ /ย/ แทนได้ทั้งพยัญชนะ และสระ อีกทั้งค าบางค าไม่มีรูปสระ เพราะเป็นสระลดรูป เมื่อจะออกเสียง ผู้อ่านต้องพิจารณาความหมายด้วยว่าควรอ่านอย่างไร เช่น กรกนกสวย ขนมครกอร่อย เป็นต้น ๓. ค าบางค า มีตัวสะกดท้ายวรรค ผู้อ่านต้องระมัดระวังอย่าเผลออ่าน เป็นพยัญชนะต้น เช่น อาจอง ต้องออกเสียงเป็น อาด-อง ไม่ใช่ออกเสียงเป็น อา-จอง ๔. การออกเสียงในภาษาไทยกับการเขียนตัวอักษร บางค าออกเสียงไม่ ตรงกับรูป เช่น น้ า เท้า เป็นต้น เขียน น-ำ น้ า วรรณยุกต์รูปโท ถ้าวิเคราะห์ เสียงตามรูปที่ปรากฏ อ า คือ สระอะ มี /ม/ เป็นตัวสะกด แต่ออกเสียงเป้น /น/ สระอา /ม/ เป็นตัวสะกด วรรณยุกต์รูปโท ออกเสียงเป็นวรรณยุกต์ตรี การ ออกเสียงที่ผิดไปจากรูปนี้มีไม่มากนัก เมื่อผู้ฟังรับสารได้เข้าใจก็เป็นที่ยอมรับ แต่ ก็มีบางค าที่ออกเสียงตรงกับรูป เช่น กาด า เก้าอี้ เข้าถ้ า ผุ้เรียนต้องรู้จักสังเกต และจดจ า ๑๙


๒๐


๒๑


“ตริตรอง เสียงภาษา”


ค ามูลพยางค์เดียว ค าไทยแท้ กิน นอน ร้อน เย็น พ่อ แม่ อา ปู่ ย่า ค ายืมจากภาษาจีน เก๋ง ก๊ก โต๊ะ ห้าง เกี๊ยะ เกี๊ยว ก๋ง เฮีย ค ายืมจากภาษาบาลี สันสกฤต บาป กรรม บาตร เวร ผล อาสน์ ค ายืมจากภาษาอังกฤษ แชร์ เมตร ลิตร เกม เทป ชอล์ก ออนซ์ ๒๓ ๒) ค ามูลหลายพยางค์ ค าที่มีสองพยางค์ขึ้นไป มีความหมายในตัว ไม่สามารถแยกพยางค์ในค าออกได้ เพราะจะท าให้ไม่ได้ความหมาย ค ามูล หลายพยางค์ อาจเป็นค าไทยแท้ หรือเป็นค ายืมจากภาษาต่างประเทศก็ได้ ค ามูลพยางค์หลายพยางค์ ค าไทยแท้ ดอกไม้ โหระพา มะลิ มะม่วง มะระ มะละกอ เกเร ค ายืมจากภาษาจีน ซาลาเปา บะหมี่ก๋วยเตี๋ยว เฉาก๊วย อั่งเปา เก้าอี้ ค ายืมจากภาษาบาลี สันสกฤต นาฬิกา ราชินี มารดา นมัสการ วิจารณ์ ค ายืมจากภาษาอังกฤษ คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต ไมโครซอฟต์ สติกเกอร์ ๑. กำรสร้ำงค ำในภำษำไทย มนุษย์ในยุคปัจจุบันมีการติดต่อสื่อสารกันมากขึ้น ค าศัพท์ต่าง ๆ ก็ต้องมี ความหลากหลาย เพื่อแสดงอารมณ์และความรู้สึกนึกคิดออกมาให้ตรงตาม วัตถุประสงค์ของผู้ส่งสารมากที่สุด ค ามูล ซึ่งเป็นค าดั้งเดิมที่มีใช้ในภาษาไทย มีไม่เพียงพอที่จะน าไปใช้ จึงจ าเป็นต้องมีการสร้างค าขึ้นใหม่ ด้วยการประสมค า ซ้อนค า และซ้ าค า ๑.๑ ค ามูล ค ามูล เป็นค าดั้งเดิมที่มีใช้ในภาษาไทย มีความหมายสมบูรณ์ชัดเจนใน ตัวเอง อาจเป็นค าไทยแท้ หรือเป็นค ายืมจากภาษาต่างประเทศก็ได้ ค ามูลแบ่ง ออกเป็น ๖ ชนิด ดังนี้ ๑) ค ามูลพยางค์เดียว เป็นค าพยางค์เดียวที่มีความหมาย จัดเป็นค า ไทยแท้และค ายืมจากภาษาต่างประเทศ


๒๔ การประสมค า ค ามูล ค าประสม ค าประสมที่เป็นค าไทยกับค าไทย หาง เสือ หางเสือ ค าประสมที่เป็นค าไทย กับค าต่างประเทศ ยก (ค าไทย) เมฆ (ค าบาลี สันสกฤต) ยกเมฆ ค าประสมที่เป็นค าต่างประเทศ กับค าต่างประเทศ บัตร (ค าบาลี สันสกฤต) เชิญ (ค าเขมร) บัตรเชิญ ๑.๒ ค าประสม ค าประสม เป็นค าที่สร้างขึ้นใหม่ โดยการน าค ามูลตั้งแต่สองค าขึ้นไป มารวมกันเกิดเป็นค าใหม่ ความหมายใหม่ขึ้น ค าประสมอาจมาจากการประสม ค าไทยกับค าไทย ค าไทยกับค าภาษาต่างประเทศ หรือค าภาษาต่างประเทศ ประสมกัน เช่น ๑) ค าประสมที่เกิดความหมายใหม่แต่ยังมีเค้าความหมายเดิม เช่น เตา + ถ่าน = เตาถ่าน หมายถึง เตาที่ใช้ถ่านเป็นเชื้อเพลิง เตา + รีด = เตารีด หมายถึง เตาที่ใช้รีดเสื้อผ้า ผ้า + ขี้ริ้ว = ผ้าขี้ริ้ว หมายถึง ผ้าเก่าขาดที่ใช้เช็ดถูพื้น ๒) ค าประสมที่เกิดความหมายใหม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น ขาย + หน้า = ขายหน้า หมายถึง รู้สึกอับอาย ราด + หน้า = ราดหน้า หมายถึง อาหารประเภทก๋วยเตี๋ยวมีน้ าปรุงข้น หัก + ใจ = หักใจ หมายถึง ตัดใจไม่ให้คิดถึงเหตุต่าง ๆ ๓) ค าประสมที่เกิดจากการย่อค าให้กะทัดรัด มักขึ้นต้นด้วยค าว่า การ ความ ของ เครื่อง ชาว นัก ผู้ ช่าง เช่น การค้า ความคิด ของหวาน เครื่อง เรือน ชาวนา นักเรียน ผู้ขาย ช่างภาพ เป็นต้น ข้อสังเกต ๑. ถ้าน าค ามูลสองค ามารวมกัน แล้วไม่เกิดความหมายใหม่ ไม่จัด เป็นค าประสม เช่น ลูก + ไก่ = ลูกไก่ หมายถึง ลูกของไก่ (เป็นกลุ่มค า) ดาว + ลูก + ไก่ = ดาวลูกไก่ หมายถึง ชื่อดาว (เป็นค าประสม) ๒. ค าภาษาบาลีประสมกับค าสันสกฤต ไม่ถือเป็นค าประสม แต่เป็น ค าสมาส เช่น คุณ + ธรรม = คุณธรรม อ่านว่า คุน-นะ-ท า มัธยม + ศึกษา = มัธยมศึกษา อ่านว่า มัด-ทะ-ยม-มะ-สึก-สา


๒๕ ค าประสม มีองค์ประกอบส าคัญ ๒ ส่วน ได้แก่ ค าหลัก และค าขยาย ซึ่งค าหลัก คือ ค าที่ใช้เป็นค าตั้งต้น ส่วนค าขยาย คือ ค าทีมีต าแหน่งอยู่หลังค าหลัก เช่น ค าหลัก ค าขยาย ความหมาย ปิด ปาก ไม่ให้มีโอกาสพูด น้ า แข็ง น้ าที่แข็งเป็นก้อนเพราะถูกความเย็นจัด หนังสือ พิมพ์ สิ่งพิมพ์ที่เสนอข่าวสารและความเห็นแก่ประชาชน ควรรู้ ๑.๓ ค าช้อน ค าซ้อน เป็นการสร้างค า โดยน าค ามูลที่มีความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงข้ามกัน มาวางช้อนกัน เกิดค าใหม่ มีความหมายใหม่ โดยความหมายใหม่อาจกว้างขึ้น หนักแน่นขึ้น หรือเบาลงก็ได้ ๑) ค าซ้อนเพื่อความหมาย คือ ค าซ้อนที่เกิดจากค ามูลที่มีความหมาย เหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงกันข้ามมาวางชิดกัน มีลักษณะดังนี้ ความหมายเหมือนกัน เช่น เสื่อสาด เหาะเหิน พูดจา ความหมายใกล้เคียงกัน เช่น คัดเลือก แนะน า เกรงกลัว ความหมายตรงกันข้ามกัน เช่น ผิดชอบ ชั่วดี ได้เสีย ๒) ค าซ้อนเพื่อเสียง คือ ค าช้อนที่เกิดจากการน าค าที่มีเสียงคล้องจอง และมีความหมายสัมพันธ์กันมาซ้อนกัน เพื่อให้ออกเสียงได้ง่ายและไพเราะ มีลักษณะดังนี้ ซ้อนเสียงพยัญชนะต้น เช่น เร่ร่อน ท้อแท้ จริงจัง ตูมตาม ชุบซิบ ซ้อนเสียงสระ เช่น ราบคาบ จิ้มลิ้ม แร้นแค้น เบ้อเร่อ อ้างว้าง ซ้อนเสียงพยัญชนะต้นและสระ เช่น ออดอ้อน อัดอั้น รวบรวม ซ้อนด้วยพยางค์ที่ไม่มีความหมาย แต่มีเสียงสัมพันธ์กับค าที่มี ความหมาย เช่น พยายงพยายาม กระดูกกระเดี๋ยว ซ้อนด้วยค าที่มีความหมายใกล้เคียงแล้วเพิ่มพยางค์ให้เสียงสมดุลกัน เช่น สะกิดสะเกา ขโมยขโจร กระดุกกระดิก ค าซ้อน ๔-๖ พยางค์ จะมีเสียงสัมผัสภายในค า เช่น ทรัพย์ในดิน สินในน้ า โบกปัดพัดวี ข้าเก่าเต่าเลี้ยง ถ้วยโถโอชาม ประเจิดประเจ้อ


๒๖ ๑.๔ ค าช้ า ค าซ้ า เป็นการสร้างค า เพื่อให้เกิดความหมายใหม่วิธีหนึ่ง โดยการน าค า เดิมมากล่าวซ้ า มี ๒ วิธี ดังนี้ ๑) ค าซ้ าที่ใช้ไม้ยมก (ๆ) ก ากับ เช่น เด็ก ๆ ไปไหน (เด็ก ๆ หมายถึง เด็กหลายคน) ของอร่อย ๆ ทั้งนั้น (อร่อย ๆ หมายถึง ของอร่อยทุกอย่าง ไม่เน้นว่า อร่อยเพียงใด) ๒) ค าซ้ าที่เล่นเสียงวรรณยุกต์ โดยเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์แรก ให้สูงขึ้น เช่น น้องคนที่หมายเลขสาม ซ้วยสวย (ซ้วยสวย หมายถึง สวยมาก ๆ) ลองรับประทานก๋วยเตี๋ยวร้านนี้ไหมคะ พี่เขาบอกว่าอร้อยอร่อย (อร้อยอร่อย หมายถึง อร่อยมาก) การสร้างค ามีความจ าเป็นในภาษา เพราะช่วยให้มีค าที่มีความหมายใหม่ ใช้ในภาษามากขึ้น ค าที่สร้างใหม่เหล่านี้ คือ ค าประสม ค าซ้อน ค าซ้ า ค าทั้ง ๓ ชนิดนี้ มีวิธีการสร้างค าที่แตกต่างกัน แต่ล้วนมีพื้นฐานของค ามาจากค ามูล การศึกษาการสร้างค า นอกจากจะช่วยให้รู้จักการสร้างค าใหม่ ๆ มาใช้ในภาษา แล้วนั้น ยังช่วยให้สามารถน าค าแต่ละชนิดไปใช้ประโยชน์ เพื่อการสื่อสาร ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ๑.๕ ค าพ้อง ๑) ค าพ้องเสียง หมายถึง ค าที่อ่านออกเสียงเหมือนกัน แต่สะกด ต่างกัน มีความหมายต่างกัน เช่น พี่ชอบนั่งดูพระจันทร์ใต้ต้นจันทน์ทุกคืน (จันทร์ หมายถึง พระจันทร์หรือดวงจันทร์) (จันทน์ หมายถึง ต้นไม้ชนิดหนึ่ง)


๒๗ ๒) ค าพ้องรูป หมายถึง ค าที่เขียนเหมือนกัน แต่อ่านต่างกันและ ความหมายต่างกัน เช่น เราขับรถไปต่อไม่ได้แล้วพี่ เพราะเพลาหัก (เพลา อ่านว่า เพลา หมายถึง แกนส าหรับสอดดุมรถหรือดุมเกวียน) รีบ ๆ หน่อย เพลานี้ข้าศึกมาประชิดเราแล้ว (เพลา อ่านว่า เพ-ลา หมายถึง เวลา) ๓) ค าพ้องความหมาย (ค าไวพจน์) หมายถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจเรียกได้ หลายค า ทั้งนี้ก็เพราะในภาษาไทย มีค าให้เรียกใช้ได้มากมายตามความเหมาะสม เรามักเลือกใช้ค าลักษณะนี้ในการแต่งค าประพันธ์ เช่น ค าที่หมายถึง น้ า ได้แก่ ชล วารี นที สายธารา กระแสสินธุ์ ค าที่หมายถึง ดวงจันทร์ ได้แก่ ศศิธร รัชนีกร แข จันทร์ จันทรา แถง ๔) ค าพ้องรูปพ้องเสียง เป็นค าที่เขียนเหมือนกัน อ่านเหมือนกัน แต่ความหมายแตกต่างกัน เป็นค าต่างชนิดและต่างหน้าที่กัน เช่น เขาขึ้นเขาไปหาเขากวางมาท ายา (เขา ค าแรกเป็นค าสรรพนาม บุรุษที่ ๓ ท าหน้าที่เป็นประธาน ของประโยค) (เขา ค าที่สอง หมายถึง ภูเขา) (เขา ค าที่สาม หมายถึง อวัยวะส่วนที่แข็งมากอยู่บนหัวสัตว์ ซึ่งใช้เป็น อาวุธในการต่อสู้ป้องกันตัว) ค าไทย เป็นภาษาค าโดที่ค าเดียวมีหลายความหมาย เช่น ขัน อาจหมายถึง ภาชนะตักน้ า หรือกิริยาอาการท าให้แน่นขึ้น หรืออาการส่งเสียงร้องของไก่ตัวผู้ ในยามเช้าก็ได้ และอาจมีค าที่อ่านออกเสียงเหมือนกันแต่ความหมายแตกต่างกัน เช่น พระขรรค์ เขตขัณฑ์ ดังนั้น การจะอ่านค าพ้อง ผู้อ่านต้องบริบท คร่าว ๆ ก่อน เพื่อพิจารณาว่าควรจะอ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง อย่ารีบร้อยอ่าน โดยไม่เข้าใจความหมายของค า


๒๘


๒๙


“ชนิด หน้าที่ ประจ า”


ชนิดและหน้ำที่ของค ำในประโยค ๑. ลักษณะของพยำงค์ กลุ่มค ำ และประโยค ค าเกิดจากการน าเสียงในภาษา คือ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียง วรรณยุกต์ประสมกันค าที่ประสมแล้วไม่มีความหมาย เรียกว่า “พยางค์” ถ้าพยางค์หนึ่งพยางค์ หรือสองพยางค์ขึ้นไปรวมกันจะเกิดเป็นค าที่มีความหมาย ขึ้น เรียกว่า “ค า” ดังนั้น ค าหนึ่งค าอาจมีพยางค์เดียว หรือหลายพยางค์ก็ได้ ๓๑ ค า จ านวนพยางค์ ความหมาย กิ ๑ ไม่มี กิน ๑ เคี้ยว เคี้ยวกลืน ท าให้ล่วงล าตอลงสู่กระเพาะอาหาร มะระ ๒ ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ผลขรุขระ รสขม กินได้ ขัน ๑ ภาชนะตักน้ าหรือใส่น้ า หมุนให้แน่น หัวเราะ น่าหัวเราะ ชวนหัวเราะ จากตัวอย่างจะเห็นว่าค าไทยค าเดียวมีหลายความหมาย และความหมาย จะแตกต่างกัน เมื่อปรากฏในต าแหน่งต่าง ๆ ของประโยค ผู้อ่านจึงต้องพิจารณา บริบทหรือข้อความที่แวดล้อมด้วย เช่น หนูหยิบขันให้แม่หน่อย ขัน เป็นค านาม หมายถึง ภาชนะตักน้ า เอกขันหัวตะปูเกลียวจนแน่น ขัน เป็นค ากริยา หมายถึง หมุนให้แน่น น้องพูดจาน่าขัน ขัน เป็นค าวิเศษณ์ หมายถึง น่าหัวเราะ เมื่อน าค าหลาย ๆ ค ามาเรียงกันตามระเบียบของภาษาจะเกิดเป็นกลุ่มค า ที่มีความหมายแต่ยังไม่สมบูรณ์เรียกว่า “กลุ่มค า” หรือ “วลี” ถ้ากลุ่มค านั้น มีความหมายชัดเจนว่า ใครท าอะไร ท าแก่ใคร ท าให้เข้าใจได้ชัดเจนขึ้น เรียกว่า “ประโยค” เพื่อให้เข้าใจประโยคได้ชัดเจนยิ่งขึ้นก็อาจมีค า กลุ่มค า หรือประโยค มาขยายก็ได้ วลีจึงเป็นเพียงส่วนหนึ่งของประโยค ดังนั้น ในการสื่อสารเพื่อให้มีความเข้าใจตรงกัน หากใช้เพียงค าพูดเป็น ค า ๆ หรือกลุ่มค า อาจไม่สามารถสื่อความได้ชัดเจน จ าเป็นต้องใช้ถ้อยค าที่เป็น ประโยค จึงจะได้ความเด่นชัด ประโยคที่ใช้สื่อสารกันทั่วไป ได้แก่ ประโยค ความเดียว (ประโยคสามัญ ประโยคความรวม และประโยคความซ้อน ซึ่งความ สั้นยาวของประโยคขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ส่งสาร ดังนั้น จึงต้องศึกษา ความส าคัญของประโยค ชนิดและหน้าที่ของค า ซึ่งเป็นส่วนประกอบของประโยค ให้เข้าใจ เพื่อให้การสื่อสารมีความหมายครบถ้วน ชัดจนและมีประสิทธิภาพ


๓๒ ประโยค ภาคประธาน ภาคแสดง บทประธาน ส่วนขยาย บทกริยา บทกรรม กริยา ส่วน ขยาย กริยา กรรม ส่วน ขยาย กรรม กองลูกเสือสามัญ โรงเรียนนพเก้าวิทยาไป อยู่ค่าย พักแรมที่ค่ายลูกเสือ วชิราวุธานุสรณ์ กองลูกเสือ สามัญ โรงเรียน นพเก้าวิทยา ไป อยู่ค่าย พักแรม ค าเชื่อม คือ ที่ ค่าย ลูกเสือ วชิราวุธา นุสรณ์ นักเรียนโรงเรียน สายอนุสรณ์ สละที่นั่งให้คนชรา นักเรียน โรงเรียน สายอนุสรณ์ สละ ให้คนชรา ที่นั่ง - นกร้องเสียงไพเราะ นก - ร้อง เสียง ไพเราะ- - นภาและครอบครัว ย้ายไปอยู่บ้านใหม่ (ประโยคหลัก) นภาและ ครอบครัว - ย้ายไปอยู่ - บ้านใหม่ - บ้านใหม่สร้างเสร็จ เรียบร้อยแล้ว (ประโยคย่อย) บ้าน ใหม่ สร้างเสร็จ เรียบร้อย แล้ว- - ๒. ส่วนประกอบของประโยคในกำรสื่อสำร สารที่ใช้สื่อสารกันส่วนมากจะพูดและเขียนเป็นประโยค หรือวลี ประโยค ประกอบด้วยส่วนส าคัญ ๒ ส่วน คือ ภาคประธานและภาคแสดง ๑) ภาคประธาน ได้แก่ ส่วนที่เป็นผู้กระท า อาจจะมีส่วนขยาย หรือไม่มี ก็ได้ เช่น กองลูกเสือสามัญโรงเรียนนพเก้าวิทยาไปอยู่ค่ายพักแรมที่ค่าย ลูกเสือวชิราวุธานุสรณ์ นักเรียนโรงเรียนสายอนุสรณ์สละที่นั่งให้คนชรา ๒) ภาคแสดง ได้แก่ ส่วนที่บอกอาการหรือบอกสภาพของประธาน อาจมีส่วนขยายหรือไม่มีก็ได้ ส่วนขยายอาจเป็นค า วลี หรือประโยคก็ได้ เช่น นกร้องเสียงไพเราะ นภาและครอบครัวย้ายไปอยู่บ้านใหม่ซึ่งสร้างเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตัวอย่างการวิเคราะห์ประโยค


อาการนาม ค าอาการนามที่ขึ้นต้นด้วยหน่วยค าเติมหน้า “การ” เช่น การกิน หากตั้งข้อสังเกตจะเห็นว่าเป็นค าที่แสดงให้เห็นกระบวนการในการท ากริยา ส่วนค า อาการนามที่ขึ้นต้นด้วยหน่วยค าเติมหน้า “ความ” เช่น ความเป็นอยู่ จะแสดงสภาพ หรือ ลักษณะรวม ๆ ของกริยา ซึ่งค ากริยาบางค าสามารถเติม “การ” เพื่อสร้างค าอาการนาม ได้ แต่ไม่สามารภเติม “ความ” ได้ เช่นเดียวกับค ากริยาบางค าก็เติมได้เฉพาะ “ความ” และค ากริยาบางค าก็ไม่สามารถเติมได้ทั้ง “การ” และ “ความ” เช่น ค าว่า คือ ควรรู้ ๓. ชนิดและหน้ำที่ของค ำในประโยค ค าในภาษาจ าแนกได้เป็น ๗ ชนิด คือ ค านาม ค าสรรพนาม ค ากริยา ค าวิเศษณ์ ค าบุพบท ค าสันธาน และค าอุทาน การที่ค าไทยค าเดียวมีหลาย ความหมายและหลายหน้าที่ ทั้งการจัดล าดับค าในประโยค ถ้าเรียงผิดต าแหน่ง จะท าให้หน้าที่และความหมายผิดไป นักเรียนจึงต้องเรียนรู้ชนิด และหน้าที่ ของค าในประโยค เพื่อให้ผู้รับสารและผู้ส่งสารเข้าใจได้ตรงกัน และประสบผลส าเร็จในการสื่อสาร รวมถึงหน้าที่การงานตามจุดประสงค์ ๓.๑ หมวดค านาม ค านาม คือ ค าที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สภาพ ลักษณะ และอาการ ของสิ่งมีชีวิต และสิ่งที่ไม่มีชีวิต ทั้งสิ่งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม ๑) ประเภทของค านาม แบ่งได้ ๕ ประเภท ต่อไปนี้ ๑.๑) ค านามที่เรียกชื่อทั่วไป ได้แก่ ชื่อบุคคล ชื่อสัตว์ ชื่อสิ่งของ ชื่อสถานที่ เช่น พ่อ ช้าง สมุด โรงเรียน ธนาคาร เป็นต้น ๑.๒) ค านามที่เป็นชื่อเฉพาะ ได้แก่ ชื่อบุคคล ชื่อสัตว์ ชื่อสิ่งของ และชื่อสถานที่ เช่น พระอภัยมณี ช้างก้านกล้วย หนังสือเรียนภาษาไทย สถานี รถไฟหัวล าโพง เป็นต้น ๑.๓) ค านามที่บอกความเป็นหมู่พวก กลุ่ม หรือคณะ ได้แก่ ชื่อบุคคล ซื่อสัตว์ ชื่อสิ่งของ และชื่อสถานที่ เช่น คณะนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองน้ าใส โขลงช้างพัง กองหนังสือ หมู่บ้านท่าข้าม เป็นต้น ๑.๔) ค านามที่เป็นนามธรรม ไม่มีขนาดและรูปร่าง แต่สามารถ สื่อความหมายได้เข้าใจ ดังนี้ "การ" หรือ "ความ" น าหน้าค ากริยาเรียกว่า อาการนาม เช่น การกิน การนอน การเดิน การนั่ง ซึ่งค าที่มี "ความ" น าหน้า มักเป็นค าวิเศษณ์ หรือค า ที่เกี่ยวกับจิตใจ เช่น ความรัก ความซื่อสัตย์ ความจงรักภักดี ความคิด ความโกรธ ความผูกพัน เป็นต้น "การ" น าหน้าค านาม จัดเป็นนามทั่วไป เช่น การบ้าน การเมือง การครัว การคลัง


๑.๕) ค านามที่ใช้บอกลักษณะของนาม บางทีเรียก ลักษณนาม ค านาม ประเภทนี้ บอกให้ทราบถึงลักษณะของสิ่งที่กล่าวถึงว่ามีรูปพรรณสัณฐานเป็นอย่างไร เช่น นอกจากนี้ ค าลักษณนามใช้เป็นค าบอกจ านวนนับโดยมีจ านวนนับอยู่หน้า ลักษณนามนั้น เช่น มีคนเดินมาในห้อง ๑๐ คน แม่ซื้อดินสอให้ฉัน ๕ แท่ง หรือใช้ ประกอบหลังค านาม เช่น บ้านหลังที่ทาสีขาว เป็นบ้านของพี่ชาย สมุดเล่มนี้ฉันยืม น้องมา เป็นต้น ๓๔ ๒) หน้าที่ของค านามในประโยค ค านามมีหน้าที่ในประโยค ดังนี้ ๒.๑) ท าหน้าที่เป็นประธานของประโยค เช่น คณะรัฐมนตรีก าลังประชุมที่รัฐสภา ปลาฉลามกัดนักท่องเที่ยวที่ก าลังเล่นน้ าทะเล ๒.๒) ท าหน้าที่เป็นกรรมของประโยค เช่น ลูก ๆ ก าลังอ่านหนังสือเรียน ๒.๓) ท าหน้าที่เป็นกรรมตรงและกรรมรอง โดยค าที่อยู่หลังกริยาเป็นกรรมตรง ถ้ามีค าว่า แก่ หรือ ให้ อยู่ข้างหน้าค านามนั้นเรียกว่า กรรมรอง เช่น แม่ให้เงินแก่น้องทุกวัน (เงิน เป็นกรรมตรง ส่วนน้อง เป็นกรรมรอง) เราส่งสิ่งของต่าง ๆ ให้ผู้ประสบภัยน้ าท่วม (สิ่งของต่าง ๆ เป็นกรรมตรง ส่วนผู้ประสบภัยน้ าท่วม เป็นกรรมรอง) ๒.๔) ท าหน้าที่ขยายค าอื่นให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้แก่ ขยายค านาม ค ากริยา เช่น นายณรงค์ รักดี คณะกรรมการหมู่บ้านกล่าวเปิดงานวันสิ่งแวดล้อมไทย (นายณรงค์ รักดี เป็นค านามที่เป็นชื่อเฉพาะ คณะกรรมการหมู่บ้าน เป็นค านาม ทั่วไปที่ขยายนามชื่อเฉพาะให้ชัดเจนยิ่งขึ้น) พ่อนอนเล่นที่เก้าอี้ (เก้าอี้ เป็นค านามขยายค ากริยาเพื่อบอกสถานที่) เราก าลังรับประทานอาหารว่างตอนบ่าย (อาหารว่างตอนบ่าย เป็นค านามขยายกริยา และบอกเวลาตอนบ่าย) ๒.๕) ท าหน้าที่เป็นค าเรียกขาน เช่น คุณยายขาท าอะไรอยู่คะ (คุณยาย เป็นค านาม ส่วนคุณยายขา เป็นค าเรียกขาน) คุณต ารวจคะถนนตกไปทางไหนคะ (ต ารวจ เป็นค านาม ส่วนคุณต ารวจคะ เป็นค าเรียกขาน) ๒.๖) ท าหน้าที่เป็นส่วนเดิมเต็มให้ค ากริยา เป็น เหมือน คล้าย คือ แปลว่า เช่น พุ่มพวงเป็นราชินีเพลงลูกทุ่ง น้องนกหน้าตาคล้ายพ่อมาก ดินสอ มีลักษณนามเป็น แท่ง รถ ร่ม มีลักษณนามเป็น คัน กระดาษ มีลักษณนามเป็น แผ่น


๓๕ สรรพนามบุรุษที่ การใช้ ตัวอย่างค าสรรพนาม ๑ ใช้แทนตัวผู้พูด ข้า ฉัน ดิฉัน หนู ผม กระผม เกล้ากระผม ข้าพเจ้า ข้าพระพุทธเจ้า ๒ ใช้แทนผู้ที่พูดด้วย แก เจ้า เธอ คุณ ท่าน พระคุณเจ้า ฝ่าพระบาท ใต้ฝ่าพระบาท ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ๓ ใช้แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง เขา มัน แก เธอ ท่าน ท่านชาย ท่านหญิง พระองค์หญิง เสด็จพระองค์หญิง ทูลกระหม่อม การใช้ค าสรรพนามบางครั้งสามารถใช้ต าแหน่งหรือหน้าที่แทนได้ เช่น มะลิช่วยครูยกสมุดหน่อยสิ (ครู เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑) หมอจะให้หนูไปตรวจที่ห้องไหนคะ (หมอ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒) คุณสุดา ท่านผู้อ านวยการอยู่ไหมคะ (ท่านผู้อ านวยการ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓) ค าที่ใช้แสดงความสัมพันธ์ทางเครือญาติอาจใช้เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑ หรือบุรุษที่ ๒ ก็ได้ ผู้อ่าน หรือผู้ฟังต้องพิจารณาบริบทว่าเป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑ หรือ ๒ เช่น พ่อคะ นายกสมาคมฝากจดหมายเชิญมาให้ค่ะ (พ่อ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒) ค าบุรุษสรรพนามบางค าอาจเป็นได้ทั้งสรรพนามบุรุษที่ ๒ หรือบุรุษที่ ๓ เช่น เธอไม่รับประทานอาหารประเภทเนื้อใช้ไหม (เธอ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒) เธอเป็นผู้หญิงที่สุภาพ อ่อนโยน น่ารักมาก (เธอ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓) ดังนั้น การที่จะบอกว่าค านั้น ๆ เป็นค าชนิดใด ท าหน้าที่อะไรในประโยค ผู้อ่านหรือผู้ฟังต้อง พิจารณาว่าค าสรรพนามนั้นวางอยู่ในต าแหน่งใดของประโยค และพิจารณาบริบทว่าข้อความแวดล้อม เป็นอย่างไร จึงจะพิจารณาความหมาย ได้ถูกต้อง ๓.๒ หมวดค าสรรพนาม ค าสรรพนาม คือ ค าที่ใช้แทนชื่อคน สัตว์ สิ่งของ มักใช้ในการพูด เช่น ผม ฉัน ดิฉัน คุณ ท่าน เขา เรา เป็นต้น ๑) ประเภทของค าสรรพนาม แบ่งได้ ๗ ประเภท ดังนี้ ๑.๑) ค าสรรพนามที่ใช้ในการพูด (บุรุษสรรพนาม) ได้แก่


Click to View FlipBook Version