The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR2565 โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chawee Kh, 2022-04-08 10:56:59

SAR TNW 2565

SAR2565 โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา

Keywords: โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา,SAR2565

รายงานผลประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR)
ประจำปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา

ตำบลธาตุเชิงชุม อำเภอเมืองสกลนคร จงั หวัดสกลนคร
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาสกลนคร
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ประจำปี 2564 ฉบบั นี้ จดั ทำขน้ึ เพ่ือเสนอ
ผลการพัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรียนธาตนุ ารายณ์วิทยาในรอบปีท่ีผา่ นมาต่อคณะกรรมการ
สถานศกึ ษา หนว่ ยงานต้นสงั กดั หนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง เป็นการเปิดเผยต่อสารธารณชน เพอ่ื เป็นการสะท้อน
ภาพความสำเรจ็ ของการพัฒนาคณุ ภาพโรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยาในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมา ภายใต้บรบิ ท
ของโรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยา ซึง่ มีประโยชน์ ดงั นี้

1. โรงเรยี นมีฐานขอ้ มูลการดำเนนิ งานพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาท้ังในดา้ นจุดเด่น
จดุ ท่ีต้องพฒั นา และแนวทางในการพฒั นา เพ่ือนำไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ การปรบั ปรงุ และพัฒนาคณุ ภาพ
การจดั การศกึ ษาในปีการศึกษาตอ่ ไป

2. โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยามขี ้อมลู สารสนเทศเชิงประจักษซ์ ่ึงจะชว่ ยกระตุน้ ใหผ้ ูบ้ รหิ าร ครู
และผู้เกย่ี วข้องให้ความสำคัญและปรับเปลีย่ นพฤติกรรมการปฏิบตั งิ านเพื่อเป้าหมายทกี่ ำหนดไว้รว่ มกัน

3. ผูป้ กครอง ตลอดจนผมู้ สี ่วนเก่ียวข้องทุกฝา่ ยได้รบั ทราบผลการพฒั นาการจัดการศึกษา
ของโรงเรยี น ทงั้ ในดา้ นกระบวนการพัฒนา ผลการประเมิน ข้อมลู /หลักฐานและเอกสารเชิงประจักษส์ นบั สนนุ
แนวทางการพัฒนาเพอื่ ยกระดับเป้าหมาย โดยมกี ารประชาสัมพนั ธ์ใหผ้ มู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสียรบั ทราบข้อมลู หลาย
รูปแบบ เพอ่ื ประกอบการตัดสนิ ใจในการสง่ บตุ รหลานเขา้ มาเรียน และเพื่อใหก้ ารชว่ ยเหลอื สนับสนุนอย่าง
เหมาะสม

4. หน่วยงานตน้ สังกดั ไดแ้ ก่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน และสำนกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศกึ ษา มีฐานข้อมลู ในการกำหนดนโยบายการพัฒนาการจดั การศึกษา ทง้ั ระดับประเทศและระดับเขตพ้ืนที่

5. โรงเรยี นใชร้ ายงานประเมนิ ตนเองเพือ่ รับรองการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
โดยหน่วยงานต้นสังกัด และเตรียมประเมนิ คุณภาพภายนอกจากสำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ
คณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

ขอขอบคุณคณะผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา นักเรยี น ผู้ปกครอง ผนู้ ำชมุ ชน องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน และคณะกรรมการสถานศึกษาทุกท่าน ท่ีไดใ้ หค้ วามร่วมมือในการใหข้ ้อมลู ตรวจ คดั
กรองรายงานในครง้ั นี้ ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงานจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ทรี่ ่วมกนั จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ปกี ารศึกษา 2564 ฉบบั นี้ หวงั เปน็ อยา่ งยิ่งวา่ ขอ้ มูลในรายงาน
การประเมนิ ตนเอง จะเป็นประโยชน์สารสนเทศสำคญั นำไปประกอบการกำหนดนโยบายและกลยทุ ธ์พฒั นา
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้มีมาตรฐานคุณภาพสูงย่ิงขึ้น

(นายเอกชัย บุตรแสนคม)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นธาตุนารายณ์วิทยา



สารบัญเรอ่ื ง

เรื่อง หน้า

คำนำ ................................................................................................................. ก

สารบัญเร่อื ง ............................................................................................................ ข

สารบญั ตาราง ............................................................................................................ ง

สารบัญแผนภูมิ ............................................................................................................ ฉ

บทสรปุ สำหรับผู้บริหาร ............................................................................ 1

ส่วนที่ 1 ข้อมลู พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา .......................................................................... 5

1. ขอ้ มลู ท่ัวไปของสถานศึกษา …………………………………………………………………… 5

1.1 ประวัติโรงเรียนโดยสังเขป ………………………………………………………………….. 5

1.2 อาณาเขตติดต่อ …………………………………………………………………….. 5

1.3 วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ อตั ลักษณ์ เอกลกั ษณ์ ปรัชญาและคติพจน์ ...........……….. 5

2. ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศึกษา ……………………………………………………………….. 6

2.1 ขอ้ มูลผู้บริหาร …………………………………………………………………….. 6

2.2 ข้อมูลครูและบุคลากร ……………………………………………………………………… 7

2.3 ข้อมลู นักเรยี น ............................................................................................ 8

3. ข้อมลู อาคารสถานที่ .......................................................................................... 9

4. สภาพชุมชนโดยรวม ...................................................................................... 9

5. . ขอ้ มูลแหลง่ การเรยี นรู้ภายในและภายนอก และภูมิปัญญาท้องถน่ิ ......................... 10

6. ขอ้ มูลงบประมาณ ................................................................................................... 11

7. ผลการทดสอบระดบั ชาติ ................................................................................................ 12

8. ผลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาจากหนว่ ยงานภายนอก รอบส่ี .......................... 14

สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา .................................................................. 16

2.1 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ………………..................…………………………….. 16

2.1.1 กระบวนการพฒั นา …………………...................……………………………… 16

2.1.2 ผลการประเมนิ ………………......................………………………………….. 23

2.1.3 ขอ้ มูล/หลกั ฐานและเอกสารเชิงประจกั ษ์สนับสนนุ ..................................... 25

2.1.4 แนวทางการพัฒนาเพ่ือยกระดับเป้าหมาย …………...........…………………… 41

2.2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ............................................. 42

2.2.1 กระบวนการพัฒนา ………………………………..........…………………................... 42

2.2.2 ผลการประเมิน ………………………………..…………………...................... 43



สารบัญเร่ือง(ตอ่ ) หนา้

เรอ่ื ง

2.2.3 ข้อมลู /หลกั ฐานและเอกสารเชิงประจักษส์ นับสนุน ................................... 48
2.2.4 แนวทางการพฒั นาเพื่อยกระดบั เปา้ หมาย ………………………………........ 49

2.3 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ................... 49

2.3.1 กระบวนการพัฒนา ………………………………..........…………………................... 49

2.3.2 ผลการประเมิน ………………………………..…………………...................... 52

2.3.3 ขอ้ มูล/หลกั ฐานและเอกสารเชงิ ประจักษส์ นับสนนุ ................................... 53

2.3.4 แนวทางการพฒั นาเพ่ือยกระดบั เป้าหมาย ………………………………........ 60

ภาคผนวก

กฎกระทรวง การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา พ.ศ. 2561

บันทึกการพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบมาตรฐานการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564

ประกาศโรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา เรอ่ื ง การใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
ปกี ารศึกษา 2564 (ลงวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564)

ประกาศโรงเรียนธาตนุ ารายณ์วทิ ยา เรื่อง กำหนดค่าเป้าหมายการพฒั นาสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน เพื่อการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
ปีการศกึ ษา 2564 (ลงวนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564)

มาตรฐาน/ประเด็นพจิ ารณา/คา่ เป้าหมายและระดบั คุณภาพการประเมนิ ตนเอง ปีการศึกษา 2564

(แนบท้ายประกาศโรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยา เรือ่ ง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ปกี ารศึกษา 2564 ลงวันท่ี 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564)

คำส่งั โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยาที่ 106 / 2564 เร่ือง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนินงานประเมนิ

คุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยา

ปีการศึกษา 2564

ประกาศโรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา เร่อื ง ผลการประเมินตนเองของโรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วทิ ยา
ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564
(ลงวันท่ี 1 เมษายน ฑ.ศ.2564)

ผจู้ ดั ทำ



สารบญั ตาราง

ตาราง หน้า

1 แสดงจำนวนครแู ละบุคลากร ปกี ารศึกษา 2564 แยกตามตำแหน่ง ................................... 7

2 แสดงจำนวนครูและบุคลากร ปีการศกึ ษา 2564 แยกตามวิทยฐานะและกลุ่มสาระฯ .............. 7

3 แสดงจำนวนครแู ละบุคลากร ปกี ารศกึ ษา 2564 แยกตามวุฒิการศึกษา ............................... 8

4 แสดงจำนวนนักเรียน ปกี ารศึกษา 2564 ...................................................................... 8

5 แสดงแหล่งเรียนรภู้ ายในสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 ....................................................... 10

6 แสดงแหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรยี นและภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ปกี ารศึกษา 2565 ..................... 11

7 แสดงการจัดสรรงบประมาณ ปีการศึกษา 2564 ............................................................. 11

8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขัน้ พื้นฐาน(O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

ปีการศกึ ษา 2564 ........................................................................................... 12

9 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

ปีการศึกษา 2564 .................................................................................................. 13

10 แสดงผลการประเมนิ ภายนอกรอบสี่ ระยะที่ 1 (ประเมนิ SAR) จากสำนักงานรับรองมาตรฐาน

และประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) ทั้ง 3 มาตรฐาน (16 มิถุนายน 2564) .... 14

11 แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รียน ประเด็นพิจารณาท่ี 1.1 ด้านผลสมั ฤทธ์ิ

ทางวิชาการของผู้เรยี น และประเดน็ พิจารณาที่ 1.2 คุณลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผู้เรยี น

ปีการศกึ ษา 2564 ...................................................................................................... 23

12 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่าน การเขยี น การส่ือสาร และการคิดคำนวณ

ระดับ 3 ขนึ้ ไป จำแนกตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 ภาคเรียนที่ 1

ปีการศึกษา 2564 ...................................................................................................... 25

13 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการคิดคำนวณ

ระดับ 3 ขึน้ ไป จำแนกแยกตามกลุม่ สาระการเรียนรู้ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1-6

ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ............................................................................ 26

14 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการคิดวิเคราะห์ฯ ระดบั 3 ขึ้นไป ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1–6

จำแนกแยกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ................... 27

15 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการคิดวเิ คราะหฯ์ ระดบั 3 ขึน้ ไป ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1–6

จำแนกแยกตามกลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ................... 28

16 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4 วิชาทไี่ ดร้ ะดับ 3 ขนึ้ ไปของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ภาคเรยี นที่ 1 และภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 .......................................... 29



สารบญั ตาราง (ต่อ)

ตาราง หนา้

17 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

ปีการศึกษา 2564 ............................................................................................ 29

18 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3

เปรียบเทยี บ 3 ปีการศกึ ษา 2562 – 2564 ................................................................... 30

19 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

ปกี ารศกึ ษา 2564 ................................................................................... 30

20 เปรียบเทียบจำนวนนกั เรยี น ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2562 – 2564

ที่มีคะแนนสอบ ONET ร้อยละ 0.5 ขึน้ ไป .............................................................. 31

21 รอ้ ยละของนักเรยี นท่มี ีความพร้อมในการศึกษาตอ่ การฝึกงานและประกอบอาชพี

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564 ............................................................. 31

22 รอ้ ยละของนักเรียนที่มีความพรอ้ มในการศกึ ษาตอ่ การฝกึ งานและประกอบอาชีพ

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2564 ................................................................. 31

23 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นเฉลย่ี ตามหลกั สตู รสถานศึกษา ระดับ 3 ขึ้นไป ของนักเรยี น

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 .................................... 32

24 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเฉลีย่ ตามหลักสตู รสถานศึกษา ระดบั 3 ข้นึ ไป ของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ...................................... 32

25 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 5 วิชา ทไ่ี ดร้ ะดบั 3 ขึ้นไป ของนกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1-6

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ......................................................... 33

26 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 5 วิชา ทีไ่ ดร้ ะดบั 3 ข้นึ ไป ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1-6

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ......................................................... 33

27 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน วิชาภาษาอังกฤษ ทีไ่ ดร้ ะดับ 3 ขึ้นไป ของนกั เรยี น

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ........................................ 34

28 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น วิชาภาษาอังกฤษ ท่ีได้ระดบั 3 ขึ้นไป ของนกั เรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1-6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ...................................... 34

29 คะแนนการสอบวดั ระดบั ความรูท้ างภาษาอังกฤษในระดับการสอ่ื สารท่วั ไป (TOEIC)

ของนักเรยี นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 และมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โครงการหอ้ งเรยี นพเิ ศษภาษาองั กฤษ

โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา ปกี ารศึกษา 2561 – 2564 ......................................... 35



สารบัญตาราง (ต่อ)

ตาราง หน้า

30 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ภาษาที่ 3 (จีน,ญป่ี นุ่ ,เวยี ดนาม,เกาหลี)ท่ไี ด้ระดับ 3 ขน้ึ ไป

ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ...................... 36

31 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ภาษาที่ 3 (จนี ,ญ่ปี ุน่ ,เวยี ดนาม,เกาหลี)ท่ไี ดร้ ะดับ 3 ขนึ้ ไป

ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ...................... 36

32 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น วิชาการศึกษาค้นควา้ อสิ ระ ทไี่ ด้ระดับ 3 ขนึ้ ไป ของนักเรียน

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1-6 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ................................................. 37

33 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน วิชาการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ ทไ่ี ดร้ ะดับ 3 ขน้ึ ไป ของนักเรียน

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ........................................... 37

34 สรุปผลร้อยละการเจริญเตบิ โต (น้ำหนกั ตามเกณฑ์สว่ นสงู ของกรมอนามัย) ของนกั เรยี น

โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 ................................................. 38

35 ผลการประเมินสมรรถภาพทางกายของนกั เรยี น โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยา

ปกี ารศกึ ษา 2564 ........................................................................................ 39

36 แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ

ปีการศึกษา 2564 ................................................................................... 43

37 เปรยี บเทยี บคะแนนเฉล่ียผลการสอบ TOEIC ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3

และช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ห้องเรียนพเิ ศษภาษาอังกฤษ (English Program)

3 ปกี ารศึกษา (2562-2564) ............................................................................... 45

38 แสดงจำนวนครตู ามกลุ่มสาระฯ และคาบสอนเฉล่ยี ปีการศกึ ษา 2564 ......................... 46

39 แสดงการใช้แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น ปีการศึกษา 2564 ............................................. 47

40 แสดงค่าร้อยละของเปา้ หมายของผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 3

กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ............................. 53

สารบญั แผนภูมิ ช
หน้า
แผนภูมิ

1 แสดงแผนท่แี ละอาคารสถานท่ี โรงเรยี นธาตุนารายณ์วิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 ................ 9

2 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน(O-NET) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

ปกี ารศึกษา 2564 ................................................................... 13

3 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6

ปีการศึกษา 2564 ................................................................. 14

4 แสดงจำนวนอปุ กรณ์เทคโนโลยีของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 ..................................... 48

5 แสดงร้อยละของครูทีส่ ง่ กำหนดการสอนและแผนการจดั การเรียนรู้ ปกี ารศึกษา 2564 ........ 54

6 แสดงร้อยละของจำนวนครทู ่ีจดั ทำนวัตกรรมในการจดั การเรยี นรู้ปีการศึกษา 2564 ............. 54

7 แสดงสถิติการใชส้ อื่ การเรยี นรู้ของครผู ู้สอน ปกี ารศึกษา 2564 ........................................ 57

8 แสดงจำนวนนกั เรียนทใี่ ช้แหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2564 ........................... 58

9 แสดงสถิตคิ รูออกเยยี่ มบ้านนักเรยี นในปกี ารศึกษา 2564 ........................................ 58

10 แสดงร้อยละของครูท่ีทำวจิ ัยในชั้นเรียนปีการศึกษา 2564 .................................... 60

บทสรปุ สำหรบั ผบู้ รหิ าร

ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา จัดเป็นสารสนเทศสำคญั ทสี่ ะท้อนภาพความสำเร็จของ
แผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา (3-5 ป)ี ซง่ึ สถานศึกษาจะต้องนำไปวเิ คราะห์ สังเคราะห์เพ่ือวางแผน
พฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้พัฒนาในปีการศกึ ษาตอ่ ไป

โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วิทยาเป็นโรงเรยี นขนาดใหญพ่ ิเศษ เป็นโรงเรยี นประเภทอัตราแขง่ ขันสงู เขา้
รว่ มโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล รนุ่ ท่ี 2 และผา่ นการประเมิน OBECQA ในปีการศึกษา 2560 สถานท่ีตัง้ อยู่
ในชมุ ชนเมือง อยูใ่ กลส้ ถาบันการศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษา และอาชวี ศกึ ษา มคี รูและบุคลากรท่ีมคี วามรู้
ความสามารถ และพร้อมขับเคลือ่ นพฒั นาร่วมกัน จำนวน 200 คน จำนวนนกั เรียน 3,155 คน ผู้บรหิ ารมี
วิสยั ทัศน์ สามารถบริหารงานภายใต้ เง่อื นไขและข้อจำกดั ของโรงเรียน คอื ไม่มสี นามกีฬากลางแจง้ พ้นื ท่ีของ
โรงเรยี นสว่ นหนงึ่ อยใู่ ตแ้ นวสายไฟฟ้าแรงสูง ชมุ ชนรอบ ๆ มีสถานทแี่ หล่งบนั เทิงเพิ่มความเสยี่ งทางเพศและ
สิ่งเสพตดิ ของนกั เรยี น ทงั้ อยู่ในหว้ งของสถาการณโ์ รคอบุ ัตใิ หม่ ทำให้ครูและนกั เรยี นไม่สามารถจัดการเรียน
การสอนแบบ Onsite ไดต้ ามปกติ แตผ่ บู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรมกี ารปรบั เปลยี่ นรปู แบบการบริหารจดั การ
การจัดการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ทันเหตุการณ์ เปลยี่ นวกิ ฤติเปน็ โอกาสโดยใช้ช่วงเวลาที่นักเรยี น
เรยี นออนไลน์ จดั สภาพแวดล้อม อาคารสถานท่ี และเทคโนโลยี ให้เพยี งพอและเหมาะสม ครแู ละบุคลากรพัฒนา
ตนเองในด้านการจัดการเรียนการสอนใหเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ สง่ ผลให้ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ปกี ารศึกษา 2564 รวมทัง้ 3 มาตรฐาน อยใู่ นระดบั ยอดเยีย่ ม เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

1. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนธาตุนารายณว์ ิทยา มีการบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพ ตามท่รี ะบุไวใ้ นวิสยั ทัศนอ์ ย่าง
ชดั เจน ดังน้ัน โครงการ/กจิ กรรมท่ีดำเนินการ ทง้ั 3 มาตรฐาน จงึ มกี ระบวนการทำงานตามระบบคุณภาพ
ดังนี้

1) โรงเรยี นมีโครงการ/กจิ กรรมที่สอดคล้องกบั มาตรฐานท่ี 1 จำนวน 61 โครงการ สอดคล้อง
กับมาตรฐานท่ี 2 จำนวน 120 โครงการ และสอดคล้องกบั มาตรฐานท่ี 3 จำนวน 62 โครงการ

2) โครงการและกิจกรรมท่ีดำเนินการ มี 2 ลักษณะ คือ โครงการ/กิจกรรมท่ีมเี ป้าหมายเพื่อ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนักเรียนทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ และโครงการ/กจิ กรรมส่งเสรมิ สนบั สนุน
การจัดการเรยี นรู้ ซง่ึ ครอบคลุมทั้ง 3 มาตรฐานและทุกประเด็นพจิ ารณา

3) โครงการและกจิ กรรมท่ดี ำเนินการมีที่มา 2 ลกั ษณะ คอื โครงการ/กิจกรรมทีด่ ำเนินการตาม
วสิ ัยทัศน/์ เอกลักษณ/์ อตั ลักษณ์ของโรงเรยี นมาอย่างต่อเนื่อง แต่มกี ารปรับรายละเอียดของกจิ กรรมที่ดำเนินการ
และโครงการ/กจิ กรรมท่ีมาจากการวเิ คราะห์ปัญหาและข้อเสนอแนะจากโครงการและกิจกรรมท่ีดำเนนิ การใน
ปีการศกึ ษาทีผ่ า่ นมา แล้วจดั ทำโครงการเพมิ่ ใหม่ เพ่ือยกระดับเป้าหมายให้สงู ข้นึ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา ปีการศึกษา 2564 2

4) โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำเนนิ การมีการดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิการ แม้ในสถานการณ์
ไม่ปกติจากจากสถานการณ์โรคอบุ ตั ใิ หม่ ทำให้ดำเนินการไม่เป็นตามแผน แตม่ ีการปรับรูปแบบการดำเนินงานให้
สอดคล้องและเหมาะสมกบั สถานการณ์

5) โครงการและกิจกรรมท่ดี ำเนินการมีการกำกับตดิ ตามตรวจสอบและประเมินผลการ
ดำเนินงานมกี ารประเมินผลการดำเนนิ งานระหวา่ งดำเนินงาน และส้นิ สดุ การดำเนินงาน เพื่อใหเ้ ปน็ ไปตาม
แผนการปฏิบัติงาน และเปน็ ไปตามจุดประสงค์ เปา้ หมายของโครงการ/กจิ กรรมทกุ โครงการ

6) โครงการและกจิ กรรมมีการสรุปและรายงานผลการดำเนนิ งาน ท้ังรายงานเป็นเอกสารและ
รายงานผา่ นแพลตฟอร์ม เพื่อใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ มีการเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาในปีการศกึ ษาตอ่ ไป
การเสนอโครงการ/กิจกรรม จึงมาจากปญั หาและขอ้ เสนอแนะในการดำเนนิ งานของปกี ารศกึ ษาทผี่ ่านมา

2. ผลการประเมนิ
2.1 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา รวมทั้ง 3 มาตรฐาน โดยภาพรวม ระดบั ยอดเย่ยี ม

(รอ้ ยละ 86.79 สกู่ วา่ เปา้ หมายที่ตอ้ งการ (ร้อยละ 83.34)
2.2 ผลการประเมนิ แยกตามมาตรฐาน
2.2.1 ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรยี น ภาพรวม ระดับ ยอดเยี่ยม

(ร้อยละ 82.47) สงู กว่าเป้าหมาย (ร้อยละ 82)
1) ประเดน็ พิจารณาท่ี 1 ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ้ รียน ระดับดีเลศิ (ร้อยละ 7760)

ต่ำกว่าเป้าหมาย (ร้อยละ 82)
2) ประเด็นพิจารณาที่ 2 คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรียน ระดบั ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ

87.35) สงู กวา่ เปา้ หมาย (รอ้ ยละ 86)
2.2.2 ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 2 ดา้ นการบรหิ ารและการจดั การ ภาพรวม ระดบั ยอดเย่ียม

(ร้อยละ 90) เปน็ ไปตามเปา้ หมาย (ร้อยละ 86)
2.2.3 ผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั

ภาพรวม ระดับ ยอดเยย่ี ม (ร้อยละ 90) สูงกว่าเป้าหมาย (ร้อยละ 86)

3. ข้อมลู /หลกั ฐานและเอกสารเชงิ ประจักษ์สนับสนุน
1) นักเรียนมคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม (รอ้ ยละ85) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

ในการเรียนรู้ (รอ้ ยละ 95)พรอ้ มทั้งผลการสอบผลสอบ ONET ของนกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 (รอ้ ยละ
85.50) และความพรอ้ มในการศึกษาต่อการฝกึ งาน หรือการทำงานของนักเรียน (รอ้ ยละ 91.58)

2) นกั เรียนมพี ัฒนาการดา้ นผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา การใชภ้ าษาอังกฤษเพ่อื
การสือ่ สาร และผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นภาษาท่ี 3 ตามอตั ลักษณ์ของโรงเรยี น

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วทิ ยา ปีการศึกษา 2564 3

3) นักเรียนได้รับการพฒั นาด้านสขุ อนามัย มกี ารตรวจสอบข้อมลู น้ำหนัก/สว่ นสูง มกี ารทดสอบ
สมรรถภาพทางกายกอ่ นการพฒั นาเปน็ ประจำทกุ ปี

4) มกี ารปรับแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจำปี ท่สี อดคล้องกบั
ผลการจดั การศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพฒั นา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทมี่ งุ่ เนน้ การพฒั นา
ใหผ้ เู้ รยี นมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา

5) มีโครงการพัฒนาครผู ู้สอนให้จัดการเรียนรู้ได้อยา่ งมีคุณภาพ มีการนิเทศ กำกบั ตดิ ตามประเมินผลการ
ดำเนินงาน และการจัดทำรายงานผลการปฏิบัตงิ านอย่างเป็นระบบ มกี ารใชก้ ระบวนการประเมินผลการ
ดำเนนิ งานในการรวบรวมข้อมูล เพ่อื ใช้เปน็ หลักฐานในการวางแผนพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา

6) ผ้บู ริหารได้นำหลักการบริหารด้วยระบบคณุ ภาพ มากำหนดเป็นยุทธศาสตร์ หรือ Model
เพื่อนำสู่การปฏิบัติ ครูบคุ ลากรและผเู้ กยี่ วข้องตระหนกั เข้าใจไดโ้ ดยง่าย ส่งผลให้องค์กรพัฒนาแบบกา้ วกระโดด
การสร้างความตระหนกั ใหบ้ คุ ลากรเหน็ ความสำคัญของโครงการต่างๆ ที่โรงเรยี นเขา้ รว่ มทุกโครงการในที่ประชมุ
ประจำเดือน ให้ความสำคญั ของการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา

7) มกี ารนเิ ทศการจัดการเรียนการสอนของครทู ุกคน มีการบรหิ ารงานในรปู แบบคณะกรรมการบรหิ าร
โรงเรียน ครแู ละบุคลากร กรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนมสี ่วนร่วมในการดำเนนิ งานของโรงเรียน และ
มีสว่ นร่วมในการตัดสินใจเรื่องสำคัญ อาทิ การเปดิ หลักสูตรภาษาองั กฤษ-เกาหลี ตามความต้องการของนกั เรียน-
ผู้ปกครองและชมุ ชน

8) ผ้บู รหิ ารสนบั สนุนให้มสี ่อื เทคโนโลยแี กค่ รู-นกั เรียนอย่างเพยี งพอ และในภาวะท่ีมีปัญหาอปุ สรรค
ผู้บริหารมีวธิ ีแก้ไขปัญหาหลากหลายรูปแบบและทนั เหตุการณ์ มีการส่งเสริมให้ครูและบุคลากรสรา้ งสอ่ื และ
นวตั กรรมเผยแพรผ่ ่านเวบ็ ไซตข์ องโรงเรยี นการบริหารจัดการทีเ่ ป็นจดุ เดน่ ส่งผลใหโ้ รงเรยี นมกี ารเปล่ยี นแปลง
เชงิ บวก ครผู สู้ อนมคี วามสุขกับการทำงาน กลุ่มสาระฯมี Best Practices และนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ครบ
ทุกกลมุ่ สาระฯ โรงเรยี น ครแู ละนกั เรียนไดร้ บั รางวัลในระดับชาติ และเป็นแบบอย่างในระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา

9) การร่วมมือกนั ระหว่างครู-ผ้ปู กครอง แกป้ ญั หาให้กับผูเ้ รียนโดยใชร้ ะบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
10) นักเรียนไดร้ ับรางวลั จากการประกวด/แขง่ ขนั ทักษะและความรูท้ ุกกลุ่มสาระฯ ทงั้ ในระดับชาติ
ระดบั ภาค และระดับอื่นๆ แมว้ ่าจะ น้อยลง กวา่ ปีการศึกษา 2563 เน่ืองจากสถานการณ์โรคอุบัติใหม่
แตน่ กั เรียนได้รบั การพฒั นาศักยภาพตามสถานการณ์

ผลการดำเนินการดังกล่าว เปน็ ผลมาจากโครงการ/กิจกรรมพัฒนาและยกระดบั ผลสัมฤทธิ์
การสง่ เสรมิ และสนบั สนุนด้านอาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สอื่ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ และด้านอ่นื ๆ ของผา่ ยบริหาร
อกี ท้ังครมู ีการพัฒนาและบรู ณาการกระบวนการการจัดการเรยี นรู้ มีการวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ
อย่างหลากหลาย ทำให้นกั เรียนสนใจและตั้งใจรว่ มกิจกรรมการเรียนการสอนมากข้นึ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 4

4. แนวทางการพัฒนาเพ่ือยกระดบั เป้าหมาย
1) เพิ่มกจิ กรรม/โครงการ/งานเพื่อสง่ เสริมและพัฒนานักเรียนใหม้ คี วามสามารถในการอ่าน การเขียน

การสอ่ื สาร และการคิดคานวณ และการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลยี่ นความคดิ เห็นและ
แกป้ ัญหา กจิ กรรมส่งเสรมิ และพัฒนานักเรียนยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทุกรายวชิ าทกุ ระดับช้นั กจิ กรรมสง่ เสรมิ และ
พฒั นานักเรยี นในการทดสอบพ้นื ฐานระดบั ชาติ กจิ กรรมส่งเสรมิ และพฒั นานกั เรยี นดา้ นการใชภ้ าษาอังกฤษ
เพอ่ื การสอ่ื สาร และภาษาที่ 3 (จนี -ญ่ีปุ่น-เวยี ดนาม-เกาหลี) กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพัฒนานักเรียนในการศึกษา
ค้นควา้ อสิ ระ (IS) กิจกรรมส่งเสรมิ และพัฒนานกั เรยี นด้านสมรรถภาพทางร่างกาย กิจกรรมส่งเสรมิ และพัฒนา
นักเรยี นนักเรยี นให้มนี า้ หนัก สว่ นสูง ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ซ่ึงบางกิจกรรมไมส่ ามารถดาเนินการได้
โดยอาจจดั กจิ กรรมใน 2 รูปแบบ ทงั้ ในรปู แบบ Onsite และ รูปแบบ ONLINE เพ่ือรองรับสถานการณ์โรคอุวัติ
ใหม่ ซึง่ ยงั กระทบกบั การจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษา

2) การตรวจสอบ กากลบั ติดตาม กจิ กรรม/โครงการ/งาน เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามระบบคณุ ภาพ ควรมกี าร
ปรบั เปลยี่ นให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ เช่น การตรวจสอบผ่านแพลตฟอร์ม ทส่ี รา้ งขึน้ ตามบรบิ ทของกจิ กรรม
โดยควรเตรียม รูปแบบการกากบั ติดตาม การประเมินผล การรายงาน ทั้งในรปู แบบ Onsite และ รูปแบบ
ONLINE เพอื่ รองรบั สถานการณโ์ รคอุบัตใิ หม่

3) เพิ่มโครงการ/กิจกรรมเชงิ รกุ เพ่ือศักยภาพผเู้ รยี นทุกดา้ นให้มีความต่อเนื่องโดยเฉพาะในช่วง
สถานการณโ์ ควดิ -19 ควรมีการสำรวจความต้องการและความสนใจของผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียก่อนดำเนนิ การ
มีการวางแผนดำเนนิ การให้ครอบคลมุ ทั้งการพัฒนาในรปู แบบ Onsite และรูปแบบ online มกี ารวัดผล
ประเมินผล และสำรวจความพึงพอใจเพื่อการพฒั นาใหเ้ หมาะสมและยงั่ ยนื

4) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ ให้ครูนำการวิจัยเพือ่ พฒั นา มาเป็นส่วนหน่งึ ในการวางแผนการพัฒนาให้ครบ
ทุกโครงการ และนำมาใช้อยา่ งต่อเนื่อง

5) กิจกรรม/โครงการใดทีไ่ ด้รับการพฒั นาศักยภาพจนประสบความสำเร็จเปน็ การปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ
หรือ ได้รบั รางวัลในระดับชาติตดิ ตอ่ กนั โรงเรยี นควรสง่ เสริมใหส้ ร้างเปน็ โมเดล และยกย่องใหเ้ ปน็ นวัตกรรมการ
ปฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลิศของสถานศกึ ษา

6) ส่งเสริมและสนับสนนุ ให้กลมุ่ สาระการเรยี นรู้จัดทำโครงการพัฒนาตนเองดว้ ยการสรา้ งชมุ ชน
แหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพกับหน่วยงานภายนอก เพ่ือเป็นการแลกเปลย่ี นเรยี นรูเ้ พ่ิมมากข้นึ

7) พฒั นาครูผู้สอนให้มที ักษะการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท้ังในรปู แบบ มาเรียน Onsite และ
แบบ Online เพือ่ เตรยี มรบั มือสถานการณ์โรคอุบตั ใิ หม่ทีอ่ าจยังไม่คล่ีคลายในอนาคต

ส่วนที่ 1
ขอ้ มูลพนื้ ฐานของสถานศึกษา

1. ข้อมลู ทั่วไปของสถานศกึ ษา

โรงเรยี นธาตุนารายณ์วิทยา ตั้งอย่ทู ่ี เลขที่ 606 ตำบลธาตเุ ชิงชุม อำเภอเมือง จงั หวัดสกลนคร สังกัด

สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสกลนคร จดั เป็นประเภทโรงเรียนมธั ยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ประเภท

โรงเรยี นท่ีมีอัตราการแข่งขันสูงและโรงเรียนโครงการมาตรฐานสากล เปิดสอนระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1

ถึงระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 รับนักเรยี นเขตพื้นทีบ่ ริการ 5 ตำบล คือตำบลธาตเุ ชิงชมุ ตำบลพังขวา้ ง ตำบล

ฮางโฮง ตำบลเชยี งเครือ และตำบลธาตุนาเวง อำเภอเมือง จงั หวัดสกลนคร ชอ่ งทางติดต่อ โทร 042-970-128

โทรสาร 042-743-678 e-mail : [email protected], website : http://www.tnw.ac.th

1.1 ประวตั โิ รงเรยี นโดยสังเขป

โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วิทยา ประกาศตัง้ เมื่อวนั ท่ี 27 มกราคม 2526 ไดน้ ามและสญั ลักษณ์ประจำ

โรงเรียนจากพระธาตุนารายณ์เจงเวง โบราณสถานสำคัญประจำจงั หวดั สกลนคร ในระยะแรกเริ่มเต็มไปด้วย

ความยากลำบาก เนอื่ งจากพื้นทส่ี ว่ นใหญเ่ ป็นทีล่ ุม่ นำ้ ทว่ มขัง ไมส่ ามารถเป็นท่ีเรียนได้ จึงอาศัยสถานท่ี

โรงเรยี นเมอื งสกลนคร (ธาตนุ ารายณเ์ จงเวง) เปน็ ทเ่ี รยี นชว่ั คราว ต่อมาชาวบ้านชว่ ยกันบรจิ าคทรัพยส์ งิ่ ของ

ช่วยเหลอื โรงเรียน และร่วมแรงร่วมใจกันสร้างอาคารช่วั คราวแบบ 5 ห้องเรยี น 1 หลงั ปกี ารศกึ ษา 2527

โรงเรยี นมอี าคารเรยี นถาวรหลังแรก รวมท้งั ไดร้ บั งบประมาณสรา้ งอาคารเรียนและปรบั ปรุงพฒั นาสภาพแวดล้อม

มาอย่างต่อเน่ือง รวดเรว็ ทง้ั ยังมจี ำนวนนกั เรยี น ครูและบคุ ลากรเพ่ิมข้ึนทุกปี

1.2 อาณาเขตตดิ ต่อ

โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วิทยา มีพ้ืนทท่ี ัง้ หมด 30 ไร่ 2 งาน 71.7 ตารางวา มีอาณาเขตตดิ ต่อ ดงั นี้

ทศิ เหนอื มีพน้ื ทต่ี ิดต่อกบั -ถนนนติ โย (ถนน สกลนคร-อุดรธาน)ี ถนนหมายเลขที่ 22

-ชมุ ชนรุ่งพฒั นา ตำบลธาตเุ ชิงชุม อำเภอเมืองสกลนคร

ทศิ ใต้ มพี ื้นท่ตี ิดตอ่ กบั -ชมุ ชนดงพัฒนา ตำบลธาตนุ าเวง อำเภอเมืองสกลนคร

ทิศตะวนั ออก มพี ้นื ทต่ี ิดต่อกับ -สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1

และ โรงเรยี นเมืองสกลนคร(ธาตนุ ารายณเ์ จงเวง)

ทศิ ตะวนั ตก มพี ้นื ทต่ี ิดต่อกบั -บา้ นหนองบัวสามัคคี หมู่ 11 ตำบลพังขว้าง อำเภอเมืองสกลนคร

1.3 วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ ปรัชญาและคติพจน์
1) วิสัยทศั น์
ภายในปี 2565 โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา จัดการศกึ ษามุ่งพฒั นาผู้เรยี นให้มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม

และเปน็ เลศิ ทางภาษาโดยการบรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วทิ ยา ปกี ารศึกษา 2564 6

2) พันธกจิ
(1) พฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช

2551 ใหเ้ ทยี บเคยี งมาตรฐานสากล
(2) พฒั นาผูเ้ รียน และบคุ ลากรใหม้ คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และดำรงชีวิตตามหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง
(3) พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ีความเป็นเลิศทางด้านภาษา และสอื่ สารได้อยา่ งน้อย 2 ภาษา
(4) พฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ให้มีสมรรถนะในการ

ปฏิบัตงิ านอย่างสร้างสรรค์และมปี ระสทิ ธิภาพ
3) อตั ลักษณ์ ย้มิ ง่าย ไหวส้ วย กราบงาม
4) เอกลักษณ์ โดดเด่น 5 ภาษา
5) ปรัชญา สวุ ชิ าโน ภว0 โหติ : ผู้รู้ดี เปน็ ผู้เจริญ
6) คตพิ จน์ เรยี นดี กีฬาเดน่ เนน้ วนิ ยั ใฝค่ ณุ ธรรม นำ ไอ.ซี.ที

2. ขอ้ มูลบคุ ลากรของสถานศึกษา
2.1 ข้อมูลผบู้ ริหาร
1) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ชอ่ื -สกลุ นายเอกชยั บุตรแสนคม โทรศพั ท์ 064 2369254

E-mail: [email protected] วุฒกิ ารศึกษาสูงสุด กศ.ด. สาขา การบรหิ ารการศึกษา ดำรงตำแหน่ง
ที่โรงเรียนน้ีตัง้ แต่ 7 ตลุ าคม 2564 ถึง ปจั จบุ ัน

2) รองผู้อำนวยการโรงเรยี น 4 คน
(1) นายจำนงค์ ประสานวงค์ วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุด ค.ม. สาขาการบริหารการศึกษา

โทรศพั ท์ 086-2250970 E-mail: [email protected] รบั ผดิ ชอบกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
(2) ว่าทพ่ี ันตรสี มชาย ศรีรักษา วฒุ กิ ารศึกษาสูงสุด ศษ.ม. สาขาการบรหิ ารการศึกษา

โทรศัพท์ 081-0526308 E-mail: [email protected] รับผิดชอบกล่มุ บริหารทว่ั ไป
(3) นายเกรยี ง ฐานวิเศษ วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ กศ.ม. สาขาการบรหิ ารการศึกษา

โทรศัพท์ 081-8714700 E-mail: [email protected] รบั ผิดชอบกลุ่มบรหิ ารงานบุคคลและกลุม่ ส่งเสรมิ
กจิ การนักเรยี น

(4) นางพไิ ลวรรณ สหี ามาตย์ วุฒกิ ารศึกษาสูงสดุ ศษ.ม. สาขาการบรหิ ารการศึกษา
โทรศพั ท์ 086-2191819 E-mail: [email protected] รับผดิ ชอบกลมุ่ แผนและงบประมาณ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 7

2.2 ข้อมูลครูและบคุ ลากร
1) จำนวนขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากร

ตาราง 1 แสดงจำนวนครแู ละบคุ ลากร ปีการศกึ ษา 2564 แยกตามตำแหนง่

บคุ ลากร ผ้บู ริหาร ครผู ู้สอน พนักงาน ครอู ตั ราจ้าง เจา้ หนา้ ทอ่ี ่นื ๆ
ชาย หญงิ ชาย หญิง ราชการ ชาย หญงิ ชาย หญงิ
ปีการศึกษา 41 46 98 ชาย หญงิ
2564 14 9 13 10
รวม 5 144 23
23 23
5 ท่มี า : ข้อมูลจากฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คล

2) จำนวนบุคลากร จำแนกตามวิทยฐานะและกลุ่มสาระการเรียนรู้
ตาราง 2 แสดงจำนวนครูและบคุ ลากร ปกี ารศึกษา 2564 แยกตามวทิ ยฐานะและกลุม่ สาระฯ

วทิ ยฐานะ วทิ ยฐานะ จำนวน
จำนวนครูท้ังหมด ครูอตั รา
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ชาย จา้ ง/
พนกั งาน
1. ภาษาไทย ขำนาญการ ิพเศษ ราชการ
2. คณติ ศาสตร์ ชำนาญการ
3. วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
4. สงั คมศกึ ษา ศาสนาฯ ยังไ ่ม ีมวิทยฐานะ
5. สุขศึกษา พลศกึ ษา
6. ศิลปะ ห ิญง
7. การงานอาชีพ
8. ภาษาต่างประเทศ ขำนาญการ ิพเศษ
9. แนะแนว ชำนาญการ
รวม
ยังไ ่ม ีมวิทยฐานะ

19 2 1 0 1 17 14 1 2 0

18 5 3 0 2 13 11 0 2 2

37 15 9 2 4 22 17 0 5 4

19 4 1 1 2 15 10 3 2 1

8 63 0 3 2 2 0 0 0

8 53 0 2 3 1 0 2 0

8 55 0 0 3 2 0 1 0

25 4 4 0 0 21 13 0 8 16

2 002013 0

144 46 29 3 14 98 70 5 23 23

ท่ีมา : ขอ้ มูลจากฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คล

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา ปีการศึกษา 2564 8

3) จำนวนครูแยกตามวุฒิการศกึ ษา
ตาราง 3 แสดงจำนวนครแู ละบุคลากร ปีการศึกษา 2564 แยกตามวฒุ ิการศกึ ษา

เพศ ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ประกาศนียบตั ร รวม

ชาย 21 27 1 - 49
หญิง 60 40 - - 100
รวม 81 67 1 - 149

2.3 ข้อมูลนกั เรียน

ตาราง 4 แสดงจำนวนนกั เรียน ปกี ารศกึ ษา 2564

ระดับชน้ั เรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม จำนวนนักเรยี น
ชาย หญิง เฉล่ียต่อห้อง
237 339
ม.1 15 257 307 576 38.40
ม.2 14 253 287
ม.3 14 747 933 564 40.29
รวม ม.ต้น 43
540 38.57

1,680 39.07

ม.4 13 172 332 504 38.77

ม.5 13 137 354 491 37.77

ม.6 13 130 350 480 36.92

รวม ม.ปลาย 39 439 1,036 1,475 37.82

รวมท้ังหมด 82 1,186 1,969 3,155 38.48

ท่ีมา : งานทะเบยี น กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณ์วิทยา ปีการศึกษา 2564 9

3. ข้อมูลอาคารสถานที่
แผนภูมิ 1 แสดงแผนทแี่ ละอาคารสถานท่ี โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา ปกี ารศึกษา 2564

25 19 10 4 5
20 18 11 13

26 8 6

1 2 3 9 21 7

27 12 24
14 15 16
23 22 17

ท่ีมา : Google map , กลุ่มบริหารงานท่วั ไป

คำอธิบายหมายเลข 1 - 27 3. (อาคาร 3) ห้องปฏบิ ัติการ 8. อาคารคหกรรม 19. พระพทุ ธรปู 1
วทิ ยาศาสตร/์ หอ้ งพกั ครวู ทิ ยาศาสตร/์ 9. อาคารอตุ สาหกรรม 20. พระพทุ ธรปู 2
1. (อาคาร 1) ห้องภาษา หอ้ งสบื ค้น/หอ้ งพกั ครูคณิตศาสตร/์ 10 อาคารบริหารงานบุคคล/ 21. อาคารเรยี น ชว่ั คราว 1
ต่างประเทศ (องั กฤษ/จนี /ญ่ปี นุ่ / ห้องเรยี นพเิ ศษวทิ ย์ฯ ม.1-3 หอ้ งนอนเวร 22. อาคารเรยี น ชว่ั คราว 2
เวียดนาม/เกาหลี) ห้องสังคมฯ 4. (อาคาร 4 อาคารเฉลิมพระเกยี รต)ิ 11. อาคารอเนกประสงค์ 23. ห้องเก็บพัสดุ
2. (อาคาร 2) ห้องบริหารทวั่ ไป/หอ้ ง หอ้ งดาราศาสตร์/ฟสิ กิ ส์/เคม/ี ชวี วทิ ยา/ 12 อาคารพยาบาล 24. อาคารเพศวถิ ี
ผูอ้ ำนวยการ/หอ้ งประชุม 1/ งาน ห้องสบื คน้ /ห้องเรยี นพเิ ศษวทิ ยฯ์ ม.4-6/ 13 หอ้ งน้ำหญงิ 25. อาคารฝา่ ยสง่ เสริมกิจการ
ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา/หอ้ ง โรงอาหาร 14 ห้องน้ำชาย นกั เรยี น
บริหารงานงบประมาณ/หอ้ งประชมุ 2/ 5. (อาคาร 5) ศิลปะ/ดนตรี/นาฏศิลป์ 15. อาคารเกษตร 26.ลานโดมอเนกประสงค์
บรหิ ารงานวชิ าการ/หอ้ งคอมพวิ เตอร์ 6. แฟลต คร/ู นกั การภารโรง 16 เรอื นเพาะชำ 27. อาคาร 5
1-4/หอ้ งมลั ติมเี ดยี /หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 7. โรงจอดรถ 17. บา้ นพกั ครู
หนุ่ ยนต/์ ห้องเรยี นพเิ ศษภาษาอังกฤษ 18. เสาธง
(EP) /ห้องปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์ (EP)

4. สภาพชุมชนโดยรวม

1) โรงเรยี นตงั้ อยใู่ นเขตชมุ ชนเมอื ง อยใู่ กล้สถาบนั การศกึ ษาระดับอุดมศึกษาคือ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ
สกลนคร และสถาบนั ระดบั อาชวี ศึกษา คือ วิทยาลัยเทคนิคสกลนคร ระดบั ประถมศึกษา คอื โรงเรียนเมือง
สกลนคร(ธาตุนารายณเ์ จงเวง) ชมุ ชนมปี ระชากรประมาณ 150,000 คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรยี น

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 10

มหี นว่ ยงานราชการ ไดแ้ ก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 อาชีพหลกั ของชมุ ชน คือ
ทำการเกษตร ประชากรสว่ นใหญน่ บั ถอื พุทธศาสนา ประเพณ/ี ศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นในชุมชน คือ ประเพณีแห่
ปราสาทผง้ึ งานนมสั การพระธาตุนารายณ์เจงเวง พุทธสถานประจำชุมชน

2) ผูป้ กครองสว่ นใหญ่ จบการศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 อาชพี หลกั คือ ทำการเกษตร
สว่ นใหญ่นบั ถอื ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายได้โดยเฉลย่ี ตอ่ ครอบครวั ต่อปี 25,000 บาท จำนวนคน
เฉล่ยี ตอ่ ครอบครวั 4 คน

3) โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วทิ ยามีโอกาสท่ีเอื้อต่อการจัดการศึกษา
เชน่ ตง้ั อยู่ใกล้กับสถานทรี่ าชการ สถาบันการศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษา ไดร้ ับการสนับสนุนและความรว่ มมือ
ในการจดั การศกึ ษาจากหน่วยงานราชการ ชุมชน ผู้นำชุมชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ เป็นอย่างดี
การคมนาคมสะดวก ข้อจำกัดดา้ นสถานที่ อาทิ ไม่มีสนามกีฬากลางแจง้ พนื้ ที่ของโรงเรียนสว่ นหนึ่งอยใู่ ตแ้ นวสาย
ไฟฟ้าแรงสูง ชุมชนรอบ ๆ มสี ถานที่แหลง่ บนั เทงิ เพิ่มความเสย่ี งทางเพศและสงิ่ เสพตดิ ของนักเรยี น เปน็ ต้น

5. ขอ้ มลู แหล่งการเรยี นรูภ้ ายในและภายนอก และภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ
ตาราง 5 แสดงแหลง่ เรียนรภู้ ายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

ที่ แหลง่ เรียนรภู้ ายในสถานศึกษา ผู้รบั ผิดชอบ

1 ห้องสมดุ งานห้องสมุด
2 ห้องสบื คน้ งานหอ้ งสมุด
3 ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ กล่มุ สาระฯวทิ ยาศาสตรฯ์
4 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตรฯ์
5 หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารเคมี กลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตร์ฯ
6 หอ้ งปฏบิ ัติการชวี วิทยา กลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตรฯ์
7 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารฟสิ กิ ส์ กลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตรฯ์
8 ห้องปฏบิ ัติการดาราศาสตร์ กลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตร์ฯ
9 ห้องปฏบิ ตั กิ ารภาษาจนี กล่มุ สาระฯตา่ งประเทศ
10 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาษาญปี่ นุ่ กลุม่ สาระฯตา่ งประเทศ
11 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารภาษาเวียดนาม กลุ่มสาระฯตา่ งประเทศ
12 ห้องอาเซยี นศึกษา กลมุ่ สาระฯสังคมศึกษาฯ
13 ธรรมศาลา กลมุ่ สาระฯสังคมศกึ ษาฯ
ทีม่ า : งานแหล่งเรยี นรู้ กลมุ่ บริหารวิชาการ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณว์ ทิ ยา ปีการศกึ ษา 2564 11

ตาราง 6 .แสดงแหล่งเรียนรภู้ ายนอกสถานศึกษาและภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ปีการศึกษา 2564

ท่ี แหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศกึ ษาและภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ ตำบล อำเภอ จงั หวดั

1 ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาภพู านอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ ห้วยยาง เมืองสกลนคร สกลนคร

2 วัดพระธาตเุ ชิงชุมวรวิหาร ธาตเุ ชิงชุม เมอื งสกลนคร สกลนคร

3 วัดพระธาตนุ ารายณเ์ จงเวง ธาตนุ าเวง เมืองสกลนคร สกลนคร

4 ศนู ย์ความเป็นเลิศด้านพลงั งานทางเลือก ธาตเุ ชิงชุม เมอื งสกลนคร สกลนคร

5 ครามสกล หว้ ยยาง เมอื งสกลนคร สกลนคร

6 ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ มหาลัยราชภฏั สกลนคร ธาตเุ ชิงชมุ เมืองสกลนคร สกลนคร

7 แหล่งผลติ ผา้ ครามบา้ นโนนเรือต่อเรือ นาหวั บอ่ พรรณานคิ ม สกลนคร

8 อุทยานแหง่ ชาตภิ ผู ายล จนั ทรเ์ พญ็ เต่างอย สกลนคร

9 ปางช้างเผอื ก หว้ ยยาง เมืองสกลนคร สกลนคร

10 ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์การกีฬา จังหวัดสกลนคร ธาตเุ ชิงชมุ เมอื งสกลนคร สกลนคร

11 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตสกลนคร เชียงเครือ เมืองสกลนคร สกลนคร

ท่มี า : งานแหล่งเรียนรู้ กลมุ่ บริหารวชิ าการ

6. ขอ้ มลู งบประมาณ

ตาราง 7 แสดงการจัดสรรงบประมาณ ปีการศึกษา 2564

ท่ี โครงการ ร้อยละ งบจดั สรร งบประมาณ งบจัดสรร
ความสำเรจ็ (บาท) จริง(บาท) คงเหลอื (ร้อยละ)

1 1.กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 85 345,000 345,000 0

2 พัฒนาศกั ยภาพด้าน ICT 85 456,910 456,910 0

3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 85 120,000 120,000 0

4 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย 85 130,000 130,000 0

5 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ฯ 85 145,000 145,000 0

6 กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ 85 110,000 110,000 0

7 กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ 85 125,000 125,000 0

8 กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 85 764,800 764,800 0

9 กลุ่มสาะการเรียนรู้ศลิ ปะ 80 130,000 130,000 0

10 พฒั นาระบบงานทะเบยี นวดั ผล สมู่ าตรฐานสากล 85 233,500 233,500 0

11 พฒั นาระบบบริหารวชิ าการ ส่มู าตรฐานสากล 85 785,820 785,820 0

12 โครงการพฒั นาหลักสตู รและการจดั การเรียนการสอน 85 15,000 15,000 0

13 โครงการส่งเสริมความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ/ยกระดับผลสัมฤทธิ์ 80 620,000 620,000 0
0
14 งานห้องสมุด 80 200,000 200,000

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา ปีการศึกษา 2564 12

โครงการ รอ้ ยละ งบจัดสรร งบประมาณ งบจดั สรร

ท่ี ความสำเร็จ (บาท) จริง(บาท) คงเหลอื (รอ้ ยละ)

15 โครงการพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ฯ 80 70,000 70,000 0

16 งานแนะแนว 85 80,000 80,000 0

17 โครงการพัฒนาระบบงานมาตรฐานสากล 80 50,000 50,000 0

18 โครงการสนับสนุนส่อื การเรียนการสอน 85 500,000 500,000 0

19 โครงการป้องกันการแพรร่ ะบาดของเชอื้ โควิด-19 85 443,980 443,980 0

20 กลุ่มบรหิ ารงานแผนงานและงบประมาณ 85 249,400 249,400 0

21 กลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล 85 202,600 202,600 0

22 กลุ่มบรหิ ารงานท่ัวไป 85 945,060 945,060 0

24 กล่มุ สง่ เสรมิ กิจการนกั เรียน 85 569,300 569,300 0

โครงการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมพัฒนานักเรยี นให้ดี

25 เกง่ มสี ุขโดยใชก้ ิจกรรมลกู เสอื 85 154,890 154,890 0

โครงการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม พฒั นาศกั ยภาพของผู้เรียน
26 ยวุ กาชาด 85 127,550 127,550 0

โครงการ พัฒนาและส่งเสริมวินยั ให้นกั เรยี นดา้ นกิจกรรม 85 17,000 17,000 0

27 นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร

28 งบสำรอง10% 90 519,520 519,520 0

รวม/เฉลย่ี 84.29 8,110,330 8,110,330 0

ทม่ี า : งานแผนปฏบิ ตั ิการ กลุ่มแผนและงบประมาณ

7. ผลการทดสอบระดับชาติ
7.1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ (O-NET) ระดบั ม.3 ปีการศกึ ษา 2564
ตาราง 8 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พื้นฐาน(O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3

ปกี ารศกึ ษา 2564

ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรยี น 52.00 23.70 31.21 30.46
คะแนนเฉลย่ี ระดับจงั หวดั 48.31 22.63 30.26 28.26
คะแนนเฉลี่ย สงั กัด สพฐ. 52.13 24.75 31.67 30.79
คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ 51.19 24.47 31.45 31.11

ทีม่ า : งานวัดผล กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปีการศึกษา 2564 13

แผนภูมิ 2 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน(O-NET) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ปกี ารศึกษา 2564

แผนภูมแิ สดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET)
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564

60
52.13 51.19
52 48.31
50 23.7

40 31.21 22.63 28.26 24.75 30.79 24.47 31.11
30.26 31.67 31.45
30.46
30

20

10

0 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
ภาษาไทย

คะแนนเฉล่ยี ของโรงเรยี น คะแนนเฉลีย่ ระดบั จังหวัด คะแนนเฉล่ีย สงั กดั สพฐ. คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ

7.2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (ONET) ระดับ ม.6 ปกี ารศึกษา 2564
ตาราง 9 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6
ปีการศึกษา 2564

ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคม ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 48.14 18.90 28.78 24.77 48.14
คะแนนเฉลย่ี ระดับจงั หวดั 45.90 18.90 27.70 22.37 45.90
คะแนนเฉลย่ี สังกดั สพฐ. 47.74 21.83 29.04 25.83 47.74
คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ 46.40 21.28 28.65 25.56 46.40

ทมี่ า : งานวัดผล กลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 14

แผนภมู ิ 3 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6
ปกี ารศึกษา 2564

แผนภูมแิ สดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2564

60 48.14
50 45.9
40 47.74
30 46.4
20 18.9
10 18.9
0 21.83
21.28
ภาษาไทย 28.78
27.7
29.04
28.65
24.77
22.37
25.83
25.56
48.14
45.9
47.74
46.4

คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษาฯ ภาษาองั กฤษ

คะแนนเฉล่ียของโรงเรยี น คะแนนเฉลีย่ ระดับจังหวัด คะแนนเฉลี่ย สังกดั สพฐ. คะแนนเฉล่ียระดบั ประเทศ

8. ผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาจากหน่วยงานภายนอก รอบส่ี
โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยามีผลการประเมนิ ภายนอกรอบส่ี จากสำนกั งานรับรองมาตรฐานและ

ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ในปีการศกึ ษา 2564 มีผลการประเมนิ ระยะที่ 1 (ประเมนิ SAR)
ดงั นี้

ตาราง 10 แสดงผลการประเมนิ ภายนอกรอบส่ี ระยะท่ี 1 (ประเมิน SAR) จากสำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) ทง้ั 3 มาตรฐาน (16 มิถนุ ายน 2564)

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
จุดเนน้ ผูเ้ รยี นมีความรู้ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม

ผลการพิจารณา ตัวช้ีวดั สรุปผลการประเมิน

√ 1. มีการระบเุ ปา้ หมายคุณภาพของผ้เู รียน O ปรบั ปรุง (0-3 ขอ้ )

√ 2. มีการระบุวิธพี ฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบตาม O พอใช้ (4 ข้อ)

เป้าหมายการพฒั นาผู้เรียน √ ดี (5 ข้อ)

√ 3. มีผลสัมฤทธข์ิ องผูเ้ รยี นตามเป้าหมายการพฒั นาผู้เรียน

√ 4. มีการนำผลประเมินคณุ ภาพของผเู้ รียนมาพฒั นาผเู้ รียนดา้ น

ผลสมั ฤทธ์ิให้สูงขึ้น

√ 5. มกี ารนำเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของผู้เรยี นตอ่ ผทู้ ี่เก่ยี วขอ้ ง

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 15

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจดั การ
จดุ เนน้ พฒั นาบุคลากรมีความเช่ียวชาญในการปฏบิ ัตหิ น้าที่ รบั ผิดชอบ

ผลการพิจารณา ตวั ชีว้ ดั สรุปผลประเมนิ

√ 1. มีการวางแผนการดำเนนิ การในแต่ละปีการศึกษา O ปรับปรงุ (0-3 ขอ้ )
√ 2. มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใช้ดำเนินการ O พอใช้ (4 ข้อ)
√ 3. มกี ารประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิของการดำเนินการตามแผน √ ดี (5 ข้อ)
√ 4. มกี ารนำผลการประเมินไปใชใ้ นการปรบั ปรุงแกไ้ ขในปี

การศกึ ษาต่อไป
√ 5. มีการนำเสนอผลการบริหารจัดการของสถานศกึ ษาใหผ้ ูม้ ี

ส่วนได้สว่ นเสียไดร้ บั ทราบ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั

จดุ เนน้ การจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ กระบวนการคดิ สามารถนำไปปรับใช้ในชีวติ ได้

ผลการพิจารณา ตัวชีว้ ดั สรุปผลประเมนิ

√ 1. ครูมกี ารวางแผนการจดั การเรยี นรู้ครบทกุ รายวชิ า ทกุ ช้ันปี O ปรบั ปรงุ (0-3 ข้อ)

√ 2. ครทู ุกคนมีการนำแผนการจัดการเรยี นรไู้ ปใชใ้ นการจดั การ O พอใช้ (4 ข้อ)

เรียนการสอนโดยใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหล่ง √ ดี (5 ข้อ)

เรยี นรู้ที่เออ้ื ต่อการเรียนรู้

√ 3. มกี ารตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน

อย่างเปน็ ระบบ

√ 4. มกี ารนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน

ของครูอยา่ งเปน็ ระบบ

√ 5. มีการแลกเปลีย่ นเรยี นร้แู ละใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพื่อพฒั นา

ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นการสอน

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 16

สว่ นที่ 2
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

2.1 มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน
ระดบั คณุ ภาพ : ยอดเยีย่ ม (ตามเปา้ หมาย)

2.1.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วทิ ยา เป็นโรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ มีการบรหิ ารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
ตามท่รี ะบุไว้ในวิสัยทศั น์อย่างชัดเจน ดังนนั้ โครงการ/กิจกรรมที่ดาเนินการในมาตรฐานที่ 1 จงึ มีกระบวนการ
ทางานตามระบบคุณภาพ ดงั นี้
1) มีโครงการ/กจิ กรรมท่ีเกย่ี วขอ้ งกับมาตรฐานท่ี 1 ด้านคุณภาพผเู้ รียน จานวน 61 โครงการ
ครอบคลุมประเด็นพิจารณา 2 ด้าน คอื ด้านผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผ้เู รียน และด้านคณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์
ของผเู้ รียน
2) โครงการและกิจกรรม มี 2 ลักษณะ คือ โครงการ/กจิ กรรมทมี่ เี ปา้ หมายเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของนักเรียนทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ และโครงการ/กิจกรรมสง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั การเรียนรู้
3) โครงการและกิจกรรมทด่ี าเนนิ การมที ่ีมา 2 ลักษณะ คือ โครงการ/กิจกรรมตามวสิ ัยทัศน์/
เอกลกั ษณ์/อตั ลักษณ์ของโรงเรยี นทดี่ าเนินมาอย่างต่อเนอื่ ง และโครงการ/กิจกรรมทม่ี าจากการวเิ คราะหป์ ญั หา
และข้อเสนอแนะหลังจากได้ดาเนนิ งานโครงการและกิจกรรมแล้วนามาจัดทาโครงการใหม่
4) โครงการ/กจิ กรรมท่ีดาเนนิ การมีการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการ แมใ้ นสถานการณ์ไมป่ กตจิ าก
จากสถานการณโ์ รคอุบัติใหม่ โดยปรบั เปลี่ยนรปู แบบกิจกรรมเพ่ือใหเ้ กิดการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิของผูเ้ รียนให้
สอดคล้องกับสถานการณ์ เช่น โครงการสปั ดาหส์ ุนทรภู่สู่วนั ภาษาไทยแห่งชาติ กิจกรรมคา่ ยยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นของกลุม่ บริหารงานวิชาการ เป็นตน้
5) โครงการและกิจกรรมท่ีดาเนนิ การมีการกากบั ติดตามตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงาน
อยู่ 2 ระยะ คอื ระหว่างดาเนินงาน และส้ินสดุ การดาเนนิ งาน เพ่ือให้เปน็ ไปตามแผนการปฏบิ ตั ิงาน และเปน็ ไป
ตามจดุ ประสงค์ เปา้ หมายของโครงการ/กจิ กรรมทุกโครงการ
6) โครงการและกิจกรรมมีการสรปุ และรายงานผลการดาเนินงาน โดยเสนอแนวทางแกไ้ ขปญั หา
ในปกี ารศึกษาต่อไป การเสนอโครงการ/กิจกรรมด้านผู้เรียน จึงมาจากปัญหาและข้อเสนอแนะในการดาเนนิ งาน
ของปีการศึกษาทผี่ ่านมา
รายละเอยี ดกระบวนการพัฒนา แยกตามประเดน็ พิจารณา มาตรฐานที่ 1 มีดังนี้

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วิทยา ปีการศึกษา 2564 17

ประเด็นพิจารณาท่ี 1 ดา้ นผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผู้เรยี น
ดา้ นความสามารถในการอ่านเขียนการส่ือสาร และการคิดคานวณ มีโครงการส่งเสริมและพฒั นา

ความเป็นเลศิ ทักษะทางภาษาไทย จดั กิจกรรมสนุ ทรภู่ราลึกสู่วันภาษาไทยแห่งชาติ คา่ ยยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรยี น กจิ กรรมอ่านได้เขียนคลอ่ ง เพ่ือสง่ เสรมิ และพัฒนาให้ผู้เรยี นได้ฝกึ ทักษะและแสดงออกซ่งึ
ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ดา้ นการฟัง การดู การพูด การอ่านและการเขยี น จัดการประกวดเรียงความ
การคดั ลายมือ การพดู สนุ ทรพจน์ นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้และได้รับการฝกึ ฝนจนสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
อยา่ งถูกต้องและสามารถนาใช้ในการศกึ ษาต่อในระดับอุดมศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ นอกจากนีโ้ รงเรยี นได้

จดั ทาโครงการรักการอ่าน จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน สง่ เสรมิ ให้มกี ารจดบันทกึ สรุปเนื้อหา และนาเสนอความรู้
ที่ได้จากการอ่าน จัดกิจกรรมจัดการเรยี นรสู้ ร้างองคค์ วามรู้ เวทีแลกเปลยี่ นเรียนร้จู ากการศกึ ษาค้นคว้า กิจกรรม
การเผยแพร่ ประกวดผลงานการศกึ ษาค้นควา้ และโครงการพัฒนาศักยภาพผูเ้ รยี นเทียบเคียงมาตรฐานสากล
จดั กิจกรรมการแข่งขันทักษะ 5 ภาษา ภายในโรงเรียน

จดั ให้มกี ารส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวทิ ยาศาสตร์ มโี ครงการหอ้ งเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอ้ ม จัดโครงการและกจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นการสอนทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
สูม่ าตรฐานสากล โครงการพัฒนาศกั ยภาพนักเรยี นโครงการห้องเรยี นพิเศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตรฯ์ โครงการ
ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนกลมุ่ สาระวทิ ยาศาสตร์ สู่มาตรฐานสากล จัดกิจกรรมสปั ดาห์วนั วทิ ยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีแหง่ ชาติ กิจกรรมแข่งขนั ทักษะทางวิชาการด้านวทิ ยาศาสตร์ฯ นอกหน่วยงาน กิจกรรมคา่ ย
วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย โครงการปฐมนิเทศนักเรยี นห้องเรียนพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์
กลมุ่ พัฒนาจงั หวัดสกลนคร - นครพนม กจิ กรรมแข่งขนั ฟิสิกสส์ ัประยทุ ธ์ สง่ เสรมิ การแข่งขันนวตั กรรมในท้องถิน่
กจิ กรรมเข้าชมนิทรรศการวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ กิจกรรมประชมุ วชิ าการ เพอื่ ส่งเสรมิ พัฒนาผเู้ รยี น
ให้เป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ มีทกั ษะในการสืบค้นหาความรู้ รู้จักคิดเป็นและใช้เหตุผลในการแก้ปัญหาต่าง ๆ

จัดโครงการสง่ เสริมความเปน็ เลิศทางคณิตศาสตร์ กิจกรรมแขง่ ขัน A-Math Sudoku กจิ กรรมส่งเสริม
อัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ มธั ยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย กิจกรรมโครงงานคณิตศาสตร์ จัดค่าย
คณติ ศาสตร์ กจิ กรรมนิทรรศการวิชาการคณิตศาสตรแ์ ละกิจกรรมการแข่งขันทางคณิตศาสตรภ์ ายในโรงเรียน
กิจกรรมแขง่ ขนั ทกั ษะทางคณิตศาสตร์ภายนอกโรงเรียน เพ่ือส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนมีความร้คู วามสามารถทาง
คณติ ศาสตร์ มีทกั ษะในการคิดคานวณ มคี วามคดิ ริเริม่ สรา้ งสรรค์ คดิ อย่างมเี หตผุ ล เป็นระบบ มแี บบแผน
สามารถวเิ คราะห์ปญั หา หรอื สถานการณ์ได้อยา่ งถ่ีถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสนิ ใจ และ
นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม รู้จักการทางานเป็นทีม

ดา้ นการสง่ เสรมิ พฒั นาผเู้ รยี นให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย
แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา มโี ครงการพฒั นาการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ ซ่งึ เน้นการจดั การเรยี นรแู้ บบ
Active Learning และการเรียนรแู้ บบรว่ มมือ เพ่ือใหผ้ ้เู รียนมคี วามรคู้ วามสามารถ รูจ้ ักคิดใช้เหตุผลในการ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา ปีการศกึ ษา 2564 18

แกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ได้ร่วมกนั ระดมสมองและลงมือปฏิบัติจริง จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผ้เู รยี นนาความรูม้ าประยกุ ต์ใช้
ดว้ ยการจดั ทาโครงงานทงั้ 8 กลมุ่ สาระฯ โครงงานคุณธรรมและการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการเพอื่ ใหเ้ กิดประโยชน์
สูงสดุ ตอ่ ผูเ้ รียน สังคมและประเทศชาติ จดั กจิ กรรมแข่งขันฟิสกิ ส์สปั ระยุทธ์ และการแขง่ ขนั เทอรโ์ มอิเล็กทรอนิกส์
เป็นต้น

ดา้ นการพัฒนาผูเ้ รยี นใหม้ ีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรมตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากาหนด
มีการจัดการเรียนรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน จดั กิจกรรมคา่ ยจุดประกายความคดิ พชิ ติ โครงงาน กิจกรรมประชมุ
วชิ าการ จัดกิจกรรมสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นวิทยาศาสตร์ “พบนกั วิทยาศาสตร”์ จดั กิจกรรมส่งเสริมให้ผ้เู รยี น
นาความรมู้ าประยุกต์ใช้ดว้ ยการประกวด สิ่งประดิษฐจ์ ากขยะรไี ซเคิล การประกวดโครงงานและการจัดทา
ภาพยนตร์ส้ัน โครงงานคณุ ธรรมทุกระดบั ชั้นทกุ ห้องเรียน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ด้านการส่งเสรมิ นักเรยี นให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการเรียนรู้ พฒั นาระบบ
เครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ และสญั ญาณ Wifi ครอบคลมุ ทุกพนื้ ท่ี เพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นสามารถสบื ค้นข้อมูลไดท้ ุกที่ทุกเวลา
จดั ห้องสมดุ มัลติมีเดยี พัฒนาแหลง่ เรยี นรูต้ ่าง ๆ ในโรงเรยี น ปรบั ปรุงห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ เช่าสญั ญาณ
อนิ เทอรเ์ นต็ เพ่ิมพน้ื ทใี่ นการบรกิ าร มีการจดั การเรียนการสอนท่ีสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นสบื คน้ ขอ้ มลู จาก Internet
สร้างเครอื ข่ายการเรียนรู้กับสถาบันอุดมศึกษา และผู้เรยี นสามารถสรปุ องค์ความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง โครงการพฒั นา
ครแู ละนักเรยี นท่ีมีความสามารถด้าน E-Sport

ดา้ นการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและการสอบวัดความรู้ระดับชาติ (ONET) โรงเรยี นจัด
โครงการสอนเสริมความรู้สู่ ONET ทั้งระดบั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 และมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ในทุกรายวชิ าที่มีการ
กาหนดใหจ้ ัดสอบ โดยจดั ช่วั โมงเรยี นในตารางเรยี นของนกั เรยี น มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 และมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 สปั ดาห์
ละ 1 ชว่ั โมงตลอดภาคเรียน ครผู สู้ อนประจาแตล่ ะรายวิชาไดน้ าข้อสอบโอเนต็ ปีที่ผา่ นมา สอนเสรมิ ให้ผูเ้ รียน

การส่งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นมีความพร้อมในการศึกษาตอ่ การฝึกงานหรอื การทางาน โดยครูผู้สอนจัด
กิจกรรมการเรียนร้ทู ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ มกี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยเครื่องมือและวิธีการท่ี
หลากหลาย ส่งผลใหส้ ามารถพฒั นาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา จดั กิจกรรม
ส่งเสริมดา้ นอาชีพด้วย การนานกั เรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมกบั ศูนย์พฒั นาฝมี ือแรงงานจังหวัด จัดกิจกรรมมอบ
ทุนการศึกษา กจิ กรรมคดั เลือกนกั เรียนรบั เงินปัจจัยพื้นฐาน กิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อและอาชพี จัดทา
Portfolio เพื่อสง่ เสรมิ การศึกษาและประกอบอาชีพของผ้เู รียน โครงการเพื่อนทปี่ รกึ ษา YC และโครงการศูนย์
สขุ ภาพจิตในโรงเรยี น เป็นตน้

การส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการใช้ภาษาต่างประเทศ โดยจดั การเรียนการสอนเป็น
ภาษาองั กฤษในห้องเรยี น English Program จัดค่าย English camp จัดให้นกั เรียนเรียนภาษาองั กฤษเพ่ือ
การสอ่ื สาร และภาษาที่ 3 (ภาษาจีน ภาษาญ่ีปนุ่ ภาษาเวยี ดนาม และภาษาเกาหล)ี ห้องเรยี นละ 1 ภาษา
และจดั การเรยี นการสอนเน้นภาษา (ภาษาจีน ภาษาญี่ป่นุ ภาษาเวียดนาม และภาษาเกาหลี) สาหรบั นกั เรยี น

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณว์ ิทยา ปกี ารศึกษา 2564 19

ทม่ี คี วามสนใจและถนัดโดยจัดเปน็ แผนการเรียน นอกจากนี้ โรงเรียนยงั จัดทาโครงการส่งเสริมการเรยี นรู้
ภาษาตา่ งประเทศ สง่ เสรมิ การใชภ้ าษาเพ่ือการส่ือสาร ตามกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรียน

การส่งเสรมิ การเรียนการศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ (IS) โดยจดั การศึกษาค้นควา้ อสิ ระ (IS) และส่งเสริมพัฒนา
กิจกรรมโดยจัดทาโครงการพัฒนาหลักสูตรและเวทีศักยภาพผเู้ รียน เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นได้นาเสนอผลงาน และ
ไดแ้ ลกเปลยี่ นรู้ จัดทาโครงการพัฒนาการบริหารจดั การด้วยระบบคุณภาพ OBECQA สู่ TQA

2) ประเดน็ พจิ ารณาท่ี 2 ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา มีกระบวนการพฒั นาผู้เรยี นในดา้ นคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ ดว้ ยวธิ กี าร ท่ี
หลากหลาย สง่ ผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามคา่ เป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากาหนด และมคี ุณลกั ษณะ
ตามอตั ลักษณ์ของโรงเรียน (ย้ิมง่าย ไหว้สวย กราบงาม) โดยโครงการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคณุ
ลักษะท่พี งึ ประสงค์ จดั กิจกรรมปฐมนิเทศ ใหม่ กิจกรรมถวายตัวเป็นลกู พระธาตุ กจิ กรรมอบรมคุณธรรม
กิจกรรมครอบครัวคณุ ธรรม กิจกรรมโรงเรยี นสจุ ริต กิจกรรมนักเรียนต้นแบบคณุ ธรรมคนดศี รีธาตุนารายณ์
กิจกรรมวันไหวค้ รู กจิ กรรม โครงงานคุณธรรมประจาห้อง กจิ กรรมปัจฉิมนิเทศ โครงการครอบครวั พอเพียง
สรา้ งสถานการณ์จาลองในวชิ าหนา้ ที่พลเมืองและวชิ าต้านทุจรติ เพอื่ สง่ เสริมใหน้ กั เรียนรูจ้ กั หนา้ ท่ขี องตนเอง
รว่ มกันป้องกันและตอ่ ตา้ นการทจุ ริตทุกรูปแบบ เพื่อความเปน็ พลเมืองทดี่ ี จัดทาโครงการระบบดแู ลชว่ ยเหลือ
นกั เรียน จัดกิจกรรมสารวจ คัดกรอง เยย่ี มบ้าน และจดั กิจกรรมประชุมผปู้ กครองนกั เรยี น โครงการส่งเสริมความ
ประพฤติ ระเบียบวนิ ยั นกั เรยี น กิจกรรมอบรมนักเรียนเพ่ือปรบั เปลยี่ นพฤติกรรม เปน็ ต้น เพื่อสง่ เสริมป้องกนั และ
แก้ปญั หาผู้เรียนทุกด้าน ใหผ้ เู้ รยี นมีจิตใจทเ่ี ข้มแข็ง มที ักษะการดารงชวี ิต รอดพน้ จากวกิ ฤติทงั้ ปวง มีความ
สมบูรณท์ ั้งทางรา่ งกาย อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา ปลกู ฝงั นสิ ัยการมัธยัสถ์ อดออม ให้นกั เรยี นร้จู ักวางแผนการ
ใชจ้ ่ายในชีวติ ประจาวนั และอนาคตของตนเอง โดยจดั ทาโครงการสง่ เสริมการออมกบั ธนาคารออมสิน

โรงเรียนมโี ครงการและกิจกรรมส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียนมีความภูมิใจในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย
โดยจดั กิจกรรมให้ครูและนักเรยี นร่วมกจิ กรรมตามประเพณขี องท้องถนิ่ ตามเทศกาลตา่ ง ๆ รว่ มกับชุมชน
อาทิ จดั กจิ กรรมวันสาคัญของชาตแิ ละสง่ เสรมิ เอกลักษณ์ความเปน็ ไทย ทาบญุ ตักบาตรในเทศกาลวันขน้ึ ปีใหม่
ทาบญุ ครบรอบวนั สถาปนาโรงเรยี น ส่งเสรมิ ให้นักเรียนได้รว่ มทาบุญกบั ครอบครัวและชุมชนในทอ้ งถิน่ ของ
นักเรียนในวันหยุด หรอื วนั สาคญั ทางพทุ ธศาสนา จดั กจิ กรรมชมุ ชนสัมพนั ธ์วันสาคญั ทางศาสนา จดั ทาโครงการ
เสรมิ สรา้ งความสัมพันธอ์ ันดรี ะหวา่ งชุมชน จัดกจิ กรรมวันสาคญั ของชาติและส่งเสริมเอกลักษณ์ความเป็นไทย
อาทิ วนั เขา้ พรรษา วนั ออกพรรษา กจิ กรรมแห่เทยี นพรรษา รว่ มจัดขบวนแห่ปราสาทผ้ึง ขบวนแหพ่ ระประทปี กบั
เทศบาลนครสกลนครเปน็ ประจาทุกปี กิจกรรมถวายตวั เป็นลกู พระธาตุ จัดและร่วมกิจกรรมวันสาคัญของชาติ
อาทิ วนั คลา้ ยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจา้ พระบรมราชนิ ี วนั คลา้ ยวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
พระบาทสมเด็จพระวชริ เกล้าเจา้ อยหู่ วั วนั คล้ายวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชนิ ีนาถ
พระบรมราชชนนี พันปีหลวง วนั คลา้ ยวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศ มหาภูมิพล

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 20

อดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร วนั ปยิ ะมหาราช วนั สถาปนาลกู เสอื เปน็ ตน้ จดั โครงการสืบสานภูมิปญั ญา
ท้องถน่ิ สกลนคร กิจกรรมส่งเสรมิ ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ โครงการศึกษาแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้
นักเรยี นเปน็ บคุ คลแหง่ การเรียนรู้ มีนสิ ัยรกั การทางาน สามารถ ทางานรว่ มกับผู้อื่นได้

ด้านการสง่ เสริมกิจกรรมคณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์วิถพี ุทธ นักเรียนได้ร่วมกิจกรรมเคารพธงชาติ
สวดมนตไ์ หวพ้ ระ แผเ่ มตตา เพื่อราลึกถงึ คณุ พระรัตนตรยั กล่าวคาปฏญิ าณตนและกลา่ วคาสัตย์ปฏญิ าณตน
ร่วมกนั ป้องกนั และตอ่ ต้านการทุจริตทุกรปู แบบ นั่งสมาธิและรับฟงั การอบรมจากครเู วรประจาวนั ในกจิ กรรมหนา้
เสาธงทุกวนั จดั กจิ กรรมสวดมนตป์ ระจาสัปดาห์ จดั เวรต้อนรับ – ส่งนักเรยี นหนา้ ประตโู รงเรียนในตอนเช้า และ
ตอนเยน็ เพ่ือดแู ลความเรยี บร้อยท้ังด้านการแต่งกาย การทาความเคารพ สร้างความปลอดภยั ให้นักเรยี น
โดยตรวจวดั อณุ หภูมิ ฉีดเจลล้างมอื ใหน้ ักเรียนสวมแมส และเว้นระยะห่าง จัดโครงการส่งเสริมคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนักเรียน จดั โครงการอบรมคณุ ธรรม โดยนมิ นตพ์ ระวทิ ยากรมาใหค้ วามรู้
และนักเรยี นได้ฝึกปฏิบัติจรงิ

ด้านการยอมรบั ท่ีจะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย เขา้ ใจความแตกต่าง
ทางศาสนาและอย่รู ่วมกันอย่างมคี วามสุข สามารถทางานรว่ มกันเป็นทีมโดยไม่เกดิ ปัญหาหรือข้อขดั แยง้
โครงการสง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรยี น กิจกรรมปฐมนเิ ทศนักเรียน กจิ กร
ประชาธิปไตยในโรงเรียน ส่งเสริมภาวะผนู้ า จดั กิจกรรมเลือกตงั้ คณะกรรมการนักเรยี น กิจกรรมสร้างเครือขา่ ย
แลกเปลีย่ นเรียนรกู้ รรมการนักเรียน จดั กิจกรรมสภานักเรียน จัดโครงการสง่ เสริมความประพฤติ ระเบียบวนิ ัย
นักเรยี น กิจกรรมเลือกตั้งคณะกรรมการนกั เรียน กจิ กรรมสร้างเครือข่ายแลกเปล่ียนเรยี นรคู้ ณะกรรมการนักเรียน
จดั กิจกรรมตรวจเครื่องแต่งกาย จดั กจิ กรรมส่ือสารดว้ ยรักฮกั พ่ดี ้วยใจ กิจกรรมเปิดโลกแหล่งเรียนรูศ้ ูนยอ์ าเซียน
ศกึ ษา โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมพัฒนานักเรียนโดยใชก้ จิ กรรมลูกเสือสามัญรุน่ ใหญ่ และยุวกาชาด จัด
กิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลักสูตร กิจกรรมเดนิ ทางไกล การอยคู่ ่ายพกั แรม การทาสทู กรรม พิธเี ขา้ ประจากอง การ
เดนิ สวนสนาม เปน็ ต้น สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนมีระเบยี บวนิ ยั มีความรับผดิ ชอบ มภี าวะความเป็นผนู้ า มีความรกั ความ
สามคั คี มจี ติ อาสา มีทักษะในการดาเนินชวี ิต รจู้ ักช่วยเหลอื ซ่งึ กนั และกนั ชว่ ยเหลือสงั คมร้จู กั ทางานรว่ มกับผ้อู น่ื
รู้จกั เสยี สละ และบาเพญ็ ประโยชนแ์ ก่สว่ นรวม สง่ เสรมิ ใหม้ ีการเรยี นรรู้ ายวิชาหน้าที่พลเมือง มีการแต่งต้ัง
คณะกรรมการบรหิ ารหอ้ งเรยี น มอบหมายหนา้ ทเ่ี วรประจาวัน พัฒนาแหลง่ เรยี นรศู้ ูนยอ์ าเซียน จดั กจิ กรรม
สปั ดาหอ์ าเซยี น จัดกิจกรรมศึกษาวฒั นธรรมนานาชาติ โดยผ่านกระบวนการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ทาให้
นกั เรยี นเกิดความร่วมมือในสังคมแหง่ การเรียนรู้

สง่ เสรมิ สุขภาวะทางร่างกาย และลกั ษณะจิตสังคม โรงเรียนได้จดั ทาโครงการสง่ เสรมิ สุขภาพอนามยั
นกั เรยี นและบุคลากร โครงการพัฒนาโภชนาการและคุ้มครองผู้บริโภค และกจิ กรรมเพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีสขุ ภาวะที่ดี
ทกุ ช่วงวยั มีจติ สาธารณะ รับผดิ ชอบตอ่ สังคมและผู้อน่ื มีความโอบอ้อมอารี มวี นิ ยั รักษาศีลธรรมและเป็นพลเมอื ง
ที่ดขี องชาติ โดยสร้างความรอบรู้ดา้ นสุขภาวะ ปอ้ งกันและควบคุมปจั จัยเสยี่ ง สรา้ งสภาพแวดล้อมทดี่ ี จัดให้มีการ
ชง่ั น้าหนกั วัดส่วนสงู ของนกั เรียนทกุ คน เพอ่ื ดูพัฒนาการการเจรญิ เติบโตตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั จัด

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 21

กจิ กรรมสง่ เสริมพฒั นาสขุ ภาวะทางรา่ งกายให้กบั ผู้เรียนที่มภี าวะบกพรอ่ งทางโภชนาการทั้งขาดและเกิน จดั
โครงการส่งเสรมิ สขุ ภาพอนามยั นกั เรยี นและบุคลากร มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายของผู้เรยี นตามเกณฑ์
มาตรฐานของ ICSPFT จัดทาโครงการสง่ เสริมสขุ ภาพและปอ้ งกนั โรค โดยจัดกจิ กรรมอบรมแกนนานักเรยี น
สขุ ภาพดีและตรวจสุขภาพประจาปี โครงการฟนั สะอาดเหงือกแข็งแรง จัดทาโครงการพัฒนางานโภชนาการและ
คมุ้ ครองผบู้ ริโภค โดยจัดกิจกรรมใหค้ วามรู้กบั ผู้จาหน่ายอาหารและรา้ นค้ากจิ กรรมจัดการปัญหาสขุ ภาพนกั เรียน
กิจกรรมเฝา้ ระวังอาหารปลอดภยั วธิ กี ารตรวจสอบ จัดกจิ กรรมบริจาคโลหิตให้กบั โรงพยาบาลสกลนคร ภาค
เรยี นละ 1 คร้งั นกั เรยี นร่วมกิจกรรมขยบั กายสบายชีวตี ามวถิ พี ุทธ โดยให้นกั เรยี นได้ออกกาลงั กายในช่ัวโมงที่
เรียนวิชาพลศกึ ษาและหลังเลิกเรียน จดั กจิ กรรมการแข่งขันกฬี าระหว่างห้องฝึกซอ้ มกีฬานอกเวลาเรียน จดั
กิจกรรมกฬี าสีภายใน และสง่ เสรมิ ใหเ้ ขา้ รว่ มแข่งขันกีฬาประเภทต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกหนว่ ยงาน
กิจกรรมแข่งขันกฬี าสหวทิ ยาเขต กฬี าจังหวดั

ส่งเสริมพัฒนาทักษะดา้ นดนตรี เปดิ โอกาสให้ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรู้วงดนตรี เช่น วงโยธวาทิต วงคอมโบ วงสตริง
ฝึกให้นักเรียนเปน็ ผู้นา กระตุ้นความคดิ ริเรมิ สรา้ งสรรค์ ให้บรกิ ารและสัมพันธ์ชมุ ชน ได้นาวงโยธวาทติ เขา้ รว่ มใน
ขบวนต่าง ๆ ที่หนว่ ยงานอื่นขอความอนุเคราะห์ เปน็ การฝึกประสบการณ์ตรงให้ผู้เรยี น ด้านศิลปะ ส่งเสรมิ ให้
ผ้เู รียนมีความคิดสรา้ งสรรค์ มที กั ษะการปฏิบัติ ได้ลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ ด้วยกิจกรรมท่หี ลากหลาย เช่น การเขียนภาพ
ฝาผนัง การเขยี นภาพห้องเรยี นอารมณ์ดี การเขยี นภาพตามจนิ ตนาการของนักเรียน การพมิ พภ์ าพลงกระเปา๋
หรอื เสื้อ งานบอกรักผา่ นงานศลิ ป์ งานวันรกั แม่ งานวนั ครบรอบสถาปนาโรงเรยี น ดา้ นนาฎศิลป์ สง่ เสริมพัฒนา
ผู้เรยี นให้มีความสามารถทางด้านทักษะ ใหผ้ เู้ รียนเข้าใจเนื้อหาทั้งทางดา้ นศิลปะ ดนตรี นาฎศลิ ป์ รู้จักคิด
วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์และสร้างสรรค์ สามารถทางานรว่ มกนั อย่างเปน็ ระบบ นาความรู้ไปปฏิบัติได้จรงิ เหน็
ความสาคัญและคุณคา่ ของภูมิปัญญาท้องถ่ิน ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล กล้าคดิ กลา้ แสดงออกอยา่ งถูกต้อง
สามารถนาไปสร้างอาชีพได้

จัดทาโครงการโรงเรยี นสขี าวปลอดสารเสพติด อบายมุข สือ่ ลามกอนาจาร กิจกรรมลูกเสอื ต้านภยั
ยาเสพติด กจิ กรรมวนั ต่อต้านยาเสพติด กจิ กรรมตรวจหาสารเสพติด กจิ กรรมเข้าค่ายแกนนาต่อต้านยาเสพติด
กิจกรรมการเสริมสรา้ งภูมคิ ุ้มกันการตัง้ ครรภไ์ ม่พรอ้ มก่อนวัยอนั ควร อบรมป้องกนั การต้ังครรภก์ อ่ นวัยอันควร
Stop teen mom จดั การเรยี นรู้เพศวิถี จัดกิจกรรมชมรม To Be Number one กจิ กรรมบ้านหลังโรงเรยี น
จดั กจิ กรรมการแข่งขนั กีฬาภายใน ส่งเสรมิ ความเปน็ เลิศด้านกฬี าและกรีฑา จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ และพัฒนาทักษะ
ชีวติ ผู้เรยี น เพื่อการอยู่รว่ มกันในสังคม จดั กจิ กรรมชมุ นุมตามความถนดั และความสนใจ โครงการส่งเสรมิ
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมพัฒนานักเรียนให้ดี เก่ง มีสขุ โดยใช้กจิ กรรมลกู เสือ และพัฒนาศกั ยภาพของผเู้ รียนยุวกาชาด
กิจกรรมเดนิ ทางไกล อยู่ค่ายพักแรมนักศึกษาวชิ าทหาร ลูกเสอื และยวุ กาชาด เป็นตน้

ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนเข้ารว่ มกจิ กรรมจิตอาสาพระราชทาน กิจกรรม นศท.จติ อาสา อบรมอาสาจราจร
อบรมสารวัตรนักเรยี น จัดกิจกรรมเกี่ยวกับสถาบันชาติและพระมหากษัตริย์ จัดกจิ กรรมอบรมเรื่องสถาบัน
พระมหากษัตรยิ ์กบั ประเทศไทย กิจกรรมลกู เสือจติ อาสาบาเพญ็ ประโยชน์ กิจกรรมอบรมลกู เสอื อาสา กกต.

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 22

โครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน สารวจ คดั กรอง เย่ยี มบา้ น ให้คาปรึกษาผู้เรยี นในด้านต่าง ๆ
จดั ให้มีการประชุมผูป้ กครองนกั เรียน จดั บรกิ ารแนะแนว รวบรวมข้อมูลพ้ืนฐานที่จาเป็นของนักเรยี นรายบคุ คล
ใหบ้ ริการจาเปน็ พื้นฐาน บริการสนเทศ ใหค้ วามรู้ขา่ วสารต่างๆ ทง้ั ดา้ นการศึกษา การเลอื กอาชพี การปรับตวั เข้า
สังคม สนับสนุนและระดมทนุ การศกึ ษาจากบุคลากรภายในและภายนอกสถานศึกษา เพ่ือชว่ ยเหลือนักเรยี น
ยากจน และนกั เรียนท่ีเรียนดี มีความประพฤติดี นกั เรียนที่ประสบภยั พิบัติ มีการจดั ทาโครงการทาประกัน
อุบตั ิเหตุให้กบั บุคลากรในโรงเรียน จดั กจิ กรรมให้นักเรียนไดฝ้ กึ งานกบั โรงพยาบาลของรัฐ จดั กิจกรรมสง่ เสริมให้
นักเรียนและบุคลากรบริจาคโลหติ เหล่ากาชาดสกลนคร เป็นตน้

ปจั จุบันโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ยงั มีการแพร่ระบาด เพื่อป้องกันการแพรร่ ะบาด โรงเรียนไดจ้ ดั ทา
โครงการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของเช้อื โรคโควิด – 19 ประชาสมั พนั ธ์ผา่ นช่องทาง Social Media ป้านนเิ ทศ
โดยให้ข้อมูลข่าวสาร และให้ความร้แู กน่ ักเรียน ผปู้ กครอง ครแู ละบุคคลโดยทว่ั ไป จัดระบบความปลอดภยั มี
มาตรการป้องกนั ดังน้ี นักเรียนเรียน On site มีจดุ คดั กรองตามบรเิ วณต่าง ๆ เชน่ ประตทู างเข้าโรงเรียน โรง
อาหาร จุดลงเวลาปฏิบตั ริ าชการของคณะครู กาหนดใหน้ ักเรียนและบุคลากรสวมหน้ากากอนามยั และเวน้
ระยะห่างทางสังคม มีจุดบริการอ่างล้างมือรอบ ๆ บรเิ วณโรงเรียน จัดทาเจลแอลกอฮอล์ลา้ งมอื เพือ่ แจกจา่ ยให้
นกั เรียนทุกห้องเรียน ห้องกลุ่มบรหิ าร หอ้ งกลุ่มสาระการเรียนรู้ ห้องสมดุ และห้องปฏิบัติการต่างๆ รวมทงั้ นาไป
แจกจ่ายในชุมชน ทาความสะอาดห้องเรยี น ห้องนา้ และพื้นสมั ผสั รว่ มอย่างสมา่ เสมอ กิจกรรมอบรมยวุ ชน
อาสาสมคั ร ต้านภยั โควดิ -19 เนน้ ความปลอดภยั เปน็ หลักจนสามารถสรา้ งความเชื่อมน่ั ตอ่ นกั เรียน ผ้ปู กครองและ
บคุ คล จัดอบรมผ้นู านักเรยี นดา้ นส่งเสรมิ สขุ ภาพวถิ ใี หม่ต้านภยั โควดิ จดั อบรมนักเรยี นผู้นาเยาวชนสาธารณสขุ
ดาเนนิ การจดั การเรยี นการสอนโดยคานึงถงึ ผลสาเร็จ ตามเป้าหมายเปน็ หลัก จากการสร้างมาตรการการป้องกนั
การแพร่ระบาด สง่ ผลให้นักเรียนและผู้ปกครองมคี วามปลอดภัย และมีแนวทางในการดาเนนิ ชีวติ แบบปกตวิ ิถี จดั
กิจกรรมการจดั ทาสื่อ เอกสารประกอบการเรียนการสอนออนไลน์ กรณีเรยี น Online มีการสร้างแพลตฟอรม์
สารวจขอ้ มลู ใหบ้ ริการข้อมลู ต่าง ผ่านกลุม่ ไลน์ระหวา่ งครทู ี่ปรึกษา/ครูผสู้ อนกบั นักเรยี นท่ีรับผดิ ชอบ

จัดกจิ กรรมพัฒนาศักยภาพผู้เรยี นในสาระฯ เทคโนโลยแี ละคอมพิวเตอร์ ทกุ ระดับชั้นทกุ ห้องเรยี น
ให้สามารถใช้สอื่ เทคโนโลยใี นการติดต่อสือ่ สาร การสืบคน้ ความรู้ต่าง ๆ ตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีในการเรยี น
ทางไกลได้เช่น การใช้ google classroom google Zoom google meet e-leaning line เปน็ ตน้ มกี ารอบรม
สอดแทรกให้ความร้เู ก่ยี วกับพระราชบญั ญตั คิ อมพวิ เตอร์ ในระหวา่ งการจัดการเรยี นการสอนวิชาคอมพิวเตอร์
ตลอดจนภยั คุกคามและอันตรายทาง social-network เพอื่ ใหน้ ักเรียนทกุ คนมีความรูแ้ ละทักษะในการป้องกนั
ตนเองจากภัยคกุ คามรูปแบบใหม่ และป้องกนั การปฏิบตั ติ นในการกระทาความผดิ เก่ยี วกบั คอมพวิ เตอร์

ดา้ นการสง่ เสรมิ ปลกู ฝังใหผ้ ูเ้ รียนมีคณุ ลกั ษณะทีด่ ีดา้ นการอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อมและทรัพยากร
ธรรมชาติ มกี ารมอบหมายหนา้ ท่ีใหน้ กั เรียนทาเวรประจาวนั รักษาความสะอาดห้องเรียนของตนเอง
มีการจดั ตั้งคณะกรรมการในชั้นเรยี น มหี ัวหน้าเวรดแู ลกากับติดตามการทาเวรประจาวนั ส่งเสริมใหน้ ักเรียน
ทกุ ห้องจดั ทาโครงงานคณุ ธรรมและกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้นักเรียนไดม้ สี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปีการศึกษา 2564 23

สิ่งแวดล้อมของสว่ นรวม อาทิเชน่ โครงงานกนิ กลอ่ ง แกว้ ปิดปบุ๊ ประหยัดปบั๊ ถุงหอมไล่ยงุ ตัวไปไฟดับ เปล่ียน
ห้องเรยี นด้วยมือเรา หอ้ งเรียนสะอาด บรรยากาศนา่ เรียนเรม่ิ ท่พี วกเรา ห้องเรยี นสะอาดดเี พราะมคี วาม
รบั ผดิ ชอบ ขยะเปน็ เงนิ RIP ขวดนา้ พลาสติก กจิ กรรม Big Cleaning Day เปน็ ต้น โครงการสง่ เสริมแหลง่ เรียนรู้
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดค่ายอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมในท้องถ่ิน จัดกิจกรรมรับฟงั
การบรรยายหวั ขอ้ วิถีชุมชนครามธรรมชาติ ให้นักเรียนได้รับความรกู้ ระบวนการในการท้ามดั ยอ้ มคราม จดั ค่าย
อนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มในท้องถิ่น กิจกรรมศึกษาแหลง่ เรียนรทู้ างธรรมชาติ การอนุรักษแ์ ละ
ดูแลสง่ิ แวดลอ้ ม ณ ปางช้างเผอื กสกลนคร

2.1.2 ผลการประเมนิ
โรงเรยี นแต่งตง้ั คณะกรรมการประเมนิ ภายในของสถานศึกษา เพื่อรวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศเก่ยี วกับ
มาตรฐานท่ี 1 แลว้ นามาเทยี บตามเกณฑข์ องสถานศึกษาและคา่ เป้าหมายที่กาหนดไว้ ผลการประเมิน
แต่ละประเดน็ พิจารณา มีดงั นี้

ตาราง 11 แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน ประเด็นพิจารณาท่ี 1.1 ด้านผลสัมฤทธิท์ าง
วชิ าการของผู้เรียน และประเดน็ พิจารณาท่ี 1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น ปีการศกึ ษา 2564

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา ร้อยละ สรุปผล
ค่าเปา้ หมาย ผลการประเมนิ การประเมนิ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน 82 82.47 สงู กวา่ เป้าหมาย

1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน 82 77.60 ตา่ กวา่ เปา้ หมาย

1) นกั เรยี นมีผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น เขยี น

การส่อื สาร และการคิดคานวณทุกระดบั ชัน้ ระดบั 3 82 72.26 ตา่ กวา่ เป้าหมาย

ขึน้ ไป

2) นกั เรียนมีผลการประเมนิ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์

คดิ วจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ นความคิดเห็นและ 82 72.26 ตา่ กว่าเปา้ หมาย

แกป้ ัญหา ระดับ 3 ข้นึ ไป

3) นักเรยี นมีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรมตามเกณฑ์ 82 85 สูงกว่าเปา้ หมาย
ที่สถานศึกษากาหนด

4) นกั เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 82 95 สงู กว่าเปา้ หมาย
ในการเรียนรู้

5) จานวนนักเรยี น ม.3 มผี ลสอบ ONET คิดปน็ 0.5 ข้นึ ไป 80 85.50 สงู กว่าเปา้ หมาย

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 24

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา รอ้ ยละ สรปุ ผล
คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน การประเมิน

6) จานวนนักเรยี น ม.6 มีผลสอบ ONET คดิ เปน็ 0.5 ขึ้นไป 80 68.38 ตา่ กว่าเปา้ หมาย

7) นกั เรียนมคี วามพร้อมในการศึกษาต่อการฝึกงาน หรือ 82 91.58 สูงกว่าเป้าหมาย
การทางาน

8) นักเรียนทกุ ระดบั ช้ันมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลย่ี 82 74.14 ต่ากว่าเปา้ หมาย
ตามหลักสตู รสถานศึกษาระดับ 3 ขนึ้ ไป
82 69.46 ตา่ กวา่ เป้าหมาย
9) นกั เรยี นทุกระดับช้นั มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 5 วิชา 82 76.22 ตา่ กว่าเปา้ หมาย
หลกั (ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศึกษา 82 69.76 ตา่ กว่าเป้าหมาย
และภาษาองั กฤษ) เฉล่ียรวมกันระดับ 3 ขนึ้ ไป

10) นักเรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ
การสือ่ สาร ระดบั 3 ขน้ึ ไป

11) นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี นภาษาที่ 3 (จนี -ญ่ปี ุ่น-
เวียดนาม-เกาหลี) ระดับ 3 ข้ึนไป

12) ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนการศึกษาค้นควา้ อิสระ (IS) 85 71.64 ต่ากวา่ เปา้ หมาย
ระดับ 3 ขน้ึ ไป
86 87.35 สงู กว่าเป้าหมาย
1.2 คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรยี น 86 86 ตามเปา้ หมาย
1.2.1 การมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดตี ามทส่ี ถานศึกษากาหนด 86 90 สงู กวา่ เป้าหมาย
1.2.2 ความภูมิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย
1.2.3 ยอมรับทีจ่ ะอยู่ร่วมกันบนความแตกตา่ งและความ 86 90 สงู กวา่ เป้าหมาย
83.86 ต่ากว่าเปา้ หมาย
หลากหลาย 86
1.2.4 สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจติ สงั คม

1.2.5 มคี ุณลกั ษณะทีด่ ีด้านการอนุรักษ์สง่ิ แวดลอ้ มและ 86 86 ตามเปา้ หมาย
ทรัพยากรธรรมชาติ

สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ 1 ทั้ง 2 ประเดน็ พจิ ารณา 82 82.47 สงู กว่าเปา้ หมาย

ตาราง 11 แสดงคา่ ร้อยละของเปา้ หมายและผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 ทั้ง 2 ประเด็นพิจารณา
ประเดน็ พิจารณาท่ี 1.1 ด้านผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รียน ปีการศึกษา 2564 พบว่า ผลการดาเนนิ การพัฒนา
คุณภาพผูเ้ รียนสูงกวา่ เปา้ หมาย จานวน 4 ประเดน็ พิจารณา ดงั นี้ 1) นกั เรียนมคี วามสามารถในการสรา้ ง

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา ปีการศกึ ษา 2564 25

นวัตกรรมตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด 2) นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการเรยี นรู้
3) นักเรยี น ม.3 มผี ลสอบ ONET คิดเป็น 0.5 ข้ึนไป 4) นักเรยี นมีความพร้อมในการศึกษาตอ่ การฝกึ งานหรือการ
ทางาน ผลการประเมินตา่ กว่าเปา้ หมาย จานวน 8 ประเดน็ พิจารณาดังน้ี 1) ผเู้ รยี นมีผลการประเมิน
ความสามารถในการอา่ น เขียน การสอื่ สาร และการคดิ คานวณทุกระดับชัน้ ระดับ 3 ขึ้นไป 2) ผู้เรยี นมผี ลการ
ประเมนิ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดวจิ ารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลยี่ นความคิดเห็นและแกป้ ัญหา ระดับ
3 ข้นึ ไป 3) จานวนนักเรยี น ม.6 มีผลสอบ ONET คิดเปน็ 0.5 ขึน้ ไป 4) นักเรยี นทุกระดบั ช้ันมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการ
เรยี นเฉลย่ี ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาระดับ 3 ขึ้นไป 5) นักเรียนทุกระดับชนั้ มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 5 วชิ าหลัก
(ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา และภาษาอังกฤษ) เฉลี่ยรวมกันระดับ 3 ขนึ้ ไป 6) นกั เรยี นมี
ความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ระดบั 3 ขนึ้ ไป 7) นักเรียนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นภาษาท่ี 3
(จีน-ญี่ปนุ่ -เวียดนาม-เกาหล)ี ระดับ 3 ขึ้นไป 8) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นการศึกษาคน้ คว้าอิสระ (IS) ระดบั 3 ขึน้
ไปจากจานวน 12 ประเดน็ พิจารณา เม่ือพิจารณาโดยภาพรวมของการดาเนนิ งานแลว้ ต่ากวา่ เปา้ หมายเป็นสว่ น
ใหญ่ คดิ เป็นรอ้ ยละ 77.60 จากค่าเป้าหมาย 82

ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผูเ้ รยี น ประเดน็ พจิ ารณาท่ี 1.2 ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของ
ผู้เรยี น ปกี ารศกึ ษา 2564 มีข้อบ่งชี้ความสาเรจ็ สงู กวา่ ประเด็นพจิ ารณา 2 ข้อบ่งชี้ ตามเปา้ หมายการพจิ ารณา
2 ข้อบ่งชี้ และตา่ กวา่ เป้าหมาย 1 ตวั บง่ ชี้ เม่ือหาค่าเฉลีย่ ทั้ง 5 ขอ้ บง่ ชี้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 87.35 สูงกวา่ เปา้ หมาย 86

เมอื่ พจิ ารณาโดยภาพรวม มาตรฐานที่ 1 ด้านผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผ้เู รียน และด้านคณุ ลกั ษณะที่
พึงประสงค์ คิดเป็นร้อยละ 82.47 ซงึ่ สงู กว่าค่าเปา้ หมาย 82 สรุปผลการประเมินด้านคุณภาพผ้เู รียนอยู่ในระดับ
ยอดเย่ียม

2.1.3 ข้อมลู /หลักฐาน และเอกสารเชิงประจกั ษส์ นับสนุน
1) ประเดน็ พิจารณาท่ี 1 ด้านผลสัมฤทธทิ์ างวิชาการของผ้เู รยี น มหี ลักฐานเชงิ ประจักษ์แสดงเป็น

ตาราง และแผนภมู ิ ดงั นี้

ตาราง 12 ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ

ระดับ 3 ขึ้นไป จาแนกตามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

จานวนนักเรียนทีม่ คี วามสามารถด้านการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคานวณ ระดับ 3 ขนึ้ ไป

กลุ่มสาระ ภาษาไทย ร้อยละ
การเรยี นร/ู้ ค ิณตศาสต ์ร
วิทยาศาสตร์
ระดับชน้ั

ัสงคม ึศกษา


ุสขศึกษาฯ

ิศลปะ
การงาน
อาชีพ
ภาษา
่ตางประเทศ

ระดับชนั้ ม.1 319 250 386 331 419 369 287 357 58.88

ระดับชน้ั ม.2 339 309 346 361 320 340 377 350 60.66

ระดับชนั้ ม.3 304 316 342 345 387 464 314 264 63.33

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณว์ ทิ ยา ปีการศกึ ษา 2564 26

กลุ่มสาระ ภาษาไทย รอ้ ยละ
ค ิณตศาสตร์
การเรียนรู/้ วิทยาศาสตร์
ระดับชน้ั

สังคม ึศกษา


สุขศึกษาฯ

ศิลปะ
การงาน
อาชีพ
ภาษา
่ตางประเทศ

ระดับชนั้ ม.4 381 290 262 318 270 382 260 429 72.54

ระดบั ชนั้ ม.5 365 279 274 336 468 377 263 409 78.41

ระดบั ชนั้ ม.6 388 382 279 403 432 409 0 420 84.52

รวม 2096 1826 1889 2094 2296 2341 1501 2229 68.46

ร้อยละ 66.54 57.97 71.93 66.47 72.89 74.32 66.8 70.76

เฉล่ยี รวม 68.46

ตาราง 13 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ น การเขยี น การสือ่ สาร และการคิดคานวณ ระดับ 3 ขึน้ ไป
จาแนกแยกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

จานวนนกั เรียนทีม่ ีความสามารถดา้ นการอา่ น การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คานวณ ระดับ 3 ข้นึ ไป

กลมุ่ สาระการ ภาษาไทย รอ้ ยละ
ค ิณตศาสตร์
เรียนรู้/ วิทยาศาสต ์ร
ระดับชนั้

สังคม ึศกษา


ุสข ึศกษา

และ
พ ิศลลศึกปะษา
การงาน
อาชีพ
ภาษา
ต่างประเทศ

ระดบั ชน้ั ม.1 325 322 383 341 348 419 523 461 67.87

ระดับชน้ั ม.2 342 320 411 381 425 484 489 383 71.95

ระดบั ชน้ั ม.3 352 430 294 371 363 495 396 394 72.04

ระดับชน้ั ม.4 426 305 257 385 496 392 214 426 81.48

ระดบั ชน้ั ม.5 378 399 278 377 367 412 146 479 82.95

ระดับชนั้ ม.6 390 327 228 401 415 376 0 410 79.99

รวม 2096 1826 1889 2094 2296 2341 1501 2229 76.05

รอ้ ยละ 70.55 67.04 71.22 71.92 76.95 82.18 84.43 80.33

เฉลีย่ รวม 76.05

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา ปกี ารศึกษา 2564 27

ด้านความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความคดิ เห็น
และแก้ปัญหาของผู้เรียน หลักฐานเชงิ ประจักษท์ ่ีสะท้อนผล ไดแ้ ก่ แบบสรุปผลการประเมนิ การอา่ น คิด
วเิ คราะห์ แบบสรปุ ผลประเมินทกั ษะการคดิ แก้ปญั หาตามแนวทางการประเมนิ PISA แบบสรุปประเมนิ สมรรถนะ
สาคัญของผเู้ รียน ดา้ นความสามารถในการคดิ ผลงานนักเรียน ได้แก่ โครงงาน 8 กลุ่มสาระฯ การนาเสนอผลงาน
ในรปู แบบ Mindmapping Infographic เปน็ ต้น
ตาราง 14 ผลการประเมินความสามารถด้านการคิดวเิ คราะห์ฯ ระดับ 3 ข้นึ ไป ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 – 6

จาแนกแยกตามกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

กลมุ่ สาระ จานวนนักเรียนทมี่ คี วามสามารถดา้ นการคดิ วเิ คราะห์ฯ ระดับ 3 ข้ึนไป ร้อยละ
การเรียนร้/ู
ระดับช้นั 319 250 386 331 419 369 287 357 58.88
ระดบั ชัน้ ม.1 339 309 346 361 320 340 377 350 60.66
ระดับชน้ั ม.2 304 316 342 345 387 464 314 264 63.33
ระดบั ชั้น ม.3 381 290 262 318 270 382 260 429 72.54
ระดับชนั้ ม.4 365 279 274 336 468 377 263 409 78.41
ระดับชั้น ม.5 388 382 279 403 432 409 0 420 84.52
ระดับชนั้ ม.6 2096 1826 1889 2094 2296 2341 1501 2229 68.46
66.54 57.97 71.93 66.47 72.89 74.32 66.8 70.76
รวม
ร้อยละ 68.46
เฉล่ียรวม ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์


สังคม ึศกษา


ุสข ึศกษา
และฯ
ิศลปะ
การงาน
อาชีพ
ภาษา
ต่างประเทศ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปีการศกึ ษา 2564 28

ตาราง 15 ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการคดิ วเิ คราะห์ฯ ระดับ 3 ขึน้ ไป ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6
จาแนกแยกตามกล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

กลุ่มสาระ จานวนนกั เรยี นที่มีความสามารถด้านการคิดวิเคราะหฯ์ ระดับ 3 ข้นึ ไป รอ้ ยละ
การเรียนร/ู้
ระดบั ชน้ั 325 322 383 341 348 419 523 461 67.87
ระดบั ชัน้ ม.1 342 320 411 381 425 484 489 383 71.95
ระดบั ชน้ั ม.2 352 430 294 371 363 495 396 394 72.04
ระดบั ชัน้ ม.3 426 305 257 385 496 392 214 426 81.48
ระดับชั้น ม.4 378 399 278 377 367 412 146 479 82.95
ระดับชนั้ ม.5 390 327 228 401 415 376 0 410 79.99
ระดับชน้ั ม.6 2096 1826 1889 2094 2296 2341 1501 2229 76.05
70.55 67.04 71.22 71.92 76.95 82.18 84.43 80.33
รวม
รอ้ ยละ 76.05
เฉล่ียรวม ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์


สังคม ึศกษา


สุขศึกษา
และฯ
ศิลปะ
การงาน
อาชีพ
ภาษา
ต่างประเทศ

จากการท่โี รงเรียน ไดร้ ว่ มกันพัฒนาและยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น โรงเรียนนาผลสมั ฤทธท์ิ างการ
เรยี น 4 วิชาทไี่ ด้ระดบั 3 ขน้ึ ไปของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ทัง้ 2 ภาคเรียนมาเทยี บเคียงกับรายวิชาทสี่ อบ
O-NET ผลปรากฏ ดงั ตาราง 16

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 29

ตาราง 16 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 4 วิชาทีไ่ ดร้ ะดับ 3 ข้ึนไปของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
ภาคเรยี นที่ 1 และภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นท่ี 2

กลุม่ สาระ จานวนนกั เรียน จานวนนกั เรยี น

การเรยี นรู้ ทัง้ หมด ท่ไี ด้ ระดับ 3 ร้อยละ ทง้ั หมด ท่ีได้ ระดบั 3 รอ้ ยละ

ข้นึ ไป ขนึ้ ไป

ภาษาไทย 540 304 56.30 537 352 66.42

คณติ ศาสตร์ 540 316 58.52 537 320 59.59

วิทยาศาสตร์ 540 342 63.33 537 294 54.75

ภาษาองั กฤษ 540 264 48.89 537 394 73.37

คา่ เฉลยี่ ทัง้ หมด 2160 1,226 56.76 2,148 1360 63.53

คา่ เฉล่ยี ท้งั 2 ภาคเรยี น 60.15

ตาราง 17 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3
ปกี ารศึกษา 2564

ระดับ/รายวชิ า ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ

คะแนนเฉลี่ยของโรงเรียน 52.00 23.70 31.21 30.46
คะแนนเฉลยี่ ระดับจังหวดั 48.31 22.63 30.26 28.26
คะแนนเฉลย่ี สังกัด สพฐ. 52.13 24.75 31.67 30.79
คะแนนเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 51.19 24.47 31.45 31.11

จากตาราง 17 ผลการทดสอบระดบั ชาติ ในระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 .ในปกี ารศกึ ษา 2564 สูงกว่าปีการศึกษา
2563 ทงั้ 4 วิชา ได้แก่ วชิ าภาษาไทย วชิ าคณิตศาสตร์ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ และวิชาภาษาองั กฤษ คะแนนเฉล่ยี
ระดับโรงเรยี นสงู กวา่ คะแนนเฉลี่ยระดบั จงั หวัด แต่ตา่ กว่าคะแนนเฉลีย่ สงั กัด สพฐ. ทกุ รายวชิ า สงู กวา่ คะแนน
เฉลย่ี ระดับประเทศ 1 รายวชิ า คอื วชิ าภาษาไทย

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณว์ ิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 30

ตาราง 18 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3

เปรียบเทยี บ 3 ปีการศกึ ษา 2562 – 2564

ป/ี รายวิชา จานวน ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ

ผเู้ ขา้ สอบ 32.35
36.56
2562 511 56.93 26.81 30.46 4.21
13.01
2563 269 56.46 26.66 30.47 36.56
30.46
+เพม่ิ /-ลด - 0.47 - 0.15 0.01 -6.1
16.68
รอ้ ยละท่ีเพมิ่ /ลด 0.83 0.56 0.03

2563 269 56.46 26.66 30.47

2564 138 52 23.7 31.21

+เพิ่ม/-ลด -4.46 -2.96 +0.74

ร้อยละทเี่ พิ่ม/ลด 7.90 11.11 2.43

จากตาราง 18 ผลการทดสอบระดบั ชาติ ในระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 เพ่มิ ขน้ึ จากผลการ
ทดสอบระดับชาติ ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 1 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เพ่ิมข้ึนรอ้ ยละ 0.74

ตาราง 19 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
ปีการศกึ ษา 2564

ระดับ/รายวิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สังคม ภาษาองั กฤษ
คะแนนเฉลี่ยของโรงเรยี น 48.14 18.90 28.78 24.77 48.14
คะแนนเฉล่ยี ระดบั จงั หวัด 45.90 18.90 27.70 22.37 45.90
คะแนนเฉลยี่ สังกัด สพฐ. 47.74 21.83 29.04 25.83 47.74
คะแนนเฉลีย่ ระดบั ประเทศ 46.40 21.28 28.65 25.56 46.40

จากตาราง 19 ผลการทดสอบระดบั ชาติ ในระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 มีค่าเฉลีย่ ระดับโรงเรียนสงู กว่าคา่ เฉลีย่
ระดบั จงั หวดั ไดแ้ ก่ วชิ าภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม และวิชาภาษาองั กฤษ ค่าเฉลย่ี ระดบั โรงเรียน
สงู กวา่ โรงเรียนในสังกัด สพฐ. ได้แก่ วิชาภาษาไทย และวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเฉลยี่ สูงกว่าระดบั ประเทศไดแ้ ก่ วชิ า
ภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร์ และวิชาภาษาองั กฤษ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 31

ตาราง 20 เปรียบเทยี บจานวนนักเรียน ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ปกี ารศึกษา 2562 – 2564
ท่มี คี ะแนนสอบ ONET รอ้ ยละ 0.5 ขน้ึ ไป

ปีการศกึ ษา จานวนนักเรยี น จานวนนกั เรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ หมายเหตุ
ทงั้ หมดทสี่ อบ ท่ีผา่ นร้อยละ 0.5 ขึน้ ไป

2562 372 203 54.57

2563 441 269 61.00

+เพม่ิ / -ลด +6.43

2563 441 269 61.00

2564 482 173 35.89

+เพ่มิ / -ลด - 25.11

หมายเหตุ : รอ้ ยละ 0.5 คดิ จากคะแนนสอบของนักเรยี นรายคน ระดบั ผลการสอบเตม็ อยู่ทร่ี อ้ ยละ 1.0 (100)

จากตาราง 20 การเปรียบเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาติ ในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศึกษา 2564
กับผลการทดสอบระดบั ชาติ ในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศกึ ษา 2563 พบว่า ผลการทดสอบลดลง
จาก 61.00 เป็น 35.89 คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.11

ความพรอ้ มในการศึกษาตอ่ การฝกึ งาน หรอื การทางานของนกั เรียน หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ไดแ้ ก่
แบบประเมนิ ผลงาน แบบสังเกตการทางาน แบบสัมภาษณ์ แบบสารวจการศึกษาตอ่ และการประกอบอาชพี
ของผ้เู รียน แบบบนั ทึกขออนุญาตเข้าร่วมฝึกงานในสถานพยาบาลของรัฐ เป็นตน้

ตาราง 21 ร้อยละของนกั เรียนที่มคี วามพรอ้ มในการศกึ ษาตอ่ การฝึกงานและประกอบอาชีพ
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2564

กรณี ชาย หญงิ รวม ร้อยละ

ศึกษาตอ่ 251 279 530 98.15

ประกอบอาชีพ 2 8 10 1.85

ตาราง 22 รอ้ ยละของนกั เรียนที่มีความพรอ้ มในการศึกษาต่อ การฝกึ งานและประกอบอาชพี
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2564

กรณี ชาย หญิง รวม ร้อยละ
ศกึ ษาต่อ 106 302 408 85
ประกอบอาชีพ 23 49 72 15

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 32

จากตาราง 21 และตาราง 22 รอ้ ยละของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มีความพรอ้ มในการศึกษาต่อ การฝกึ งาน
หรอื การทางาน พบว่า นักเรียนมศี กึ ษาตอ่ คิดเปน็ ร้อยละ 98.5 และนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6
มคี วามพร้อมในการศกึ ษาต่อ รอ้ ยละ 85 ซงึ่ แสดงถึงนกั เรียนมกี ารศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษาเปน็ จานวนมาก

ตาราง 23 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นเฉลีย่ ตามหลกั สตู รสถานศึกษา ระดับ 3 ขนึ้ ไป ของนกั เรียน
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564

ระดับชน้ั ค่าเฉลยี่ ผลสมั ฤทธ์ิ ร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเฉลย่ี
ทางการเรยี น ตามหลักสตู รสถานศึกษา ระดับ 3 ขนึ้ ไป
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 3.03 64.75
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 3.06 64.83
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 3.23 73.69
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 3.37 81.01
มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 3.42 82.73
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 3.42 81.10
72.10
เฉล่ยี รวม

ตาราง 24 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉลย่ี ตามหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดับ 3 ข้นึ ไป ของนกั เรยี น
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

ระดับชั้น ค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ ร้อยละของนักเรยี นที่มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นเฉล่ีย
ทางการเรียน ตามหลักสูตรสถานศึกษา ระดับ 3 ข้ึนไป
มัธยมศึกษาปที ่ี 1 3.11 67.61
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 3.18 69.09
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 3.35 77.51
มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 3.36 81.61
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 3.33 84.35
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 3.42 79.98
76.25
เฉลีย่ รวม

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วทิ ยา ปีการศึกษา 2564 33

จากตาราง 23 และตาราง 24 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเฉล่ียตามหลกั สูตรสถานศึกษา ระดบั 3 ข้ึนไป ของนักเรยี น
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1-6 ปีการศกึ ษา 2564 ภาคเรียนที่ 1 พบวา่ นักเรยี นมีผลผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเฉล่ยี ตาม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา ระดับ 3 ขึ้นไป รอ้ ยละ 72.10 และภาคเรียนท่ี 2 ร้อยละ 76.25 มผี ลเฉล่ยี รวม ท้งั 2 ภาค
เรยี น รอ้ ยละ 74.18

ตาราง 25 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น 5 วิชา ที่ได้ระดบั 3 ขึน้ ไป ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-6
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

จานวนนกั เรยี น คิดเปน็
ร้อยละ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทงั้ หมดที่เรียนในแต่ละ ทม่ี ีผลสัมฤทธิท์ างการเรียน
66.54
ภาษาไทย รายวิชา ระดบั 3 ขึ้นไป 57.97
คณิตศาสตร์ 71.93
วทิ ยาศาสตร์ 3,150 2,096 70.76
ภาษาอังกฤษ 66.48
สังคมศกึ ษาฯ 3,150 1,826
เฉลีย่ รวม
2,626 1,889

3,150 2,229

3,150 2,094

66.74

ตาราง 26 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 5 วิชา ทไ่ี ด้ระดับ 3 ขนึ้ ไป ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1-6
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จานวนนกั เรียนท่เี รยี น จานวนนกั เรียนทม่ี ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ร้อยละ
ในแตล่ ะรายวชิ า ระดับ 3 ขึ้นไป
70.55
ภาษาไทย 3,137 2,213 67.04
71.22
คณิตศาสตร์ 3,137 2,103 80.33
71.92
วทิ ยาศาสตร์ 2,599 1,851

ภาษาอังกฤษ 3,137 2,520

สังคมศึกษาฯ 3,137 2,256

เฉลย่ี รวม 72.21

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปีการศกึ ษา 2564 34

จากตาราง 25 และตาราง 26 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 5 วิชา ที่ไดร้ ะดบั 3 ขน้ึ ไป ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปีที่ 1-6 ปีการศึกษา 2564 ภาคเรยี นท่ี 1 พบว่า นักเรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 5 วชิ า ทีไ่ ดร้ ะดับ 3 ข้ึนไป
ร้อยละ 66.74 และภาคเรียนที่ 2 รอ้ ยละ 72.21 มผี ลเฉลยี่ รวมทงั้ 2 ภาคเรียน รอ้ ยละ 69.48

ตาราง 27 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น วิชาภาษาอังกฤษ ทีไ่ ด้ระดับ 3 ขนึ้ ไป ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1-6
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

ระดับชนั้ จานวนนกั เรียนทเ่ี รยี น จานวนนักเรยี นท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ร้อยละ

มัธยมศึกษาปีท่ี 1 รายวิชาภาษาอังกฤษ ระดับ 3 ขึ้นไป 61.87
มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 61.95
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 577 357 48.89
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 85.97
มัธยมศึกษาปีท่ี 5 565 350 83.81
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 87.32
540 264
เฉล่ียรวม
499 429

488 409

481 420

71.63

ตาราง 28 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วิชาภาษาอังกฤษ ทไ่ี ดร้ ะดบั 3 ข้นึ ไป ของนักเรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1-6
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

ระดับช้นั จานวนนกั เรียนทเี่ รยี น จานวนนักเรียนท่มี ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น รอ้ ยละ

มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 รายวชิ าภาษาอังกฤษ ระดบั 3 ขึน้ ไป 80.17
มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 68.15
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 575 461 73.37
มัธยมศึกษาปีที่ 4 78.60
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 562 383 98.56
มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 85.95
537 394
เฉลยี่ รวม
500 393

486 479

477 410

80.80

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา ปีการศึกษา 2564 35

จากตาราง 27 และตาราง 28 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน วชิ าภาษาอังกฤษ ท่ีได้ระดับ 3 ข้ึนไป ของนกั เรยี นช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1-6 ปีการศึกษา 2564 ภาคเรียนที่ 1 พบว่า นักเรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาภาษาอังกฤษ
ท่ีได้ระดับ 3 ข้นึ ไป รอ้ ยละ 71.63 และภาคเรียนท่ี 2 ร้อยละ 80.80 มีผลเฉลี่ยรวมทงั้ 2 ภาคเรียน ร้อยละ 76.22

ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา การใชภ้ าษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร และ
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นภาษาที่ 3 ตามอัตลกั ษณ์ของโรงเรียน และผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ า IS

ตาราง 29 คะแนนการสอบวดั ระดับความรู้ทางภาษาองั กฤษในระดับการสอื่ สารท่วั ไป (TOEIC) ของนักเรยี น
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 และมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 โครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษภาษาอังกฤษ
โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วิทยา ปีการศึกษา 2561 – 2564

ปี จานวน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน S.D. จานวนนักเรยี น คดิ เปน็ ร้อยละ
การศึกษา นักเรยี น เต็ม เฉลีย่ สงู สุด ตา่ สุด ไดค้ ะแนน
115.34 250 ขนึ้ ไป 82.14
เขา้ สอบ 165 147.97 46 87.93
2561 56 990 347.05 650 205 147.05 51 63.80
2562 58 990 411.03 730 90 142.37 37 82.89
2563 58 990 321.70 895 180 63
2564 76 990 395.26 775

จากตาราง 29 ความสามารถสอบวัดระดับความรทู้ างภาษาองั กฤษในระดับการสอื่ สารทั่วไป (TOEIC) ของ
นกั เรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 และมัธยมศึกษาปีที่ 5 โครงการห้องเรยี นพิเศษภาษาองั กฤษ โรงเรียนธาตนุ ารายณ์
วทิ ยา มคี ะแนนทสี่ งู ขน้ึ ในปีการศกึ ษา 2561 และปกี ารศึกษา 2562 ผูเ้ รยี นสามารถสอบได้ ร้อยละ 82.14 และ
87.93 ตามลาดบั และลงในปีการศกึ ษา 2563 และ ปีการศึกษา 2564 ผู้เรยี นสามารถสอบได้ ร้อยละ 63.8 และ
82.89 มีคะแนนอยู่ในเกณฑร์ ะดับยอดเยี่ยม

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 36

ตาราง 30 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ภาษาท่ี 3 (จนี ,ญปี่ ่นุ ,เวียดนาม,เกาหล)ี ท่ีไดร้ ะดับ 3 ขนึ้ ไป
ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1-6 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

รายวชิ า จานวนนกั เรยี นทเี่ รยี น จานวนนกั เรยี นท่มี ผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น รอ้ ยละ

แต่ละรายวิชา ระดบั 3 ข้นึ ไป 80.81
71.64
ภาษาจีน 1042 842 51.08
62.69
ภาษาญี่ปุ่น 617 442

ภาษาเวยี ดนาม 507 259

ภาษาเกาหลี 335 210

เฉลย่ี รวม 66.55

ตาราง 31 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ภาษาที่ 3 (จีน,ญป่ี ุ่น,เวยี ดนาม,เกาหล)ี ท่ีไดร้ ะดับ 3 ขนึ้ ไป
ของนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

รายวิชา จานวนนกั เรยี นท่ีเรยี น จานวนนักเรยี นทม่ี ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น รอ้ ยละ

แต่ละรายวชิ า ระดบั 3 ข้ึนไป 76.47
74.68
ภาษาจนี 1037 793 63.07
77.61
ภาษาญป่ี ุน่ 620 463

ภาษาเวียดนาม 501 316

ภาษาเกาหลี 335 260

เฉลี่ยรวม 72.96

จากตาราง 30 และตาราง 31 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น ภาษาที่ 3 ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาญ่ปี ุ่น ภาษาเวียดนาม
และภาษาเกาหลี ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1-6 ปีการศกึ ษา 2564 ท่ีได้ระดับ 3 ข้ึนไป ภาคเรยี นท่ี 1 พบว่า
นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ภาษาท่ี 3 ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาญป่ี นุ่ ภาษาเวยี ดนามและภาษาเกาหลี ทไ่ี ด้
ระดบั 3 ข้ึนไป รอ้ ยละ 66.55 และภาคเรยี นท่ี 2 ร้อยละ 72.96 มผี ลเฉลยี่ รวมทัง้ 2 ภาคเรยี น ร้อยละ 69.76

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 37

ตาราง 32 ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน วชิ าการศึกษาค้นควา้ อิสระ ที่ไดร้ ะดับ 3 ขึ้นไป ของนักเรียน
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

ระดับชั้น จานวนนักเรยี นที่เรยี นรายวิชา จานวนนักเรียนท่ีมี รอ้ ยละ
การศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ(IS) ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 2 565 55.58
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 ระดบั 3 ข้นึ ไป 80.94
488
เฉล่ียรวม 314

395

68.26

ตาราง 33 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน วิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ ท่ไี ด้ระดบั 3 ขนึ้ ไป ของนกั เรียน
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1-6 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

ระดบั ชัน้ จานวนนกั เรยี นทเ่ี รียนรายวชิ า จานวนนักเรยี นทม่ี ีผลสัมฤทธ์ิ ร้อยละ
การศึกษาค้นควา้ อิสระ(IS) ทางการเรยี น ระดับ 3 ข้ึนไป
ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 545 79.08
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 30 431 83.33
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 471 25 62.63
295
เฉลย่ี รวม 75.02

จากตาราง 32 และตาราง 33 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น วิชาการศึกษาค้นควา้ อิสระ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปี
ท่ี 1-6 ปีการศึกษา 2564 ที่ไดร้ ะดับ 3 ข้ึนไป ภาคเรียนท่ี 1 พบว่า นกั เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น วชิ า
การศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ ทีไ่ ด้ระดบั 3 ข้นึ ไป รอ้ ยละ 68.26 และภาคเรียนท่ี 2 ร้อยละ 75.02 มผี ลเฉล่ยี รวมทง้ั 2
ภาคเรยี น ร้อยละ 71.64

หลักฐานเชิงประจกั ษท์ ีส่ ะทอ้ นผลชัดเจน ไดแ้ ก่ พฤติกรรมทเ่ี กิดขึน้ กบั ผเู้ รียน ผ้เู รียนมที กั ษะ
ในการอ่าน การเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ นักเรียนสามารถเล่าเรื่องจากการบนั ทึกความรู้ได้ นักเรยี นนาเสนอผลงาน
รายงานกลุม่ หน้าชั้นเรยี น การเขยี นสื่อความอยา่ งสรา้ งสรรค์ แบบสรปุ รายงานการนาเสนอ มีช้ินงาน ผลงานของ
นกั เรยี น ไดแ้ ก่ บันทกึ การอา่ นหนงั สอื เล่มเล็ก บันทึกเขียนตามคาบอก สมดุ เขียนสะกดคาของนักเรยี น ผลงาน
เขยี นสรา้ งสรรค์ของนักเรยี นเรยี งความ การนาเสนอโครงงาน 8 กลมุ่ สาระฯ แบบสังเกตพฤติกรรม การให้เหตผุ ล
การทางาน สมดุ บันทกึ การสืบค้นข้อมลู จากอินเทอร์เน็ต และสรุปความรู้ด้วยตนเอง การอ้างองิ แหล่งข้อมูลท่ีได้

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 38

จากการสืบค้นทางเทคโนโลยสี ารสนเทศของผเู้ รยี น แบบรายงานการอา้ งองิ เอกสารและวรรณกรรมที่เกยี่ วข้อง
แบบประเมนิ ช้ินงาน รายงานผลการประเมนิ ผเู้ รียนด้าน Digital Literacy ทกั ษะในการปอ้ งกนั ตนเองจากภัย
คุกคามรูปแบบใหม่แบบรายงานการเลือกใชซ้ อฟแวรใ์ นการทางาน การใชโ้ ทรศัพท์เคลอื่ นท่ใี นการติดต่อสอ่ื สาร
การสืบคน้ ข้อมูลผา่ นอินเทอร์เนต็ การสง่ ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (electronic mail:e-mail) การเรยี นรู้ด้วยระบบ
ทางไกล รายงานสรุปผลการประกวด ภาพกจิ กรรม การประกวดกับหนว่ ยงานภายนอก ผลการสอบ TOEIC ของ
นักเรียนห้องเรยี นพิเศษภาษาอังกฤษ (EP) ผลการสอบวดั ระดบั ภาษาจีน ภาษาญ่ีปนุ่ ภาษาเวยี ดนามนาม และ
ภาษาเกาหลี เป็นตน้

จากกระบวนการพัฒนาผูเ้ รียนทีโ่ รงเรียนดาเนินการ ส่งผลให้โรงเรยี นมผี ลงานและรางวัลสนบั สนุน
ดงั น้ี 1) รางวลั ชนะเลศิ พนั ธกจิ ด้านประชาธิปไตย รางวัลรองชนะเลิศ อนั ดับ 2 พันธกิจดา้ นศาสนา วัฒนธรรม
และสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ รางวลั รองชนะเลศิ อันดับ 2 พันธกิจดา้ นสังคม รางวัลรองชนะเลศิ อันดบั 2 พันธกิจ
ด้านเศรษฐกิจ ศนู ย์ครอบครัวพอเพยี งระดบั ประเทศ โครงการครอบครวั พอเพียงสสู่ ถานศึกษาและชุมชน สว่ น
ภูมิภาค ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 2) รางวลั ชนะเลศิ หน่งึ โรงเรียนหนง่ึ โครงงานคุณธรรม จากสานักงานเขตพนื้ ที่
การศกึ ษามัธยมศกึ ษา 3) ครูกลุม่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปศึกษา ไดร้ ับรางวัลโล่เกยี รตยิ ศ ชนะเลศิ คนดีศรสี งั คม จาก
วัฒนธรรมจังหวดั สกลนคร และ รางวัลครขู วญั ศิษย์ มูลนธิ ริ างวลั สมเดจ็ เจ้าฟ้ามหาจักรี 4) นักเรยี นได้รับรางวัล
ชนะเลศิ ประกวดนักขา่ วรนุ่ เยาว์ จากกลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย

2) ประเด็นพจิ ารณาท่ี 2 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
ข้อมลู /หลักฐานและเอกสารเชงิ ประจกั ษ์สนบั สนุนด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มีดงั น้ี

ตาราง 34 สรุปผลรอ้ ยละการเจริญเติบโต (น้าหนักตามเกณฑส์ ว่ นสงู ของกรมอนามัย) ของนกั เรยี นโรงเรยี น

ธาตนุ ารายณ์วทิ ยา ปกี ารศึกษา 2564

อว้ น เรม่ิ อว้ น ท้วม สมส่วน ค่อนข้างผอม

ระดับ จานวน

จานวน
้รอยละ
จานวน
้รอยละ
จานวน
้รอยละ
จานวน
้รอยละ
จานวน
้รอยละ

ม. 1 576 18 3.13 38 6.60 28 4.86 390 67.71 102 17.71
ม. 2 564 14 2.48 35 6.21 30 5.32 423 75.00 62 10.99
ม. 3 540 14 2.59 32 5.93 26 4.81 414 76.67 54 10.00
ม. 4 504 20 3.97 31 6.15 27 5.36 395 78.37 30 5.95
ม. 5 491 7 1.43 20 4.07 13 2.65 430 87.58 21 4.28
ม. 6 480 15 3.13 32 6.67 20 4.17 396 82.50 17 3.54
เกณฑข์ องกรมอนามัย : อว้ น(>+3 SD), เริม่ อว้ น(>+2 SD ถึง + 3 SD) , ท้วม (>+1.5 SD ถึง +2 SD) , สมสว่ น (-1.5 SD

ถงึ - 2 SD) , ค่อนข้างผอม(<-1.5 SD ถึง -2 SD) , ผอม (<-2 SD)
(ข้อมลู จากงานอนามัยโรงเรยี น)

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยา ปกี ารศึกษา 2564 39

จากตาราง 34 ผลการประเมินน้าหนักสว่ นสงู ตามเกณฑ์ของกรมอนามยั ของนักเรียนระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-6
พบว่า นักเรยี นมรี ปู ร่างสมสว่ นตามเกณฑข์ องกรมอนามยั ผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 82.50

ตาราง 35 ผลการประเมินสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา ปีการศกึ ษา 2564

ระดบั ดี ระดบั ดี ระดับ ระดับต่า ระดบั

มาก ปานกลาง ตา่ มาก

ระดับชัน้ จานวน จานวน
ร้อยละ
จานวน
ร้อยละ
จานวน
ร้อยละ
จานวน
ร้อยละ
จานวน
ร้อยละ

ม. 1 575 34 5.91 120 20.87 283 49.22 117 20.35 21 3.65
ม. 2 562 125 22.24 178 31.67 157 27.94 89 15.84 13 2.31
ม. 3 537 130 24.21 265 49.35 98 18.25 35 6.52 9 1.68
รวม ม.ต้น 1,674 289 17.45 563 33.96 538 31.80 241 14.23 43 2.55
ม. 4 500 32 6.40 182 36.40 221 44.20 30 6.00 35 7.00
ม. 5 486 41 8.44 267 54.94 148 30.45 19 3.91 11 2.26
ม. 6 477 107 22.43 256 53.67 96 20.13 15 3.14 3 0.63
รวมม.ปลาย 1,463 180 12.42 705 48.34 465 31.59 64 4.35 49 3.30
รวมทงั้ หมด 3,137 469 14.94 1,268 41.15 1,003 31.70 305 9.29 92 2.92

จากตาราง 35 นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – 6 โรงเรียนธาตุนารายณว์ ทิ ยา ปีการศกึ ษา 2564 มีผลการทดสอบ
สมรรถภาพร่างกายเฉลี่ย สว่ นใหญ่อยู่ในระดับ ดี คิดเปน็ ร้อยละ 41.15 เม่ือรวมจานวนนักเรยี น
ผ่านเกณฑร์ ะดับ 3 (ปานกลาง) ขน้ึ ไป คดิ เป็นร้อยละ 89.78 นกั เรียนจงึ ผ่านเกณฑ์การประเมนิ สมรรถภาพ
รา่ งกายในระดบั ยอดเยี่ยม สงู กว่าคา่ เป้าหมาย

หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ ได้แก่ แพลตฟอรม์ การประเมินคุณลกั ษณะและค่านิยมท่ีดีตามท่ีสถานศกึ ษา
กาหนด แบบบนั ทึกความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย แบบบันทกึ รว่ มกิจกรรมตามประเพณีวันสาคญั และ
ท้องถน่ิ ขอ้ มูลจานวนนักเรียนทะเลาะวิวาท จานวนนักเรียนที่ถกู ตัดคะแนนความประพฤติลดลง สถติ กิ ารทะเลาะ
วิวาทลดลง ขอ้ มูลการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกายของนักเรียน รายงานการเข้ารว่ มกิจกรรมขยับกายสบายชีวี
ตามวิถพี ุทธ แบบประเมนิ น้าหนกั สว่ นสูงและพัฒนาการทางรา่ งกายของนักเรยี น ภาพกิจกรรมการรว่ มกิจกรรม
หน้าเสาธง รายงานโครงการ/กจิ กรรมวนั สาคญั ต่าง ๆ ภาพกิจกรรมการแข่งขันกีฬาและกรฑี าประเภทตา่ ง ๆ
ภาพกิจกรรม โครงงานคณุ ธรรม ภาพกจิ กรรม Big cleaning day ภาพกิจกรรมการบาเพญ็ ประโยชน์ของผูเ้ รยี น
ภาพกิจกรรมการทาเวรประจาวนั สมดุ บันทกึ กิจกรรมจติ อาสา โครงงานเกี่ยวกบั การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ้ ม การ
บาเพญ็ ประโยชนข์ อง นศท. ลกู เสอื และยวุ กาชาด บนั ทกึ การรว่ มกจิ กรรมจิตอาสาโรงพยาบาล เป็นต้น นอกจากน้ี

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา ปีการศกึ ษา 2564 40

นกั เรียนมีความรู้ความสามารถ และศักยภาพทแี่ สดงถึงความเป็นผ้นู าด้านวิชาการ มีผลงานโครงงานในกลุ่มวิชา
ต่าง ๆ อย่างหลากหลายและได้รับรางวลั ท้ังในระดับจังหวดั ระดบั เขตพน้ื ท่ี ระดบั ภาค และระดับชาติ มีผลงาน
การแขง่ ขนั ศิลปหตั ถกรรมด้านเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ นอกจากนีน้ ักเรยี นมคี วามสามารถในการสื่อสาร การ
แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง สามารถนาเสนอผลงานในเวทีแสดงศกั ยภาพของโรงเรยี น ซง่ึ เปน็ คุณลักษณะท่ี
แสดงออกถึงความเป็นมาตรฐานสากล เป็นตน้

ผลงานและรางวัลสนับสนุน มีดังน้ี
1) รางวัลระดบั ประเทศ นกั เรยี นได้รับรางวัลยอดเยี่ยม ระดับประเทศ โครงงานคณุ ธรรมสง่ เสริมอัต
ลกั ษณ์วถิ ีพุทธ รางวัลเหรียญทองระดบั ประเทศ โครงงานตู้บ่มเชื้อราไตรโคเดอร์มาแบบอัตโนมัตคิ วบคุมดว้ ย
ระบบ IOT 36) รางวลั เหรยี ญทองระดับประเทศ โครงงานเครอ่ื งให้อาหารปลาในกระชงั แบบอัตโนมัติ โดยใช้
พลังงานจากแสงอาทิตย์ รางวลั เหรียญเงนิ ระดบั ประเทศ โครงงานโรงเรอื นอัจฉรยิ ะสวู่ ิถกี ารท่องเทย่ี ว
รางวลั เหรียญเงนิ ระดบั ประเทศ โครงงานชุดผลติ กระแสไฟฟา้ เทอรโ์ มอเิ ลก็ ทริกจากพลังงานความร้อน
รางวัลเหรียญเงิน ระดบั ประเทศ โครงงานเครื่องตรวจสอบหนา้ กากอนามัยอตั โนมัติ (สาขาสุขภาพและการแพทย์)
รางวัลเหรยี ญเงนิ ระดบั ประเทศ โครงงานเคร่ืองพยากรณ์สภาพดนิ ผา่ นระบบออนไลนโ์ ปรแกรม Arduino 41)
รางวัลเหรยี ญเงนิ ระดับประเทศ โครงงานเคร่ืองตรวจสอบหนา้ กากอนามยั อตั โนมตั ิ (สาขาสุขภาพและการแพทย)์
2) ระดับภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ รางวัลชนะเลิศ เหรยี ญทอง นวัตกรรมดา้ นการเกษตร โรงเรอื น
ควบคมุ สลัดไฮโดรโปนกิ สอ์ ัจฉริยะ รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ 1 เหรียญทอง นวัตกรรมดา้ นการเกษตร เครื่องให้
อาหารปลาในกระชงั แบบอตั โนมตั ิ โดยใชพ้ ลังงานจากแสงอาทิตย์ รางวัลชมเชย เหรยี ญทองระดบั ภาค
นวตั กรรมด้านการเกษตร มนิ ิฟารม์ กัญชาอัจฉริยะ รางวัลเหรียญทองแดงระดับภาค นวัตกรรมด้านการเกษตร
ปืนฉดี น้าไร้สายอเนกประสงค์ รางวลั เหรียญทองแดงระดบั ภาค นวตั กรรมดา้ นการเกษตร การปลกู หัวหอมในตน้
กลว้ ย รางวัลชนะเลิศ เหรยี ญทองระดบั ภาค นวตั กรรมด้านพลังงาน การแปรรูปสมุนไพรดว้ ยเครือ่ งป่นั และบด
อเนกประสงค์พลงั งานเซลลแ์ สงอาทติ ย์ รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั 2 เหรยี ญเงินระดับภาค นวตั กรรมด้านโรค
อบุ ัติใหม่ เจลลา้ งมืออตั โนมตั ิ รางวลั เหรียญเงินระดบั ภาค โครงงานประเภท Poster Presentation สาขา
คณิตศาสตร์
3) รางวัลระดบั จังหวัดสกลนคร รางวลั ชนะเลิศ การประกวดคลปิ วดี ที ัศน์ โครงการประกวดสือ่ ปลอดภยั
และสร้างสรรค์ จังหวดั สกลนคร ประจาปี 2564 ภายใตห้ วั ขอ้ "สกลวิถีใหมป่ นั นา้ ใจสู้ภยั โควดิ -19"
4) ระดับเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสกลนคร นักเรยี นไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ “Memoried Speech
ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ระดบั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร รางวัลชนะเลิศ “Memoried
Speech ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสกลนคร นักเรยี นได้รบั รางวลั
ชนะเลิศอนั ดับ 1 “Storytelling” ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสกลนคร
รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 “Storytelling” ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้อน สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา
มัธยมศกึ ษาสกลนคร นักเรยี นมีผลสอบวัดความรูภ้ าษาองั กฤษ TOEIC สูง 895 คะแนนจากคะแนนเต็ม 900

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา ปีการศกึ ษา 2564 41

คะแนน นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ได้รบั รางวลั ชนะเลศิ และรองชนะเลศิ อนั ดบั 1 การแข่งขนั Quiz ม.ต้น
ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ 2 การแขง่ ขนั Quiz ม.ต้น นกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ได้รบั รางวัลชนะเลิศ/รอง
ชนะเลศิ อันดบั 1 และรองชนะเลิศ อนั ดบั 2 การแข่งขนั Quiz ระดับ ม.ปลาย นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ /รองชนะเลิศ อนั ดับ 1 และรองชนะเลิศ อันดบั 2 Science presentation ม.ตน้ นักเรยี น
ไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ /รองชนะเลิศ อนั ดับ 1 และรองชนะเลศิ อนั ดบั 2 การแข่งขัน Science presentation
นักเรยี นได้รับรางวลั ชนะเลิศ /รองชนะเลิศ อนั ดบั 1 และรางวัลชนะเลิศอนั ดับ 2 การประกวด Prepared
Speech ม.ตน้ นักเรยี นได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวด Prepared Speech ม.ปลาย นักเรยี น ไดร้ ับรางวัล
ชนะเลิศ/รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดบั 1 และรางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 2 การประกวด Storytelling ม.ต้น
นักเรยี น ได้รับรางวัลรางวลั ชนะเลิศ/รองชนะเลิศ อนั ดบั 1 การประกวด Singing ม.ตน้ นักเรยี นได้รบั รางวัลรอง
ชนะเลศิ อนั ดับ 1 Singing ม.ต้น และม.ปลาย

5) รางวลั ในระดบั สถานศึกษา นักเรียนไดร้ บั รางวัลชนะเลิศ/รองชนะเลิศอันดับ 1/รองชนะเลศิ อันดบั 1
ในการประกวดทักษะภาษาไทยในระบบ Online ทงั้ ระดับ ม.ต้น และระดบั ม.ปลาย รวม 25 รายการ
นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมประกวดกจิ กรรม “1โครงงาน 1 ห้องเรยี นคุณธรรม” ผ่านการ
ประเมินระดบั 3(ดี) ทุกโครงงานโครงงานคุณธรรม ทุกหอ้ งเรียน

2.1.4 แนวทางการพัฒนาเพื่อยกระดบั เป้าหมาย
1) ควรเพิม่ กิจกรรม/โครงการ/งานเพื่อส่งเสรมิ และพัฒนานักเรียนใหม้ คี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น
การสอ่ื สาร และการคดิ คานวณ และการคิดวิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และ
แก้ปัญหา กจิ กรรมสง่ เสริมและพฒั นานักเรียนยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ ุกรายวชิ าทกุ ระดบั ชัน้ กิจกรรมส่งเสรมิ และ
พัฒนานกั เรียนในการทดสอบพนื้ ฐานระดบั ชาติ กจิ กรรมสง่ เสรมิ และพฒั นานักเรยี นด้านการใช้ภาษาอังกฤษ
เพ่อื การส่อื สาร และภาษาท่ี 3 (จีน-ญี่ปุ่น-เวยี ดนาม-เกาหลี) กจิ กรรมส่งเสริมและพัฒนานกั เรยี นในการศกึ ษา
ค้นคว้าอสิ ระ (IS) กจิ กรรมส่งเสรมิ และพัฒนานักเรยี นด้านสมรรถภาพทางรา่ งกาย กิจกรรมสง่ เสรมิ และพฒั นา
นักเรียนนักเรียนให้มนี ้าหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามัย ซ่ึงบางกิจกรรมไม่สามารถดาเนินการได้
โดยอาจจัดกจิ กรรมใน 2 รูปแบบ ทงั้ ในรูปแบบ Onsite และ รูปแบบ ONLINE เพื่อรองรบั สถานการณโ์ รคอุบัติ
ใหม่ ซ่งึ ยงั กระทบกบั การจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
2) การตรวจสอบ กากลบั ตดิ ตาม กิจกรรม/โครงการ/งาน เพ่อื ให้เป็นไปตามระบบคณุ ภาพ ควรมกี าร
ปรบั เปล่ียนให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ เชน่ การตรวจสอบผ่านแพลตฟอร์ม ท่สี ร้างขึ้นตามบรบิ ทของกิจกรรม
โดยควรเตรียม รูปแบบการกากบั ติดตาม การประเมินผล การรายงาน ท้ังในรปู แบบ Onsite และ รูปแบบ
ONLINE เพ่ือรองรบั สถานการณโ์ รคอุบัตใิ หม่


Click to View FlipBook Version