The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR2565 โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chawee Kh, 2022-04-08 10:56:59

SAR TNW 2565

SAR2565 โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา

Keywords: โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา,SAR2565

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปีการศึกษา 2564 42

2.2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

ระดับคณุ ภาพ : ยอดเย่ียม (ตามเป้าหมาย)

2.2.1 กระบวนการพัฒนา
1) โรงเรียนธาตุนารายณว์ ิทยาเปน็ โรงเรียนในโครงการโรงเรยี นมาตรฐานสากล รุ่นที่ 2 โดยยึดหลกั การ
บรหิ ารจดั การตามกรอบงานของโรงเรยี นมาตรฐานสากล 7 องคป์ ระกอบ ได้แก่ การนำองคก์ ร กลยทุ ธ์ นกั เรียน
และผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี การวัดการวเิ คราะห์และการจัดการความรู้ บคุ ลากร การปฏิบัติการ และผลลพั ธโ์ ดยใช้
TNW TEAM ขับเคลื่อนองคก์ ร มุ่งไปสคู่ วามสำเร็จตามวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ และเป้าประสงคข์ องโรงเรียน โดยพัฒนา
มาอย่างต่อเนื่อง ดงั นนั้ โรงเรยี นจึงนำกระบวนการบริหารและการจัดการของโครงการมากำหนดแผนพัฒนา
คุณภาพการศึกษาระยะ 5 ปี (2561-2565) และแผนปฏิบตั ิการประจำปีทกุ ปีการศึกษา ในปกี ารศกึ ษา 2564
มีโครงการท่สี อดคล้องกบั มาตรฐานที่ 2 จำนวน 120 โครงการ
2) โรงเรยี นใชก้ ระบวนการพัฒนางาน/โครงการ/กจิ กรรมสู่เปา้ หมายความสำเร็จ ดว้ ยการบริหารจัดการ
3 ระบบ ท่ีระบุไวใ้ นวสิ ยั ทศั น์ ไดแ้ ก่ 1) ระบบคุณภาพ (Quality Management System) งาน/กจิ กรรม/
โครงการท่ดี ำเนนิ การใชร้ ะบบการบรหิ ารด้วยวงจรคุณภาพ PDCA 2) ระบบคุณธรรม (Morality System)
ผบู้ ริหารใชก้ ระบวนการพฒั นาดว้ ยระบบคุณธรรม (TNW Moralal Program) ในการพัฒนาคณุ ภาพของนกั เรยี น
โดยอาศยั ความรว่ มมอื ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี นในการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมของนกั เรียนและบคุ ลากรภายใน
โรงเรียนและ 3) ระบบคณุ ภาพผ้เู รียน (Students Quality System) ผู้เรียนที่มีคณุ ภาพ
ตอ้ งเรมิ่ จากครจู ะต้องเปลยี่ นรปู แบบการเรียนรขู้ องผเู้ รียนไปอยา่ งสน้ิ เชิง ครใู นศตวรรษท่ี 21 ต้องยึดหลักสอน
น้อยเรียนมาก การเรยี นร้ใู นศตวรรษที่21 ต้องกา้ วข้ามสาระวชิ า นกั เรยี นทุกคนตอ้ งได้รับความรู้ไปสู่การเรยี นรู้
ทกั ษะเพ่ือการดำรงชีวิตในศตวรรษท่ี 21” (21st Century Skills) และเปน็ นักเรยี นท่เี รียนรตู้ ลอดชีวิต)
3) ในสถานการณ์โควดิ -19 โรงเรียนมีการตรวจสอบกระบวนการทำงานทุกงานทกุ โครงการ
โดยการประเมนิ งาน/กจิ กรรม/โครงการ ด้วยการกำกับตดิ ตาม งาน/โครงการที่ดำเนนิ การทุกงาน ผา่ นกลมุ่ ไลน์
ของโรงเรียน มีการประชมุ หัวหนา้ งาน/โครงการออนไลน์ เพ่ือติดตาม/แกป้ ญั หา/นเิ ทศการดำเนนิ งาน
4) โรงเรียนมกี ารประเมินงาน/โครงการผา่ นแพลตฟอร์มเพื่อให้ผ้รู ับผดิ ชอบงาน ประเมินและรายงาน
ภาพรวมของงานเป็นเบื้องตน้ ก่อนจะรายงานเปน็ เอกสาร
5) โรงเรียนมกี ารประชุมหัวหน้ากลุม่ งาน/หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ ในรปู แบบ onsite และ Online
เพ่ือนำปัญหา/อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะจากการดำเนินงานในปกี ารศกึ ษา 2564 มาวางแผนดำเนินงาน กำหนดงาน/
โครงการทจี่ ะดำเนินงานในปีต่อไป เพ่อื ให้สอดคล้องกบั มาตรฐานทกุ โครงการทโี่ รงเรยี นเขา้ รว่ ม
6) โรงเรยี นมีการเผยแพรผ่ ลการดำเนินงานของสถานศึกษาผ่านเว็บไซตข์ องโรงเรียน จดหมายขา่ ว
เอกสารแนะนำโรงเรียน คลิปวีดีโอแนะนำโรงเรยี น เปน็ ต้น

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปกี ารศึกษา 2564 43

7) โรงเรยี นมีนวตั กรรม โปรแกรมการบริหารจัดการ EPP5 ทีพ่ ฒั นาโดยครแู ละบุคลากรในโรงเรยี น ทำให้
การบริหารจัดการในสถานการณโ์ ควดิ -19 สะดวก รวดเรว็ ขึ้น ทงั้ ยังเปน็ การปฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ ไดร้ บั การยอมรบั
จากโรงเรยี นตา่ ง ๆ เขา้ มาศึกษาดงู านการดำเนนิ งานอย่างต่อเนือ่ ง

2.2.2 ผลการประเมนิ

ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ท้งั 6 ประเด็นพิจารณา
มดี งั นี้

ตาราง 36 แสดงผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ปีการศึกษา 2564

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา รอ้ ยละ สรุปผล
คา่ เป้าหมาย ผลการระเมนิ การประเมิน

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 82 87.91 สงู กวา่ เป้าหมาย

2.1 มีเป้าหมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศึกษากำหนด 86 86 ตามเป้าหมาย
ชัดเจน

2.2 มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา 86 86 ตามเป้าหมาย

2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคุณภาพของผู้เรยี นรอบ 86 80.96 ต่ำกว่าเป้าหมาย

ด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทกุ กลุม่ เป้าหมาย

2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี 86 92.50 สงู กว่าเป้าหมาย

2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสงั คมที่เออ้ื ต่อการ 86 90 สงู กวา่ เป้าหมาย
จดั การเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ

2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ การบรหิ าร 86 92 สูงกว่าเปา้ หมาย
จดั การและการจดั การเรียนรู้

จากตาราง 36 คา่ รอ้ ยละของผลการประเมินมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ปี
การศกึ ษา 2564 พบว่า กระบวนการบริหารและการจดั การ สูงกวา่ เปา้ หมาย 3 ประเด็นพจิ ารณา ตามเป้าหมาย
2 ประเดน็ พจิ ารณา ต่ำกวา่ เป้าหมาย 1 ประเด็นพิจารณา ส่งผลให้ภาพรวมของการดำเนินงานตามมาตรฐานที่ 2
สูงกว่าเป้าหมายท่ีกำหนดไว้

2.2.3 ข้อมูล/หลักฐานและเอกสารเชงิ ประจักษส์ นบั สนนุ
ข้อมลู /หลกั ฐานและเอกสารเชงิ ประจกั ษ์สนับสนนุ แยกตามประเดน็ พิจารณาทัง้ 6 ประเด็น ดงั น้ี

2.2.3.1 มีเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ท่สี ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณว์ ิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 44

1) โรงเรยี นมบี ันทกึ การประชุมบคุ ลากรประจำเดือน บันทึกการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาที่
มวี าระการประชมุ เรือ่ งการกำหนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ชัดเจน

2) โรงเรยี นมบี นั ทกึ การปรบั ปรงุ ประเด็นพิจารณาท้ัง 3 มาตรฐานให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ
แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติและความตอ้ งการของชุมชน โดยผา่ นการประชุม และมติในที่ประชุม มกี ารประกาศใช้เปน็
ทางการ ประธานกรรมการสถานศกึ ษาลงนามรบั รอง และมีบนั ทึกการประชมุ แสดงการมีสว่ นร่วมของบุคลากร
และผู้เก่ียวข้องชัดเจน

3) มกี ารเผยแพร่วิสยั ทัศน์เป้าหมายพันธกิจ ผา่ นจดหมายข่าว เอกสารแนะนำโรงเรยี น เว็บไซต์ของ
โรงเรียน

4) มีบันทึกรายงานการศึกษาดูงานของหนว่ ยงานต่างๆ ท่ีเข้ามาศึกษาดงู านประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษาของโรงเรยี น

5) แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาระยะ 5 ปี (2561-2565) และแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ
มีการนำวสิ ัยทศั น์เป้าหมายพันธกจิ มาเปน็ เปา้ หมายสำคญั ในการวางแผนงาน/กจิ กรรม/โครงการทุกโครงการ

2.2.3.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา
1) แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาระยะ 5 ปี (2561-2565) และแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีมีข้นั ตอนการ
ดำเนนิ งานตามระบบคุณภาพ (PDCA) ทกุ งาน/กิจกรรม/โครงการ
2) นอกจากใชร้ ะบบคณุ ภาพแลว้ โรงเรยี นยงั มกี ารขับเคล่ือนองค์กรโดยใช้ ใช้ TNW TEAM MODEL
อย่างต่อเนอ่ื ง
3) กลมุ่ งาน กลมุ่ สาระการเรยี นรูท้ ุกกลุ่มสาระฯ มีค่มู อื การปฏิบตั งิ านเปน็ ระบบ มีการรายงาน
โครงการ/กจิ กรรมทุกกจิ กรรมตามระบบคุณภาพ (PDCA)
4) ครแู ละบุคลากรทุกคนมรี ายงานผลการปฏิบตั งิ านรายบุคคล (SAR) ผา่ นโปรแกรม EPP5
ซึ่งเป็นนวัตกรรมดา้ นการบรหิ ารจดั การของโรงเรยี น ในรปู แบบ SAR ONLINE
2.2.3.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพของผู้เรยี นรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษา
และทุกกลุ่มเปา้ หมาย
1) นกั เรียนหลกั สูตร English Program มีโครงการสอบเทียบความรตู้ ามมาตรฐานนานาชาติ
(TOEIC) โดยมีคะแนนเฉล่ีย 250 คะแนนข้นึ ไป พฒั นาอยา่ งตอ่ เร่ือง ดังตาราง 37

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณว์ ทิ ยา ปกี ารศึกษา 2564 45

ตาราง 37 เปรยี บเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการสอบ TOEIC ของนกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3
และมัธยมศึกษาปีท่ี 5 หอ้ งเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (English Program) 3 ปีการศึกษา (2562-2564)

ปี ่ีทสอบ เป้าหมาย(ไดค้ ะแนน 250
จำนวน ันกเรียน คะแนนขนึ้ ไป (ร้อยละ)
เข้าสอบ ั้ทงหมด
คะแนนเต็ม
คะแนนเฉลี่ย
คะแนนสูง ุสด
คะแนนต่ำ
จำนวน ันกเรียน
ไ ้ด 250 คะแนน
ข้ึนไป
คิดเป็นร้อยละ

2562 58 990 411.03 730 205 51 87.93 60

2563 58 990 321.70 895 90 41 70.86 60

2564 58 990 402.84 775 215 48 82.75 60

ที่มา : รายงานการสอบ TOEIC โครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษภาษาอังกฤษ

จากตาราง 37 คะแนนเฉลย่ี ผลการสอบ TOEIC ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3
และมัธยมศึกษาปีท่ี 5 หอ้ งเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (English Program) เปรยี บเทยี บ 3 ปีการศกึ ษา (2562-
2564) ผ่านเกณฑ์ท่โี รงเรยี นตั้งเป้าไว้ (ร้อยละ60) ทั้ง 3 ปกี ารศกึ ษา

2) นักเรยี นแผนการเรยี น 5 ภาษา (อังกฤษ-จีน-ญ่ปี ่นุ -เวยี ดนาม-เกาหล)ี มีโครงการ/กิจกรรม
พฒั นาผเู้ รยี นครบทั้ง 5 ภาษา

3) นักเรียนโครงการห้องพิเศษวิทยาศาสตร์มโี ครงงาน/งานวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตร์/คณติ ศาสตร์
และคอมพวิ เตอร์ หอ้ งเรียนวทิ ยาศาสตร์-คอมพิวเตอร์ มีการดำเนนิ การตามโครงการ มีการรายงานตามระบบ
คุณภาพ เผยแพรผ่ ่านจดหมายขา่ ว เวบ็ ไซตส์ ถานศึกษา และมผี ลการประกวด/แข่งขนั ในระดับชาติ

2.2.3.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวิชาชพี
1) ครผู ่านการอบรมและพฒั นาตนเองอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง ครบทุกคน
2) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีโครงการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) มโี ครงการนิเทศการ

จัดการเรยี นร้แู ละดำเนินการตามโครงการ กำกบั ติดตาม ประเมินผล รายงานผลตามระบบคณุ ภาพ และมีการ
เผยแพร่ผ่านเวบ็ ไซต์ จดหมายข่าว และ รายงานผลการปฏิบัติงานรายบุคคล SAR ONLINE

3) สถานศึกษามจี ำนวนครูและบคุ ลากรเพยี งพอในการปฏิบัตงิ าน และปฏบิ ตั หิ นา้ ทส่ี อนตรงตาม
วิชาเอก ยกเว้นกลุ่มงานแนะแนว ขาดบคุ ลากรเน่ืองจากเกษียณอายุราชการและยังไม่ได้จดั สรรตำแหนง่ คนื
โรงเรียนได้รับความรว่ มมือจากครูกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยและกลมุ่ การงานอาชีพมาช่วยสอนโดยครกู ลุ่มงาน
แนะแนวออกแบบกิจกรรมเพ่ืออำนวยความสะดวกใหก้ บั ครูท่มี าช่วยสอน ทำใหแ้ กป้ ัญหาได้ดว้ ยดี ดังตาราง 38

4) มีกิจกรรมใหข้ วัญกำลงั ใจและช่นื ชมยินดีแก่ครูและบคุ ลากรในที่ประชุมประจำเดอื นทุกเดือน

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา ปีการศกึ ษา 2564 46

ตาราง 38 แสดงจำนวนครูตามกลมุ่ สาระฯ และคาบสอนเฉลี่ย ปกี ารศึกษา 2564

จำนวน คาบสอน
เฉล่ยี
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ครูท้งั หมด ครอู ัตราจา้ ง/ รวม
พนักงานราชการ 12.61
16.56
1. ภาษาไทย 19 0 19 12.48
14.10
2. คณติ ศาสตร์ 18 0 18 14.50
13.56
3. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 39 3 42 15.83
10.59
4. สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 19 1 20 41.00
16.80
5. สุขศึกษา พลศึกษา 8 08

6. ศลิ ปะ 8 19

7. การงานอาชพี 8 19

8. ภาษาต่างประเทศ 25 19 44

9. แนะแนว 2 02

รวม 146 25 171

จากตาราง 38 โรงเรยี นมีจำนวนครแู ละบุคลากรเพยี งพอทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ โดยมคี าบสอนเฉล่ยี 16.80 คาบ

2.2.3.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และสังคมทเ่ี อื้อตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ
1) โรงเรยี นมีการจัดภมู ิทัศนภ์ ายในสถานศึกษาไดส้ วยงาม มขี อ้ ความแสดงอัตลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์

คำขวัญ คตธิ รรม จดุ เนน้ ของสถานศึกษา คำแนะนำ การดูแลปอ้ งกันตัวเองในสถานการณโ์ ควิด-19 ประกอบภาพ
สวยงาม น่าสนใจ ตดิ กระจายตามอาคารตา่ งๆ ทบี่ คุ คลทัว่ ไปมองเหน็ ไดช้ ดั เจน

2) มกี ารจัดห้องเรียนใหน้ า่ เรยี น ตามโครงการ “ห้องเรยี นอารมณ์ดี” โดยเรม่ิ จดั เป็นห้องเรยี น
ตน้ แบบและมีโครงการขยายโครงการให้ครบทกุ ห้องเรียน

3) โรงเรียนมีหอ้ งเรียนเพยี งพอกบั จำนวนนกั เรียน มีเคร่ืองส่งสญั ญาณอินเตอรเ์ นต็ โทรทศั น์
เคร่อื งฉายภาพ พร้อมให้ครูและนักเรียนเรยี นรผู้ ่านส่อื ออนไลนไ์ ด้ทุกหอ้ งเรียน

4) โรงเรยี นมีหอ้ งปฏิบตั ิการท่ีมีอปุ กรณ์เทคโนโลยที ันสมัย เอ้ือต่อการเรียนรู้ และเพยี งพอกบั จำนวน
นกั เรียนครบทุกระดับชน้ั โดยมขี อ้ มลู สารสนเทศแสดงจำนวนหอ้ งเรยี น ห้องทดลอง ห้องปฏิบตั ิการ

5) โรงเรียนมแี หล่งเรยี นรูต้ ่างๆ ภายในในโรงเรยี น โรงเรยี นมหี อ้ งเรียน ห้องทดลอง ห้องปฏบิ ตั กิ าร
และอุปกรณ์เทคโนโลยที ีท่ นั สมยั เออ้ื ต่อการเรียนรู้ เพียงพอกบั จำนวนนักเรยี น ในช่วงสถานการณ์โรคอบุ ัติใหม่
นกั เรยี นใช้แหลง่ เรยี นรูอ้ อนไลน์ เพอ่ื สืบคนื ข้อมลู ได้ไมจ่ ำกัดครบรอ้ ยละ 100 ตาราง 39

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 47

ตาราง 39 แสดงการใชแ้ หลง่ เรยี นรูภ้ ายในโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2564

แหล่งเรยี นรู้ จำนวนนักเรยี นใช้แหลง่ เรียนรู้ (คน) ร้อยละ

ัท้งหมด
ม.1
ม.2
ม.3
ม.4
ม.5
ม.6
รวม

ห้องสมุด 3164 578 567 543 499 492 485 3,164 100
100
หอ้ งสืบคน้ 3164 578 567 543 499 492 485 3,164 100
100
หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ 3164 578 567 543 499 492 485 3,164 100
100
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารวทิ ยาศาสตร์ 3164 578 567 543 499 492 485 3,164 100
100
หอ้ งปฏบิ ัติการเคมี 991 - - - 499 492 - 991 100
100
ห้องปฏบิ ัตกิ ารชวี วทิ ยา 1476 - - - 499 492 485 1,476 100
100
หอ้ งปฏิบตั กิ ารฟสิ กิ ส์ 1476 - - - 499 492 485 1,476 100
100
ห้องปฏบิ ัตกิ ารดาราศาสตร์ 492 - - - - 492 - 492

ห้องปฏิบัตกิ ารภาษาจีน 3164 578 567 543 499 492 485 3,164

หอ้ งปฏบิ ตั ิการภาษาญีป่ นุ่ 3164 578 567 543 499 492 485 3,164

ห้องปฏิบตั กิ ารภาษาเวียดนาม 3164 578 567 543 499 492 485 3,164

ห้องอาเซยี นศึกษา 3164 578 567 543 499 492 485 3,164

ธรรมศาลา 3164 578 567 543 499 492 485 3,164

รวม / เฉลย่ี รวม 32,911 5,202 5,103 4,887 5,988 6,396 5,335 32,911

จากตาราง 39 นกั เรยี นใช้แหล่งเรยี นรู้ภายในโรงเรยี น ร้อยละ 100 ของนักเรียนกลมุ่ เป้าหมาย

2.2.3.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบรหิ ารจดั การ และการจดั การเรยี นรู้
1) โรงเรียนจดั สัญญาณอินเตอร์เน็ตภายในโรงเรยี นให้บุคลากรทกุ คนในโรงเรยี น นกั เรียนและ

ผู้ปกครองสามารถสืบคน้ ผา่ นเวบ็ ไซตข์ องโรงเรยี นได้อย่างสะดวก จัดใหค้ รบู ุคลากรและนักเรยี นทกุ คนมีอเี มล์
แอคเคานข์ องโรงเรียน สามารถเกบ็ ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนและการเรยี นรูไ้ ด้ไม่จำกดั

2) มกี ารนำนวตั กรรม “โปรแกรมบริหารจัดการ EPP5” มาใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู สารเทศทุกกลมุ่
งาน ทกุ กลุ่มสาระฯ ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และเป็นการปฏบิ ตั ทิ ่เี ป็นเลศิ มีการเผยแพร่ในรูปแบบต่างๆ และมี
หน่วยงานมาศกึ ษาดูงานการใช้โปรแกรมบรหิ ารงานเปน็ ประจำ

3) มีแหล่งเรยี นรูห้ ลากหลายท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษา โดยมีหลกั ฐานการใชแ้ หลง่ เรียนรู้

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา ปีการศึกษา 2564 48

แผนภูมิ 4 แสดงจำนวนอุปกรณเ์ ทคโนโลยีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564

แผนภมู ิแสดงจานวนอุปกรณ์เทคโนโลยี ปีการศกึ ษา 2564

221 226 241 244

250

200

150 90 93 70 75
100

50 3 5 3 5

0 จดั หาเอง/บริจาค ใช้งานได้ ใช้งานไมไ่ ด้

งบประมาณ สพฐ.

คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื การเรียนการสอน คอมพวิ เตอร์เพ่ือการบริหารจัดการ รวมคอมพิวเตอรท์ ้งั หมด

4) ในสถานการณโ์ ควดิ -19 โรงเรยี นมีการปรับเปล่ยี นการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นแบบเดมิ เป็น
การบรู ณาการรายวชิ าหน้าท่ีพลเมือง วชิ าการปอ้ งกันทุจริต กิจกรรมชมุ นมุ กิจกรรมลูกเสือ-ยุวกาชาด กจิ กรรม
บำเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมจิตอาสา โดยให้ผเู้ รยี นทุกคน สามารถพัฒนาตนเองผ่านการเรยี นรู้ออนไลน์/
กิจกรรมออนไลน์ แลว้ นำหลักฐาน เชน่ รปู ถ่าย เกยี รติบตั ร ฯลฯ มาแสดงเป็นหลักฐานในการผา่ นการร่วม
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน โดยครูที่ปรกึ ษาเปน็ ผู้รับผิดชอบ ส่งผลใหผ้ ู้เรียนพงึ พอใจและผ่านการประเมินกิจกรรม
พัฒนาผเู้ รยี น รอ้ ยละ 100

5) โรงเรียนสนบั สนุนให้ผเู้ รยี นทกุ คนสามารถติดต่อส่ือสารกบั ครผู ้สู อนและครูที่ปรึกษาผ่านไลน์
กลมุ่ หอ้ ง ผ่านเว็บไซตโ์ รงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา ผ่าน Facebook : Thatnaraiwittaya school เปน็ ต้น

2.2.3 ข้อมูล/หลักฐานและเอกสารเชิงประจักษ์สนบั สนนุ
รางวลั ท่ีโรงเรยี นไดร้ ับสะท้อนใหเ้ ห็นวา่ โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารการจดั การทด่ี ี สง่ ผลให้ครูและ

นักเรียนได้รับรางวลั ในระดับต่างๆ ไดแ้ ก่ ไดร้ ับโลพ่ ระราชทาน สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี รางวัลครทู ปี่ รึกษาโครงงานคณุ ธรรมส่งเสริมอัตลักษณว์ ถิ ีพุทธดีเด่น รางวัลผู้
ฝกึ สอนดีเด่น "ดา้ นการสวดมนต์หมู่ฯ ทำนองสรภญั ญะ" ครูผฝู้ ึกสอนนกั เรยี นเข้าร่วมการแขง่ ขันภาษาและ
วัฒนธรรมจีนแหง่ ประเทศไทย จากสถานกงสุลใหญ่แหง่ สาธารณรฐั ประชาชนจีนประจำเชียงใหม่ ครผู ้ฝู ึกซ้อม
นกั เรียนได้รบั รางวลั ระดับเหรียญทอง รองชนะเลศิ ศูนย์ครอบครัวพอเพยี งโรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยาได้รับรางวลั
ขับเคลอ่ื นศนู ย์ครอบครวั พอเพยี งระดับประเทศ รางวัลครูผู้ฝกึ สอนดเี ด่น "ด้านการสวดมนตห์ มู่สรรเสริญ
พระรัตนตรัย ทำนองสรภญั ญะ" ประเภททีม 5 คน ระดับประเทศ รางวัลผู้ฝกึ สอนการประกวดบรรยายธรรม
นักเรยี น ระดับประเทศ อนั ดับ 2 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 ระดบั มัธยมศึกษา ประเภททมี หญงิ ลว้ น
การประกวดสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรัตนตรัย ทำนองสรภญั ญะ ประเภททีม 5 คน ระดบั ประเทศ

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วทิ ยา ปีการศึกษา 2564 49

จากกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 4 ระดบั มธั ยมศึกษา ประเภททีมหญิงล้วน
การประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรตั นตรัย ทำนองสรภัญญะ ประเภททมี 10 คน ระดับประเทศ จากมหา
วทิ ยามหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย รางวัลเกียรติคณุ ระดบั มัธยมศกึ ษา ประเภททีมชายลว้ น การประกวด
สวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรัตนตรัย ทำนองสรภัญญะ ประเภททมี 5 คน ระดับประเทศ จากกรมการศาสนา
กระทรวงวัฒนธรรม รางวัลสง่ เสริมการประกวดบรรยายธรรมนักเรียน ผา่ นวิดโี อ คณะสงฆ์ภาค 8 จาก
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม รางวัลชนะเลศิ ระดับมธั ยมศึกษา ประเภททีมชายลว้ น

2.2.4 แนวทางการพัฒนาเพื่อยกระดับเป้าหมาย
1) โครงการห้องเรยี นตา่ งๆ ควรนำเพ่ิมโครงการเชงิ รกุ เพ่ือศักยภาพผู้เรยี นทุกด้านให้มีความต่อเนื่อง

โดยเฉพาะในชว่ งสถานการณ์โควดิ -19 ควรมกี ารสำรวจความต้องการและความสนใจของผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี กอ่ น
ดำเนินการ มกี ารวางแผนดำเนินการใหค้ รอบคลมุ ทั้งการพัฒนาในรปู แบบ Onsite และรปู แบบ online มกี าร
วดั ผล ประเมนิ ผล และสำรวจความพงึ พอใจเพื่อการพฒั นาใหเ้ หมาะสมและยั่งยืน

2) ควรมีการนำการวจิ ยั เพื่อพัฒนา มาเปน็ ส่วนหนึ่งในการวางแผนการพัฒนาให้ครบทุกโครงการ
และนำมาใชอ้ ยา่ งต่อเนื่อง

3) กิจกรรม/โครงการใดที่ได้รับการพฒั นาศกั ยภาพจนประสบความสำเรจ็ เป็นการปฏิบตั ิท่เี ป็นเลศิ
หรอื ไดร้ บั รางวัลในระดับชาติติดตอ่ กนั โรงเรยี นควรส่งเสริมใหส้ รา้ งเปน็ โมเดล และยกย่องใหเ้ ป็นนวัตกรรม
การปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ ของสถานศึกษา

2.3 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยย่ี ม (ตามเป้าหมาย)

2.3.1 กระบวนการพัฒนา
โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยา มีกระบวนการพัฒนามาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการ

สอนท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั มาอย่างต่อเนอ่ื ง โดยยดึ กระบวนการทำงานตามระบบคณุ ภาพ (PDCA) ดังนี้
1) มกี ารดำเนินโครงการ/กจิ กรรมท่ีเกีย่ วข้องกับมาตรฐานท่ี 3 จำนวน 62 โครงการ ซึง่

ครอบคลุมประเด็นพิจารณาทั้ง 5 ประเด็น สอดคล้องกับกลยุทธแ์ ละเป้าหมายหลักของโรงเรียน
2) ดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรม ตามแผนปฏบิ ตั กิ าร แม้ในสถานการณ์ไมป่ กติจากสถานการณ์

โรคอุบัติใหม่ มีการปรับเปล่ียนรปู แบบของการจัดกจิ กรรมทั้งในลกั ษณะ Online และ Onsite
ตามความเหมาะสม เพื่อใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ/กจิ กรรม

3) มีการติดตาม ตรวจสอบการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมและวดั ผลการดำเนนิ โครงการเป็น
ระยะ ระหวา่ งดำเนินโครงการ และส้นิ สุดโครงการ เพ่ือให้เป็นไปตามเป้าหมายทต่ี ้ังไว้

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วทิ ยา ปกี ารศกึ ษา 2564 50

4) จดั ประชมุ สรุปผลงาน/โครงการ/กจิ กรรม นำผลมาวิเคราะหแ์ ละสรปุ รายงานผลการ
ดำเนินงาน โดยสร้างแพลตฟอรม์ ให้รายงานในรปู แบบ Online ในเบ้อื งต้น และรายงานเปน็ เอกสารเก็บเป็น
หลักฐานเพ่ือให้เหมาะสมกับสถานการณ์โรคอุบัติใหม่

5) มกี ารนำปัญหาและข้อเสนอแนะไปวางแผนดำเนินงานในปีตอ่ ไป ส่วนผลการประเมินโครงการ/
งาน/กจิ กรรมทไ่ี ม่เป็นไปตามเปา้ หมาย ให้ผ้รู ับผิดชอบออกแบบกจิ กรรมเพ่มิ เตมิ เพื่อพัฒนาให้เปน็ ไปตามเปา้ หมาย
หรอื สงู กว่าเปา้ หมายในปีการศึกษาตอ่ ไป
รายละเอียดกระบวนการพฒั นา แยกตามประเด็นพิจารณา ทงั้ 5 ประเด็น มดี งั นี้

1) จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั
ได้ โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วิทยา จดั การเรยี นเรียนรูต้ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช
2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) บูรณาการกับหลักสูตรนานาชาติ โดยนกั เรียนสามารถเลอื กแผนการเรยี นตาม
ความถนัดและความสนใจ ครแู ต่ละกลมุ่ สาระจดั การเรยี นรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้วี ดั ของหลักสตู ร
สถานศึกษา โดยครูผู้สอนมีการวเิ คราะห์หลกั สตู ร จดั ทำกำหนดการสอนและแผนการจดั การเรยี นรู้ท่สี ามารถนาไป
จัดกิจกรรมได้จรงิ เสนอต่อฝา่ ยวิชาการ เพ่อื ตรวจสอบถึงความสอดคลอ้ งของเนื้อหาที่กำหนดในโครงสรา้ งรายวิชา
และตัวชวี้ ดั /มาตรฐานการเรียนรู้ และนำไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ มีการบนั ทึกผลการจัดการเรยี นรู้ และ
ประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้ เพือ่ วเิ คราะห์ปัญหาท่เี ปน็ อุปสรรคในการจดั การเรยี นรู้และหาแนวทางแก้ไขปัญหา
เพื่อปรบั ปรุงและพฒั นา รูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ต่อไป มีการบูรณาการเนื้อหาวชิ าการร่วมกันระหว่าง
กลุม่ สาระเพื่อใหเ้ กดิ ชิ้นงานที่นักเรียนสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้ เชน่ การสอนในรูปแบบโครงงาน 1
ห้องเรยี น 1 โครงงานคณุ ธรรมในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย ท่ีเปิดโอกาสให้นักเรียนไดช้ ่วยกันคิดและแก้ไข
ปญั หาทีเ่ กิดขึ้นในชั้นเรยี นโดยใชห้ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเปน็ ตัวชว่ ยในการแก้ปัญหา และนำเสนอตอ่
คณะกรรมการในรูปแบบออนไลน์ โดยใชโ้ ปรแกรม google meet เพือ่ ตรวจสอบและประเมนิ ผลการแกป้ ญั หา
ของนักเรยี นใหข้ ้อเสนอแนะเพือ่ เป็นแนวทางในการแกป้ ัญหาและพฒั นาต่อ จนเกิดเปน็ นวตั กรรมท่ีเปน็ แบบอย่าง
ในการจัดการเรยี นรู้ และมีการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของโรงเรียน เอกสารแนะนำโรงเรยี น คลปิ แนะนำโรงเรียน
จดหมายขา่ ว เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการดำเนินการโครงการ/กจิ กรรม ต่างๆ เชน่ โครงการพัฒนาการเรยี นการ
สอนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาความเป็นเลศิ ทักษะทางภาษาไทย โครงการพัฒนา
ศกั ยภาพนักเรียนโครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ พัฒนานักเรียนสูค่ วามเป็นเลิศทางไอซที ี
พัฒนาศักยภาพนกั เรียนท่มี ีความสนใจพิเศษดา้ นคอมพิวเตอร์ โครงการพฒั นาศักยภาพการจดั การเรียนการสอน
ภาษาตา่ งประเทศ โครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลิศทางดา้ นทักษะและภาษาห้องเรียนพเิ ศษ EP
โครงการพฒั นาการเรียนการสอนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ สู่มาตรฐานสากล”โครงการพฒั นาการเรียนการสอน
กลุม่ สาระการงานอาชพี ฯ โครงการพัฒนาการเรียนการสอนกลมุ่ สาระศลิ ปะ ส่มู าตรฐานสากล โครงการการพัฒนา
สื่อการเรียนการสอนสงั คมศึกษาสโู่ รงเรียนมาตรฐานสากลโครงการพฒั นาศักยภาพการจัดการเรยี นการสอน
ภาษาตา่ งประเทศ เพื่อพฒั นาครใู ห้สามารถจดั การเรียนการสอนได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปีการศกึ ษา 2564 51

สง่ เสรมิ ให้นักเรียนเกิดทกั ษะการคิดและการปฏบิ ตั ิ มีความสามารถในการแกป้ ญั หา มีความคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์
สามารถคิดค้น ออกแบบพัฒนาช้ินงาน ส่ิงประดษิ ฐ์ นวัตกรรม โดยใช้เครือ่ งมือเทคโนโลยที ่ีเหมาะสม และกล้าท่ี
จะนำเสนอผลงานในเวทีตา่ งๆ ได้

2) ใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นร้ทู ่ีเอื้อตอ่ การเรียนรู้ ครูมกี ารใช้ส่ือ ท้ังสื่อ
ส่ิงพิมพ์ ส่อื วัสดุ-อปุ กรณ์ และส่ือออนไลน์ท่สี ง่ เสริมการเรียนรแู้ ก่ผู้เรยี น โดยมกี ารปรบั เปลย่ี นใหท้ ันตาม
สภาวการณ์ของโรคอุบตั ใิ หม่ อกี ท้ังการใช้ส่ือสิ่งพิมพ์ สอ่ื ออนไลน์ท่มี ีผผู้ ลิตไว้ ใหส้ อดคล้องกบั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี
ระบไุ วใ้ นแผนการจัดการเรียนรู้ และมีความเหมาะสมตามวัยของผู้เรยี น มีผ้เู ชี่ยวชาญรว่ มประเมินส่ือการจดั การ
เรียนรทู้ ่คี รจู ัดทำข้ึน เพ่ือนำผลการประเมินมาปรบั ปรุงและพฒั นาสอื่ ต่อไป เชน่ มีการดำเนินโครงการการพฒั นา
สอ่ื การเรยี นการสอนสงั คมศึกษาสโู่ รงเรียนมาตรฐานสากล ในสภาวการณ์ปจั จุบนั ครผู สู้ อนได้มีการนำเอา
เทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชเ้ ป็นอย่างมาก ท้งั ในดา้ นของการตดิ ตอ่ ส่อื สารระหวา่ ง ครูกับนักเรยี น ครูกับผู้ปกครอง
และครูกับชุมชน เป็นต้น และในดา้ นของการจัดการเรยี นรผู้ า่ นเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต โดยใช้ แอพพลิเคชนั ตา่ งๆ
มกี ารประเมินผลผเู้ รยี นผา่ นการทดสอบออนไลน์ ให้มคี วามเหมาะสมกับผู้เรียน และมีการพัฒนาแหลง่ เรยี นรูท้ ัง้
ภายในโรงเรียน แหล่งเรียนรูอ้ อนไลนท์ ี่ครสู รา้ งขนึ้ ใหเ้ อื้อต่อการเรยี นรู้ อีกท้งั ยังสง่ เสริมให้ผ้เู รยี นได้เขา้ ถึงแหล่ง
เรียนรูภ้ ายนอกโรงเรยี น แหลง่ เรียนรใู้ นท้องถิ่น และแหลง่ เรียนร้บู นอนิ เตอรเ์ น็ต ผา่ นการจัดกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
การจดั กิจกรรมชมุ นมุ ที่สง่ เสริมใหน้ ักเรียนไดเ้ ข้าไปศึกษาค้นคว้าในเร่ืองทน่ี กั เรยี นสนใจ เข้ารับการเรียนรจู้ นผ่าน
เกณฑ์ ทำแบบทดสอบออนไลนเ์ พ่ือวดั ความร้แู ละได้รับเกียรตบิ ตั รเมือ่ ผ่านเกณฑท์ ก่ี ำหนด โครงการพฒั นาแหลง่
เรียนรใู้ นโรงเรียน โครงการปรบั ปรงุ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 5 ภาษา (Sound Lab) โครงการหอ้ งสมดุ มลั ตมิ ิเดยี โครงการ
พัฒนาห้องเรยี นคุณภาพ Smart Room ห้องเรยี นอารมณ์ดี โครงการพฒั นาปรบั ปรุงอาคารสถานทแี่ ละ
สง่ิ แวดล้อม โครงการสบื สานภมู ิปญั ญาท้องถ่ินสกลนคร โครงการพฒั นาแหล่งเรียนร้ศู นู ย์อาเซียนศึกษา เป็นตน้

3) มีการบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชิงบวก ครทู ป่ี รึกษาประจำชน้ั และครูผู้สอนทุกคน มีบรหิ าร
จดั การช้ันเรียนเชงิ บวก โรงเรียนจัดใหม้ ีครูทป่ี รึกษาอยา่ งน้อย 2 คนต่อ 1 ห้องเรยี นเพ่ือดแู ลนักเรยี นในทป่ี รึกษา
ร่วมกับครปู ระจำวชิ าอื่นๆ โดยครทู ปี่ รึกษาเป็นครปู ระจำวิชานักเรยี นด้วยอยา่ งน้อย 1 คน เพอ่ื จะได้ใกล้ชดิ และ
เกดิ ความคุ้นเคย นักเรียนเกดิ ความไวว้ างใจ ครทู ่ีปรึกษาทำการวเิ คราะห์ผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล เยย่ี มบ้านนักเรยี นปี
การศกึ ษาละ 1 คร้ัง โดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน เก็บข้อมูลนักเรยี น จากแบบสอบถามความคิดเห็นของ
นกั เรยี นและผู้ปกครอง และแบบสงั เกตพฤตกิ รรม เพื่อนำศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและหาวธิ กี าร
จัดการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกับผู้เรียน และสามารถชว่ ยเหลอื นักเรียนได้กรณที ี่นักเรียนมีปัญหา โดยมกี ารดำเนินการ
เปน็ ระยะตลอดท้ังภาคเรียน มกี ารเสริมแรงใหก้ ับนักเรยี น เชน่ การยกยอ่ ง ชมเชยเมื่อนักเรยี นทำดี
ฝึกระเบียบวนิ ัยทัง้ ในการเรียน และการดำเนนิ ชีวติ จดั ทำโครงการคนดศี รธี าตุนารายณ์ เพอื่ ช่นื ชมนักเรียนท่ที ำ
ความดเี กบ็ ของได้และสง่ คนื เจ้าของ จดั บรรยากาศในห้องเรยี นที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ จดั ทำโครงการส่งเสรมิ
ความประพฤติระเบยี บวนิ ยั ของนักเรยี น โครงการพฒั นาคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ และส่งเสรมิ ดา้ นอัตลกั ษณ์
โครงงานคณุ ธรรม 1 โครงงาน/1 หอ้ งเรยี น

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณ์วิทยา ปีการศึกษา 2564 52

โครงการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ระเบยี บวินยั นกั เรยี น เพอ่ื ปลูกฝงั สรา้ งเสรมิ ระเบียบวนิ ยั เพือ่ ใหน้ ักเรียน
ประพฤติปฏบิ ตั ติ นอยู่ในระเบียบแบบแผนของโรงเรยี นและกฎกตกิ าของสงั คม มีจิตสานึกที่ดี มจี ติ สาธารณะ
มคี วามเปน็ ประชาธิปไตย

4) ประเดน็ พจิ ารณาที่ 4 ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมา
พัฒนาผู้เรียน โรงเรียนมกี ารตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบ ครมู ีการวางแผนการจัดการเรยี นรู้
จดั ทำกำหนดการสอนทีม่ เี กณฑ์การวัดผลและประเมินผลเสนอตอ่ ฝา่ ยวิชาการพจิ ารณาความเหมาะสมในการวดั
และประเมิน และบนั ทึกในระบบพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนออนไลน์ (EPP5) ท่มี ีการกำหนดการวดั และประเมนิ ผล
อยา่ งชัดเจน ทง้ั ด้านพุทธพสิ ัย ดา้ นทักษะพสิ ัย และดา้ นเจตคติ คลอบคลมุ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวดั /ผล
การเรยี นรทู้ คี่ าดหวงั นักเรยี นและผูป้ กครองสามารถเข้าถงึ ผลการประเมินการจัดกาเรียนรูไ้ ด้ตลอดเวลา เพ่ือ
ประเมนิ ตนเอง และแก้ไข พัฒนาการเรียนรขู้ องครูและนกั เรยี น ฝ่ายวชิ าการมกี ารนเิ ทศการจดั การเรยี นรู้ในชั้น
เรียน และการนเิ ทศติดตามการบนั ทึกข้อมลู ในระบบ EPP5 จำนวน 4 ครั้ง/ภาคเรยี น เพื่อติดตามการทำงานของ
ครูและปรับปรงุ พัฒนาการวัดและและประเมินผลของครู

5) ประเดน็ พจิ ารณาที่ 5 มีการแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละให้ขอ้ มูลสะท้อนกลบั เพ่ือพฒั นา
และปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู้ ครผู ูส้ อนวางแผนการจดั การเรยี นรู้ และวางแผนการดำเนินการแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้ ปฏิบตั ิการสรา้ งชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพระหวา่ งครูและผ้มู สี ่วนเกี่ยวข้อง (PLC) มีการสรา้ งทีม PLC
ภายในกลุ่มสาระ การเรยี นรู้และร่วมกันแกป้ ญั หา เช่น การแก้ปัญหานักเรียนอา่ นไม่ออก การแก้ปญั หานกั เรียน
ขาดทกั ษะในการคิดคำนวณ โดยมผี บู้ ริหารใหค้ ำปรึกษาและเสนอแนะแนวทางแก้ไข เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการ
จดั การเรยี นรู้ จนเกดิ เป็นนวตั กรรมกระบวนการเรียนรู้ เผยแพร่ ใหแ้ กผ้ ู้สนใจนำไปปรบั ใช้ได้ โดยปญั หานัน้ อาจ
เปน็ ประเดน็ ปัญหาตามแบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ท่ีใช้ประกอบการประเมนิ เพื่อเล่อื นหรือคงวิทยฐานะก็
ได้ นอกจากนีค้ รยู ังได้รับการนิเทศการสอนระหว่างเพ่ือครู ท่มี ลี กั ษณะคล้ายการเปิดช้นั เรยี นในการทำ PLC เพื่อ
ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องครู วา่ สอดคล้องกบั แผนการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี สนอต่อฝ่าย
วิชาการ และใหข้ ้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไขปัญหา เพ่ือพัฒนาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้

2.3.2 ผลการประเมิน
ผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

ท้งั 5 ประเด็นพจิ ารณา มีดังนี้

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณ์วิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 53

ตาราง 40 แสดงคา่ ร้อยละของเปา้ หมายของผลการประเมินตนเอง มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการ
สอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา รอ้ ยละ สรปุ ผล
คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ การประเมนิ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอน
ทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคญั 86 90 สูงกว่าเปา้ หมาย
3.1 จัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจริง และ
สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ สูงกวา่ เปา้ หมาย
86 90

3.2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี อื้อต่อการ 86 90 สงู กวา่ เปา้ หมาย
เรยี นรู้ 86 90 สงู กว่าเป้าหมาย
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี นเชงิ บวก 86 90 สูงกวา่ เปา้ หมาย
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ
และนำผลมาพัฒนาผู้เรยี น 86 90 สงู กวา่ เปา้ หมาย
3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับ
เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้

จากตาราง 40 คา่ ร้อยละของผลการประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้
ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ปีการศึกษา 2564 พบวา่ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ สงู กวา่
เปา้ หมายทั้ง 5 ประเดน็ พิจารณา ส่งผลให้ภาพรวมของการดำเนินงานตามมาตรฐานที่ 3 สงู กวา่ เปา้ หมาย
ทก่ี ำหนดไว้

2.3.4 ข้อมูล/หลกั ฐานและเอกสารเชงิ ประจกั ษ์สนับสนุน
1) จัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้

ในชวี ิตประจำวันได้ ครูจัดการเรยี นรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ของหลักสตู รสถานศึกษา มกี ารวเิ คราะห์
หลักสูตร จัดทำกำหนดการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ทีส่ ามารถนำ ไปจดั กิจกรรมไดจ้ ริง มกี จิ กรรม/โครงการ
พเิ ศษสำหรบั ผู้ท่ีมีความจาํ เป็น และตอ้ งการความชว่ ยเหลอื สง่ เสริมผูเ้ รียนให้ไดร้ ับการฝกึ ทกั ษะแสดงออก แสดง
ความคิดเหน็ สามารถสรปุ องคค์ วามรู้และนาํ เสนอผลงานในเวทีต่างๆ และสามารถนาํ ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตได้
ซึง่ จะเห็นไดจ้ ากผลการประเมินในด้านต่างๆ ดังน้ี

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วทิ ยา ปีการศกึ ษา 2564 54

(1) ครูผู้สอนมีการวางแผนการจดั การเรยี นรู้จดั ทำกำหนดการสอนและจดั ทำแผนการจัดการ
เรยี นรู้ ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 จดั ทำกำหนดการสอนคดิ เป็นร้อยละ 94 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
คิดเปน็ ร้อยละ 88 และในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 จดั ทำกำหนดการสอนคิดเป็นรอ้ ยละ 97.90 จัดทำ
แผนการจดั การเรียนรู้คดิ เปน็ รอ้ ยละ 97.89 เฉลยี่ รวมท้ัง 2 ภาคเรียนจดั ทำกำหนดการสอนคดิ เปน็ ร้อยละ 95.95
และจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้คิดเปน็ ร้อยละ 92.95 ดงั แผนภูมิ 5

แผนภมู ิ 5 แสดงรอ้ ยละของครูที่ส่งกำหนดการสอนและแผนการจัดการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2564

(2) ครผู สู้ อนมรี ูปแบบการจัดการเรียนร้เู ฉพาะตามความเหมาะสมของเนื้อหาและผู้เรยี น ครทู ุก
คนมนี วัตกรรมในการจัดการเรยี นรู้ ทเ่ี นน้ กระบวนการคิดและให้ผเู้ รยี นทกุ คนมีสว่ นร่วม (Active Learning) จัด
โครงการส่งเสริมและพฒั นาความเป็นเลศิ ทกั ษะทางภาษาไทย จดั กจิ กรรมการแขง่ ขนั ทักษะ 5 ภาษา ภายใน
โรงเรยี น ทำใหผ้ ู้เรยี นได้รบั การฝกึ ทกั ษะแสดงออก แสดงความคิดเหน็ สรุปองคค์ วามรู้ นำเสนอผลงาน และ
สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ ดงั จะเหน็ ได้จาก แผนภมู ิ 6

แผนภมู ิ 6 แผนภูมิแสดงรอ้ ยละของจำนวนครูที่จดั ทำนวตั กรรมในการจดั การเรยี นรู้ปีการศกึ ษา 2564

Self Assessment Report : SAR) โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา ปกี ารศึกษา 2564 55

(3) ครมู ีการเผยแพรน่ วตั กรรมในการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning โดยโรงเรยี น
สนบั สนนุ ชอ่ งทางในการเผยแพร่นวตั กรรมผ่านทางเวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น วารสารของโรงเรยี น และเปิดโอกาสให้
ครูนำนวตั กรรมไปเผยแพร่สร้างเครือข่ายท้ังภายในและภายนอกโรงเรียน

ผลงาน/รางวลั สนับสนนุ ท่สี ะท้อนให้เหน็ วา่ ครูมคี วามรคู้ วามสามารถในการจดั การเรียนรู้ผ่าน
กระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดำเนินชีวิตไดจ้ ริง เกิดนวตั กรรมในการจัด
การเรยี นรแู้ ละมกี ารเผยแพร่ ผเู้ รียนได้รับการฝึกทกั ษะการแสดงออก แสดงความคดิ เหน็ สรปุ องค์ความรู้ นำเสนอ
ผลงานและสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ ได้แก่ รางวลั ครผู ูส้ อนยอดเย่ียม Active Teacher ระดบั
มธั ยมศกึ ษา กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์ ด้านนวัตกรรมฯ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร รางวลั ครผู ูส้ อนยอดเย่ียม
ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มวิชาเทคโนโลยี ดา้ นบริหารจดั การ จากสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา
สกลนคร รางวลั ครูผู้สอนดีเด่นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ จากสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา
สกลนคร รางวัลครูผฝู้ กึ สอนดีเด่น "ด้านการสวดมนต์หมสู่ รรเสริญพระรตั นตรัย ทำนองสรภัญญะ" ประเภททีม 5
คน ระดบั ประเทศ ครผู ู้สอนการบรรยายธรรม โครงการประกวดบรรยายธรรม ระดับภาคคณะสงฆ์ ภาค 8 ครู
ผู้ฝึกสอนการประกวดบรรยายธรรมนักเรยี น ระดบั ประเทศ ผ่านวิดีโอ คณะสงฆภ์ าค 8 โลพ่ ระราชทาน สมเด็จ
พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี รางวลั ครทู ่ีปรึกษาโครงงานคุณธรรม
ส่งเสรมิ อัตลกั ษณ์วถิ ีพทุ ธดเี ด่น รางวลั ผูฝ้ ึกสอนดเี ด่น "ดา้ นการสวดมนตห์ มู่ฯ ทำนองสรภญั ญะ" ครผู ูค้ วบคมุ ทีม
การแขง่ ขันตอบปัญหากฎหมายระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย รางวลั เหรียญทองชนะเลิศ กิจกรรมนวตั กรรมสร้าง
คนดี ประเภทครผู สู้ อน จากสำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาสกลนคร ครผู ้ฝู กึ สอนนักเรยี นเข้าร่วมการ
แขง่ ขันภาษาและวัฒนธรรมจีนแหง่ ประเทศไทย จากสถานกงสลุ ใหญ่แหง่ สาธารณรัฐประชาชนจีนประจำเชียงใหม่
ครผู ฝู้ กึ ซอ้ มนกั เรียนได้รบั รางวัลระดับเหรยี ญทอง รองชนะเลศิ อันดบั 2 การประกวดแข่งขนั คลปิ วดิ โี อทักษะ
ภาษาตา่ งประเทศที่สอง รอบชิงชนะเลิศ การรวี วิ "ของดีประจำจังหวัด" ภาษาเวียดนาม ระดบั มัธยมศึกษา
ตอนปลาย ครูผ้ฝู กึ ซ้อมนักเรียนไดร้ ับรางวัลระดับเหรยี ญเงิน การประกวดแข่งขนั คลิปวดิ ีโอทักษะภาษา
ต่างประเทศทสี่ อง รอบชิงชนะเลศิ ปีการศึกษา 2564 คลิปวดิ โี อสน้ั หวั ขอ้ "อาชพี สดุ cool" ภาษาเวียดนาม
ระดบั มัธยมศึกษา จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน นกั เรยี นไดร้ ับรางวัลเหรียญทองโครงงานตู้
บม่ เชือ้ ราไตรโคเดอร์มาแบบอัตโนมตั ิควบคมุ ด้วยระบบ IOT รางวัลเหรยี ญทองโครงงานเครอ่ื งให้อาหารปลาใน
กระชังแบบอตั โนมตั โิ ดยใชพ้ ลังงานจากแสงอาทิตย์ รางวัลเหรยี ญเงนิ โครงงานโรงเรือนอัจฉรยิ ะสวู่ ถิ ีการทอ่ งเที่ยว
รางวลั เหรยี ญเงนิ โครงงานชดุ ผลิตกระแสไฟฟ้าเทอรโ์ มอเิ ล็กทริกจากพลังงานความร้อน รางวลั เหรยี ญเงนิ โครงงาน
เครอ่ื งตรวจสอบหนา้ กากอนามยั อัตโนมตั ิ (สาขาสุขภาพและการแพทย์ รางวัลเหรยี ญเงนิ โครงงานเคร่อื งพยากรณ์
สภาพดินผ่านระบบออนไลนโ์ ปรแกรม Arduino และรางวัลเหรียญทองโครงงานเคร่ืองบดและอัดเมด็
อเนกประสงค์พลังงานแสงอาทติ ย์ จากสำนักงานการวจิ ยั แห่งชาติ (วช) รางวัลชนะเลิศเหรียญทอง นวัตกรรมดา้ น
การเกษตร โรงเรือนควบคุมสลดั ไฮโดรโปนิกส์อัจฉรยิ ะ รางวลั รองชนะเลิศ อันดับ 1 เหรียญทอง นวตั กรรมด้าน

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วทิ ยา ปีการศึกษา 2564 56

การเกษตร เครือ่ งให้อาหารปลาในกระชงั แบบอัตโนมัติ โดยใชพ้ ลงั งานจากแสงอาทติ ย์ รางวัลชมเชย เหรียญทอง
นวตั กรรมด้านการเกษตร มินิฟารม์ กัญชาอจั ฉริยะ รางวัลเหรยี ญทองแดง นวัตกรรมด้านการเกษตร การปลูกหวั
หอมในต้นกล้วย รางวลั ชนะเลิศ เหรยี ญทอง นวัตกรรมด้านพลังงาน การแปรรปู สมนุ ไพรด้วยเครอ่ื งปัน่ และบด
อเนกประสงค์พลังงานเซลล์แสงอาทิตย์ และรางวลั รองชนะเลิศ อันดบั 2 เหรียญเงิน นวัตกรรมดา้ นโรคอบุ ัตใิ หม่
เจลลา้ งมืออัตโนมัติ จากมหาวิทยาลัยภัฏสกลนคร รางวลั ชนะเลศิ การประกวดคลปิ วดี ีทัศน์ โครงการประกวดสอ่ื
ปลอดภัย และสรา้ งสรรค์ จังหวดั สกลนคร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใต้หวั ขอ้ "สกลวถิ ใี หม่ปันน้ำใจสู้
ภัยโควิด-19" จากจังหวดั สกลนคร รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 1 ระดับมธั ยมศึกษา ประเภททีมหญิงล้วน การ
ประกวดสวดมนต์หม่สู รรเสริญพระรตั นตรัย ทำนองสรภัญญะ ประเภททมี 5 คน ระดบั ประเทศ จากกรมการ
ศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดับ 4 ระดบั มัธยมศกึ ษา ประเภททีมหญิงลว้ น การประกวด
สวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำนองสรภัญญะ ประเภททีม 10 คน ระดับประเทศ จากมหาวิทยามหาจุฬา
ลงกรณราชวทิ ยาลยั รางวัลเกียรตคิ ณุ ระดับมธั ยมศึกษา ประเภททมี ชายลว้ น การประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญ
พระรตั นตรัย ทำนองสรภัญญะ ประเภททีม 5 คน ระดับประเทศ จากกรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม รางวัล
ส่งเสริมการประกวดบรรยายธรรมนักเรียน ผ่านวดิ ีโอ คณะสงฆ์ภาค 8 จากกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม
รางวลั ชนะเลศิ ระดับมธั ยมศึกษา ประเภททีมชายลว้ น การประกวดสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรัตนตรยั ทำนอง
สรภัญญะ ประเภททีม 5 คน ระดบั จังหวัดสกลนคร จากกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม รางวัลชนะเลศิ ชว่ ง
ช้ันที่ 4 การประกวดบรรยายธรรม ระดับภาคคณะสงฆ์ ภาค 8 รางวัลชมเชยอันดับ 2 ช่วงชน้ั ที่ 3 การประกวด
บรรยายธรรม ระดบั ภาคคณะสงฆ์ ภาค 8 รางวลั ชมเชย ช่วงช้ันท่ี 3 การประกวดบรรยายธรรม ระดบั ภาคคณะ
สงฆ์ ภาค 8 จากกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม รางวัลชนะเลิศ " Memorized Speech ระดับม.ต้น "
รางวัลชนะเลิศ " Memorized Speech ระดบั ม.ปลาย " รางวัลชนะเลศิ " Storytelling ระดบั ม.ปลาย " จาก
สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสกลนครไดผ้ ลสอบวัดระดบั ความรภู้ าษาองั กฤษ โทอิคสงู สดุ 895
คะแนน จากศูนย์สอบ PCA Thailand

2) ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรูท้ ่เี อื้อต่อการเรยี นรู้
(1) ครผู ู้สอนทกุ คน มีการออกแบบการเรยี นรใู้ นแตล่ ะรายวิชาและจัดทำส่อื การเรยี นรู้ท่ี

หลากหลาย สง่ เสริมให้ผเู้ รียนสามารถเรียนร้ไู ด้ด้วยตนเองผ่านส่อื การเรยี นร้ทู ี่ครสู รา้ งข้ึน และสือ่ อื่นท่มี ีผูผ้ ลิตไว้
ดงั แสดงในแผนภูมิ 3 นอกจากนี้ มกี ารพัฒนาสอื่ การเรยี น การสอนอย่างต่อเน่ือง เชน่ จำทำโครงการพฒั นาสือ่
การเรยี นการสอนสูโ่ รงเรยี นมาตรฐานสากล

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วิทยา ปกี ารศกึ ษา 2564 57

แผนภูมิ 7 แสดงสถิติการใช้สอ่ื การเรยี นรู้ของครผู ู้สอน ปีการศึกษา 2564

(2) ครผู ู้สอนทุกคนมกี ารนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ทั้งในสภาวะปกติ
และภาวะฉกุ เฉินได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มกี ารนำเอาส่ือการเรียนร้ทู ีส่ ร้างข้นึ มาใช้ในการจดั การเรียนรแู้ บบ
ออนไลน์ รวมถงึ มีการนำเอาสื่ออ่นื ๆ ทมี่ ผี ผู้ ลิตไวแ้ ล้ว เพือ่ ให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรแู้ ละเขา้ ถงึ ได้ง่าย จากสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ในช่วงภาคเรยี นที่ 2 และมกี ารเชญิ วทิ ยากร
ภายนอกมาถา่ ยทอดความรู้ใหแ้ กน่ กั เรยี นตามความเหมาะของกจิ กรรม/เน้ือหาความรู้ เพื่อใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสดุ
ตอ่ ผเู้ รียน มีรายงานการใช้สอ่ื นวัตกรรมการเรียนรู้ รายงานการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์

(3) สง่ เสรมิ ผ้เู รียนให้สามารถเข้าถึงแหลง่ เรยี นรู้ภายในโรงเรียน อาทิ หอ้ งสมดุ โรงเรยี น ห้อง
สืบค้น ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ หอ้ งปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏบิ ตั ิการเคมี ห้องปฏบิ ัติการฟิสิกส์
ห้องปฏบิ ัติการชีววิทยา หอ้ งปฏบิ ัติการดาราศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้องอาเซียนศกึ ษา ธรรมศาลา
เปน็ ต้น มีการพฒั นาแหล่งเรียนรใู้ ห้เอ้อื ตอ่ การเรยี นรู้เสมอ จดั โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรใู้ นโรงเรียน โครงการ
ปรบั ปรงุ ห้องปฏบิ ัตกิ าร 5 ภาษา (Sound Lab) โครงการห้องสมุดมลั ติมเิ ดีย พฒั นาศกั ยภาพห้องปฏบิ ัติการ
มัลติมีเดีย ปรบั ปรงุ ห้องปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์ พัฒนาหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคณิตศาสตร์ โครงการพฒั นาแหล่งเรียนรู้
ศนู ย์อาเซยี นศึกษา ในปกี ารศึกษา 2564 นกั เรียนทุกคนสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ เรยี นร้ภู ายในโรงเรียน ดังแสดงใน
แผนภมู ิ 8 นอกจากนี้ ยงั มกี ิจกรรมสง่ เสริมให้นกั เรยี นเขา้ ถงึ แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกห้องเรยี นและเรียนรู้ภมู ปิ ัญญา
ท้องถนิ่ นกั เรียนเขา้ ศึกษาแหล่งเรียนรู้ต่างๆ จัดค่ายวทิ ยาศาสตร์อนุรกั ษ์ส่งิ แวดลอ้ ม ค่ายคณิตศาสตร์ คา่ ย
ภาษาไทย (ONLINE) จัดทำโครงการทัศนศึกษาแหล่งเรยี นรู้ การจดั ค่ายวชิ าการของกลุม่ สาระการเรยี นรู้
การจดั โครงการสืบสานภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ สกลนคร เพ่ือศกึ ษาแหลง่ เรยี นรู้ในท้องถ่ิน ภูมปิ ัญญาชาวบ้าน เปน็ ต้น

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา ปีการศึกษา 2564 58
แผนภมู ิ 8 แสดงจำนวนนักเรียนทใ่ี ช้แหลง่ เรียนร้ภู ายในโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2564

(4) ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองจากส่ือที่หลากหลาย เชน่ กจิ กรรมพฒั นา
ผเู้ รียน จัดกจิ กรรมชมุ นุม กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์ กจิ กรรมจิตอาสา ให้ผเู้ รยี นแสวงหาความรตู้ ามท่ีตนเองสนใจ
โดยบูรณาการกับรายวชิ าหน้าท่พี ลเมือง และวิชาการป้องกันการทจุ รติ ทุกระดบั ชั้น โดยการเข้าศกึ ษาหาความรู้
ในรปู แบบออนไลน์และสอบวัดความรูเ้ พื่อรบั เกียรตบิ ตั ร ผ่านตามเกณฑท์ ่ีโรงเรียนกำหนด

3) มกี ารบริหารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก
(1) ครูผูส้ อนทกุ คน มกี ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นเนน้ การมีปฏิสมั พันธ์เชงิ บวก มีการวเิ คราะห์

ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล การคัดกรองผ้เู รยี นในระบบ SDQ เพ่ือดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน โดยคดั กรองผา่ นโปรแกรม
EPP5 ซ่ึงเปน็ โปรแกรมบริหารจัดการทโ่ี รงเรียนพฒั นาขน้ึ มีการออกเย่ียมบ้านนักเรียน โดยปกี ารศกึ ษา 2564 ครู
ออกเยี่ยมบา้ นนักเรียนคดิ เป็นร้อยละ 91.16 ดังแสดงในแผนภูมิ 9

นอกจากน้ี ครยู งั จดั สภาพความพร้อมท่จี ะดำเนินการเรยี นการสอนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
คำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล เพ่ือให้ผู้เรียนมีความสุข ใหเ้ ด็กรกั ครู ครูรักเด็ก เด็กรกั เด็กและเด็กรักท่จี ะ
เรยี นรู้ เรยี นรู้ร่วมกันอยา่ งมีความสุข

แผนภูมิ 9 ครูออกเยีย่ มบ้านนักเรยี นในปกี ารศกึ ษา 2564

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตนุ ารายณ์วิทยา ปีการศกึ ษา 2564 59

(2) สง่ เสริมนักเรียนเรียนดีที่ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ โดยการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรยี น เรยี นดี
ประพฤติดี มจี ติ สาธารณะ จัดทำโครงการสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม พฒั นานกั เรยี นให้ดี เก่ง มสี ขุ โดยใชก้ จิ กรรม
ลกู เสอื โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม พฒั นาศักยภาพของผเู้ รียนยวุ กาชาด โครงการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมทั้งระบบ เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมเชิงบวก ดำเนนิ ชีวติ ตามแนววิถพี ทุ ธ ใหค้ ิดดี ทำดีและใฝ่ดี มี
คุณลักษณะและค่านิยมที่ดตี ามท่สี ถานศึกษากำหนด มีแบบบนั ทกึ คนดีศรธี าตนุ ารายณ์ สมุดบนั ทึกความดีของ
นกั เรยี น แบบบันทึกความพฤตขิ องนักเรียน มีการจดั การอบรมวินยั คณุ ธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา จัดโครงการสง่ เสริมความประพฤติ ระเบยี บวนิ ัยนกั เรยี น โครงการพัฒนาคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ และสง่ เสริมด้านอัตลักษณ์ โครงการโรงเรยี นสีขาว ปลอดสารเสพตดิ อบายมขุ สือ่ ลามกอนาจาร
อกี ทั้งยังจัดกิจกรรมการเสรมิ สรา้ งภมู คิ ุ้มกันการตั้งครรภไ์ ม่พร้อมก่อนวัยอนั ควร การแข่งขนั กีฬาภายใน "ธาตุ
นารายณ์เกมส์"การแข่งขนั กีฬาสหวิทยาเขต/กีฬาจังหวดั เพื่อพัฒนานักเรียนใหม้ ีสุนทรยี ภาพดา้ นศิลปะ ดนตรี
กฬี า และนนั ทนาการ

ผลงาน/รางวัลสนบั สนุน ทีส่ ะท้อนให้เหน็ วา่ ครมู ีการบรหิ ารจดั การช้ันเรียนเชงิ บวก จนเปน็ ทปี่ ระจักษ์
ไดแ้ ก่ ครไู ดร้ ับรางวลั รองชนะเลศิ อันดบั 2 ครูดีในดวงใจ คร้ังที่ 19 ปี 2565 รางวลั ครูขวัญศิษย์ จากมลู นธิ ริ างวัล
สมเดจ็ เจ้าฟา้ มหาจกั รี รางวัลครผู ูส้ ่งเสรมิ ด้านคุณธรรม จริยธรรมดีเด่น จากสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา
มธั ยมศกึ ษาสกลนคร รางวลั คุรุชนคนคณุ ธรรม จากสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษาสกลนคร รางวลั ยอด
เยยี่ ม ระดับประเทศ รางวัลครทู ่ีปรึกษาโครงงานคุณธรรมสง่ เสรมิ อตั ลักษณว์ ถิ ีพทุ ธดีเด่น ระดบั ประเทศ จาก
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวทิ ยาลยั โครงงานคณุ ธรรมสง่ เสรมิ อตั ลักษณ์วถิ ีพทุ ธ จากมหาวทิ ยามหาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลัย รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรม ครอบครวั คุณธรรม โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ.
รางวัลเหรยี ญทอง รองชนะเลิศอันดับ 1 กิจกรรม ครอบครัวคณุ ธรรม โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. รางวลั
เหรียญทอง กจิ กรรม คืนคุณธรรมสหู่ ้องเรียน โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. รางวัลเหรยี ญทอง กิจกรรม สอื่
ภาพยนตรส์ น้ั ส่งเสริมคณุ ธรรม โครงการโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ. จากสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา
สกลนคร รางวัลยกยอ่ งเชิดชูประกาศเกยี รติคณุ รบั พระราชทานรางวลั เสาเสมาธรรมจกั ร ผู้ทำคุณประโยชนต์ ่อ
พระพุทธศาสนาในประเทศ ประจำปี 2564

4) ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน
ครทู ุกคนมกี ารออกแบบการวัดผลและประเมนิ ผลผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ แบ่งสัดสว่ นของการ

ประเมนิ ผลก่อนกลางภาค กลางภาค และปลายภาคแลว้ สง่ แผนการวัดประเมนิ ผลต่อฝ่ายวชิ าการ ครูมีเคร่ืองมือ
และวธิ ีการวดั ที่เหมาะสมกบั การประเมนิ (K, P, A) กำหนดเกณฑ์ชัดเจน (Rubric) รายงานผลยอ้ นกลับผา่ นระบบ
พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนออนไลน์ (EPP5) สามารถเข้าดไู ด้ทาง EPP5 ที่ http://epp5.in.th/epp5th_login.php?lang=
ได้ตลอด 24 ชวั่ โมง และทุกสถานที่ ท่มี สี ัญญาณ Internet เพอ่ื ให้นกั เรียนสามารถนำผลมาประเมนิ ตนเองและ
พัฒนาการเรียนรู้ จัดทำแฟ้มสะสมงาน มกี ารแจง้ ผลการประเมนิ ให้ผปู้ กครองทราบ ครูนำผลการประเมนิ นักเรียน
มาทบทวนเพ่ือแกป้ ัญหาในช้ันเรียนของนักเรียนที่มีความบกพร่อง และพัฒนานกั เรยี นใหม้ ศี กั ยภาพเพิ่มมากข้ึน

Self Assessment Report : SAR) โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา ปีการศกึ ษา 2564 60

โดยใช้กระบวนการวิจัยในช้ันเรยี น ในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 มคี รูท่สี ่งวจิ ัยในชั้นเรียนคดิ เปน็ ร้อยละ 88
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 มีครทู ี่ส่งวิจยั ในชน้ั เรียนคิดเปน็ รอ้ ยละ 90 แสดงได้ดงั แผนภมู ิ 10

แผนภูมิ 10 แสดงรอ้ ยละของครทู ่ที ำวิจยั ในชั้นเรียนปกี ารศึกษา 2564

5) มีการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั เพื่อปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้
ครผู ู้สอนทกุ คนไดร้ ับการนเิ ทศการสอน และมผี ลการประเมนิ การนเิ ทศการสอนอยู่ในระดับดีขึ้นไปทกุ คน
มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นร้โู ดยจดั ให้มีชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี ระหวา่ งครูและผเู้ กยี่ วข้อง มี การพฒั นา
ตนเองอยา่ งต่อเนอื่ งโดยการจัดอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการจดั การเรียนการสอนในยุค 4.0 และสรา้ งชุมชนแหง่ การ
เรียนรู้ PLC ภายในโรงเรยี น และเขา้ รว่ มพัฒนาตนเองกบั หน่วยงานภายนอก เพื่อนำองคค์ วามรู้ท่ีไดไ้ ปดำเนินการ
แกป้ ญั หา วิเคราะห์ สรา้ งแนวทางการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือปรับปรงุ และพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ แกป้ ัญหารว่ มกนั
โดยการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้อย่างตอ่ เนื่อง มีการใหข้ ้อมูลป้อนกลบั โดยทำจัดเป็นแผนการดำเนินการ PLC ท้ังใน
ระดบั งานวชิ าการ ระดบั กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ระดับโรงเรยี น ตรวจสอบไดจ้ าก รายงานการเขา้ ร่วมชุมชนแหง่ การ
เรียนรทู้ างวิชาชีพของครู รายงานการพัฒนาตนเองของครู รายงานการประเมนิ ตนเองของครู ครทู กุ คนจัดทำ
ข้อตกลงในการพฒั นางาน (PA) ตามแบบที่ ก.ค.ศ.กำหนด เพอ่ื ประเมนิ การพฒั นาตนเองในปกี ารศึกษา 2565
ครบ รอ้ ยละ 100

2.3.4 แนวทางการพัฒนาเพ่อื ยกระดับเป้าหมาย
1) กลุ่มสาระการเรียนรูค้ วรจัดทำโครงการพัฒนาตนเองดว้ ยการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู าง

วิชาชพี กับหน่วยงานภายนอก เพื่อเป็นการแลกเปล่ียนเรียนรู้เพ่มิ มากขึ้น
2) ครูผสู้ อนทีป่ ระสบความสำเร็จได้รบั รางวลั ในระดับชาติ มีนวัตกรรมการปฏิบัตทิ ี่เปน็ เลศิ ควร

ขยายผลพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา ให้เขา้ ใจวิธกี ารสร้างนวัตกรรมจากการจัดการเรียนรู้ เพือ่ เพ่ิมศักยภาพครู
และบคุ ลากรในสถานศกึ ษาใหค้ รบทุกกลมุ่ สาระฯ

3) ครผู ูส้ อนควรออกแบบการจดั การเรียนรู้ทั้งในรูปแบบ มาเรยี น Onsite และ แบบ Online เพ่ือ
เตรยี มรบั มือสถานการณ์โรคอุบตั ใิ หม่ท่ีอาจยงั ไมค่ ลค่ี ลายในอนาคต

ภาคผนวก

เลม่ ๑๓๕ ตอนที่ ๑๑ ก หนา้ ๓ ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๑
ราชกจิ จานุเบกษา

กฎกระทรวง

การประกันคุณภาพการศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๖๑

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหน่ึง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ
มาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารออกกฎกระทรวงไว้ ดงั ตอ่ ไปนี้

ข้อ ๑ ให้ยกเลิกกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓

ขอ้ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพการศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดขึ้น เพื่อให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเช่ือม่ัน
ให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ันสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศกึ ษา และบรรลเุ ปา้ ประสงค์ของหน่วยงานตน้ สงั กดั หรอื หน่วยงานทก่ี ํากับดูแล
“สํานักงาน” หมายความว่า สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน)
ขอ้ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและ
ประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกําหนด พร้อมท้ังจัดทําแผนพัฒนา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดําเนินการตามแผนท่ีกําหนดไว้
จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการดําเนินการ
เพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเอง
ใหแ้ กห่ น่วยงานต้นสังกัดหรอื หนว่ ยงานท่ีกาํ กับดแู ลสถานศึกษาเปน็ ประจําทุกปี

เลม่ ๑๓๕ ตอนที่ ๑๑ ก หนา้ ๔ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
ราชกจิ จานุเบกษา

เพ่ือให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามวรรคหนึ่งเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ให้หน่วยงานตน้ สังกัดหรอื หนว่ ยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษามีหน้าท่ีในการให้คําปรึกษา ชว่ ยเหลือ และ
แนะนําสถานศึกษา เพ่ือให้การประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเน่ือง

ข้อ ๔ เม่ือได้รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามข้อ ๓ แล้ว
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงานดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ
ท่ีต้องการให้มีการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบซ่ึงรวบรวมได้จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือจาก
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งน้ันให้แก่สํานักงานเพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมิน
คณุ ภาพภายนอก

ให้สํานักงานดําเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและการติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะ
ให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษานั้น ๆ เพ่ือให้
สถานศึกษาใชเ้ ปน็ แนวทางในการปรับปรุงและพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาต่อไป

ในการดําเนินการตามวรรคสอง สํานักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองจาก
สาํ นักงานดาํ เนนิ การประเมนิ ผลและตดิ ตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาได้

ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กํากับดูแลสถานศึกษานั้นติดตามผลการดําเนินการ
ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามวรรคสอง เพื่อนําไปสู่การพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ข้อ ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปัญหาอันเกี่ยวกับ
การปฏิบัติตามกฎกระทรวงน้ี

ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๒๐ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ธรี ะเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์

รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธิการ

เล่ม ๑๓๕ ตอนที่ ๑๑ ก หน้า ๕ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
ราชกิจจานุเบกษา

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ีแนวทางในการดําเนินการตามกฎกระทรวง
ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่สอดคล้องกับหลักการ
ประกันคุณภาพการศึกษาท่ีแท้จรงิ จึงส่งผลให้การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอก
ไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซํ้าซ้อนและคลาดเคลื่อนจากการปฏิบัติ ทําให้ไม่สะท้อนความเป็นจริงและเป็นการสร้าง
ภาระแก่สถานศึกษาและบุคลากรในสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีกํากับดูแล และ
หน่วยงานภายนอกเกินความจําเป็น สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา
เพื่อให้มีกลไกการปฏิบัติทเ่ี อื้อต่อการดําเนินการตามมาตรฐานการศกึ ษาของแต่ละระดับ และเกิดประสิทธภิ าพ
ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา จึงจําเปน็ ตอ้ งออกกฎกระทรวงนี้

บนั ทกึ การพิจารณาให้ความเหน็ ชอบมาตรฐานการศึกษา ปกี ารศึกษา 2564
โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วิทยา

สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสกลนคร
...........................................................

การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา คร้งั ที่ 2/2564
เม่ือวันท่ี 22 มิถุนายน 2564 พจิ ารณามาตรฐานการศึกษา และประเด็นพิจารณา ปีการศกึ ษา 2564
มมี ตเิ หน็ ชอบมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา ปกี ารศึกษา 2564 และมมี ตใิ ห้
นำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาใหส้ ัมฤทธิผลตอ่ ไป

ลงชอ่ื
(นายประสาร ภดู ี)

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา

ประกาศโรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา
เรอื่ ง การใช้มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564
--------------------------------------------------------------------------------------------

ตามที่กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดป้ ระกาศให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั ระดับการศกึ ษา
ขัน้ พื้นฐาน และระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ฉบบั ลงวันท่ี 6 สงิ หาคม พ.ศ. 2561
เพอื่ เปน็ หลักในการเทียบเคยี งสำหรบั สถานศกึ ษา หน่วยงานตน้ สงั กัด และสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา
ทง้ั ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ในการพัฒนา ส่งเสรมิ สนบั สนุน กำกับ ดูแล และติดตามตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษา โดยนำมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561 มาเป็นกรอบในการจดั การศกึ ษา

โรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วิทยาจึงประกาศ ใชม้ าตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั การศกึ ษา
ขั้นพ้นื ฐาน ปีการศึกษา 2564 ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศนี้ เพ่อื เป็นกรอบในการกำหนดมาตรฐาน
การศึกษา และหลักสตู รการศึกษาในแตล่ ะระดบั ต่อไป

ประกาศ ณ วันท่ี 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564

ลงช่อื ............................................
(นายพนมพนั ธ์ ไชยเพชร)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นธาตนุ ารายณ์วทิ ยา

ประกาศโรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา
เร่อื ง กำหนดคา่ เปา้ หมายการพัฒนาสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

เพ่อื การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564
______________________________________________________

ตามท่กี ระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้กฎกระทรวง เรอื่ ง การประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561
โดยใหย้ กเลกิ กฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 และให้
สถานศึกษาแต่ละแห่ง จดั ให้มีระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะระดบั และประเภทการศกึ ษาทรี่ ัฐมนตรีวา่ การ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศกำหนด พร้อมทัง้ จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่มี ่งุ คุณภาพ
ตามมาตรฐานการศกึ ษาและดำเนนิ การตามแผนทก่ี ำหนดไว้ จัดใหม้ ีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพ
การศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองรายงานต่อหนว่ ยงานต้นสังกดั หรือ
หนว่ ยงานทก่ี ำกับดแู ลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี

เพ่อื ให้การดำเนินการประกนั คุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ โรงเรยี นธาตุนารายณว์ ทิ ยา
โดยการมสี ่วนรว่ มของผูเ้ กย่ี วข้อง ทั้งบุคลากรทกุ คนในโรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง จงึ กำหนดเปา้ หมาย
การพฒั นาตามมาตรฐานการศึกษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน และเพ่ือเป็น
เป้าหมายในการพัฒนาสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน เพ่ือการประกนั คุณภาพภายในของ
สถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 ตามเอกสารแนบท้ายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันท่ี 10 กรกฎาคม 2564

(นายพนมพันธ์ ไชยเพชร)
ผู้อำนวยการโรงเรียนธาตนุ ารายณ์วิทยา

มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา/ค่าเป้าหมายและระดบั คุณภาพการประเมินตนเอง ปีการศกึ ษา 2564

(แนบท้ายประกาศโรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ปกี ารศึกษา 2564 ลงวนั ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2564)

(0-49=กำลงั พัฒนา,50-59=ปานกลาง,60-69=ด,ี 70-79=ดเี ลศิ ,80-100=ยอดเยีย่ ม)

มาตรฐาน/ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมาย
ร้อยละ ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น
82 ยอดเย่ียม
1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น 82 ยอดเย่ียม
82 ยอดเยี่ยม
1) นกั เรียนมีผลการประเมินความสามารถในการอา่ น เขยี น การสอื่ สาร และ
การคดิ คานวณทุกระดบั ชนั้ ระดบั 3 ขน้ึ ไป 82 ยอดเยย่ี ม

2) นกั เรยี นมีผลการประเมนิ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ วจิ ารณญาณ 82 ยอดเยย่ี ม
อภปิ ราย แลกเปล่ียนความคิดเห็นและแก้ปัญหา ระดบั 3 ขึน้ ไป 82 ยอดเยี่ยม
80 ยอดเย่ียม
3) นักเรยี นมคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรมตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษา 80 ยอดเย่ยี ม
กาหนด 82 ยอดเยี่ยม
82 ยอดเยย่ี ม
4) นกั เรียนมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการเรยี นรู้
82 ยอดเยย่ี ม
5) จานวนนกั เรียน ม.3 มผี ลสอบ ONET คิดเปน็ 0.5 ขนึ้ ไป
82 ยอดเยีย่ ม
6) จานวนนกั เรียน ม.6 มีผลสอบ ONET คิดเปน็ 0.5 ขึน้ ไป
82 ยอดเย่ยี ม
7) นกั เรยี นมีความพร้อมในการศึกษาตอ่ การฝึกงาน หรอื การทางาน
85 ยอดเยย่ี ม
8) นักเรยี นทกุ ระดับชนั้ มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเฉล่ยี ตามหลกั สตู ร 86 ยอดเย่ียม
สถานศึกษาระดับ 3 ข้ึนไป 86 ยอดเยี่ยม
86 ยอดเยี่ยม
นกั เรยี นทุกระดับชน้ั มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 5 วิชาหลกั (ภาษาไทย
9) คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา และภาษาอังกฤษ) เฉลยี่ ระดบั 3

ขึ้นไป

10) นักเรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษเพ่อื การสื่อสารระดบั 3 ข้นึ ไป

นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นภาษาที่ 3 (จนี -ญ่ปี นุ่ -เวียดนาม-เกาหล)ี
11) ระดบั 3 ขึ้นไป

12) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนการศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระ (IS) ระดบั 3 ขนึ้ ไป

1.2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรยี น

1.2.1 การมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามท่สี ถานศึกษากาหนด

1.2.2 ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เปา้ หมาย
รอ้ ยละ ระดบั คุณภาพ
1.2.3 ยอมรับทีจ่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกต่างและความหลากหลาย
1.2.4 สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และลักษณะจติ สงั คม 86 ยอดเยย่ี ม
1.2.5 มคี ณุ ลกั ษณะทีด่ ีดา้ นการอนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ 86 ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 86 ยอดเยย่ี ม
2.1 มเี ปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนดชดั เจน 82 ยอดเยี่ยม
86 ยอดเยี่ยม
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา 86 ยอดเยี่ยม
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี นน้ คณุ ภาพของผูเ้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสตู ร 86 ยอดเยย่ี ม

สถานศกึ ษา และทุกกล่มุ เปา้ หมาย 86 ยอดเยี่ยม
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ 86 ยอดเย่ียม
86 ยอดเยย่ี ม
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสงั คมที่เอ้อื ตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมีคณุ ภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนนุ การบริหารจัดการและการจดั การ 86 ยอดเยี่ยม
86 ยอดเยี่ยม
เรียนรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั 86 ยอดเยี่ยม
86 ยอดเยี่ยม
3.1 จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ ริง และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 86 ยอดเยี่ยม
ชีวิตประจำวนั ได้ 86 ยอดเยย่ี ม
3.2 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นร้ทู ี่เอื้อต่อการเรยี นรู้
83.34 ยอดเยี่ยม
3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวก

3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบและนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน

3.5 มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรงุ
การจัดการเรยี นรู้
สรุปผลการประเมนิ ภาพรวมทงั้ 3 มาตรฐาน

ประกาศ ณ วันที่ 10 กรกฎาคม 2564

(นายพนมพันธ์ ไชยเพชร)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยา

คำส่ังโรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ทิ ยา
ท่ี 106 / 2564

เรอื่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
ตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน โรงเรียนธาตุนารายณ์วทิ ยา ปีการศึกษา 2564

ตามทโี่ รงเรียนธาตนุ ารายณว์ ิทยา ได้พฒั นาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา ทีเ่ ปน็ เครอื่ งมอื ในการตดิ ตาม

และทบทวนการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา ใหม้ ีคุณภาพได้มาตรฐาน เพือ่ ให้การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา

ภายในเป็นไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยและมปี ระสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบญั ญัติ

ระเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2553 และมาตรา 27 แห่ง

พระราชบญั ญตั ริ ะเบียบข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551 และฉบับ

ที่ 3 พ.ศ. 2553 จงึ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนนิ งานประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษา

ขน้ั พืน้ ฐาน โรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา ปกี ารศึกษา 2564 ดงั น้ี

1. คณะกรรมการท่ปี รกึ ษา

1) นายพนมพนั ธ์ ไชยเพชร ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

2) นายจำนงค์ ประสานวงค์ รองผู้อำนวยการโรงเรยี น ที่ปรึกษา

3) ว่าทพ่ี นั ตรี สมชาย ศรีรกั ษา รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน ทีป่ รกึ ษา

4) นายเกรยี ง ฐานวเิ ศษ รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น ทป่ี รึกษา

5) นางพไิ ลวรรณ สีหามาตย์ รองผู้อำนวยการโรงเรยี น ที่ปรึกษา

2. คณะกรรมการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศเพื่อการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา

1) นายจำนงค์ ประสานวงค์ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

2) นางวรลักษณ์ ตรงวฒั นาวฒุ ิ หัวหนา้ กลุม่ บริหารวิชาการ รองประธานกรรมการ

3) นางสาวสภุ าวดี ศรีสชุ าติ เจา้ หน้าที่สารสนเทศกลมุ่ บริหารวชิ าการ กรรมการ

4) นายจกั รกฤษณ์ จนั ทราสา หวั หนา้ กลุ่มบรหิ ารท่ัวไป กรรมการ

5) นางสาวชมพนู ุท สมบัติศรี เจ้าหน้าทสี่ ารสนเทศกลุ่มบรหิ ารทัว่ ไป กรรมการ

6) นายสุเมธ อคั พิน หวั หนา้ กลุ่มแผนฯและงบประมาณ กรรมการ

7) นางสาวนนั ทกา โฮมวงค์ เจ้าหนา้ ทส่ี ารสนเทศกลมุ่ แผนฯและงบประมาณ กรรมการ

8) นายชยั ณรงค์ จมิ่ อาษา หวั หน้ากลมุ่ สง่ เสรมิ กิจกรรมนักเรยี น กรรมการ

9) นายสายัน สงวนพิมพ์ หวั หน้ากลุ่มบริหารงานบคุ คล กรรมการ

10) นางสาวจารุณี เรอื งสวสั ดิ์ เจ้าหน้าท่ีสารสนเทศกลุ่มงานบริหารงานบุคคล กรรมการ

11) นางพนมพร ศรอี สี าณ หวั หน้างานวัดผลและประเมินผล กรรมการ

12) ว่าทร่ี ้อยตรวี ัชระ วรรณครี ี หวั หนา้ งานทะเบียนนักเรยี น กรรมการ

13) นายธนากร อุทัยดา หน.กลมุ่ สาระฯวิทยาศาสตร์ กรรมการ

14) นางสาวฉวี โคนพนั ธ์ เจา้ หน้าทส่ี ารสนเทศกลุม่ สาระฯวิทยาศาสตร์ฯ กรรมการ

15) นางสุจิตรา อันแสน หน.กลมุ่ สาระฯภาษาไทย กรรมการ

16) นางสาวเพญ็ พักตร์ นนตระอุดร เจา้ หนา้ ท่สี ารสนเทศกลุ่มสาระฯภาษาไทย กรรมการ

17) นางลดั ดาวรรณ ก้อนวมิ ล หวั หน้ากลุ่มสาระฯ คณติ ศาสตร์ กรรมการ

18) นายศรชัย ปราบงูเหลอื ม เจา้ หนา้ ทสี่ ารสนเทศกลมุ่ สาระฯคณติ ศาสตร์ กรรมการ

19) นางวราภรณ์ หอมจนั ทร์ หวั หนา้ กลุม่ สาระฯ สงั คมศึกษาฯ กรรมการ

20) นายปณั ณวัฒน์ กติ ติพิชญา เจา้ หน้าทส่ี ารสนเทศกลมุ่ สาระฯสังคมศึกษาฯ กรรมการ

21) นายชยั ณรงค์ จิ่มอาษา หัวหนา้ กลมุ่ กจิ การนักเรยี น และหวั หนา้ กลุ่มสาระฯ

สุขศึกษา พลศึกษา กรรมการ

22) นางดารณุ ี ใสลำเพาะ เจา้ หนา้ ทสี่ ารสนเทศกลุ่มกจิ การนกั เรยี น กรรมการ

23) นายธนกฤต อนันต์วัฒนาศิริ เจา้ หน้าที่สารสนเทศกลุ่มสาระฯ สุขศึกษาฯ กรรมการ

24) นางสาวพมิ พจ์ ันทร์ อุ่นทะยา หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ ศลิ ปะ กรรมการ

25) นางสาวจนั พจิ ติ ไชยมาศ เจ้าหนา้ ที่สารสนเทศกลุ่มสาระฯ ศิลปะ กรรมการ

26) นายวิรัตน์ ติงมหาอนิ ทร์ หวั หน้ากลุ่มสาระฯ การงานอาชพี กรรมการ

27) นางเดอื นฉาย ใจคง เจา้ หน้าทส่ี ารสนเทศกลมุ่ สาระฯ การงานอาชีพ กรรมการ

28) นายกฤษฎากร เกริกกานต์กลุ หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ ภาษาตา่ งประเทศ กรรมการ

29) นางสาววนั วิสา ประสพดี เจา้ หน้าท่ีสารสนเทศกลุ่มสาระฯ ภาษาต่างประเทศ กรรมการ

30) นายชาคริสต์ เลศิ เตชะจิรานนท์ หัวหน้างานกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น กรรมการ

31) นางปิยะฉัตร แสงงาม หัวหนา้ งานอนามัยโรงเรียน กรรมการ

32) นางสาวนันทิดา นาโควงค์ หัวหนา้ งานแนะแนว กรรมการ

33) นายไกรวิทย์ พิมพโ์ พสาคาม หัวหน้างานห้องสมุด กรรมการ

34) นายจิตเอก โคตรพศิ หวั หนา้ โครงการหอ้ งเรยี นพิเศษวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ

35) นางสกุ ญั ญา สภุ าพ หัวหน้าโครงการห้องเรยี นพิเศษ English Program กรรมการ

36) นางสดุ ใจ สนุ ทรส หวั หนา้ งานประกันคณุ ภาพฯ กรรมการและเลขานุการ

37) นางศริ ริ ตั น์ ดา่ งเกษี เจา้ หน้าท่ีงานประกนั คุณภาพฯ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

38) นางเกษร อนิ ธแิ สง เจา้ หนา้ ทง่ี านประกนั คณุ ภาพฯ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร

39) นางสาวอรพรรณ ไวแพน เจา้ หน้าท่ีงานประกนั คุณภาพฯ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

40) นางภทั รวดี ตรีโอษฐ์ เจ้าหนา้ ที่งานประกนั คุณภาพฯ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

41) นางสาวชมลวรรณ บุญสุระ เจ้าหน้าที่งานประกนั คุณภาพฯ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

หนา้ ท่ี 1) คณะเลขานุการกำหนดปฏทิ นิ การดำเนนิ งานจัดเก็บข้อมลู สารสนเทศทเ่ี ก่ยี วข้องกบั งานประกนั คุณภาพ
ภายในของสถานศึกษา โดยดำเนินการให้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศกึ ษา

2) คณะเลขานุการออกแบบเคร่ืองมือในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ และออกแบบแพลตฟอร์มให้

ครบถ้วน/สมบูรณต์ ามสดมภก์ ารประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา

3) คณะเลขานุการจัดอบรมการบนั ทกึ ข้อมูลสารสนเทศในแพลตฟอร์มใหเ้ จ้าหน้าท่สี ารสนเทศ

4) เจา้ หนา้ ทส่ี ารสนเทศ รวบรวมขอ้ มลู สารสนเทศทุกรายการ ในกล่มุ งาน/กลุม่ สาระฯ ปีการศกึ ษา

2563-2564 ตามสดมภก์ ารประเมนิ คุณภาพภายในฯ ของงานประกนั จดั เก็บข้อมลู สารสนเทศใหเ้ ปน็ ระบบตาม

แบบฟอร์มท่ีกำหนด และเป็นไปตามปฏิทินปฏิบตั งิ าน เพ่ือบันทึกในแพลตฟอร์ม และรวบรวมเป็นร่องรอย

หลักฐานสำหรับการอา้ งอิงและสามารถตรวจสอบได้

3. คณะกรรมการจดั ทำเอกสารการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)

1) นางสุดใจ สนุ ทรส หัวหน้างานประกนั คณุ ภาพฯ ประธานกรรมการ

2) นางศริ ิรัตน์ ดา่ งเกษี เจา้ หนา้ ท่งี านประกนั คุณภาพฯ รองประธาน

3) นางเกษร อินธแิ สง เจา้ หน้าที่งานประกันคณุ ภาพฯ กรรมการ

4) นางสาวอรพรรณ ไวแพน เจ้าหนา้ ที่งานประกันคุณภาพฯ กรรมการ

5) นางภทั รวดี ตรโี อษฐ์ เจ้าหน้าที่งานประกันคุณภาพฯ กรรมการและเลขานุการ

6) นางสาวชมลวรรณ บุญสุระ เจา้ หน้าที่งานประกันคณุ ภาพฯ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร

หนา้ ท่ี 1) รวบรวมข้อมูลจากคณะกรรมการชดุ ท่ี 2 มาประเมนิ แปลคา่ และสรปุ ผล และจดั ทำรายงาน

การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR)

2) เสนอรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ใหก้ รรมการสถานศกึ ษาลงนามรบั รอง

3) เผยแพรร่ ายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ให้หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องผา่ นชอ่ งทางตา่ งๆ

ใหค้ ณะกรรมการท่ีไดร้ ับการแต่งต้ังทกุ คน ปฏิบัตหิ นา้ ทีท่ ่ีได้รับมอบหมาย ให้บรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ของการ

ดำเนินงาน เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อราชการ

ทงั้ น้ี ต้ังแตว่ ันที่ 20 สงิ หาคม พ.ศ. 2564 เป็นตน้ ไป

ส่ัง ณ วันที่ 20 สงิ หาคม พ.ศ. 2564

(นายพนมพันธ์ ไชยเพชร)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นธาตุนารายณ์วทิ ยา

ประกาศโรงเรียนธาตุนารายณ์วิทยา
เรื่อง ผลการประเมนิ ตนเองของโรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564

(รอ้ ยละ 0-49=กำลังพัฒนา, รอ้ ยละ 50-59=ปานกลาง, ร้อยละ 60-69=ด,ี รอ้ ยละ 70-79=ดเี ลิศ, ร้อยละ 80-100=ยอดเยย่ี ม)

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา ผลการประเมนิ (รอ้ ยละ) ระดบั สรุปผล
ค่าเป้าหมาย ได้ คุณภาพ การประเมนิ
ยอดเย่ียม สงู กว่าเป้าหมาย
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 82 82.47 ดีเลศิ ตำ่ กว่าเป้าหมาย
ดเี ลศิ ตำ่ กวา่ เปา้ หมาย
1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน 82 77.60
ดเี ลิศ ตำ่ กวา่ เป้าหมาย
นักเรยี นมีผลการประเมินความสามารถในการ
ยอดเยี่ยม สงู กวา่ เปา้ หมาย
1) อา่ น เขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณทุก 82 72.26 ยอดเยยี่ ม สูงกวา่ เป้าหมาย
ยอดเย่ียม สงู กวา่ เปา้ หมาย
ระดับชั้น ระดบั 3 ขึ้นไป
ดี ต่ำกว่าเป้าหมาย
นกั เรยี นมผี ลการประเมนิ ความสามารถในการ ยอดเยี่ยม สูงกว่าเปา้ หมาย

2) คิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปราย 82 72.26 ดีเลศิ ต่ำกวา่ เป้าหมาย
แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นและแก้ปัญหาระดบั 3
ดเี ลศิ ต่ำกวา่ เป้าหมาย
ขน้ึ ไป

3) นักเรยี นมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม 82 85
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด

4) นักเรยี นมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 82 95
สารสนเทศในการเรยี นรู้

5) จำนวนนักเรยี น ม.3 มผี ลสอบ ONET คดิ เปน็ 80 85.50
0.5 ข้ึนไป

6) จำนวนนกั เรยี น ม.6 มีผลสอบ ONET คดิ เป็น 80 68.38
0.5 ข้ึนไป

7) นักเรียนมคี วามพรอ้ มในการศกึ ษาตอ่ การ 82 91.58
ฝกึ งาน หรือการทำงาน

8) นักเรยี นทกุ ระดับชนั้ มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 82 74.14
เฉลี่ยตามหลักสูตรสถานศกึ ษาระดบั 3 ข้นึ ไป

นักเรียนทุกระดับชั้นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น

9) 5 วิชาหลัก (ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ 82 69.46
วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา และภาษาอังกฤษ)

เฉลี่ยระดบั 3 ข้ึนไป

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา ผลการประเมนิ (ร้อยละ) ระดบั สรุปผล
คา่ เปา้ หมาย ได้ คุณภาพ การประเมนิ
ดีเลศิ ตำ่ กว่าเป้าหมาย
10) นกั เรยี นมีความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษ 82 76.22
เพอ่ื การสอ่ื สาร ระดบั 3 ขึ้นไป ดีเลิศ ตำ่ กว่าเป้าหมาย

11) นกั เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นภาษาท่ี 3 82 69.76 ดเี ลศิ ต่ำกว่าเป้าหมาย
(จนี -ญป่ี นุ่ -เวียดนาม-เกาหล)ี ระดบั 3 ขน้ึ ไป ยอดเยี่ยม สงู กว่าเป้าหมาย
ยอดเยย่ี ม ตามเป้าหมาย
12) ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนการศกึ ษาค้นควา้ อสิ ระ 85 71.64 ยอดเย่ียม สูงกว่าเป้าหมาย
(IS) ระดบั 3 ขน้ึ ไป 86 87.35 ยอดเยีย่ ม สูงกวา่ เปา้ หมาย
86 86 ยอดเยี่ยม ต่ำกว่าเปา้ หมาย
1.2 คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผเู้ รยี น 86 90 ยอดเยี่ยม ตามเปา้ หมาย
86 90
1.2.1 การมคี ุณลกั ษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามท่สี ถานศกึ ษา 86 83.86
กำหนด 86 86

1.2.2 ความภูมิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย

1.2.3 ยอมรับที่จะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและความ
หลากหลาย

1.2.4 สขุ ภาวะทางร่างกาย และลกั ษณะจิตสังคม

1.2.5 มีคุณลักษณะท่ดี ีดา้ นการอนรุ ักษ์สง่ิ แวดล้อมและ
ทรพั ยากรธรรมชาติ

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 82 87.91 ยอดเยย่ี ม สงู กวา่ เปา้ หมาย

2.1 มีเปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ทีส่ ถานศึกษา 86 86 ยอดเยย่ี ม ตามเปา้ หมาย
กำหนดชัดเจน

2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 86 86 ยอดเย่ียม ตามเป้าหมาย
86 80.96 ยอดเย่ยี ม ตำ่ กว่าเป้าหมาย
2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเี่ นน้ คุณภาพของผู้เรยี น 86 92.50 ยอดเยย่ี ม สูงกว่าเปา้ หมาย
รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 86 90 ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เป้าหมาย
2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทาง 86 92 ยอดเยยี่ ม สูงกว่าเป้าหมาย
วิชาชพี 86 90 ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เปา้ หมาย
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสงั คมทีเ่ อือ้ ตอ่ 86 90 ยอดเยี่ยม สูงกวา่ เป้าหมาย
การจดั การเรยี นรูอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการ
บริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน
ทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ
3.1 จดั การเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ
และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้

มาตรฐาน/ประเดน็ การพิจารณา ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) ระดบั สรุปผล
ค่าเปา้ หมาย ได้ คณุ ภาพ การประเมิน
3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ เี่ อ้ือ ยอดเย่ียม สงู กว่าเป้าหมาย
ต่อการเรียนรู้ 86 90 ยอดเย่ียม สงู กว่าเป้าหมาย
3.3 มีการบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก 86 90 ยอดเย่ยี ม สูงกว่าเป้าหมาย
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ 86 90
และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน ยอดเย่ียม สงู กว่าเป้าหมาย
3.5 มกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรูแ้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลับ 86 90
เพอื่ พัฒนาและปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้

สรปุ ผลการประเมิน ทั้ง 3 มาตรฐาน 83.34 86.79 ยอดเย่ียม สงู กวา่ เปา้ หมาย

ประกาศ ณ วันท่ี 1 เมษายน 2565

(นายเอกชยั บุตรแสนคม)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นธาตุนารายณว์ ิทยา

ผู้จดั ทำ

ทป่ี รึกษา ผู้อำนวยการโรงเรียน
รองผูอ้ ำนวยการ
1. นายเอกชัย บุตรแสนคม รองผอู้ ำนวยการ
2. นายจำนงค์ ประสานวงค์ รองผู้อำนวยการ
3. นางพไิ ลวรรณ สหี ามาตย์ รองผู้อำนวยการ
4. นายเกรยี ง ฐานวิเศษ หัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
5. ว่าท่พี ันตรีสมชาย ศรรี ักษา หัวหน้ากลุ่มแผนและงบประมาณ
6. นางวรลกั ษณ์ ตรงวัฒนาวุฒิ หัวหนา้ กลุ่มบรหิ ารงานบุคคล
7. นายสุเมธ อคั พนิ หัวหน้ากล่มุ บรหิ ารท่วั ไป
8. นายสายนั สงวนพมิ พ์ หวั หนา้ งานแผนปฏิบตั ิการ
9. นายจักรกฤษณ์ จันทราสา
10.นายธนากร อทุ ยั ดา

คณะทำงาน หวั หน้างานประกันคุณภาพการศึกษา ประธานกรรมการ

1. นางสดุ ใจ สุนทรส เจา้ หน้าที่งานประกันคุณภาพฯ กรรมการ
2. นางศิรริ ัตน์ ดา่ งเกษี
3. นางเกษร อนิ ธแิ สง เจ้าหน้าทงี่ านประกันคุณภาพฯ กรรมการ
4. นางสาวอรพรรณ ไวแพน
5. นางภทั รวดี ตรโี อษฐ์ เจา้ หนา้ ทงี่ านประกนั คุณภาพฯ กรรมการ
6. นางสาวชมลวรรณ บญุ สรุ ะ
เจ้าหน้าที่งานประกันคุณภาพฯ กรรมการและเลขานุการ

เจ้าหนา้ ทง่ี านประกันคุณภาพฯ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

ขอขอบคุณ ครู กลมุ่ สาระฯรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผดู้ ูแลระบบ EPP5
นายรอบรู้ ด่างเกษี
นายพรชยั สทิ ธิศกั ด์ิ ครู กลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หวั หนา้ งานสารสนเทศ
นางสาวฉวี โคนพันธุ์
นายชุติพงษ์ พนั ธส์ มบัติ ครู กลมุ่ สาระฯวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี งานสารสนเทศ
นายลือชัย อปุ พงษ์
ครผู ูช้ ่วย กล่มุ สาระฯร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้ดู แู ลเว็บไซต์

ครู กลุม่ สาระฯศิลปะ ผู้ออกแบบปกรายงาน




Click to View FlipBook Version