179
9.1 เครื่องวดั ความถี่
9.2 เคร่อื งวดั ลาดบั เฟส
9.3 เครอ่ื งวดั ความเรว็ รอบ
9.4 เคร่ืองวดั ความเขม้ ของแสง
9.5 เครื่องวดั กระแสไฟฟ้าแบบแคลมป์ ออน
เครือ่ งวดั ความถี่ (Frequency Meter) ทาหนา้ ท่วี ดั ความถ่ีของระบบไฟฟ้า หน่วยวดั เฮิรตซ์ (Hertz: Hz)
เครื่องวัดลาดับเฟส (Phase Sequence Indicator) ใช้สาหรบั ตรวจสอบการเรียงลาดับเฟสของ
แรงดนั ไฟฟ้า 3 เฟส (Three Phase Voltage) รวมถงึ การขาดหายไปของเฟสใดเฟสหน่งึ ของระบบไฟฟ้า
เครื่องวัดความเร็วรอบ (Tachometer) ใชส้ าหรบั วัดรอบการหมุนของมอเตอร์ เคร่ืองกาเนิดและ
เครอ่ื งจกั รกลตา่ ง ๆ มหี น่วยวดั เป็นรอบตอ่ นาที (Revolution Per Minute; rpm)
เคร่ืองวดั ความเขม้ ของแสง (Lux Meter) หรอื ลกั ซม์ ิเตอร์ เป็นเครื่องมือท่ีใชส้ าหรบั วดั ความเขม้ ของ
แสง หรือความสว่างของแสง จึงเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า Illuminometer อุปกรณ์รบั แสงจะใช้โฟโต้เซลลช์ นิด
Selenium Photo Cell ท่มี ีประสทิ ธิภาพและความไวสงู
เครื่องวัดกระแสไฟฟ้าแบบแคลมป์ ออน (Clamp on AC Ammeter) ทางานเหมือนกับหม้อแปลง
กระแสไฟฟ้า โดยมีขดลวดปฐมภมู ินาไปคลอ้ งเขา้ กบั สายไฟ ทาใหเ้ กิดการเหน่ียวนาไดก้ ระแสไฟฟ้าไหลใน
180
ขดลวดทุติยภมู ิ โดยกระแสไฟฟ้านีจ้ ะเป็นสดั สว่ นกบั กระแสไฟฟ้าท่ีขดลวดปฐมภมู ิ และนาไปป้อนใหว้ งจร
เรียงกระแสไฟฟา้ เพ่อื เปล่ียนไฟฟ้ากระแสสลบั เป็นไฟฟา้ กระแสตรงปอ้ นใหข้ ดลวดเคล่ือนท่ี
1. อธิบายการใชง้ านเครอ่ื งวดั ความถ่ีได้
2. อธิบายการใชง้ านเครื่องวดั ลาดบั เฟสได้
3. อธิบายการใชง้ านเครอ่ื งวดั ความเรว็ รอบได้
4. อธิบายการใชง้ านเครอ่ื งวดั ความเขม้ ของแสงได้
5. อธิบายการใชง้ านเครื่องวดั กระแสไฟฟา้ แบบแคลมป์ ออนได้
181
ในงานไฟฟ้ากาลงั มีการใชเ้ คร่ืองวดั ไฟฟ้าหลากหลายชนิด ทงั้ ในชีวิตประจาวนั งานช่างพืน้ ฐานงาน
อุตสาหกรรม งานซ่อมบารุงไฟฟ้า หรืองานระบบไฟฟ้า ผูป้ ฏิบตั ิงานจะตอ้ งศึกษาการใชเ้ ครื่องมือวัดใหม้ ี
ความชานาญ โดยศึกษาด้วยตนเอง อ่านคู่มือหรือเข้าฝึกอบรม เพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และมีความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน
เครื่องวัดความถ่ี (Frequency Meter) หรือ ฟรีเควนซี่มิเตอร์ ทาหน้าท่ีวัดความถ่ีของระบบไฟฟ้า
หน่วยวัดเรียกว่า เฮิรตซ์ (Hertz: Hz) เครื่องวัดชนิดนีน้ ับว่ามีความสาคัญอย่างมากต่อการทางานของ
อปุ กรณไ์ ฟฟ้า ตวั อย่างเชน่ มอเตอร์ (Motor) หมอ้ แปลงไฟฟา้ (Transformer) ถา้ หากว่าความถ่ีท่ีจ่ายใหก้ บั
มอเตอรม์ ีค่าเปลี่ยนไปจะทาใหม้ อเตอรห์ มุนชา้ ลง หรือเร็วยิ่งขึน้ ทาใหก้ ารควบคมุ คลาดเคลื่อน (Error) ไป
จากเดิมซ่ึงไม่เป็นผลดีต่อวงการอุตสาหกรรม สาหรบั เครื่องวัดความถี่แบบแอนะล็อกท่ีใชง้ านในปัจจุบนั
แบ่งได้ 2 แบบ คือ แบบกา้ นส่นั (Vibration Frequency Meter) แบบเข็มชีบ้ ่ายเบน (Indicator Frequency
Meter) และแบบดจิ ิตอล (Digital Frequency Meter)
9.1.1 เครอ่ื งวดั ความถแ่ี บบกา้ นส่นั
เครื่องวัดความถี่แบบก้านส่ันเป็นเครื่องวัดท่ีมีหลักการทางานไม่ซับซ้อน สามารถแสดง
ค่าความถี่ (Frequency) ไดโ้ ดยอาศัยการส่นั ของแกนเหล็ก ส่วนประกอบท่ีสาคัญมี 2 อย่าง คือ ขดลวด
และกา้ นส่นั การทางานเร่มิ จากเม่ือมีกระแสไฟฟ้าเขา้ สขู่ ดลวดท่ีพนั อย่รู อบ ๆ แกนเหล็ก จะทาใหเ้ กิดความ
หนาแน่นของเสน้ แรงแม่เหล็ก (Magnetic Flux Density) ความหนาแน่นของฟลกั ซแ์ ม่เหล็กนีจ้ ะคลอ้ งผ่าน
แกนเหล็กอ่อนและกา้ นท่ีจะส่นั โดยมีช่องว่างอากาศ (Air Gap) ระหว่างกา้ นส่นั กา้ นส่นั จะส่นั แรงท่ีสุดท่ี
ความถี่หน่ึงเท่านั้น เรียกความถ่ีนีว้ ่า ความถ่ีรีโซแนนซ์ ดังนั้นจึงเรียกเคร่ืองวัดแบบนี้อีกอย่างหน่ึงว่า
Resonance Frequency Meter
ขอ้ ดีของเครอื่ งวดั ความถ่ีแบบก้านส่ัน
1. โครงสรา้ งไมซ่ บั ซอ้ น
2. ทนทาน
3. เหมาะกบั งานระบบไฟฟ้ากาลงั เน่อื งจากสามารถใชง้ านไดห้ ลายระดบั แรงดนั
4. ระดบั แรงดนั ไฟฟ้าเปล่ยี นแปลงไม่เกนิ 10% จะไม่มีผลต่อการส่นั
182
รูปที่ 9.1 ตวั อย่างเครื่องวดั ความถ่ีแบบกา้ นส่นั
9.1.2 เครื่องวัดความถแ่ี บบเขม็ ชบี้ ่ายเบน
เครื่องวดั ความถ่ีแบบเขม็ ชีบ้ ่ายเบนท่ีนิยมใชใ้ นหอ้ งปฏิบตั ิการท่วั ไป คือ เคร่ืองวดั ความถี่แบบ
ขดลวดเคล่ือนท่ี (Moving Coil Type Indicator) พิกัดแรงดัน (Rated Voltage) 120/240 V การบ่ายเบน
ของเข็มชีจ้ ะถกู ควบคมุ ดว้ ยแรงบิดจากสปรงิ ความกวา้ งของย่านวดั มีค่าอย่รู ะหว่าง 45–55 Hz, 45–65 Hz,
55–65 Hz, 20–100 Hz เป็นตน้
รูปท่ี 9.2 ตวั อยา่ งเครื่องวดั ความถ่ีแบบเขม็ ชีบ้ า่ ยเบน
9.1.3 เครอ่ื งวัดความถี่แบบดจิ ิทัล
เครอ่ื งวดั ความถ่ีแบบดิจิทลั นยิ มใชใ้ นหอ้ งควบคมุ ระบบไฟฟ้า และปฏิบตั กิ าร ท่ีตอ้ งการทราบ
คา่ ความถี่ท่มี ีความละเอียด และสามารถมองเห็นในระยะไกลทาใหง้ ่ายตอ่ การอ่านค่าความถี่
รูปที่ 9.3 ตวั อยา่ งเครือ่ งวดั ความถี่แบบดจิ ิทลั
183
เคร่ืองวัดลาดับเฟส (Phase Sequence Indicator) ใช้สาหรับตรวจสอบการเรียงลาดับเฟสของ
แรงดันไฟฟ้า 3 เฟส (Three Phase Voltage) รวมถึงการขาดหายไปของเฟสใดเฟสหน่ึงของระบบไฟฟ้า
โดยสังเกตจากการติดสว่างของ LED หรือจากการหมุนของแผ่น Disc ลาดับเฟสของแรงดันไฟฟ้า
กระแสสลบั 3 เฟสมี 2 แบบ คอื ลาดบั เฟสบวก (Positive Phase Sequence) และลาดบั เฟสลบ (Negative
Phase Sequence) ความสาคัญของลาดับเฟส คือ การต่อขนานเครื่องกาเนิดไฟฟ้า (Generator) จะตอ้ ง
ตรวจสอบใหม้ ลี าดบั เฟสเหมือนกนั มเิ ช่นนนั้ แลว้ จะทาใหเ้ กดิ ความเสียหายได้
อกี อย่างหน่ึง คือ ช่วยใหต้ ่อสายมอเตอรไ์ ดถ้ กู ตอ้ งและหมนุ ถกู ทิศทาง หรอื ท่เี ราคนุ้ เคยก็คอื การกลบั
เฟส สายจ่ายแรงดันเพียงคู่ใดคู่หน่ึง ก็จะทาให้มอเตอรห์ มุนกลับทางตามต้องการ นอกจากนี้ ยังใช้
ประโยชนใ์ นการตรวจสอบเฟสของระบบไฟฟ้าในโรงงานเพ่ือหาเฟส R, S, T ไดอ้ กี ดว้ ย เครื่องวดั ลาดบั เฟส
มหี ลกั การทางาน 2 แบบ คอื แบบอาศยั การเหน่ยี วนาและแบบอาศยั หลอดไฟ
9.2.1 เครอ่ื งวัดลาดบั เฟสแบบอาศยั การเหน่ียวนา
เคร่ืองวัดลาดับเฟสแบบอาศัยการเหน่ียวนา มีส่วนประกอบท่ีสาคัญ คือ ขดลวดสรา้ ง
สนามแม่เหล็ก (Field Coils) จานหมุนอะลูมิเนียม (Disc) และหลอดไฟ การทางานเร่ิมจากป้อนแรงดัน
ใหก้ บั ขอลวด จะสรา้ งสนามแม่เหล็กเหน่ียวนาใหจ้ านอะลมู ิเนียมหมนุ ไป ถา้ หมนุ ตามเข็มนาฬิกาแสดงว่า
ลาดบั เฟสเรียงลาดบั R, S, T ถูกตอ้ ง ถา้ หากผิดทิศทางใหส้ ลบั สายค่ใู ดค่หู นึ่งแต่ถา้ จานไม่หมุนแสดงว่ามี
เฟสใดเฟสหนึ่งขาดหายไป (Phase Open) หรอื ไม่ครบเฟส ดงั รูปท่ี 9.4
รูปที่ 9.4 ตวั อย่างเครือ่ งวดั ลาดบั เฟสแบบอาศยั การเหน่ยี วนา
184
9.2.2 เครอ่ื งวัดลาดบั เฟสแบบอาศยั หลอดไฟ
เครื่องวดั ลาดับเฟสแบบนีจ้ ะแสดงลาดบั เฟสดว้ ยการติดสว่างของหลอดไฟ (LED) และเสียง
บซั เซอร์ (Buzzer) สว่ นประกอบท่สี าคญั มีดงั นี้
ถกู ตอ้ ง) รูปที่ 9.5 ตวั อย่างเครอ่ื งวดั ลาดบั เฟสแบบอาศยั หลอดไฟ
1. หลอด LED แสดงการขาดหายของเฟส
2. หลอด LED แสดงลาดับของเฟส (หลอดสีเขียวแสดงลาดับถูกตอ้ ง หลอดสีแดงลาดับไม่
3. จ๊บุ ยางใชย้ ดึ เครือ่ งตดิ กบั สวติ ซบ์ อรด์
4. สายวดั (สีแดง คือ เฟส R, สีขาว คอื เฟส S และสนี า้ เงนิ คอื เฟส T)
5. ปากคบี หนบี สายไฟ
6. สายคลอ้ งขอ้ มอื
7. เข็มสาหรบั แตะวดั แบบสมั ผสั
เครื่องวัดความเร็วรอบ (Tachometer) ใช้สาหรบั วัดรอบการหมุนของมอเตอร์ เคร่ืองกาเนิดและ
เคร่ืองจักรกลต่าง ๆ มีหน่วยวัดเป็นรอบต่อนาที (Revolution Per Minute; rpm) ท่ีใชง้ านในปัจจบุ นั แยกได้
เป็น 2 แบบ คอื
9.3.1 เครอ่ื งวัดความเรว็ รอบแบบใช้แสง/สมั ผสั ระบบดจิ ิทลั
เคร่ืองวัดความเร็วรอบแบบใชแ้ สง/สัมผัส ระบบดิจิทัล (Digital Photo/Contact Tachometer)
เป็นเคร่ืองวัดความเร็วรอบท่ีใชแ้ สงและระบบสัมผัสรวมไวใ้ นเคร่ืองเดียวกัน ทาใหส้ ะดวกต่อการใชง้ าน
185
โครงสรา้ งภายในทางานดว้ ยอปุ กรณโ์ ซลิดสเตท (Solid State Device) แบบ LSI ซ่ึงเป็นไมโครคอมพิวเตอร์
ชิพเดียว (Microcomputer Single Chip) จึงใหค้ วามเท่ียงตรงสงู มีช่วงการวดั ท่ีกวา้ งและวัดไดร้ วดเร็ว เช่น
ตงั้ แต่ 0.5–9999 รอบต่อนาที (rpm) นอกจากนยี้ งั มีหน่วยความจา (Memory) เพ่อื เกบ็ ขอ้ มลู การวดั ไวไ้ ด้
รูปท่ี 9.6 ตวั อย่างเครอ่ื งวดั ความเรว็ รอบ และการใชง้ าน
การใชง้ านแบ่งออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ แบบใชแ้ สง แบบนีจ้ ะใชว้ ิธีการติดแผ่นสะทอ้ นแสงเขา้
กบั เพลาหรือผิวของวตั ถุท่ีหมุน จากนั้นเล็งลาแสงไปยงั วตั ถุท่ีจะวัด ตัวเลขจะปรากฏขึน้ บอกความเร็วให้
ทราบเป็นรอบต่อนาที ส่วนอีกแบบหนึ่ง คือ แบบสัมผัส จะใชว้ ิธีการวดั ความเรว็ ท่ีผิวสมั ผสั โดยใชล้ ูกยาง
แบบกรวย
เคร่ืองวดั ความเขม้ ของแสง (Lux Meter) หรอื ลกั ซม์ ิเตอร์ เป็นเคร่ืองมือท่ีใชส้ าหรบั วดั ความเขม้ ของ
แสง หรือความสว่างของแสง จึงเรียกอีกช่ือหนึ่งว่า Illuminometer อุปกรณ์รบั แสงจะใช้โฟโต้เซลลช์ นิด
Selenium Photo Cell ท่มี ปี ระสิทธิภาพและความไวสงู ประโยชนข์ องลกั ซม์ เิ ตอรม์ ดี งั นี้
1. ใชใ้ นการออกแบบระบบแสงสว่าง สาหรบั สานักงานโรงงานอตุ สาหกรรมและสถานท่ีต่าง ๆ ให้
เหมาะสมกบั สถานท่แี ละงานทกุ ชนิด เพ่อื ท่จี ะรกั ษาสขุ ภาพตาของผคู้ นในสถานท่นี นั้
186
2. ใช้ในการจัดแสงไฟสาหรบั เวทีการแสดง หรือหอ้ งสตูดิโอท่ีมีการถ่ายทาภาพยนตรว์ ิดีโอหรือ
ถ่ายภาพ
3. เพ่อื เป็นการประหยดั ค่าไฟจากสถานท่ที ่มี ีแสงสว่างเกินความจาเป็น
4. ใชใ้ นการเกษตร เชน่ แสงสว่างในเรอื นเพาะชา เป็นตน้
สาหรบั ระดบั แสงสว่างท่ีพอเหมาะกบั สถานท่ตี า่ ง ๆ หรอื งานชนิดต่าง ๆ ลกั ซม์ ิเตอรท์ ่ีใชง้ านท่วั ไปมี 2
แบบ คือ แบบเข็มชีบ้ า่ ยเบนและแบบดิจิตอล
รูปท่ี 9.7 ตวั อย่างลกั ซม์ ิเตอร์
แอมมิเตอรแ์ บบแคลมป์ ออน (Clamp on AC Ammeter) ดังรูปท่ี 9.8 จะทางานเหมือนกันกับ
หม้อแปลงกระแสไฟฟ้าโดยมีขดลวดปฐมภูมินาไปคล้องเข้ากับสายไฟ ทาให้เกิดการเหน่ียวนาได้
กระแสไฟฟ้าไหลในขดลวดทตุ ิยภูมิ โดยกระแสไฟฟ้านจี้ ะเป็นสดั ส่วนกบั กระแสไฟฟ้าท่ขี ดลวดปฐมภมู ิ และ
นาไปปอ้ นใหว้ งจรเรียงกระแสเพ่อื เปลย่ี นกระแสสลบั เป็นกระแสตรงปอ้ นใหข้ ดลวดเคลือ่ นท่ี
รูปที่ 9.8 ตวั อยา่ งแคลมป์ ออนมิเตอร์
187
โดยปกติแลว้ การวดั กระแสไฟฟ้าจะตอ้ งต่อแอมมิเตอรอ์ นุกรมกบั โหลดถา้ วดั ค่ากระแสไฟฟ้าสงู แลว้
จะมีอันตรายและไม่สะดวกในการปฏิบัติ จึงใช้แคลมป์ ออนมิเตอรว์ ัดกระแสไฟฟ้าแทนแอมมิเตอร์
แคลมป์ ออนมิเตอรจ์ ะมี 3 ส่วนคือ โอห์มมิเตอร์ แอมมิเตอรแ์ ละโวลตม์ ิเตอร์ จะมีสวิตช์เปล่ียนย่านวัด
เหมือนมเิ ตอรท์ ่วั ไป
เคร่ืองวดั ความถ่ี (Frequency Meter) ทาหนา้ ท่ีวัดความถ่ีของระบบไฟฟ้า หน่วยวดั เรียกว่า เฮิรตซ์
(Hertz: Hz) การต่อใชง้ านเหมือนกบั โวลตม์ เิ ตอร์
เคร่ืองวัดลาดับเฟส (Phase Sequence Indicator) ใช้สาหรบั ตรวจสอบการเรียงลาดับเฟสของ
แรงดนั ไฟฟ้า 3 เฟส (Three Phase Voltage) รวมถงึ การขาดหายไปของเฟสใดเฟสหนง่ึ ของระบบไฟฟา้
เพ่อื ปอ้ งกนั การหมนุ ผดิ ทิศทางของมอเตอร์ 3 เฟส
เครื่องวัดความเร็วรอบ (Tachometer) ใชส้ าหรบั วัดรอบการหมุนของมอเตอร์ เคร่ืองกาเนิดและ
เคร่ืองจกั รกลตา่ ง ๆ มหี น่วยวดั เป็นรอบตอ่ นาที (Revolution Per Minute; rpm)
เครื่องวดั ความเขม้ ของแสง (Lux Meter) หรือ ลกั ซม์ ิเตอร์ เป็นเคร่ืองมือท่ีใชส้ าหรบั วดั ความเขม้ ของ
แสง หรือความสว่างของแสง จึงเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า Illuminometer อุปกรณ์รบั แสงจะใชโ้ ฟโตเ้ ซลลช์ นิด
Selenium Photo Cell ท่มี ปี ระสิทธิภาพและความไวสงู
เครื่องวัดกระแสไฟฟ้าแบบแคลมป์ ออน (Clamp on AC Ammeter) ทางานเหมือนกับหม้อแปลง
กระแสไฟฟ้าโดยมีขดลวดปฐมภูมินาไปคลอ้ งเขา้ กบั สายไฟ ทาใหเ้ กิดการเหน่ียวนาไดก้ ระแสไฟฟ้าไหลใน
ขดลวดทุติยภูมิ โดยกระแสไฟฟ้านีจ้ ะเป็นสดั ส่วนกบั กระแสไฟฟ้าท่ีขดลวดปฐมภมู ิ และนาไปป้อนใหว้ งจร
เรียงกระแสไฟฟา้ เพ่อื เปลีย่ นไฟฟ้ากระแสสลบั เป็นไฟฟา้ กระแสตรง ปอ้ นใหข้ ดลวดเคล่อื นท่ี
188
1. จงอธิบายการใชง้ านเครอ่ื งวดั ความถ่ี
2. จงอธิบายการใชง้ านเคร่ืองวดั ลาดบั เฟส
3. จงอธิบายการใชง้ านเครื่องวดั ความเรว็ รอบ
4. จงอธิบายการใชง้ านเครื่องวดั ความเขม้ ของแสง
5. จงการใชง้ านแอมมิเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสสลบั แบบแคลมป์ ออน
189
คาส่ัง จงเลอื กคาตอบท่ถี กู ตอ้ งท่ีสดุ เพียงคาตอบเดียว
1. หน่วยการวดั มหี น่วย Hz เป็นเคร่อื งวดั ชนิด
ก. เคร่ืองวดั ความเรว็ รอบ ข. เครอ่ื งวดั ความถ่ี
ค. เครื่องวดั ความเขม้ แสง ง. เครื่องวดั ความเรว็ ลม
2. ขอ้ ใดมีความหมายตรงกบั เครอื่ งวดั ความถี่
ก. Tachometer ข. Lux Meter
ค. Frequency Meter ง. Phase Sequence Indicator
3. Tachometer มใี ชใ้ นงานอะไรมากท่สี ดุ
ก. งานติดตงั้ ไฟฟา้ ข. งานเครื่องทาความเย็น
ค. งานเขยี นแบบไฟฟา้ ง. งานมอเตอรไ์ ฟฟา้
4. Tachometer มีหนว่ ยวดั เป็นอะไร
ก. รอบต่อนาที ข. กโิ ลเมตรต่อช่วั โมง
ค. เมตรตอ่ วินาที ง. เมตรตอ่ นาที
5. ขอ้ ควรระวงั ในการใชง้ าน Tachometer แบบใชแ้ สงคืออะไร
ก. ระยะห่างระหว่างวตั ถกุ บั เคร่ืองวดั
ข. บรเิ วณท่ผี งฝ่นุ มาก ๆ
ค. วตั ถมุ าบงั แสง
ง. ถกู ทกุ ขอ้
6. ขอ้ ใดมีความหมายตรงกบั เครอื่ งวดั ลาดบั เฟส
ก. Tachometer
ข. Lux Meter
ค. Frequency Meter
ง. Phase Sequence Indicator
190
7. ขอ้ ใดกลา่ วไดถ้ กู ตอ้ ง เกี่ยวกบั การใชเ้ ครอื่ งวดั ลาดบั เฟส
ก. ใชว้ ดั ความเรว็ รอบของมอเตอร์ 3 เฟส
ข. ตรวจสอบการเรยี งลาดบั เฟสของแรงดนั ไฟฟา้ 3 เฟส
ค. ตรวจสอบสายมีไฟ ของแรงดนั ไฟฟ้า 3 เฟส
ง. ตรวจสอบระดบั แรงดนั ไฟฟา้ 3 เฟส
8. เครอื่ งวดั ความเขม้ ของแสง มหี นว่ ยวดั เป็นอะไร
ก. ลเู มน (lumen)
ข. ลกั ซ์ (lux)
ค. ซีเมนส์ (siemens)
ง. ฟารดั (farad)
9. การใชง้ านของเคร่อื งวดั กระแสไฟฟ้าแบบแคลมป์ ออน ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง
ก. ตอ่ อนกุ รมกบั โหลด
ข. ใชว้ ดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรง
ค. สามารถวดั ไดเ้ ฉพาะกระแสไฟฟา้ กระแสสลบั เทา่ นนั้
ง. ไม่สะดวกในการวดั กระแสไฟฟ้า
10. การใชง้ านของเคร่อื งวดั กระแสไฟฟ้าแบบแคลมป์ ออน ขอ้ ใดถกู ตอ้ ง
ก. การวดั กระแสไฟฟา้ 1 เฟส ใหค้ ลอ้ งสายทงั้ 2 เสน้
ข. การวดั กระแสไฟฟ้า 3 เฟส ใหค้ ลอ้ งสายมีไฟทงั้ 3 เสน้
ค. การวดั กระแสไฟฟา้ 3 เฟส ใหค้ ลอ้ งสายนวิ ตรอน 1 เสน้
ง. การวดั กระแสไฟฟา้ 3 เฟส ใหค้ ลอ้ งสายมีไฟเสน้ ใดเสน้ หน่ึง
191
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง
1. เขียนและอธิบายสญั ลกั ษณบ์ นหนา้ ปัดเคร่อื งวดั ไฟฟา้ ได้
เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ 3-4 แบบหรอื รุน่
1. เครือ่ งวดั ไฟฟา้ ชนิดต่าง ๆ 3-4 แบบหรือรุน่
2. รูปภาพของเครอื่ งวดั ไฟฟา้ ชนิดต่าง ๆ
ลาดับข้นั การทดลอง
1. เรม่ิ ปฏบิ ตั ิงานเขียนช่ือเคร่ืองมือวดั ไฟฟ้าแต่ละแบบ
2. เขยี นรูปสญั ลกั ษณ์ และความหมายของสญั ลกั ษณ์ ของเครอื่ งวดั ไฟฟา้ แต่ละแบบ
บอก สญั ลักษณ์ ความหมาย
ชนิด โวลตม์ เิ ตอรก์ ระแสสลบั
V เครื่องวดั ไฟฟ้าแบบแกน
โครงสรา้ ง
2.5 เหลก็ เคลือ่ นท่ี
การวาง
คลาส วางตงั้ ฉากขณะใชง้ าน
ค่าความคลาดเคลอ่ื น 2.5 %
บอก สญั ลกั ษณ์ ความหมาย
ชนิด
โครงสรา้ ง
การวาง
คลาส
192
บอก สญั ลกั ษณ์ ความหมาย
ชนิด
โครงสรา้ ง
การวาง
คลาส
บอก สญั ลักษณ์ ความหมาย
ชนิด
โครงสรา้ ง
การวาง
คลาส
บอก สัญลักษณ์ ความหมาย
ชนิด
โครงสรา้ ง
การวาง
คลาส
193
สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ
คาถามท้ายใบงาน
1. จงยกตวั อย่างสญั ลกั ษณแ์ ละใหค้ วามหมาย ของเครื่องวดั ไฟฟา้ ท่บี อกชนดิ
2. จงยกตวั อยา่ งสญั ลกั ษณแ์ ละใหค้ วามหมาย ของเครอ่ื งวดั ไฟฟา้ ท่ีบอกลกั ษณะการใชง้ าน
3. จงยกตวั อยา่ งสญั ลกั ษณแ์ ละใหค้ วามหมาย ของเครอ่ื งวดั ไฟฟา้ ท่ีบอกโครงสรา้ งการทางาน
4. ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั จากการทดลอง
194
แบบประเมินผล
ใบงานท่ี 1 สัญลักษณเ์ ครื่องวัดไฟฟ้า
ชอื่ นามสกลุ ห้อง/เลขท่ี
รายการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมือ 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมอื 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั ิงาน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม
ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดือน
เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอย่ใู นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุงซ่อมเสรมิ
0–39 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่
195
จุดประสงคก์ ารทดลอง
1. แสดงการใชง้ านดีซีโวลตม์ ิเตอรว์ ดั แรงดนั ไฟฟา้ ในวงจรได้
2. อ่านแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงบนสเกลหนา้ ปัดของดีซีโวลตม์ เิ ตอรไ์ ด้
เครื่องมอื และอุปกรณ์ 1 เครื่อง
1. ดีซีโวลตม์ เิ ตอร์ 1 เคร่อื ง
2. แหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงปรบั คา่ ได้ 0–30 V 1 ตวั
3. ตวั ตา้ นทาน 100 , 220 , 330 1 W ค่าละ 1 ชดุ
4. แผงประกอบวงจรและสายตอ่ วงจร
วงจรการทดลอง
V1 V2
V V
R1 = 100 R2 = 220
R3 = 330
E=6V V V3
รูปที่ 2.1 วงจรตวั ตา้ นทานต่ออนกุ รม 3 ตวั
ลาดับขนั้ การทดลอง
1. ตอ่ วงจร ดีซีโวลตม์ ิเตอร์ ตามรูป
2. ใชโ้ วลตม์ เิ ตอรว์ ดั แรงดนั ไฟฟ้าในวงจรตามจดุ ตา่ ง ๆ บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 2.1
196
ตารางท่ี 2.1
แรงดนั ไฟฟ้าทวี่ ัดได้
V1 V2 V3
แรงดันไฟฟ้า(E)
6V
9V
12 V
3. ปรับเปลี่ยนแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า E เป็ น 9 V และ 12 V ตามลาดับ วัดและบันทึกค่า
แรงดนั ไฟฟา้ ตามจดุ ต่าง ๆ ลงในตารางท่ี 2.1
สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ
197
คาถามหลงั การทดลอง
1. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมตัวตา้ นทานต่ออนุกรม วัดท่ีตาแหน่งต่างๆ ตามรูปท่ี 2.1 มีค่าเหมือนกัน
หรือแตกต่างกนั อย่างไร เพราะเหตใุ ดจึงเป็นเช่นนนั้
2. การวดั แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงดว้ ยดีซีโวลตม์ ิเตอร์ ขวั้ บวกลบของดีซีโวลตม์ ิเตอรม์ ีความสาคัญ
ต่อการวดั คา่ อย่างไร
4. จงอธิบายวิธีอ่านคา่ บนสเกลของดซี ีโวลตม์ ิเตอร์
5. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง
198
แบบประเมินผล
ใบงานที่ 2 โวลตม์ ิเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง
ช่อื นามสกลุ หอ้ ง/เลขที่
รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ คร่ืองมอื 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมอื 10
5. การสรุปผลการปฏิบตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม
ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น
เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ดี
60–69 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั งิ านอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซ่อมเสรมิ
0–39 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่
199
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง
1. ใชง้ านดซี ีแอมมิเตอรว์ ดั กระแสไฟฟา้ ในวงจรได้
2. อา่ นกระแสไฟฟ้าบนสเกลหนา้ ปัดของดซี แี อมมเิ ตอรไ์ ด้
เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ 4 เครอ่ื ง
1. ดซี ีแอมมเิ ตอร์ 1 เคร่ือง
2. แหลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงปรบั คา่ ได้ 0 – 30 V 1 ตวั
3. ตวั ตา้ นทาน 330 , 470 , 560 ขนาด 1 W ค่าละ 1 ชดุ
4. แผงประกอบวงจรและสายต่อวงจร
วงจรการทดลอง
A IT
A I1 A I2 A I3
E=6V R1 = 560 R2 = 470 R3 = 330
ลาดับขั้นการทดลอง
1. ต่อวงจร ดีซแี อมมเิ ตอรม์ เิ ตอร์ ตามรูป
2. ใชแ้ อมมิเตอรไ์ ฟฟา้ กระแสตรง วดั กระแสไฟฟา้ ในวงจรตามจดุ ต่าง ๆ บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 3.1
200
ตารางท่ี 3.1
กระแสไฟฟ้าทวี่ ัดได้
I1 I2 I3 IT
แรงดันไฟฟ้า(E)
6V
9V
12 V
3. ปรับเปล่ียนแหล่งงจ่ายแรงดันไฟฟ้า E เป็ น 9 V และ 12 V ตามลาดับ วัดและบันทึกค่า
กระแสไฟฟา้ ตามจดุ ต่าง ๆ ลงในตารางท่ี 3.1 ตามลาดบั
สรุปผลการทดลอง
201
คาถามหลังการทดลอง
1. กระแสไฟฟ้าไหลในวงจรตัวต้านทานต่อขนาน วัดท่ีตาแหน่งต่าง ๆ ตามรูปท่ี 3.1 มีค่า
กระแสไฟฟ้าเหมอื นกนั หรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร เพราะเหตผุ ลใดถงึ เป็นเชน่ นนั้
2. การวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรงดว้ ยดซี ีแอมมิเตอร์ ขวั้ บวกลบของดีซีแอมมิเตอรม์ ีความสาคญั ต่อ
การวดั คา่ อย่างไร
3. จงอธิบายวิธีอ่านคา่ บนสเกลของดีซีแอมมิเตอร์
4. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง
202
แบบประเมินผล
ใบงานที่ 3 แอมมเิ ตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง
ชอ่ื นามสกุล ห้อง/เลขท่ี
รายการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ คร่ืองมือ 10
4. ผลการใชเ้ คร่ืองมอื 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏบิ ตั ิงาน 10
9. การตรงต่อเวลา 10
10. ความเป็นระเบียบรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม
ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดือน
เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถึง มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอย่ใู นระดบั พอใช้
40–49 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั เร่ิมศกึ ษาใหม่
203
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง
1. ใชง้ านเอซีโวลตม์ ิเตอรว์ ดั แรงดนั ไฟฟา้ ได้
2. อา่ นแรงดนั ไฟฟ้าบนสเกลหนา้ ปัดของเอซโี วลตม์ เิ ตอรไ์ ด้
เครอ่ื งมือและอปุ กรณ์ 1 เครื่อง
1. เอซีโวลตม์ ิเตอร์ 1 เคร่อื ง
2. แหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ปรบั คา่ ได้ 1 ตวั
3. ตวั ตา้ นทาน 100 , 330 , 470 , 1 W คา่ ละ 1 ชดุ
4. แผงประกอบวงจรและสายต่อวงจร
~V V3
วงจรการทดลอง
~V V1 ~V V2
R1 = 100 R2 = 330
R3 = 470
E=6V
รูปที่ 4.1 วงจรตวั ตา้ นทานตอ่ อนกุ รม 3 ตวั
ลาดับขัน้ การทดลอง
1. ต่อวงจร เอซโี วลตม์ เิ ตอร์ ตามรูป
2. ใชโ้ วลตม์ ิเตอรว์ ดั แรงดนั ไฟฟา้ ในวงจรตามจดุ ต่าง ๆ บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 4.1
204
ตารางท่ี 4.1
แรงดนั ไฟฟ้าทวี่ ัดได้
V1 V2 V3
แรงดันไฟฟ้า(E)
6V
9V
12 V
3. ปรับเปลี่ยนแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้า E เป็ น 9 V และ 12 V ตามลาดับ วัดและบันทึกค่า
แรงดนั ไฟฟา้ ตามจดุ ตา่ ง ๆ ลงในตารางท่ี 4.1
สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ
205
คาถามหลังการทดลอง
1. แรงดันไฟฟ้าตกครอ่ มตัวตา้ นทานต่ออนุกรม วัดท่ีตาแหน่งต่างๆ ตามรูปท่ี 4.1 มีค่าเท่ากันหรือ
แตกตา่ งกนั อย่างไร เพราะเหตใุ ด
2. การวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ดว้ ยเอซีโวลตม์ ิเตอร์ ขวั้ บวกและขวั้ ลบของเอซีโวลตม์ ิเตอร์ มีผล
ตอ่ การวดั ค่า หรือไม่
3. จงอธิบายวิธีอา่ นคา่ บนสเกลของเอซีโวลตม์ เิ ตอร์
4. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง
206
แบบประเมินผล
ใบงานท่ี 4 โวลตม์ ิเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั
ชอื่ นามสกุล ห้อง/เลขท่ี
รายการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ คร่ืองมือ 10
4. ผลการใชเ้ คร่ืองมอื 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั ิงาน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏบิ ตั ิงาน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบียบรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม
ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น
เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุงซ่อมเสรมิ
0–39 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่
207
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง
1. ใชง้ านเอซแี อมมิเตอรว์ ดั กระแสไฟฟา้ ในวงจรได้
2. อา่ นกระแสไฟฟ้าบนสเกลหนา้ ปัดของเอซแี อมมเิ ตอรไ์ ด้
เครื่องมอื และอปุ กรณ์ 4 เครื่อง
1. เอซีแอมมเิ ตอร์ 1 เคร่อื ง
2. แหลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั ปรบั คา่ ได้ 0 – 30 V 1 ตวั
3. ตวั ตา้ นทาน 330 , 470 , 560 ขนาด 1 W ค่าละ 1 ชดุ
4. แผงประกอบวงจรและสายตอ่ วงจร
วงจรการทดลอง
~A IT
~A I1 ~A I2 ~A I3
E=6V R1 = 560 R2 = 470 R3 = 330
ลาดับขนั้ การทดลอง
1. ตอ่ วงจร เอซีแอมมิเตอร์ ตามรูป
2. อา่ นค่าจากกระแสไฟฟา้ เอซแี อมมิเตอร์ ในวงจรตามจดุ ต่าง ๆ บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 5.1
208
ตารางท่ี 5.1
กระแสไฟฟ้าทวี่ ดั ได้
I1 I2 I3 IT
แรงดันไฟฟ้า(E)
6V
9V
12 V
3. ปรับเปลี่ยนแหล่งงจ่ายแรงดันไฟฟ้า E เป็ น 9 V และ 12 V ตามลาดับ วัดและบันทึกค่า
กระแสไฟฟ้าตามจดุ ตา่ ง ๆ ลงในตารางท่ี 5.1 ตามลาดบั
สรุปผลการทดลอง
209
คาถามหลังการทดลอง
1. กระแสไฟฟ้าไหลในวงจรตัวต้านทานต่อขนาน วัดท่ีตาแหน่งต่าง ๆ ตามรูปท่ี 5.1 มีค่า
กระแสไฟฟ้าเหมอื นกนั หรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร เพราะเหตผุ ลใดถงึ เป็นเชน่ นนั้
2. การวดั กระแสไฟฟ้าสลบั ดว้ ยเอซีแอมมิเตอร์ ขวั้ บวกขวั้ ลบของเอซีแอมมิเตอรม์ ีความสาคัญต่อ
การวดั คา่ หรือไม่ อยา่ งไร
3. จงอธิบายวธิ ีอา่ นค่าบนสเกลของเอซแี อมมิเตอร์
4. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง
210
แบบประเมินผล
ใบงานที่ 5 แอมมิเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสสลับ
ชอื่ นามสกุล หอ้ ง/เลขที่
รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมือ 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมือ 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม
ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดือน
เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั งิ านอย่ใู นระดบั ดีมาก
70–79 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั เรม่ิ ศกึ ษาใหม่
211
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง 1 เครือ่ ง
วดั และอ่านค่าความตา้ นทานได้ 8 ตวั
1 ชดุ
เครื่องมือและอปุ กรณ์
1. โอหม์ มเิ ตอร์ หรอื มลั ติมิเตอร์
2. ตวั ตา้ นทานชนิด 4 แถบสีคา่ ตา่ งกนั ( – M)
3. แผงประกอบวงจรและสายต่อวงจร
วงจรการทดลอง
50 3 0 20 10 5 2k 15k0 0 20 0 1 0 0 50 3 0 20 10 5
21500 21500
2k 15k0 0 2 0 0 1 0 0 124000 135600 2 04008 21 0 124000 1 53600 2 04008 21 0
2 550100 2 550100
DCV,A 000 DCV,A 000
ACV ACV
20k /V ~- 20k /V ~-
9k /V 9k /V
0 ADJ OUTPUT 0 ADJ OUTPUT
+ +
1000 250 1000 1000 250ACV
50 50
250 1000 250ACV 10
50 50 DCV 10
10 2.5 x10k
DCV 10
2.5 x10k x1k
x10
- COM 0.5 x1k - COM 0.5 0.25A x1
x10
500.1A 0.25A x1 500.1A
2.5 2.5
DCmA25 25
DCmA
รูปที่ 6.1 การปรบั แต่งโอหม์ มิเตอรใ์ หพ้ รอ้ มใชง้ าน รูปที่ 6.2 การใชโ้ อหม์ มิเตอรว์ ดั ค่าความตา้ นทาน
ลาดับขน้ั การทดลอง
1. ใหป้ ลายสายวดั สีแดงและสีดาของโอหม์ มิเตอรส์ มั ผัสเขา้ ดว้ ยกนั ปรบั แต่งป่ มุ ปรบั 0 ใหเ้ ข็มชี้
ของมิเตอรเ์ ลื่อนไปชีท้ ่ีตาแหน่ง 0 การเปลี่ยนย่านใหม่ทุกครง้ั ตอ้ งปรบั แต่งโอหม์ มิเตอรใ์ หม่ทุกครง้ั
เชน่ กนั การปรบั แต่งโอหม์ มิเตอรใ์ หพ้ รอ้ มใชง้ าน แสดงดงั รูป ท่ี 6.1
2. นาโอหม์ มิเตอรท์ ่ีปรบั แต่งเรียบรอ้ ยไปวดั ค่าความตา้ นทานท่ีเตรียมไวไ้ ดต้ ามตอ้ งการ การต่อวัด
ค่าความต้านทานของตัวต้านทาน แสดงดังรูปท่ี 6.2 วัดและบันทึกค่าความตา้ นทานลงในตารางท่ี 6.1
ทกุ คา่
212
3. กาหนดค่าความต้านทานชนิด 4 แถบสีใส่ลงในตารางท่ี 6.1 ตามรหัสให้ครบ 8 ตัว (ควรใชค้ ่า
ความตา้ นทานท่หี ลากหลาย) เขยี นรหสั และค่าความตา้ นทานไดไ้ วท้ กุ คา่
4. การเปลี่ยนย่านความตา้ นทานทุกครง้ั ตอ้ งปรบั แต่งโอหม์ มิเตอรใ์ หพ้ รอ้ มใชง้ านใหม่ทุกครงั้ ให้
เขม้ ชตี้ าแหนง่ ศนู ยโ์ อหม์ เสมอ
ตารางที่ 6.1
ที่ สที 1ี่ รหัสสี สที ี่ 4 ค่าความตา้ นทาน ย่านโอหม์ เลขทอี่ า่ นได้ คา่ จรงิ ที่
สีที่ 2 สที ี่ 3 ทอี่ ่านได้ ทตี่ ัง้ วัด บนหน้าปัด อา่ นได้
0 แดง ดา สม้ ทอง 20 k + 5% 1k 20 20 k
1
2
3
4
5
6
7
8
ข้อควรระวัง
หากตงั้ ย่านโอหม์ ของโอหม์ มิเตอรต์ งั้ แต่ย่าน 1k ขึน้ ไปการวดั ค่าความตา้ นทาน หา้ มจบั ปลายสาย
ของโอหม์ มเิ ตอร์ 2 เสน้ ดว้ ยมอื เพราะจะทาใหก้ ารวดั คา่ โอหม์ มิเตอรอ์ า่ นคา่ ผิดพลาด
สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ
213
คาถามหลังการทดลอง
1. การปรบั แตง่ โอหม์ มิเตอรก์ อ่ นใชง้ านทกุ ครง้ั เพ่อื จดุ ประสงคใ์ ด
2. อธิบายขนั้ ตอนการวดั ค่าความตา้ นทานดว้ ยโอหม์ มิเตอร์
3. การวดั ค่าตา้ นทานสงู ๆ หากใชม้ ือทงั้ 2 ขา้ งจบั สายวดั และโอหม์ มิเตอรว์ ดั ตวั ตา้ นทานจะเกดิ ผลอยา่ งไร
4. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง
214
แบบประเมินผล
ใบงานท่ี 6 การวดั ความตา้ นทานด้วยโอหม์ มเิ ตอร์
ชื่อ นามสกลุ หอ้ ง/เลขที่
รายการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมือ 10
4. ผลการใชเ้ คร่ืองมือ 10
5. การสรุปผลการปฏิบตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั งิ าน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบียบรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม
ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น
เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั งิ านอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุงซ่อมเสรมิ
0–39 หมายถึง มีผลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่
215
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง
1. ใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรว์ ดั ค่าความตา้ นทานได้
2. ใชม้ ลั ติมเิ ตอรว์ ดั แรงดนั ไฟฟา้ ได้
3. ใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรว์ ดั กระแสไฟฟ้าได้
4 อา่ นค่าสเกลย่านวดั ของมลั ติมิเตอรไ์ ด้
เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์
1. มลั ตมิ เิ ตอร์ 1 เครือ่ ง
2. แหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงปรบั คา่ ได้ 1 เครอ่ื ง
3. แหลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ปรบั ค่าได้ 1 เคร่ือง
4. ตวั ตา้ นทาน 100 , 220 , 330 , 470 , 560 , 820 , 1 k
2 k : 1 W ค่าละ 1 ตวั
5. แผงประกอบวงจรและสายต่อวงจร 1 ชดุ
การทดลอง การวดั ค่าความตา้ นทาน
2k 15k00 2 0 0 10 0 50 3 0 20 10 5 2k 15k0 0 20 0 1 0 0 50 3 0 20 10 5
21500 21500
DCV,A 000 124000 135600 2 04008 21 0 DCV,A 000 124000 1 53600 2 04008 21 0
ACV 2 550100 ACV 2 550100
20k /V - 20k /V ~-
9k /V ~ 9k /V
0 ADJ OUTPUT 0 ADJ OUTPUT
+ +
1000 1000 250ACV 250 1000 1000 250ACV
50 50 50
250 10
50 10 DCV 10
2.5 x10k
DCV 10
x1k
2.5 0.5 x10
x10k x1
500.1A
0.5 2.5
25
- COM 500.1A x1k - COM DCmA 0.25A
x10
2.5 0.25A x1
25
DCmA
รูปท่ี 7.1 วงจรการทดลอง
216
1. ปรบั แต่งโอหม์ มิเตอรใ์ หพ้ รอ้ มใชง้ าน และปรบั แตง่ ใหมท่ ุกครง้ั ท่ีเปลี่ยนย่านวดั โอหม์ ใหม่
(เลือกใชม้ ลั ติมเิ ตอรเ์ พียงตวั เดียว)
2. วดั ค่าความตา้ นทานดว้ ยมลั ตมิ ิเตอร์ บนั ทกึ ลงในตารางท่ี 7.1
ตารางที่ 7.1
คา่ จากรหสั สี คา่ ทวี่ ัดได้ ค่าจากรหัสสี ค่าทว่ี ัดได้
100 560
220 820
330 1 k
470 2 k
การทดลอง การวดั แรงดันไฟตรง (DCV)
1. ประกอบวงจรตามรูปท่ี 7.2
2 k 15k0 0 2 0 0 1 0 0 50 3 0 20 10 5
21500
DCV,A 000 124000 1 35600 2 04008 21 0
ACV 2 550100
DC V
20k /V -
9k
/V ~
0 ADJ OUTPUT
250 1000 1000 250 ACV +
50 50
10
DCV 10
2.5 x10k
- COM 0.5 0.25A x1k
x10
500.1 A x1
2.5
25
DCmA
(E)
รูปท่ี 7.2 ตวั อยา่ งการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงดว้ ยมลั ติมิเตอร์ ยา่ นวดั DC V
2. วดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง จากแหลง่ จ่าย (E) บนั ทึกคา่ ลงในตารางท่ี 7.2
3. ปรบั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงจากแหลง่ จา่ ย (E) ตามตารางท่ี 7.2 และบนั ทกึ คา่ ลงในตารางท่ี 7.2
217
ตารางที่ 7.2 ยา่ นวัดที่ แรงดันไฟฟ้าทว่ี ดั ได้
แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง ปรับตั้ง (V)
จากแหล่งจา่ ย (E)
1.5 V 50 3 0 20 10 5
3V 21500
6V 2 k 15k0 0 2 0 0 1 0 0 124000 1 35600 2 04 008 21 0
9V DCV,A 0 00 2 550100
12 V ACV
AC V
การทดลอง การวัดแรงดันไฟสลบั (ACV)
1. ประกอบวงจรตามรูปท่ี 7.3 20k /V - OUTPUT
(E) 9k /V ~ +
0 ADJ
250 1000 1000 ACV
50 250
50
DCV 10 10
2.5
x10k
- COM 0.5
x1k
0.1 0.25A x10
50 A x1
2.5
25
DCmA
รูปท่ี 7.3 ตวั อยา่ งการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ดว้ ยมลั ตมิ เิ ตอร์ ยา่ นวดั AC V
2. วดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรง จากแหลง่ จ่าย (E) บนั ทึกค่าลงในตารางท่ี 7.3
3. ปรบั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั ท่แี หลง่ จา่ ย (E) ตามตารางท่ี 7.3 และบนั ทกึ คา่ ลงในตารางท่ี 7.3
218
ตารางที่ 7.3 ย่านวดั ที่ คา่ แรงดันทว่ี ดั ได้
ปรับตั้ง (V)
แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ
จากแหล่งจา่ ย (E)
5V
10 V
15 V
20 V
24 V
การทดลอง การวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรง (DCmA)
1. ประกอบวงจรตามรูปท่ี 7.4
2 k 15k0 0 2 0 0 1 0 0 50 3 0 20 10 5
21500
DCV,A 000 124000 1 35600 2 04 008 21 0
ACV 2 550100
DCA
R = 1 k 20k /V - OUTPUT
E = 1.5 V
9k /V ~ +
0 ADJ
250 1000 1000 ACV
50 250
50
DCV 10 10
2.5
x10k
- COM 0.5 0.25A
x1k
500.1 A x10
2.5 x1
25
DCmA
รูปท่ี 7.4 การวดั กระแสไฟฟ้ากระแสตรงดว้ ยมลั ติมเิ ตอร์ ย่านวดั DCmA
2. อ่านค่ากระแสไฟฟา้ จากมลั ตมิ เิ ตอร์ บนั ทกึ ในตารางท่ี 7.4
3. ปรบั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงจากแหลง่ จ่าย (E) ตามตารางท่ี 7.4 และบนั ทกึ คา่ ลงในตารางท่ี 7.4
219
ตารางท่ี 7.4 ยา่ นวดั ที่ กระแสไฟฟ้าทว่ี ดั ได้
ปรับตั้ง (mA)
แรงดันไฟฟ้ากระแสตรง
จากแหล่งจา่ ย (E)
1.5 V
3V
6V
9V
12 V
สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ
คาถามหลงั การทดลอง
1. จงอธิบายขนั้ ตอนการวดั คา่ ความตา้ นทานดว้ ยมลั ติมเิ ตอร์
220
2. จงอธิบายขนั้ ตอนการวดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงดว้ ยมลั ติมเิ ตอร์
3. จงอธิบายขนั้ ตอนการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ดว้ ยมลั ตมิ ิเตอร์
4. จงอธิบายขนั้ ตอนการวดั กระแสไฟฟา้ กระแสตรงดว้ ยมัลติมิเตอร์
5. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง
221
แบบประเมินผล
ใบงานที่ 7 การใชง้ านมัลตมิ เิ ตอร์
ชือ่ นามสกุล หอ้ ง/เลขท่ี
รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมอื 10
4. ผลการใชเ้ คร่ืองมือ 10
5. การสรุปผลการปฏิบตั ิงาน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั งิ าน 10
9. การตรงต่อเวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม
ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น
เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ดีมาก
70–79 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอย่ใู นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่
222
จุดประสงคก์ ารทดลอง
มที กั ษะในการใชเ้ คร่อื งวดั แบบวีทสโตนบรดิ จว์ ดั คา่ ความตา้ นทาน
เครื่องมอื และอปุ กรณใ์ นการทดลอง 1 เครื่อง
1. เครอ่ื งวดั แบบวที สโตนบรดิ จ์ 5 ตวั
2. ตวั ตา้ นทาน 1 , 33 , 470 , 1 k, 33 k 1 ชดุ
3. สายต่อวงจร
วงจรการทดลอง
12 3 4
11
10 5
9
87 6
รูปท่ี 8.1 สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเคร่ืองวดั แบบวีทสโตนบรดิ จ์
ลาดับขั้นการทดลอง
1. ศกึ ษาสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเครื่องวดั แบบวีทสโตนบรดิ จ์ ดงั รูปใบงานท่ี 8.1
จากรูปใบงานท่ี 8.1 ฟังกช์ นั สวิตชต์ ่าง ๆ ของเครื่องวดั แบบวีทสโตนบรดิ จ์ มีหนา้ ท่ีการทางานดัง
ตารางท่ี 8.1
223
ตารางท่ี 8.1 ฟังกช์ นั สวิตชต์ ่าง ๆ ของเครื่องวดั แบบวที สโตนบริดจ์
หมายเลข ชื่อ หน้าท่ี
1 G
2 MULTIPLY ขวั้ ตอ่ ลงดนิ
3 INT BA / EXT BA
ป่มุ ปรบั ค่าตวั คณู
4 –B , +B
5 1000, 100, 10, 1 สวิตชเ์ ลอื กการใชแ้ บตเตอรี่ ถา้ โยกไปท่ตี าแหน่ง
6 RX (Ohms), X1, X2
7 GA – INT BA เป็นการใชแ้ บตเตอร่ภี ายในเคร่อื งวดั
8 BA – EXT BA เป็นการใชแ้ บตเตอร่ีภายนอกเคร่ืองวดั
9 GALVANOMETER
10 INT GA / EXT GA ขวั้ ตอ่ แบตเตอรจ่ี ากภายนอก
11 R / MV ป่มุ หมนุ แขนของบรดิ จ์
ขวั้ ต่ออปุ กรณท์ ่ตี อ้ งการวดั ค่าความตา้ นทาน
ป่ มุ กด ต่อวงจรกลั วานอมิเตอรเ์ พ่ือตรวจสอบสภาวะบรดิ จ์
สมดลุ
ป่มุ กด ต่อวงจรแบตเตอร่ีเพ่อื จา่ ยแรงดนั ไฟฟ้าเขา้ วงจร
กลั วานอมเิ ตอร์
แถบเลือกการใชก้ ัลวานอมิเตอร์ ถา้ เล่ือนแถบไปมองเห็นท่ี
ตาแหนง่
– INT GA เป็นการใชก้ ลั วานอมเิ ตอรภ์ ายในเคร่อื งวดั
– EXT GA เป็นการใชก้ ลั วานอมิเตอรภ์ ายนอกเครอ่ื งวดั
สวิตชเ์ ลอื กการใชง้ าน ถา้ โยกไปท่ตี าแหนง่
– R เป็นการใชว้ ดั ค่าความตา้ นทาน
– MV เป็นการใชว้ ดั คา่ ความตา้ นทานผิด
2. นาตวั ตา้ นทานท่ีตอ้ งการทราบค่าความตา้ นทาน ต่อเขา้ ท่ีขวั้ X1 และ X2 ของเคร่ืองวดั แบบวีทส
โตนบรดิ จ์
3. โยกสวิตชเ์ ลือกการใชง้ านไปท่ีตาแหน่ง R และโยกสวิตชเ์ ลือกการใชแ้ บตเตอรี่ไปท่ีตาแหน่ง INT
BA
4. ปรบั ป่มุ คา่ ตวั คณู ตามตารางท่ี 8.2 (ถา้ ไมท่ ราบคา่ ความตา้ นทานใหต้ งั้ ตวั คณู 1)
224
ตารางท่ี 8.2 ตารางตวั คณู
RX ตัวคูณ
1 M – 10 M 1000
100 k – 1 M 100
10 k – 100 k 10
1 k – 10 k
100 – 1 k 1
10 – 100 0.1
นอ้ ยกวา่ 10 0.01
0.001
5. ปรบั ป่ มุ หมุนแขนของบรดิ จไ์ ปท่ีตาแหน่ง 1999 โดยแขนของบริดจ์ 1000 ตงั้ ท่ี 1 แขนของบริดจ์
100 ตงั้ ท่ี 9 แขนของบริดจ์ 10 ตงั้ ท่ี 9 และแขนของบริดจ์ 1 ตงั้ ท่ี 9 และกดป่ มุ BA และ GA พรอ้ มกนั
พิจารณาดเู ขม็ ของกลั วานอมเิ ตอรบ์ ่ายเบนไปดา้ น + หรอื –
6. เม่ือเข็มของกลั วานอมิเตอรบ์ ่ายเบนไปดา้ น + ใหเ้ พ่ิมค่าแขนของบรดิ จห์ รือปรบั ค่าตวั คณู เพ่ิมขึน้
ถ้าบ่ายเบนไปด้าน – ให้ลดค่าแขนของบริดจ์หรือปรับค่าตัวคูณ ลดลง ปรับจนกระท่ังเข็มของ
กลั วานอมิเตอรช์ ีท้ ่ศี นู ย์
7. คานวณคา่ ความตา้ นทานท่ีตอ้ งการทราบค่า
RX = ค่าตวั คณู ค่าแขนของบรดิ จ์
ตารางท่ี 8.3
รหัสสี ค่าความต้านทาน ค่าตวั คณู ค่าอ่านจากแขน คา่ จรงิ ที่
ท่ี สที 1ี่ สที ่ี 2 สีที่ 3 สีที่ 4 จากแถบสี ของบริดจ์ อ่านได้
(RX)
0 แดง ดา สม้ ทอง 20 k + 5% 10 2000 20 k
1
2
3
4
5
225
สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ
คาถามหลงั การทดลอง
1. อธิบายขนั้ ตอนการวดั ค่าความตา้ นทานดว้ ยแบบวีทสโตนบรดิ จ์
2. อธิบายการอ่านคา่ ความตา้ นทาน (RX) จากแบบวีทสโตนบรดิ จ์
3. จงบอกประโยชนแ์ ละลกั ษณะการใชง้ านเคร่ืองวดั แบบวีทสโตนบรดิ จ์
4. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง
226
แบบประเมินผล
ใบงานท่ี 8 การวดั ความตา้ นทานด้วยวที สโตนบรดิ จ์
ช่อื นามสกุล หอ้ ง/เลขที่
รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมอื 10
4. ผลการใชเ้ คร่ืองมือ 10
5. การสรุปผลการปฏิบตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบียบรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม
ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น
เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั ดีมาก
70–79 หมายถึง มีผลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่
227
จดุ ประสงคก์ ารทดลอง 1 เครือ่ ง
1. ตอ่ วงจรวตั ตม์ เิ ตอรว์ ดั กาลงั ไฟฟา้ ได้ 1 เครอื่ ง
2. อา่ นค่ากาลงั ไฟฟา้ ท่วี ดั ไดถ้ ูกตอ้ ง 1 เครื่อง
1 เคร่ือง
เครือ่ งมือและอุปกรณ์ 2 หลอด
1. มลั ตมิ ิเตอร์ 1 ชดุ
2. วตั ตม์ เิ ตอร์
3. แหลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟไฟฟ้ากระแสตรงปรบั ได้ 0–220 V
4. แหลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ปรบั ได้ 0–220 V
5. หลอดไฟมไี ส้ 200 W 220 V
6. แผงประกอบวงจรและสายต่อวงจร
การทดลอง การวดั กาลังไฟฟ้าตรง (DCV)
1. ตอ่ วงจรตามรูปท่ี 9.1
Load
± 5A 25A 120V
240V
W~0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100110120
รูปที่ 9.1 การต่อวตั ตม์ ิเตอรว์ ดั กาลงั ไฟฟา้ กระแสตรง
228
2. อา่ นค่าตวั เลขท่เี ข็มชีช้ ีค้ ่าออกมาบนสเกลของวตั ตม์ ิเตอร์ บนั ทึกลงในตารางท่ี 9.1 แถวแหลง่ จ่าย
แรงดนั ไฟฟา้ E = 10 V ชอ่ งค่าบนสเกล
3. ปรบั แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้า E เพิ่มขึน้ เป็น 20 V, 30 V, 40 V, 50 V และ 60 V ตามลาดับบันทึก
คา่ ตวั เลขท่ีเขม็ ชีข้ องวตั ตม์ ิเตอร์ ลงในตารางท่ี 9.1 ทกุ ค่าแรงดนั E ตามลาดบั
ตารางที่ 9.1 ค่าบนสเกล คา่ ตวั คณู กาลังไฟฟ้าทวี่ ดั ได้ (W)
วัตตม์ เิ ตอร์ P = ค่าบนสเกล คา่ ตัวคณู
แหล่งจา่ ยแรงดนั
10 V
30 V
50 V
100 V
150 V
220 V
4. คานวณค่ากาลงั ไฟฟ้า จากสมการ P = ค่าบนสเกลท่ีได้ ค่าตวั คูณ บันทึกค่าลงในตาราง 9.1
ช่องกาลงั ไฟฟ้าท่ีไดท้ ุกค่า (ค่าตวั คณู ของวตั ตม์ ิเตอรม์ ีค่าแตกต่างกนั ขึน้ อย่กู ับชนิด รุน่ และ ย่ีหอ้ ของวตั ต์
มเิ ตอรท์ ่นี ามาใชง้ าน)
การทดลอง การวัดกาลังไฟฟ้าสลบั (ACV) Load
1. ประกอบวงจรตามรูปท่ี 9.2
N
L
± 5A 25A 120V
240V
W~0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100110120
รูปท่ี 9.2 การตอ่ วงจรวตั ตม์ ิเตอรว์ ดั กาลงั ไฟสลบั