The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 9 เครื่องวัดเฉพาะทางและใบงาน 1-17

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by s.rergchai1479, 2022-09-05 23:59:15

หน่วยที่ 9 เครื่องวัดเฉพาะทางและใบงาน 1-17

หน่วยที่ 9 เครื่องวัดเฉพาะทางและใบงาน 1-17

229

2. อา่ นค่าตวั เลขท่เี ข็มชีช้ ีค้ ่าออกมาบนสเกลของวตั ตม์ ิเตอร์ บนั ทกึ ลงในตารางท่ี 9.2 แถวแหลง่ จ่าย
แรงดนั ไฟฟ้า E = 10 V ชอ่ งคา่ บนสเกล

3. ปรบั แหล่งจ่ายแรงดนั ไฟฟ้า E เพ่ิมขึน้ เป็น 20 V, 30 V, 40 V, 50 V และ 60 V ตามลาดับบันทึก
ค่าตวั เลขท่เี ข็มชขี้ องวตั ตม์ เิ ตอรช์ คี้ ่าออกมาลงในตารางท่ี 9.2 ทกุ คา่ แรงดนั ไฟฟ้า E ตามลาดบั

ตารางที่ 9.2 คา่ ตัวคูณ กาลังไฟฟ้าทว่ี ัดได้ (W)
P = คา่ บนสเกลคา่ ตวั คณู
แหล่งจ่ายแรงดนั ค่าบนสเกลวัตตม์ เิ ตอร์

10 V
20 V
60 V
100 V
150 V
220 V

4. คานวณค่ากาลงั ไฟฟ้า จากสมการ P = ค่าบนสเกลท่ีได้ ค่าตวั คณู บนั ทึกค่าลงในตารางท่ี 9.2
ช่องกาลงั ไฟฟ้าท่ีไดท้ กุ ค่า (ค่าตัวคูณของวัตตม์ ิเตอรม์ ีค่าแตกต่างกัน ขึน้ อย่กู ับชนิดรุน่ และ ย่ีหอ้ ของวัตต์
มเิ ตอรท์ ่นี ามาใชง้ าน)

สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ

230

คาถามหลงั การทดลอง
1. จงบอกประโยชนจ์ ากการใชว้ ตั ตม์ เิ ตอร์ มีอะไรบา้ ง

2. กาลงั ไฟฟ้าท่ที ดลองไดใ้ นตารางท่ี 9.1 และตารางท่ี 9.2 เหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไร

3. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

231

แบบประเมินผล
ใบงานที่ 9 การใช้วตั ตม์ ิเตอรว์ ดั กาลงั ไฟฟ้า

ช่ือ นามสกุล ห้อง/เลขที่

รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมือ 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมือ 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั ิงาน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั ิงาน 10
9. การตรงต่อเวลา 10
10. ความเป็นระเบียบรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดือน

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั ดีมาก
70–79 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั ดี
60–69 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอย่ใู นระดบั พอใช้
40–49 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุงซ่อมเสรมิ
0–39 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่

232

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง 1 เครอ่ื ง
1. ตอ่ วงจรกโิ ลวตั ตอ์ าวรม์ ิเตอรว์ ดั พลงั งานไฟฟ้าได้ 1 เครอื่ ง
2. อ่านคา่ พลงั งานไฟฟ้าท่วี ดั จากกิโลวตั ตอ์ าวรม์ ิเตอรไ์ ด้ 1 เคร่อื ง
4 หลอด
เครื่องมอื และอปุ กรณใ์ นการทดลอง 1 ชดุ
1. มลั ตมิ เิ ตอร์
2. กโิ ลวตั ตอ์ าวรม์ ิเตอร์
3. แหลง่ จ่ายแรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั ปรบั ค่าได้ 0–220 V
4. หลอดไฟมไี ส้ 200 W 220 V
5. แผงประกอบวงจรและสายต่อวงจร

วงจรการทดลอง

LL

N N 200 W
รูปที่ 10.1 การต่อกิโลวตั ตอ์ าวรม์ เิ ตอรว์ ดั พลงั งานไฟฟ้า

233

ลาดับขน้ั การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปท่ี 12 ใชห้ ลอดไฟมีไส้ 200 W 220 V จานวน 1 หลอด (ตรวจสอบวงจรการต่อ

ของกโิ ลวัตตอ์ าวรม์ ิเตอร์ แตล่ ะรุ่นอาจจะไม่เหมือนกนั )
2. จ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสสลบั สงั เกตจานหมนุ ของกิโลวตั ตอ์ าวรม์ ิเตอร์ และนบั จานวนรอบการ

หมนุ 1 นาที บนั ทกึ ลงในตารางท่ี 10.1
3. เพิ่มหลอดไฟมีไสอ้ กี 1 หลอด ต่อขนานกบั หลอดไฟแรก สงั เกตจานหมนุ ของกิโลวตั ตอ์ าวรม์ ิเตอร์

และนบั จานวนรอบการหมนุ 1 นาที บนั ทกึ ลงในตารางท่ี 10.1
4. เพ่ิมหลอดไฟมีไส้ ใหก้ บั กโิ ลวตั ตอ์ าวรม์ ิเตอร์ บนั ทกึ ลงในตารางท่ี 10.1 ลาดบั ท่ี 3 และ 4

ตารางท่ี 10.1 ขนาด การหมุนของจาน ความเรว็
กาลงั ไฟฟ้า ไม่หมุน หมุน รอบ/นาที
ที่ เครอื่ งใช้ไฟฟ้า
200 W
1 หลอดไฟมไี ส้ 1 หลอด 400 W
2 หลอดไฟมีไส้ 2 หลอด 600 W
3 หลอดไฟมีไส้ 3 หลอด 800 W
4 หลอดไฟมไี ส้ 4 หลอด

สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ

234

คาถามหลังการทดลอง
1. กิโลวตั ตอ์ าวรม์ เิ ตอร์ สรา้ งขึน้ มาเพ่อื ใชง้ านอะไร

2. การหมนุ ชา้ –เรว็ ของจานในกิโลวตั ตอ์ าวรม์ ิเตอร์ ขนึ้ อย่กู บั อะไร เพราะเหตใุ ด

3. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

235

แบบประเมินผล
ใบงานที่ 10 การใช้กิโลวัตตอ์ าวรม์ ิเตอรว์ ัดพลังงานไฟฟ้า

ชื่อ นามสกุล ห้อง/เลขท่ี

รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ คร่ืองมอื 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมือ 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั ิงาน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดือน

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ดีมาก
70–79 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซ่อมเสรมิ
0–39 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอย่ใู นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่

236

จุดประสงคก์ ารทดลอง 1 เครอ่ื ง
1. ปรบั ตาแหนง่ ป่มุ ปรบั ต่าง ๆ ใหอ้ อสซลิ โลสโคปพรอ้ มใชง้ านได้ 2 เสน้
1 ดา้ ม
เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์
1. ออสซลิ โลสโคปชนดิ 2 เสน้ ภาพ
2. สายโพรบ
3. ไขควงแบนเลก็

วงจรการทดลอง

รูปท่ี 11.1 ออสซลิ โลสโคปชนดิ 2 เสน้ ภาพ ย่หี อ้ ITT Instruments รุน่ OX 800

1. ปรบั แต่งป่ มุ หนา้ ปัดออสซิลโลสโคปชนิด 2 เสน้ ภาพ ย่ีหอ้ ITT Instruments รุ่น OX 800 Metrix

แสดงดงั รูปท่ี 11.1 โดยยงั ไม่จ่ายไฟใหเ้ ครอ่ื งออสซลิ โลสโคป

2. ปรบั แตง่ ป่มุ ปรบั หมายเลขเรียงลาดบั ดงั นี้

– INTENS ปรบั ไวท้ ่กี ึ่งกลาง (12 นาฬกิ า)

– FOCUS ปรบั ไวท้ ่ีกึ่งกลาง (12 นาฬกิ า)

– X–Y ปรบั ไวท้ ่ปี ลอ่ ย (ไมก่ ด)

– X–POS ปรบั ไวท้ ่กี ึ่งกลาง (12 นาฬิกา)

237

– HOLD ปรบั ไวท้ ่ที วนเข็มนาฬกิ าสดุ
– TV SEP
– TRIG ปรบั ไวท้ ่ี OFF
– +/–
– TIME/DIV ปรบั ไวท้ ่ี DC
– TIME VARIABLE
– EXT ปรบั ไวท้ ่ี + (สวติ ชป์ ลอ่ ย)
– AT/NORM
– LEVEL ปรบั ไวท้ ่ี 0.5 ms/DIV
– X–MAG x10 ปรบั ไวท้ ่ี CAL (ทวนเขม็ นาฬกิ าสดุ )
– COMPONENT TESTER
– Y–POS.I ปรบั ไวท้ ่ปี ลอ่ ย (ไม่กด)
– INVERT CH1
– DC–AC–GD CH1 ปรบั ไวท้ ่ี AUTO (สวิตซป์ ลอ่ ย)
– VOLTS/DIV. CH1 ปรบั ไวท้ ่กี ึง่ กลาง (12 นาฬกิ า)
– VARIABLE CH1
– CHI / II TRIG. I/II ปรบั ไวท้ ่ปี ลอ่ ย (ไม่กด)
– DUAL
– ADD ปรบั ไวท้ ่ปี ลอ่ ย (ไม่กด)
– VOLTS/DIV. CH2 ปรบั ไวท้ ่ีกง่ึ กลาง (12 นาฬิกา)
– VARIABEL CH2
– DC–AC–GD CH2 ปรบั ไวท้ ่ปี ลอ่ ย (ไม่กด)
– INVERT CH2
– Y–POS.II ปรบั ไวท้ ่ี AC

ปรบั ไวท้ ่ี 1 V/DIV
ปรบั ไวท้ ่ี CLA (ทวนเข็มนาฬิกาสดุ )

ปรบั ไวท้ ่ปี ลอ่ ย (ไมก่ ด)

ปรบั ไวท้ ่กี ด

ปรบั ไวท้ ่ปี ลอ่ ย (ไมก่ ด)

ปรบั ไวท้ ่ี 1 V/DIV
ปรบั ไวท้ ่ี CLA (ทวนเขม็ นาฬกิ าสดุ )

ปรบั ไวท้ ่ี AC

ปรบั ไวท้ ่ปี ลอ่ ย (ไมก่ ด)
ปรบั ไวท้ ่กี งึ่ กลาง (12 นาฬกิ า)

3. ตรวจสอบสวิตซเ์ ลือกตาแหน่งแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ท่ีจะใชใ้ หถ้ ูกตอ้ งท่ีดา้ นหลงั เคร่ืองใหต้ รง
ตาแหน่งแรงดนั ไฟฟา้ 220 V 50 Hz

4. เสียบปล๊กั เขา้ แหล่งจ่ายไฟฟ้า กดสวิตซห์ มายเลข 1 (POWER) ทาใหห้ ลอด LED ดวงท่ีอยู่ติด
สวิตช์สว่างขึน้ รอเวลาประมาณ 10 นาที จะเห็นเส้นแสง 2 เส้น ปรากฏขึน้ ในแนวนอนของ จอภาพ
ออสซลิ โลสโคป

238

5. ปรบั ป่ มุ INTENS เพ่ือเติม–ลดความสว่างของเสน้ แสงบนจอ ถา้ ปรบั ทวนเข็มนาฬิกาเสน้ แสงจะ
สวา่ งมากขนึ้ การปรบั แต่งควรใหแ้ สงสว่างพอเหมาะ

6. ปรบั ป่มุ FOCUS ใหเ้ สน้ แสงท่ปี รากฏมีความชดั เจนมากท่สี ดุ
7. ปรบั ป่มุ สกรู TR. ใหเ้ สน้ แสงบนจออยใู่ นแนวขนานกบั เสน้ ตารางแนวนอน แสดงดงั รูปท่ี 11.2

รูปท่ี 11.2 การปรบั สกรู TR ใหเ้ สน้ แสงอยใู่ นแนวนอน ขนานกบั เสน้ แนวนอน
8. ปรบั ป่ มุ Y – POS.I ใหเ้ สน้ แสงของ CH2 ไปอยู่กึ่งกลางของครง่ึ ซีกบนจอภาพ (เสน้ ตารางเสน้ ท่ี
2 จากดา้ นบนลงล่าง) และปรบั แต่งป่ มุ Y–POS.II ใหเ้ สน้ แสงของ CH2 ไปอยู่กึ่งกลางจอภาพ (เสน้ ตาราง
เสน้ ท่ี 2 จากดา้ นลา่ งขึน้ ไป)
9. นาโพรบชนิดความจุต่านาเขา้ มาต่อกับขวั้ ต่อ CH–I VERT. INP. และขวั้ ต่อ CH–II อย่างละเสน้
การลดทอนโพรบเรม่ิ ตงั้ แต่ 1
10. นาปลายขวั้ เกี่ยวโพรบเก่ียวกบั จุดทดสอบ CAL ท่ตี าแหน่ง 2 V ทงั้ สองชดุ
11. สงั เกตรูปคลื่นทรงสี่เหลี่ยมทาปรากฏบนจอภาพถา้ ไม่เป็นรูปส่ีเหล่ียม ใหใ้ ชไ้ ขควงแบนเล็กปรบั
ป่มุ สกรูท่ตี วั โพรบ ไปจนกว่าไดร้ บั สญั ญาณบนจอภาพเป็นรูปส่เี หลย่ี ม แสดงดงั รูปท่ี 11.3

รูปท่ี 11.3 สญั ญาณสี่เหลย่ี มจากจดุ ทดสอบ CAL. 2 V

239

12. อ่านขนาดความแรงของสญั ญาณบนจอภาพ จะตอ้ งใช้ 2 ช่องพอดี (2  1 V/DIV = 2 Vp–p) ซ่งึ
เป็นค่าท่บี อกไวท้ ่จี ดุ ทดสอบ CAL. 2 V ทงั้ สองแชนแนลท่ที าการวดั

13. อ่านขนาดความกวา้ งของสญั ญาณส่ีเหลี่ยมเพียง 1 ไซเคิล (บวก 1 ลกู ลบ 1 ลกู ) จะตอ้ งไดส้ อง
ชอ่ งพอดี ( 2  0.5 ms/DIV = 1 ms)

14. ขณะท่ีออสซิลโลสโคปอยใู่ นสภาวะปกตแิ ละพรอ้ มใชง้ าน

สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ

คาถามหลังการทดลอง
1. เครอ่ื งวดั ออสซลิ โลสโคป สามารถวดั ค่าปรมิ าณไฟฟ้าอะไรไดบ้ า้ ง

2. บอกหนา้ ท่ปี ่มุ ปรบั ต่าง ๆ ตอ่ ไปนี้ 3.2 FOCUS
3.1 INTENS 3.4 VOLTS/DIV
3.3 Y–POS

3. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

240

แบบประเมินผล
ใบงานท่ี 11 การปรับแต่งออสซลิ โลสโคป

ช่อื นามสกลุ ห้อง/เลขที่

รายการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมือ 10
4. ผลการใชเ้ คร่ืองมือ 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั ิงาน 10
9. การตรงต่อเวลา 10
10. ความเป็นระเบียบรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถึง มีผลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถึง มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่

241

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง 1 เครอื่ ง
1. ใชอ้ อสซิลโลสโคปวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงได้ 1 เครอื่ ง
2. ใชอ้ อสซลิ โลสโคปวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั ได้ 1 เครื่อง
3. ใชอ้ อสซลิ โลสโคปวดั คาบเวลาได้ 1 เครอ่ื ง
1 ชดุ
เคร่อื งมือและอปุ กรณ์
1. มลั ตมิ ิเตอร์
2. ออสซิลโลสโคปพรอ้ มสายโพรบ
3. แหลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรงปรบั คา่ ได้
4. เครื่องกาเนิดสญั ญาณ (Function Generator)
5. แผงประกอบวงจรและสายต่อวงจร

1. การวดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสตรง
วงจรการทดลอง

V Ch1 Ch2

รูปที่ 12.1
ลาดับขน้ั การทดลอง

1. ปรบั แตง่ ออสซิลโลสโคปใหพ้ รอ้ มใชง้ าน

2. ปรบั สวติ ซ์ DC–AC–GD CH1 ไปท่ตี าแหนง่ DC

3. ปรบั ป่มุ X–POS. ใหเ้ สน้ แสงบนจอภาพเล่ือนตาแหนง่ กลางจอภาพ (เสน้ ท่ี 4)

4. ปรบั ป่มุ VOLTS/DIV.CH1ไวท้ ่ยี า่ น 2 VOLTS/DIV หรอื มากกวา่

242

5. ต่อสายโพรบเขา้ ขวั้ ต่อ CH–1 VERT.INP. ปรบั สวติ ชล์ ดทอนของโพรบไปตงั้ ท่ีตาแหน่ง 1
6. ประกอบวงจรตามรูปท่ี 12.1 ยงั ไม่จา่ ยแรงดนั ไฟฟา้ E ใหว้ งจร
7. ปรบั มลั ตมิ ิเตอรไ์ ปท่ดี ีซีโวลตม์ ิเตอรย์ ่าน 10 V ตอ่ วดั แหลง่ จ่ายไฟตรงใหถ้ กู ขวั้
8. จ่ายแรงดันไฟฟ้า E ใหว้ งจรพรอ้ มสงั เกต การเล่ือนขึน้ ของแสงท่ีจอภาพออสซิลโลสโคป ปรบั
VOLTS/DIV จนเกิดภาพท่ีเหมาะสม
9. อ่านแรงดันไฟฟ้าตรงท่ีวดั ไดจ้ ากดีซีโวลตม์ ิเตอร์ VDC บนั ทึกค่าลงในตารางท่ี 12.1 (E = 1.5 V)
ในช่องดซี โี วลตม์ เิ ตอร์
10. อ่านลาดับสัญญาณท่ีปรากฏบนจอภาพออสซิลโลสโคป อ่านค่าแรงดันท่ี VOLTS/DIV ตั้งไว้
บนั ทกึ ค่าลงในตารางท่ี 12.1

ตารางท่ี 12.1

แรงดนั ไฟฟ้า ออสซลิ โลสโคป ค่าแรงดัน
E (V) แตกตา่ งกนั
ดซี ีโวลตม์ เิ ตอร์ (V) VOLTS/DIV จานวนชอ่ งเลอื่ น แรงดนั ไฟฟ้า
(VDC)ทอี่ า่ นได้

1.5
3
6
9
12

11. ปรบั แหลง่ จา่ ยแรงดนั ไฟฟ้าตามตารางท่ี 12.1 เป็นลาดบั
12. อา่ นและบนั ทกึ ค่า ในตารางท่ี 12.1
13. คานวณค่าแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรงท่ีอ่านค่าดว้ ยออสซิลโลสโคป บนั ทึกค่าลงในตารางท่ี 12.1
ช่องแรงดนั VDC การคานวณใชส้ ตู รดงั นี้ VDC = VOLTS/DIV จานวนชอ่ งท่ีเลอ่ื น
14. หาค่าแรงดันแตกต่างกนั จากการวดั ดว้ ยดีซีโวลตม์ ิเตอร์ และออสซิลโลสโคป โดยนาค่าทงั้ สอง
มาหกั ลา้ งกนั บนั ทกึ คา่ ลงในตารางท่ี 12.1 ช่องคา่ แรงดนั ไฟฟ้าแตกต่างกนั

243

2. การวดั แรงดนั ไฟฟา้ กระแสสลบั
วงจรการทดลอง

Function V Ch1 Ch2
Generator

รูปท่ี 12.2

ลาดับข้นั การทดลอง
1. ปรบั แต่งออสซิลโลสโคปใหพ้ รอ้ มใชง้ าน
2. ปรบั สวติ ซ์ DC–AC–GD CH1 ไปท่ตี าแหนง่ AC
3. ปรบั ป่มุ X–POS. ใหเ้ สน้ แสงบนจอภาพเลื่อนตาแหนง่ กลางจอภาพ (เสน้ ท่ี 4)
4. ปรบั ป่มุ VOLTS/DIV.CH1 ไวท้ ่ยี ่าน 2 VOLTS/DIV หรือมากกวา่
5. ต่อสายโพรบเขา้ ขวั้ ต่อ CH–1 VERT.INP. ปรบั สวิตชล์ ดทอนของโพรบไปตงั้ ท่ีตาแหนง่ 1
6. ตอ่ จรตามรูปท่ี 12.2 ประกอบดว้ ยเคร่อื งกาเนิดสญั ญาณ (Function Generator)
7. ปรบั มลั ติมเิ ตอร์ ไปท่เี อซโี วลตม์ เิ ตอรย์ า่ น 10 V
8. ปรับค่าแรงดันไฟฟ้าจาก Function Generator รูปคล่ืนไซน์ ท่ีความถ่ี 100 Hz และปรบั ตั้งค่า

ต่าง ๆ ตามตารางท่ี 12.2 โดยอ่านค่าจากโวลตม์ ิเตอร์ ปรบั VOLTS/DIV จนเกิดภาพท่ีเหมาะสมอ่านและ
บนั ทกึ ค่าลงในตารางท่ี 12.2

9. เขยี นรูปคลื่นแรงดนั ไฟฟ้าท่ี 2 V และ 5 V ลงบนจอภาพท่ีกาหนดให้

ตารางที่ 12.2

แรงดันไฟฟ้า E 1 2 3 4 5 6
เอซโี วลตม์ ิเตอร์ (V)

VOLTS/DIV D(V/cm)

ความสงู ท่อี า่ นได้ H(cm)

ค่าท่คี านวณได้ VP = DH

244

VOLTS/DIV =........................... VOLTS/DIV =...........................
TIME/DIV =........................... TIME/DIV =...........................
รูปท่ี 12.3 รูปคล่นื แรงดนั ไฟฟา้ 2 V
รูปท่ี 12.4 รูปคลนื่ แรงดนั ไฟฟ้า 5 V
3. การวดั คาบเวลา
วงจรการทดลอง

Function Ch1 Ch2
Generator

รูปท่ี 12.5

ลาดบั ข้นั การทดลอง
1. ปรบั แตง่ ออสซิลโลสโคปใหพ้ รอ้ มใชง้ าน
2. ปรบั สวติ ซ์ DC–AC–GD CH1 ไปท่ตี าแหน่ง AC
3. ปรบั ป่มุ VOLTS/DIV.CH1ไวท้ ่ยี า่ น 2 VOLTS/DIV หรอื มากกว่า
4. ต่อสายโพรบเขา้ ขวั้ ตอ่ CH–1 VERT.INP. ปรบั สวติ ชล์ ดทอนของโพรบไปตงั้ ท่ีตาแหน่ง 1
5. ต่อจรตามรูปท่ี 12.5 ประกอบดว้ ยเคร่ืองกาเนิดสญั ญาณ (Function Generator) กาหนดใหเ้ ลอื ก

รูปคลน่ื ไซน์ แรงดนั ไฟฟา้ 10 VP–P ปรบั ความถี่เท่ากบั 100 Hz

245

6. ปรบั VOLTS/DIVและ TIME/DIV ใหเ้ กิดภาพท่ีเหมาะสมและง่ายต่อการอ่านและบนั ทึกค่าลงใน
ตารางท่ี 12.3

7. ปรบั ความถ่ีตามท่ีกาหนดใหใ้ นตาราง และบนั ทกึ ค่าตา่ ง ๆ
8. เขยี นรูปคลน่ื ท่คี วามถี่ 200 Hz และ 5 kHz ลงบนจอภาพท่ีกาหนดให้

ตารางที่ 12.3

รูปคลน่ื ไซน์

ความถ่ที ก่ี าหนด f 100 200 500 1 k 5 k Hz

TIME/DIV TC ms/cm

จานวนชอ่ งแนวนอน L cm

คาบเวลา (T) T  CL ms

ความถ่ีท่คี านวณ (f) 1/T Hz

VOLTS/DIV =........................... VOLTS/DIV =...........................
TIME/DIV =........................... TIME/DIV =...........................
รูปคลื่นไซนท์ ่ีความถี่ 200 Hz
รูปคล่ืนไซนท์ ่คี วามถี่ 5 kHz
สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ

246

คาถามหลังการทดลอง
1. จงอธิบายการวดั และอา่ นค่าแรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง

2. จงอธิบายวธิ ีการวดั และอา่ นค่าแรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั

3. จงอธิบายวิธีการวดั ความถี่ของรูปคลน่ื สญั ญาณ

4. แรงดนั ท่วี ดั ไดจ้ าก เอซีโวลตม์ ิเตอรก์ บั ท่วี ดั ไดจ้ ากออสซลิ โลสโคป มีความสมั พนั ธก์ นั อย่างไร

5. จงอธิบายขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

247

แบบประเมินผล
ใบงานท่ี 12 การใช้ออสซิลโลสโคป

ชอื่ นามสกุล ห้อง/เลขท่ี

รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมอื 10
4. ผลการใชเ้ คร่ืองมือ 10
5. การสรุปผลการปฏิบตั ิงาน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั งิ าน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถึง มีผลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั เรม่ิ ศกึ ษาใหม่

248

วัตถปุ ระสงคก์ ารทดลอง
1. สามารถใชง้ านเครื่องวดั ความถ่ีแบบกา้ นส่นั และแบบเขม็ ชีบ้ า่ ยเบนได้
2. สามารถอา่ นคา่ บนสเกลไดถ้ กู ตอ้ ง

เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ 1 เครอ่ื ง
1. แหลง่ จ่ายไฟฟ้ากระแสสลบั ปรบั ค่าได้ 0 – 220 V 50 Hz 1 เครื่อง
2. เคร่อื งวดั ความถ่ีแบบกา้ นส่นั 1 เครื่อง
3. เครอ่ื งวดั ความถ่ีแบบเขม็ ชบี้ า่ ยเบน 1 ชดุ
4. แผงประกอบวงจรและสายต่อวงจร

วงจรการทดลอง

Hz

รูปท่ี 13.1

ลาดบั ขน้ั การทดลอง
1. ต่อวงจรตามรูปท่ี 13.1 ปรบั แรงดนั ไฟฟ้าเร่มิ ตน้ ท่ี 110 V สงั เกตการณก์ ารส่นั ของกา้ นส่นั บนั ทึก

ลงตารางท่ี 13.1
2. ปรบั แรงดนั ไฟฟ้าสงู ขึน้ เป็น 220 V บนั ทกึ ผลลงตารางท่ี 13.1
3. ปรบั แรงดนั ไฟฟ้าลดลงเท่ากบั ศนู ย์ จากนนั้ เปล่ียนเครื่องวดั ความถ่ีแบบเข็มชีบ้ ่ายเบนเขา้ ไปแทน

เครือ่ งวดั ความถี่แบบกา้ นส่นั
4. ทดลองซา้ บนั ทกึ ผลลงตารางท่ี 13.1

249

ตารางท1่ี 3.1 แบบกา้ นส่นั ความถ่ี (Hz)
แบบเข็มชบี้ า่ ยเบน
แรงดันไฟฟ้า
110 V
220 V

สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ

คาถามหลงั การทดลอง
1. ระดบั แรงดนั ไฟฟ้าของแหลง่ จ่ายไฟฟา้ (110V และ 220V) มีผลตอ่ ค่าความถ่ีหรือไมอ่ ยา่ งไร

2. จากการทดลองมคี วามคลาดเคล่ือน (Error) หรือไมส่ าเหตจุ ากอะไร

3. จงเปรียบเทียบผลจากการวดั จากเคร่ืองวดั ทงั้ สองชนิด

4. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

250

แบบประเมินผล
ใบงานที่ 13 เครือ่ งวัดความถี่

ชือ่ นามสกุล หอ้ ง/เลขท่ี

รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมือ 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมอื 10
5. การสรุปผลการปฏิบตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั งิ าน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมนิ
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ดีมาก
70–79 หมายถึง มีผลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั ดี
60–69 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถึง มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอย่ใู นระดบั เรม่ิ ศกึ ษาใหม่

251

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง
1. ใชเ้ ครื่องวดั ลาดบั เฟสเพ่อื วดั ลาดบั เฟสได้

2. อธิบายลาดบั เฟสของระบบไฟฟา้ 3 เฟส จากเครือ่ งวดั ลาดบั เฟสได้

เคร่อื งมือและอุปกรณ์ 1 เครื่อง
1. เคร่ืองวดั ลาดบั เฟส

วงจรการทดลอง

3

RST

รูปที่ 14.1 แสดงการใชง้ านเคร่ืองวดั ลาดบั เฟส

ลาดบั ขัน้ การทดลอง
1. ศกึ ษา สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเครอื่ งวดั ลาดบั เฟส
2. ต่อวงจรตามรูปท่ี 14.1 โดยปลดแหลง่ จา่ ยไฟออกก่อน
3. ปอ้ นแรงดนั ไฟฟา้ ระบบไฟฟา้ 3 เฟส เขา้ ขวั้ ตอ่ สายของเครอ่ื งวดั ลาดบั เฟส
4. สงั เกตจานหมนุ ไปในทิศทางเดียวกบั ทิศทางลกู ศรท่ีกาหนด แสดงว่าลาดับเฟสของแรงดนั ไฟฟ้า

ระบบไฟฟา้ 3 เฟส เหมอื นกบั ตวั อกั ษรท่ีขวั้ ตอ่ สายของเคร่ืองวดั ลาดบั เฟส บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 14.1

252

5. ปลดแหล่งจ่ายไฟออก และสลบั สายค่ใู ดค่หู น่ึง จ่ายไฟฟ้าเขา้ เคร่ืองวัดลาดบั เฟสอีกครง้ั สงั เกต
จานหมนุ บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 14.1

6. ทาการทดลองซา้ ขอ้ 5 บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 14.1

หมายเหตุ กาหนดให้ ระบบเฟส L1 = R = A, L2 = S = B, L3 = T = C
ตารางที่ 14.1 การใชเ้ คร่ืองวดั ลาดบั เฟส

ครัง้ ที่ การต่อเครือ่ งวดั ทศิ ทางการหมนุ ของจาน หมายเหตุ

สายต่อสแี ดง ตอ่ กบั เฟส R
สลบั สายคใู่ ดคหู่ นึง่
1 สายตอ่ สีเทา ตอ่ กบั เฟส S สลบั สายค่ใู ดคหู่ น่ึง

สายตอ่ สดี า ต่อกบั เฟส T

สายต่อสีแดง ตอ่ กบั เฟส R

2 สายต่อสีดา ตอ่ กบั เฟส S

สายตอ่ สเี ทา ตอ่ กบั เฟส T

สายต่อสีดา ต่อกบั เฟส R

3 สายต่อสีเทา ตอ่ กบั เฟส S

สายต่อสแี ดง ต่อกบั เฟส T

สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ

คาถามหลงั การทดลอง
1. เครือ่ งวดั ลาดบั เฟส มวี ตั ถปุ ระสงคก์ ารใชง้ านอะไร

253

2. เครื่องวดั ลาดบั เฟส สามารถใชใ้ นงานอะไรไดบ้ า้ ง
3. เฟสขาดหายไป หมายถงึ
4. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

254

แบบประเมินผล
ใบงานท่ี 14 เคร่ืองวัดลาดับเฟส

ชอื่ นามสกุล หอ้ ง/เลขที่

รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมอื 10
4. ผลการใชเ้ คร่ืองมอื 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั งิ าน 10
9. การตรงต่อเวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดือน

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั ดีมาก
70–79 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่

255

วตั ถปุ ระสงคก์ ารทดลอง 1 เครอ่ื ง
1. สามารถใชง้ านเครอ่ื งวดั ความเรว็ รอบไดถ้ กู ตอ้ ง 1 ตวั
2. สามารถอธิบายผลการวดั ความเรว็ รอบไดถ้ กู ตอ้ ง

เครื่องมอื และอปุ กรณ์
1. เครื่องวดั ความเรว็ รอบแบบใชแ้ สง/สมั ผสั ระบบดจิ ิตอล
2. มอเตอร์ 1 เฟส/มอเตอร์ 3 เฟส

รูปการทดลอง

ก) วดั แบบสมั ผสั ข) วดั แบบใชแ้ สง

รูปที่ 9.6 เครอ่ื งวดั ความเร็วรอบและการใชง้ าน

ลาดบั ข้นั การทดลอง
1. ติดแผน่ สะทอ้ นแสงเขา้ กบั เพลาของมอเตอร์
2. จา่ ยแรงดนั ไฟฟ้าใหก้ บั มอเตอร์
3. รอจนกระท่ังมอเตอรห์ มุนด้วยความเร็วคงท่ี จากนั้นนาเครื่องวัดความเร็วรอบแบบสัมผัสวัด

ความเรว็ รอบของมอเตอร์ บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 15.1
4. วดั ความเรว็ รอบแบบใชแ้ สง บนั ทกึ ผลลงในตารางท่ี 15.1
5. หยุดมอเตอร์ นาแผ่นสะทอ้ นแสงออกจากเพลาของมอเตอร์ จากนนั้ วดั ความเร็วรอบของมอเตอร์

แบบใชแ้ สงอกี ครงั้ พรอ้ มกบั สงั เกตความเรว็ รอบจากเครื่องวดั

256 จานวนรอบทว่ี ดั ได้ (รอบตอ่ นาท)ี

ตารางที่ 15.1 แบบสมั ผสั แบบใชแ้ สง แบบใชแ้ สง

ความเรว็ รอบของมอเตอร์ (ตดิ แผ่นสะทอ้ นแสง) (ไมต่ ิดแผน่ สะทอ้ นแสง)

คาถามหลงั การทดลอง
1. จงอธิบายวธิ ีการวดั แบบสมั ผสั

2. จงอธิบายวิธีการวดั แบบใชแ้ สง

3. จงเปรียบเทียบผลการวดั ความเรว็ รอบ ตามตารางบนั ทกึ ผล

4. เม่อื นาแผน่ สะทอ้ นแสงออกจากเพลาของมอเตอร์ มีผลตอ่ การวดั อย่างไร

5. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

257

แบบประเมินผล
ใบงานที่ 15 เครื่องวัดความเรว็ รอบ

ชอื่ นามสกุล หอ้ ง/เลขท่ี

รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ ครื่องมือ 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมอื 10
5. การสรุปผลการปฏิบตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั งิ าน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดอื น

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถงึ มีผลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั ดีมาก
70–79 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอย่ใู นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มีผลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอย่ใู นระดบั พอใช้
40–49 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซ่อมเสรมิ
0–39 หมายถงึ มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่

258

จดุ ประสงคก์ ารทดลอง 1 เคร่อื ง
1. ใชเ้ ครือ่ งวดั ความสอ่ งสว่างไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
2. วดั และบอกความสอ่ งสว่างสถานท่ตี ่าง ๆ ได้

เครอื่ งมือและอุปกรณ์
1. เครื่องวดั ความสอ่ งสวา่ ง

ลาดับขัน้ การทดลอง
1. ศกึ ษา สว่ นประกอบต่าง ๆ ของเคร่ืองสอ่ งสวา่ ง

รูปที่ 16.1 เคร่ืองวดั ความสอ่ งสวา่ ง แบบดจิ ติ อล

2. นาตวั รบั แสง วางตามท่ีกาหนดในตารางท่ี 16.1
3. เปิดสวิตชข์ องเคร่ืองวดั ความส่อง เลอื กช่วงความสอ่ งสวา่ ง
4. อา่ นค่าความสอ่ งสวา่ ง (มีหน่วยเป็น ลกั ซ)์ และบนั ทกึ ผลในตารางท่ี 16.1

ตารางที่ 16.1 ตาแหน่งตวั รับแสง 259
ความส่องสว่าง (ลกั ซ)์
สถานทท่ี ดลอง วางระดบั พนื้
หอ้ งปฏบิ ตั ิการเครอ่ื งวดั ไฟฟา้ วางบนโตะ๊ ทดลอง
วางห่างหลอดไฟ 1.5 เมตร
หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเครือ่ งวดั ไฟฟา้ วางระดบั พนื้
วางหา่ งระดบั พนื้ 1.5 เมตร

สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ

คาถามหลงั การทดลอง
1. เปรยี บเทยี บความสอ่ งสวา่ ง การวางตวั รบั แสง ในตาแหนง่ ท่ีต่างกนั

2. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

260

แบบประเมินผล
ใบงานที่ 16 เคร่ืองวัดความส่องสว่าง (ลกั ซม์ เิ ตอร)์

ชื่อ นามสกุล ห้อง/เลขท่ี

รายการประเมินผล คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ คร่ืองมอื 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมอื 10
5. การสรุปผลการปฏบิ ตั ิงาน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏบิ ตั ิงาน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดือน

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั ิงานอยใู่ นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั พอใช้
40–49 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั ิงานอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซอ่ มเสรมิ
0–39 หมายถึง มีผลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่

261

วัตถปุ ระสงค์ 1 เครอื่ ง
1. สามารถใชง้ านแคลมป์ ออนมเิ ตอรไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง 1 หลอด
2. สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชง้ านได้ 1 ชดุ

เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์
1. แคลมป์ ออนมเิ ตอร์
2. หลอดไส้ 200 W
3. แผงประกอบวงจรและสายตอ่ วงจร

วงจรการทดลอง

200 W

รูปท่ี 17.1
ลาดับข้ันการทดลอง

1. ต่อวงจรตามรูปท่ี 17.1
2. ปรบั สวติ ชเ์ ลอื กยา่ นวดั ไปท่ตี าแหน่งการวดั กระแสไฟฟ้ากระแสลบั (ACA)
3. คลอ้ งกา้ มปเู ขา้ กบั สายเสน้ ใดเสน้ หน่ึง แลว้ ปลอ่ ยนวิ้ ท่กี ดไก
4. จ่ายแรงดนั ไฟฟ้าเขา้ วงจร อ่านคา่ กระแสไฟฟา้ จากสเกลหนา้ ปัดเทา่ กบั ..................A
5. พันสายไฟรอบก้ามปูจานวน 3-5 รอบ จากนั้นอ่านค่ากระแสไฟฟ้าจากสเกลหน้าปั ด
เทา่ กบั ..................A จานวนรอบท่พี นั เทา่ กบั .................. รอบ ดงั นนั้ กระแสไฟฟา้ จรงิ คือ..................A

262

6. กดไกอา้ กา้ มปอู อก แลว้ คลายสายท่พี นั ออกทงั้ หมด
7. นากา้ มปคู ลอ้ งสายไฟทงั้ สองเสน้ (ทงั้ สายไฟและนิวทรลั ) อ่านค่ากระแสไฟฟ้าจากสเกลหนา้ ปัด
เท่ากบั ..................A
สรุปผลการทดลองและเสนอแนะ

คาถามหลงั การทดลอง
1. การทดลองตามขอ้ ท่ี 5 กระแสไฟฟา้ เปล่ยี นแปลงอยา่ งไร

2. การทดลองตามขอ้ ท่ี 7 เข็มชีบ้ า่ ยเบนหรือไม่ เพราะเหตใุ ด

3. จงบอกขอ้ ควรระวงั ในการทดลอง

263

แบบประเมินผล
ใบงานท่ี 17 แคลมป์ ออนมิเตอร์

ชื่อ นามสกุล หอ้ ง/เลขที่

รายการประเมินผล คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ หมายเหตุ
1. การเตรียมวสั ดอุ ปุ กรณ์ 10
2. การปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน 10
3. การใชเ้ คร่ืองมอื 10
4. ผลการใชเ้ ครื่องมอื 10
5. การสรุปผลการปฏิบตั งิ าน 10
6. การตอบคาถาม 10
7. ความตงั้ ใจในการเรียนรู้ 10
8. ผลการปฏิบตั ิงาน 10
9. การตรงตอ่ เวลา 10
10. ความเป็นระเบยี บรอ้ ย 10
100
คะแนนรวม

ลงช่ือ ผปู้ ระเมิน
( )
พ.ศ.
วนั ท่ี เดือน

เกณฑก์ ารประเมิน
80–100 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั งิ านอยใู่ นระดบั ดมี าก
70–79 หมายถงึ มผี ลการปฏิบตั ิงานอยใู่ นระดบั ดี
60–69 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั ปานกลาง
50–59 หมายถงึ มีผลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั พอใช้
40–49 หมายถึง มผี ลการปฏิบตั งิ านอย่ใู นระดบั ปรบั ปรุงซ่อมเสรมิ
0–39 หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั งิ านอยใู่ นระดบั เร่มิ ศกึ ษาใหม่

264

กอบศกั ดิ์ ตนั ตทิ์ วิสทุ ธิ์ และ นายธิติ เมฆวิลยั . (2544). “ชดุ การสอน วชิ า ทฤษฎเี ครื่องมือวดั ไฟฟา้ .”
ปรญิ ญานพิ นธค์ รุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมบณั ฑิต สาขาวิชาไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตรไ์ ฟฟา้
คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนอื .

ขจร อินวงษ.์ (ม.ป.ป.). เครอ่ื งมอื วัดไฟฟ้า. กรุงเทพฯ : สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ.
เจน สงสมพนั ธ.์ (2540). ใช้และซ่อมมลั ติมเิ ตอรแ์ บบมอื อาชพี . พิมพค์ รงั้ ท่ี 3. ปทมุ ธานี :

เมด็ ทรายพรนิ้ ตงิ้ .
ณรงค์ ชอนตะวนั . (ม.ป.ป.). เครื่องวัดไฟฟ้า. กรุงเทพฯ : เอราวณั การพมิ พ.์
เดชา ศิรริ ตั น.์ (ม.ป.ป.). เครอ่ื งมอื วัดและทดสอบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส.์ นครพนม :

ปรญิ ญาการพมิ พ.์
นภดล ปัญญาวานิชกลุ . (2542). “โปรแกรมมลั ติมเี ดยี 99 คาถามเครื่องมอื วดั ไฟฟ้า.” ปริญญานพิ นธ์

ครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรมบณั ฑิต สาขาวชิ าไฟฟา้ ภาควิชาครุศาสตรไ์ ฟฟา้ คณะครุศาสตร์
อตุ สาหกรรม สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ.
มงคล ทองสงคราม. (2541). เครื่องวัดอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละไฟฟ้า. พิมพค์ รง้ั ท่ี 3. กรุงเทพฯ : วี.เจ.
พรนิ้ ตงิ้ .
สถาบนั มาตรวิทยาแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2550). เอกสารประกอบการประชุม
ปฏบิ ตั ิการพฒั นาการเรียนการสอน หลกั สตู รดา้ นมาตรวทิ ยา. กรุงเทพฯ : ม.ป.ท. (สาเนา).
SANWA ELECTRIC INSTRUMENT CO.LTD. (n.d.). Sanwa YX–360TR MULTITESTER
OPERATOR’S MANUAL. 2 nd ed. Tokyo : n.p.
Tektronix CO.LTD. (n.d.). Measurement Products Catalog 1998/1999. 2 nd ed. U.S.A. : n.p.

265

266

267

268

269

270

271


Click to View FlipBook Version