The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 2 ไฟฟ้าสถิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 2 ไฟฟ้าสถิต

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 2 ไฟฟ้าสถิต

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 1

รายวิชา ฟสิกส 4 รหัสวิชา ว30204 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5
กลุม สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2564
หนว ยการเรียนรูท่ี 2 เรื่อง ไฟฟา สถิต เวลา 33 ช่วั โมง
เรื่อง ประจไุ ฟฟาและกฎการอนรุ กั ษป ระจุไฟฟา เวลา 5 ชั่วโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพ็งสวัสด์ิ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สรุ าษฎรธ านี

1. ผลการเรยี นรู
ทดลอง และอธบิ ายการทำวตั ถทุ ่เี ปนกลางทางไฟฟาใหม ปี ระจุไฟฟาโดยการขดั สีกนั และการเหนย่ี วนำ

ไฟฟา สถิต

2. จดุ ประสงคการเรยี นรู
1. อธบิ ายปรากฏการณธ รรมชาตขิ องไฟฟา ประจุไฟฟา และกฎการอนุรักษประจุไฟฟาได (K)
2. ปฏิบัติกิจกรรมชนิดของแรงระหวางประจุและชนิดของประจุไฟฟาไดอยางถูกตองและเปนลำดับ

ขนั้ ตอน (P)
3. มคี วามใฝเ รียนรแู ละใหค วามรวมมือในการทำกจิ กรรมกลุม (A)

3. สาระการเรยี นรู
การนำวัตถุที่เปนกลางทางไฟฟามาขัดสีกันจะทำใหวัตถุไมเปนกลางทางไฟฟา เนื่องจากอิเล็กตรอน

ถกู ถายโอนจากวัตถหุ นง่ึ ไปอีกวัตถหุ นึง่ โดยการถา ยโอนประจเุ ปนไปตาม กฎการอนุรักษประจไุ ฟฟา

4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
ปรากฏการณท ีเ่ กิดจากประจุไฟฟาซึง่ สะสมอยูในบรเิ วณหนงึ่ แลว เกิดการถา ยโอนหรือการเคล่ือนท่ีของ

ประจุไฟฟาบริเวณนั้นไปยังอีกบริเวณหนึ่งในชว งเวลาสั้น ๆ เรียกปรากฏการณนั้นวา ปรากฏการณไฟฟาสถิต
สวนประจุไฟฟามี 2 ชนิด ไดแก ประจุบวกและประจุลบ โดยประจุชนิดเดียวกันจะผลักกันและประจุตางชนดิ
กันจะดูดซง่ึ กันและกัน

กฎการอนุรักษประจุไฟฟา กลาววา การทำใหวัตถุที่มีประจุไฟฟาไมไดเปนการสรางประจุไฟฟาขึ้นมา
ใหม แตเ ปนการถา ยโอนประจุไฟฟาจากทหี่ นึ่งไปยังอกี ทหี่ นึ่ง โดยท่ีผลรวมของปรมิ าณประจทุ ั้งหมดของระบบ
จะมคี า คงเดิมเสมอ

5. สมรรถนะสำคัญของผูเ รยี นและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยูอ ยางพอเพยี ง

 2. ซ่อื สตั ยส ุจรติ  6. มุงมัน่ ในการทำงาน
 3. มวี นิ ยั  7. รักความเปนไทย
 4. ใฝเรียนรู  8. มีจติ สาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบนั
 2. กตญั ู
 3. บุคลิกดี
 4. มวี นิ ัย
 5. ใหเกียรติ

สมรรถนะทส่ี ำคัญของผเู รียน
 1. ความสามารถในการส่อื สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญหา
 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จดุ เนน สูก ารพัฒนาผเู รยี น
ความสามารถและทักษะท่จี ำเปนในการเรียนรูใ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขยี นได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแกป ญ หา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรา งสรรคแ ละนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทัศน)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูนำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดานการสอื่ สารสารสนเทศ
และรูเทาทนั สอื่ )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรียนร)ู
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู)
 L2 – Leadership (ทักษะความเปน ผนู ำ)

6. กจิ กรรมการเรียนรู
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชวั่ โมงที่ 1

ขน้ั ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครแู จงจุดประสงคการเรียนรใู หน กั เรยี นทราบ จากนัน้ ครูใหนกั เรียนทำแบบทดสอบกอนเรียน

ของหนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟาสถติ เพื่อตรวจสอบความรเู ดมิ ของนกั เรยี นเปนรายบคุ คลกอ นเขาสูกจิ กรรม
2. ครูถามคำถามกระตุนความสนใจของนักเรียนโดยใชคำถาม Big Question จากหนังสือเรียน

รายวิชาเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟาสถิต และรว มกันอภปิ รายแสดง
ความคิดเห็นอยา งอิสระโดยไมมีการเฉลยวาถกู หรือผิด ดังนี้

• ฟา ผาเกดิ ขน้ึ ไดอยางไร
(แนวตอบ : เกิดจากการถายเทประจุไฟฟาจำนวนมากจากพื้นที่หนึ่งไปอีกพื้นที่หนึ่งอยาง
รวดเร็ว เชน การถายเทประจุไฟฟาจากกอนเมฆลงมายงั พนื้ ดิน)
• เสน สนามไฟฟา มีอยูจรงิ หรือไม
(แนวตอบ : มอี ยูจริงแตไมส ามารถเหน็ ไดดว ยตาเปลา)
• เคร่อื งถายเอกสารทำงานไดอยางไร
(แนวตอบ : ทำผงหมึกใหมีประจุเปนลบ เพอ่ื ใหติดกับแผน ฟล มเฉพาะบริเวณที่มีประจุเปนบวก
ซึ่งจะไดลายเสนเหมือนตนฉบับ จากนั้นกดแผนกระดาษที่มีประจุบวกลงบนฟลมที่มีผงหมึกก็
จะไดภ าพสำเนาท่ีเหมือนตนฉบับ)
3. นกั เรียนตรวจสอบความเขา ใจของตนเองจากกรอบ Understanding Check ในหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต โดยบันทึกลงในสมุด
ประจำตวั นักเรยี น
4. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรยี น รายวชิ าเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5
เลม 2 หนว ยการเรียนรูท ี่ 6 ไฟฟาสถิต เพอื่ เปนการนำเขา สูบทเรียนวา “ปรากฏการณทางธรรมชาติท่ีเกิดจาก
ประจุไฟฟา มอี ะไรบา ง” จากนั้นครูกลาวเชื่อมโยงเขา สกู จิ กรรมการเรียนการสอน
(แนวตอบ : ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของผูส อน เชน ฟา แลบ ฟา ผา การหวีผมท่ีแหง ดว ยหวีพลาสติก
แลว มเี สน ผมช้ขี นึ้ ตามหวี)

ขั้นที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
1. ครูนำอุปกรณสาธิตการทดลอง เชน ลูกโปง และกระดาษชิ้นเล็ก ๆ จากนั้นครูขออาสมัคร

นกั เรยี นจำนวน 1 – 2 คน ออกมาหนา ชัน้ เรียน โดยใหนักเรียนเปา ลกู โปงแลวนำลกู โปง ถูท่ีศรี ษะหลาย ๆ คร้ัง
แลวนำลกู โปง ไปไวใ กล ๆ กับกระดาษชิ้นเล็ก ๆ

2. ครใู หน ักเรียนแตละคนสังเกตกระดาษช้ินเล็ก ๆ วามีการเปลยี่ นแปลงอยางไรเมื่อนำลูกโปงไป
ไวใ กลจ ากนน้ั นกั เรียนแตล ะคนรวมกนั อภิปรายแสดงความคดิ เห็นอยา งอิสระโดยไมม ีการเฉลยวา ถกู หรือผดิ

3. นักเรียนแบงกลุม กลมุ ละ 4 – 5 คน ตามความสมัครใจ จากน้นั ใหน ักเรยี นแตละกลุมรวมกัน
ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง ปรากฏการณธรรมชาติของไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟา สถติ หรือแหลงการเรยี นรตู าง ๆ เชน อินเทอรเน็ต
หองสมดุ

4. ครูแจกกระดาษฟลิปชารทใหนักเรียนกลุมละ 1 แผน จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน
อภิปรายระดมความคิดเห็นกันภายในกลุม แลวนำขอมูลที่ไดจากการอภิปราย มาจัดทำในรูปแบบตาง ๆ เชน
แผนผงั มโนทศั น ลงในกระดาษฟลิปชารท

(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )
5. นกั เรียนแตล ะกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาคนควาหนา ชั้นเรยี น ในระหวา งทนี่ ักเรียน
นำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกขอมลู เพ่ิมเตมิ ในเร่ืองนน้ั ๆ เพือ่ ใหนักเรียนมีความเขา ใจท่ีถูกตองมาก
ยง่ิ ขึน้
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
6. ครูตง้ั ประเดน็ คำถามกระตุนความคิดนักเรยี นวา “ปรากฏการณไ ฟฟาสถิต สามารถแบง ไดก ี่
ลกั ษณะอะไรบาง” โดยใหนักเรียนแตล ะกลุมรวมกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อคำตอบ
(แนวตอบ : แบงได 3 ลกั ษณะ ไดแ ก การดึงดดู การผลัก และการเกิดประกายไฟฟา)

ชัว่ โมงที่ 2

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)
7. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge จากหนงั สอื เรียน รายวิชาเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5

เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนวา “เพราะเหตุใดเมื่อถูทอพีวีซีดวยผา
สักหลาดแลวทอพีวีซีจึงดูดกระดาษชิ้นเล็ก ๆ ได” โดยใหนักเรียนรวมกันกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอยาง
อิสระโดยไมมกี ารเฉลยวา ถูกหรือผดิ

(แนวตอบ : การถูกนั ทำใหเ กิดการเสียดสีกนั ระหวา งผวิ ของวัตถุทัง้ สอง อเิ ลก็ ตรอนในวัตถหุ น่งึ
ถกู กระตุนใหส่นั เร็วขึ้นและแรงขึน้ จนหลุดพนจากการยดึ เหน่ียวของนวิ เคลียส และเคล่ือนยา ย
ไปสูวัตถหุ นง่ึ ทำใหเกิดการถา ยโอนประจรุ ะหวา งวัตถุท้งั สอง)
8. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน
ศกึ ษาคนควา ขอมลู เก่ียวกับ เรื่อง ประจุไฟฟา จากหนังสอื เรยี น รายวิชาเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม
2 หนว ยการเรยี นรูท ่ี 6 ไฟฟา สถิต หรือแหลงการเรียนรตู า ง ๆ เชน อนิ เทอรเ นต็ หอ งสมุด
9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสรุป
ความรูท่ไี ดจ ากการศึกษาคนควาลงในสมดุ ประจำตวั นกั เรียน
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )
10. นักเรียนนับจำนวน 1 – 6 วนไปเรื่อย ๆ จนครบทุกคน เพื่อแบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุม
กลุมละ 6 คน โดยคนที่นับจำนวนเดียวกันใหอยูกลุมเดียวกนั จากนั้นครูแจงจดุ ประสงคของกจิ กรรมชนิดของ
แรงระหวา งประจุและชนดิ ของประจุไฟฟา ใหน ักเรยี นทราบเพ่ือเปน แนวทางการปฏิบัติกจิ กรรมที่ถูกตอง
11. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษากิจกรรม ชนิดของแรงระหวางประจุและชนิดของประจุ
ไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิม่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต โดย
ครูใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือมาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกำหนดใหสมาชิกแตละคนภายในกลุมมี
บทบาทหนาที่ของตนเอง ดังนี้

• สมาชิกคนท่ี 1 – 2 ทำหนาที่ เตรียมวัสดุอุปกรณท ่ใี ชใ นการปฏิบัติกิจกรรมชนิดของ
แรง ระหวา งประจุและชนิดของประจไุ ฟฟา

• สมาชกิ คนท่ี 3 – 4 ทำหนาที่อานวธิ ีปฏบิ ตั ิกิจกรรมและนำมาอธบิ ายใหสมาชกิ ในกลมุ ฟง

• สมาชิกคนท่ี 5 – 6 ทำหนา ท่ี บนั ทกึ ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมลงในสมดุ ประจำตัวนักเรยี น
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแบบประเมินการปฏิบตั ิกิจกรรม)
12. นักเรียนแตละกลุมรวมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟา สถิต
13. นักเรียนแตละกลุมรวมกันแลกเปลี่ยนความรูและวิเคราะหผลการปฏิบัติกิจกรรม แลว
อภปิ รายผลรว มกัน

ช่ัวโมงที่ 3

ข้ันที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
14. นักเรียนแตล ะกลุมออกมานำเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหนาช้ันเรียน ในระหวางที่นกั เรียน

นำเสนอครูคอยใหข อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ เพ่อื ใหน กั เรยี นมีความเขาใจท่ีถูกตองมากยิ่งขน้ึ
(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นกั เรียน โดยใชแบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
15. นักเรยี นแตล ะกลุมรว มกนั ตอบคำถามทายกจิ กรรม ชนิดของแรงระหวางประจุและชนิดของ

ประจุไฟฟา โดยใหน ักเรียนแตละกลมุ รวมกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นเพ่ือหาคำตอบ จากนั้นครูสุมนักเรียน
จำนวน 4 – 5 กลมุ ออกมานำเสนอคำตอบของกลมุ ตนเองหนา ชัน้ เรียน

16. เมือ่ นกั เรียนแตละกลมุ นำเสนอคำตอบของกลมุ ตนเองเรียบรอยแลว นกั เรียนและครูรวมกัน
อภิปรายผลทา ยกจิ กรรม ชนดิ ของแรงระหวางประจุและชนดิ ของประจไุ ฟฟา และเฉลยคำถามทายกิจกรรม

17. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียน โดยใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปราย
แสดงความคิดเห็นเพื่อหาคำตอบ ดังนี้

• เม่อื ถูแผน พีวซี ดี ว ยผาสักหลาด จะเกิดส่ิงใดขึน้
(แนวตอบ : แผน พีวีซีจะเกดิ ประจลุ บเกิดขน้ึ )

• อะตอม ประกอบดว ยอะไรบาง
(แนวตอบ : อะตอม ประกอบดว ย โปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน)

• โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน มปี ระจุเหมอื นกนั หรอื ไม อยา งไร
(แนวตอบ : มปี ระจุไมเ หมือนกนั โปรตอน มีประจเุ ปนบวก นวิ ตรอน มีประจุเปนกลาง
หรือไมมีประจุไฟฟา และอเิ ล็กตรอน มปี ระจเุ ปนลบ)

ชวั่ โมงที่ 4

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
18. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสอื เรียน รายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.

5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนวา “ถานำผาไหมถูที่แทงแกวจะเกิด
ประจุเชนเดียวกับการถูทอพีวีซีดว ยผาสักหลาดหรือไม” โดยใหนักเรียนรวมกันกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น
อยา งอิสระโดยไมม กี ารเฉลยวาถูกหรือผิด

(แนวตอบ : เกดิ เพราะการถกู ทอ พวี ีซีดว ยผา สกั หลาดสามารถทำใหเ กิดการถา ยเทประจุได
เชนเดียวกับการนำผาไหมถกู บั แทง แกว )
19. นักเรยี นจบั คูกบั เพอื่ นในชน้ั เรียน ตามความสมคั รใจ จากนั้นใหนักเรียนแตล ะคูรวมกันศึกษา
คนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง กฎการอนุรักษประจุไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 6 ไฟฟาสถติ หรอื แหลงการเรยี นรูตาง ๆ เชน อนิ เทอรเ น็ต หองสมุด

20. นกั เรียนแตละครู วมกันอภปิ รายเรือ่ งที่ไดศึกษา จากนน้ั ใหนกั เรยี นแตละครู วมกันสรุปความรู
ที่ไดจากการศึกษาคนควาเกี่ยวกับกฎอนุรักษประจุไฟฟา มาใชในการอธิบายปรากฏการณตาง ๆ ทางไฟฟา
หรือนำกฎการอนรุ กั ษประจุไฟฟามาประยุกตใช ลงในใบงานท่ี 6.1.1 เรอ่ื ง กฎการอนรุ ักษประจไุ ฟฟา พรอม
ตกแตงใหสวยงาม

(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุม )

ช่วั โมงท่ี 5

ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู (Explain)
21. นกั เรียนแตละคอู อกมานำเสนอผลงานหนา ช้ันเรียน ในระหวางที่นักเรยี นนำเสนอ ครูคอยให

ขอ เสนอแนะเพ่มิ เติมเพ่ือใหนักเรียนมีความเขา ใจทถ่ี ูกตอ งมากย่ิงขึ้น
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรียน โดยใชแ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
22. ครูต้ังประเด็นคำถามกระตนุ ความคดิ นกั เรียนวา “กฎการอนรุ กั ษป ระจไุ ฟฟา หมายถงึ ” โดย

ใหน ักเรยี นแตละคนรว มกันอภปิ รายแสดงความคดิ เห็นเพอ่ื หาคำตอบ
(แนวตอบ : กฎการอนุรักษประจไุ ฟฟา หมายถงึ การทำใหวตั ถมุ ีประจไุ ฟฟา ไมไดสรางประจุ
ไฟฟาข้ึนมาใหม แตเปน การถายโอนประจุไฟฟา จากท่ีหน่ึงไปยังอีกทห่ี นึ่ง โดยทผ่ี ลรวมของ
ปรมิ าณประจุทั้งหมดของระบบจะมีคาคงเดิมเสมอ)

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)
23. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง ปรากฏการณธรรมชาติของไฟฟา

ประจุไฟฟาและกฎการอนุรักษประจุไฟฟา และใหความรูเพิ่มเติมจากคำถามของนักเรียน โดยครูใช
PowerPoint เรื่อง ปรากฏการณธรรมชาติของไฟฟา ประจุไฟฟา และกฎการอนุรักษประจุไฟฟา ในการ
อธิบายเพ่มิ เตมิ

24. นกั เรยี นแตล ะคนทำ Unit Question 6 เรอ่ื ง ปรากฏการณธ รรมชาติของไฟฟา ประจุไฟฟา
และกฎการอนุรักษประจุไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการ
เรยี นรูที่ 6 ไฟฟา สถิต ลงในสมดุ ประจำตัวนักเรยี น

25. นกั เรยี นแตล ะคนทำแบบฝกหัด เรอื่ ง ปรากฏการณธ รรมชาติของไฟฟา ประจุไฟฟา และกฎ
การอนุรักษประจุไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตรฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูท่ี
6 ไฟฟา สถิต เปนการบานสงในช่วั โมงถัดไป

ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบกอนเรียนหนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อตรวจสอบ

ความเขา ใจกอนเรียนของนกั เรยี น
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนา ชัน้ เรียน
3. ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนจากกรอบ Understanding Check ในสมุดประจำตัว

นกั เรียน
4. ครูวดั และประเมินผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม ชนดิ ของแรงระหวา งประจแุ ละชนดิ ของประจุไฟฟา

5. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานที่ 6.1.1 เรื่อง กฎการอนุรักษประจุไฟฟา
6. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 6 เรื่อง ปรากฏการณธรรมชาติของไฟฟา ประจุ
ไฟฟา และกฎการอนุรักษป ระจุไฟฟา ในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น
7. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง ปรากฏการณธรรมชาติของไฟฟา ประจุไฟฟา และกฎการ
อนุรักษประจุไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6
ไฟฟาสถิต
8. นักเรยี นและครรู ว มกันสรุปเกยี่ วกบั ปรากฏการณธรรมชาติของไฟฟา ประจไุ ฟฟา และกฎการ
อนุรักษประจุไฟฟา ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา “ปรากฏการณไฟฟาในธรรมชาติ เชน ฟาแลบ ฟาผา ฟารอง เปน
ปรากฏการณที่เกิดจากประจุไฟฟาซึ่งสะสมอยูใ นบริเวณใดบริเวณหน่ึง แลวเกิดการถายโอนหรอื การเคลื่อนท่ี
ของประจุไฟฟา ประจไุ ฟฟา มี 2 ชนิด ไดแ ก ประจบุ วก และประจุลบ ประจุชนิดเดยี วกนั จะผลกั กัน และประจุ
ตางชนิดกันจะดึงดูดกัน และกฎการอนุรักษประจุไฟฟา คือ การทำใหวัตถุมีประจุไฟฟาไมไดสรางประจุไฟฟา
ข้ึนมาใหม แตเปน การถายโอนประจุไฟฟาจากทห่ี น่ึงไปยังอีกที่หน่ึง โดยท่ีผลรวมของปริมาณประจุทั้งหมดของ
ระบบจะมีคาคงเดิมเสมอ”

7. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วธิ วี ดั เครอื่ งมือ เกณฑการประเมิน
7.1 การประเมนิ กอ นเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอนเรียน - ประเมินตามสภาพ
กอนเรียน หนว ยการ หนว ยการเรยี นรทู ี่ 6 จรงิ
- แบบทดสอบกอนเรียน เรียนรทู ่ี 6 ไฟฟาสถิต ไฟฟาสถติ
หนว ยการเรียนรูที่ 6 - รอยละ 60 ผาน
ไฟฟา สถิต - ตรวจใบงานที่ 6.1.1 - ใบงานท่ี 6.1.1 เกณฑ
7.2 การประเมนิ ระหวา ง - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝกหดั - รอยละ 60 ผา น
การจดั กจิ กรรม เกณฑ
1) ประจุไฟฟาและ - ประเมนิ การปฏบิ ัติ - แบบประเมินการ - ระดับคณุ ภาพ 2
กฎการอนุรกั ษ กิจกรรม ปฏิบัตกิ จิ กรรม ผานเกณฑ
ประจุไฟฟา
2) ผลบันทกึ การปฏบิ ตั ิ - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2
กิจกรรมชนดิ ของ ผลงาน/ผลการปฏิบัติ นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
แรงระหวางประจุ กจิ กรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
และชนดิ ของประจุ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ผา นเกณฑ
ไฟฟา การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล
3) การนำเสนอผลงาน/
ผลการปฏบิ ัติ
กจิ กรรม
4) พฤตกิ รรมการ
ทำงานรายบคุ คล

รายการวัด วิธวี ดั เครื่องมอื เกณฑก ารประเมิน
5) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2
การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
ทำงานกลุม - สงั เกตความมีวนิ ยั - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2
6) คณุ ลักษณะ รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รียนรู คณุ ลกั ษณะ ผานเกณฑ
ซือ่ สัตย สุจรติ และ อันพึงประสงค
อันพงึ ประสงค มงุ ม่นั
ในการทำงาน

8. สอ่ื /แหลงการเรยี นรู
8.1 สอ่ื การเรยี นรู
1) หนังสอื เรียน รายวิชาเพิม่ เติมวทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟา สถิต
2) แบบฝกหดั รายวิชาเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟา สถิต
3) วัสดอุ ปุ กรณท่ใี ชใ นการปฏบิ ตั ิกิจกรรมชนดิ ของแรงระหวา งประจุและชนิดของประจุไฟฟา
4) PowerPoint เร่อื ง ปรากฏการณธรรมชาติของไฟฟา ประจุไฟฟา และกฎการอนุรกั ษป ระจุไฟฟา
5) อุปกรณสาธติ การทดลอง เชน ลกู โปง และกระดาษชนิ้ เล็ก ๆ
6) สมุดประจำตวั นักเรยี น
8.2 แหลงการเรียนรู
1) หองเรียน
2) หอ งสมุด
3) อนิ เทอรเ นต็

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 2

รายวชิ า ฟส ิกส 4 รหัสวิชา ว30204 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5
กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2564
หนว ยการเรยี นรูท่ี 2 เรือ่ ง ไฟฟา สถติ เวลา 33 ช่วั โมง
เรือ่ ง การเหนีย่ วนำไฟฟา เวลา 3 ชั่วโมง
ผูสอน นายธนพันธ เพ็งสวัสดิ์ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สุราษฎรธ านี

1. ผลการเรยี นรู
ทดลอง และอธิบายการทำวัตถทุ เ่ี ปนกลางทางไฟฟา ใหมปี ระจไุ ฟฟา โดยการขัดสีกันและการเหนี่ยวนำ

ไฟฟา สถิต

2. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธิบายการเหนย่ี วนำไฟฟาสถติ ได (K)
2. ปฏิบัติกิจกรรมการทำใหอิเล็กโทรสโคปมีประจุโดยการเหนี่ยวนำไดอยางถูกตองและเปนลำดับ

ขัน้ ตอน (P)
3. มีความมุงม่ันในการเรยี นรูและการทำงานที่ไดรับมอบหมายตลอดเวลา (A)

3. สาระการเรียนรู
การนำวัตถุที่เปนกลางทางไฟฟามาขัดสีกันจะทำใหวัตถุไมเปนกลางทางไฟฟา เนื่องจากอิเล็กตรอน

ถกู ถายโอนจากวัตถุหนงึ่ ไปอกี วัตถุหนึง่ โดยการถายโอนประจุเปน ไปตาม กฎการอนุรักษป ระจุไฟฟา
เมอื่ นำวัตถุที่มีประจุไฟฟาไปใกลตวั นำไฟฟาจะทำใหเกิดประจุชนดิ ตรงขามบนตัวนำทางดานที่ใกลวัตถุ

และประจชุ นดิ เดยี วกนั ดานทไ่ี กลวตั ถเุ รยี กวิธกี ารนว้ี า การเหนีย่ วนำไฟฟาสถิต ซึง่ สามารถใชวิธกี ารน้ใี นการทำ
ใหวัตถุมปี ระจุได

4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
การเหนี่ยวนำไฟฟาเปนการนำวัตถุที่มีประจุไฟฟาใกลตัวนำไฟฟา สงผลใหเกิดประจุชนิดตรงขามบน

ดา นใกลข องตวั นำ และเกดิ ประจชุ นดิ เดียวกันบนดานไกลของตวั นำ

5. สมรรถนะสำคัญของผูเรยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยอู ยา งพอเพียง
 2. ซอื่ สตั ยสุจริต  6. มงุ มั่นในการทำงาน
 3. มีวินยั  7. รักความเปน ไทย

 4. ใฝเ รยี นรู  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทิดทนู สถาบัน
 2. กตญั ู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มวี นิ ยั
 5. ใหเ กยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผูเ รยี น
 1. ความสามารถในการสื่อสาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป ญหา
 4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จุดเนน สกู ารพฒั นาผูเรียน
ความสามารถและทกั ษะท่ีจำเปนในการเรยี นรูใ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดา นการสรา งสรรคและนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทมี และภาวะผูนำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา นการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ ทา ทันสอื่ )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรยี นรู)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน ผูนำ)

6. กจิ กรรมการเรยี นรู
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนคิ : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชั่วโมงท่ี 1

ข้ันที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง ปรากฏการณธรรมชาติของไฟฟา ประจุ

ไฟฟา และกฎการอนุรักษป ระจไุ ฟฟา จากนัน้ ครแู จงจุดประสงคการเรียนรใู หน ักเรียนทราบ
2. ครูนำโฟมรูปทรงกลมเลก็ ๆ มาหุมดวยอะลูมิเนียมฟอยด จากนั้นมาแขวนดวยเสน ดาย โดย

ใหโฟมรูปทรงกลมที่ถูกหุมดวยอะลูเนียมฟอยดหอยในแนวดิ่ง แลวนำทอพีวีซีมาไวใกล ๆ แลวใหนักเรียนแต
ละคนสังเกตการเปล่ียนแปลง

3. ครูสาธิตการทดลองซ้ำ โดยการนำทอพีวีซีมาถูกับผาสักหลาดแลวไปไวใกล ๆ โฟมรูปทรง
กลมทถี่ กู หุม ดวยอะลมู เิ นียมฟอยด แลว ใหนกั เรียนแตละคนสังเกตการณเปลยี่ นแปลงอีกครั้ง

4. นักเรียนและครูรว มกันสนทนาเกีย่ วกับการเปลี่ยนแปลงของโฟมรูปทรงกลมทั้งสองกรณี โดย
ใหนักเรียนรว มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเห็นอยา งอิสระโดยไมมกี ารเฉลยวาถูกหรอื ผิด

5. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนวา “เมื่อนำวัตถุที่มีประจุเขาใกล
วัตถุที่เปนกลาง วัตถุทั้งสองจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไร” จากนั้นครูกลาวเชื่อมโยงเขาสูกิจกรรมการเรียน
การสอน

(แนวตอบ : เมอ่ื นำวตั ถทุ ่ีมีประจเุ ขา ใกลวตั ถทุ ีเ่ ปน กลางจะทำใหเ กิดประจุชนิดตรงขามบน
ตวั นำดา นใกลและเกิดประจชุ นิดเดียวกันบนตัวนำดา นไกล)

ขั้นที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นกั เรยี นแบงกลุม กลุม ละ 3 – 4 คน ตามความสมัครใจ จากนนั้ ใหนักเรยี นแตละกลุมรวมกัน

ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง การเหนี่ยวนำไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟาสถติ หรอื แหลงการเรียนรูตา ง ๆ เชน อินเตอรเ นต็ หองสมดุ OR Code
เร่อื ง การเหนยี่ วนำไฟฟา

2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละคนเขียนสรุป
ความรูทไี่ ดจ ากการศึกษาคน ควาลงในสมุดประจำตวั นกั เรียน เพ่อื นำสง ครทู ายชวั่ โมง

(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
3. ครูสุมนักเรียนออกมานำเสนอผลจากการศึกษาคนควาหนาชั้นเรียน โดยสุมออกมาเพียง 6
คน ซ่งึ ครูเปนคนเลือกวาจะใหน กั เรียนคนไหนนำเสนอเรื่องอะไร ตามหัวขอ เรือ่ ง ดงั ตอ ไปน้ี
• คนท่ี 1 – 2 เรือ่ ง การเหน่ียวนำไฟฟา
• คนที่ 3 – 4 เรื่อง การใชอิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิทตรวจสอบชนิดของประจุไฟฟาบนวัตถุมี

ประจุ
• คนท่ี 5 – 6 เรื่อง การใชอิเล็กโทรสโคปแบบแผน โลหะตรวจสอบชนดิ ของประจุไฟฟาบนวัตถุ

มปี ระจุ
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)

4. ขณะที่นักเรียนนำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิ่มเติมในเรื่องนั้น ๆ เพื่อให
นกั เรียนมคี วามเขา ใจที่ถูกตอ งมากย่ิงขน้ึ

5. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียน โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภปิ รายแสดง
ความคิดเหน็ เพอ่ื หาคำตอบ ดังนี้

• อุปกรณตรวจสอบประจุไฟฟา เรยี กวา อะไร
(แนวตอบ : อิเลก็ โทรสโคป)

• อิเลก็ โทรสโคป แบงเปนก่ีชนดิ อะไรบา ง
(แนวตอบ : อิเลก็ โทรสโคป แบงเปน 2 ชนิด ไดแ ก อิเล็กโทรสโคปแบบแผน โลหะ และอเิ ลก็
โทรสโคปแบบลกู พทิ )

• ถา ตองการทำใหตัวนำทเ่ี ปนกลางกลายเปนตัวนำที่มีประจสุ ามารถทำไดดวยวธิ ีใด
(แนวตอบ : การเหนีย่ วนำ โดยตวั นำจะมปี ระจุชนดิ ตรงขามกบั ประจุของแทง วัตถุทีม่ า
เหน่ียวนำ และปรมิ าณประจุของวัตถุมปี ระจุทม่ี าเหน่ยี วนำยังคงมีคาเทาเดมิ )

ช่ัวโมงท่ี 2

ขั้นท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore) (ตอ)
6. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นครูแจงจุดประสงคของกิจกรรม

การทำใหอิเล็กโทรสโคปมีประจุโดยการเหนี่ยวนำ ใหนักเรียนทราบเพื่อเปนแนวทางการปฏิบัติกิจกรรมที่
ถูกตอง

7. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษากิจกรรม การทำใหอิเล็กโทรสโคปมีประจุโดยการเหนี่ยวนำ
จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิตโดยครูใช
รูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือมาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกำหนดใหสมาชิกแตละคนภายในกลุมมีบทบาท
หนาท่ีของตนเอง ดังนี้

• สมาชิกคนที่ 1 – 2 ทำหนาที่ เตรียมวัสดุอุปกรณที่ใชในการปฏิบัติกิจกรรมการทำให
อเิ ลก็ โทรสโคปมีประจุโดยการเหน่ียวนำ

• สมาชกิ คนท่ี 3 – 4 ทำหนาท่ีอานวธิ ปี ฏบิ ัตกิ จิ กรรมและนำมาอธบิ ายใหสมาชิกในกลมุ ฟง
• สมาชิกคนที่ 5 – 6 ทำหนา ท่ี บันทกึ ผลการปฏิบัติกจิ กรรมลงในสมุดประจำตวั นักเรียน
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแบบประเมินการปฏบิ ตั ิกิจกรรม)
8. นักเรียนแตละกลุมรวมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 6 ไฟฟาสถิต
9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันแลกเปลี่ยนความรูและวิเคราะหผลการปฏิบัติกิจกรรม แลว
อภิปรายผลรวมกัน

ชัว่ โมงท่ี 3

ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain)
10. นักเรียนแตล ะกลุมออกมานำเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหนาช้ันเรียน ในระหวางท่ีนักเรียน

นำเสนอครคู อยใหขอ เสนอแนะเพ่ิมเติมเพอื่ ใหนักเรยี นมีความเขา ใจทถ่ี ูกตอ งมากยงิ่ ขน้ึ

(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแ บบประเมินการนำเสนอผลงาน)
11. นกั เรียนแตล ะกลุมรวมกนั ตอบคำถามทายกิจกรรม การทำใหอ ิเล็กโทรสโคปมีประจุโดยการ
เหนี่ยวนำโดยใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อหาคำตอบ จากนั้นครูสุมนักเรียน
จำนวน 4 – 5 กลุม ออกมานำเสนอคำตอบของกลมุ ตนเองหนาชนั้ เรียน
12. เม่อื นกั เรียนแตละกลุมนำเสนอคำตอบของกลุม ตนเองเรยี บรอยแลว นกั เรียนและครูรวมกัน
อภิปรายผลทา ยกจิ กรรม การทำใหอ ิเล็กโทรสโคปมีประจุโดยการเหน่ียวนำ และเฉลยคำถามทา ยกิจกรรม
ขั้นที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
13. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง การเหนี่ยวนำไฟฟา และใหความรู
เพิม่ เตมิ จากคำถามของนกั เรียน โดยครูใช PowerPoint เร่อื ง การเหนีย่ วนำไฟฟา ในการอธิบายเพมิ่ เติม
14. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง การเหนี่ยวนำไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 6 ไฟฟา สถติ ลงในสมดุ ประจำตวั นักเรียน
15. นักเรียนแตล ะคนทำ Unit Question 6 เร่อื ง การเหนี่ยวนำไฟฟา จากหนงั สือเรียน รายวิชา
เพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟาสถติ ลงในสมดุ ประจำตวั นักเรยี น
16. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง การเหน่ียวนำไฟฟา จากแบบฝก หดั รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตรฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูท ่ี 6 ไฟฟาสถิต เปน การบานสง ในชว่ั โมงถัดไป
ข้ันท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนา ชั้นเรยี น
2. ครูวัดและประเมินผลการปฏิบัตกิ ิจกรรม การทำใหอ ิเลก็ โทรสโคปมปี ระจโุ ดยการเหนย่ี วนำ
3. ครูตรวจ Topic Question เรอื่ ง การเหนย่ี วนำไฟฟา ในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น
4. ครูตรวจแบบฝก หัดจาก Unit Question 6 เรอื่ งการเหน่ียวนำไฟฟาในสมดุ ประจำตัวนกั เรียน
5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง การเหนี่ยวนำไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตรฟ สิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 6 ไฟฟา สถติ
6. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับการเหนี่ยวนำไฟฟา ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา “การทำให
ตวั นำทเ่ี ปนกลางกลายเปน ตัวนำทีม่ ปี ระจุ นอกจากการถูแลวยงั สามารถทำไดโดยการนำวตั ถุทีม่ ปี ระจุไปสัมผัส
กับตัวนำที่เปนกลาง ซึ่งเรียกวา การเหนี่ยวนำ (induction) การนำวัตถุที่มีประจุเขาใกลตัวนำไฟฟาจะทำให
เกิดประจชุ นิดตรงขา มบนตวั นำดา นใกล และเกิดประจุชนิดเดยี วกันบนตัวนำดา นไกล”

7. การวดั และประเมนิ ผล วิธวี ดั เครอื่ งมอื เกณฑก ารประเมิน
รายการวัด - ตรวจแบบฝกหดั - แบบฝก หดั - รอยละ 60 ผาน
เกณฑ
7.1 การประเมนิ ระหวาง
การจดั กิจกรรม
1) การเหนยี่ วนำไฟฟา

รายการวดั วิธวี ัด เคร่อื งมอื เกณฑก ารประเมนิ
2) ผลบันทกึ การปฏบิ ตั ิ - ประเมินการปฏบิ ัติ - แบบประเมินการปฏบิ ตั ิ - ระดับคุณภาพ 2
กิจกรรม กจิ กรรม ผานเกณฑ
กจิ กรรมการทำให
อิเลก็ โทรสโคป - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ การนำเสนอ - ระดับคณุ ภาพ 2
มีประจุโดยการ ผลงาน/ผลการปฏิบตั ิ ผลงาน ผา นเกณฑ
เหนี่ยวนำ กจิ กรรม - ระดบั คุณภาพ 2
3) การนำเสนอผลงาน/ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ผา นเกณฑ
ผลการปฏิบัติ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล
กจิ กรรม
4) พฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล

5) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
ทำงานกลุม การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผานเกณฑ
- สังเกตความมีวินยั - แบบประเมนิ - ระดับคณุ ภาพ 2
6) คุณลักษณะ รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รยี นรู คณุ ลกั ษณะ ผานเกณฑ
อนั พงึ ประสงค ซือ่ สตั ย สจุ ริต และ อันพงึ ประสงค
มงุ มั่นในการทำงาน

8. สื่อ/แหลงการเรียนรู
8.1 สือ่ การเรยี นรู
1) หนงั สือเรยี น รายวิชาเพ่มิ เติมวทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟาสถติ
2) แบบฝกหดั รายวิชาเพ่ิมเตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟา สถิต
3) วสั ดุอปุ กรณท ี่ใชใ นการปฏิบัติกิจกรรมการทำใหอิเล็กโทรสโคปมีประจุโดยการเหนี่ยวนำ
4) PowerPoint เรื่อง การเหน่ยี วนำไฟฟา
5) โฟมรปู ทรงกลมเลก็ ๆ
6) อะลูมิเนียมฟอยด
7) ทอพีวีซี
8) ผา สักหลาด
9) QR Code เร่ือง การเหน่ยี วนำไฟฟา
10) สมดุ ประจำตวั นักเรยี น
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรยี น
2) หองสมุด
3) อนิ เทอรเนต็

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 3

รายวิชา ฟสิกส 4 รหสั วิชา ว30204 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 5
กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2564
หนวยการเรียนรทู ี่ 2 เรอื่ ง ไฟฟาสถติ เวลา 33 ชว่ั โมง
เรือ่ ง แรงระหวา งประจุและกฎของคลู อมบ เวลา 3 ชั่วโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพง็ สวัสด์ิ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สุราษฎรธานี

1. ผลการเรยี นรู
อธิบาย และคำนวณแรงไฟฟา ตามกฎของคูลอมบ

2. จุดประสงคก ารเรยี นรู
1. อธิบายแรงระหวา งประจุและกฎของคลู อมบได (K)
2. ตรวจสอบหาปรมิ าณตา ง ๆ ที่เก่ยี วของกับแรงไฟฟาตามกฎของคูลอมบได (P)
3. มีความใฝเรียนรูแ ละมีความมงุ มน่ั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรียนรู
จุดประจุไฟฟามีแรงกระทำซึ่งกันและกัน โดยมีทิศอยูในแนวเสนตรงระหวางจุดประจุทั้งสอง และมี

ขนาดของแรงระหวางจุดประจุแปรผันตรงกับผลคูณของขนาดของประจุทั้งสองและแปรผกผันกับกำลังสอง

ของระยะหางระหวางจุดประจุ ซ่ึงเปนไปตามกฎของคลู อมบ เขยี นแทนไดดวยสมการ
F12 = k qr112q22 1
เมอ่ื k = 4πε0

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
กฎของคูลอมบ กลาววา ขนาดของแรงระหวางประจุเปนสัดสว นโดยตรงกับผลคูณของปริมาณประจุ

ของจุดประจุทงั้ สอง แตเ ปน สัดสวนผกผันกำลังสองของระยะหางระหวา งจดุ ประจทุ ้ังสอง

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
 1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย  5. อยูอ ยางพอเพยี ง
 2. ซอ่ื สตั ยส จุ ริต  6. มุงม่ันในการทำงาน
 3. มวี นิ ยั  7. รักความเปน ไทย
 4. ใฝเรียนรู  8. มีจติ สาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบนั
 2. กตัญู
 3. บุคลกิ ดี
 4. มวี นิ ยั
 5. ใหเกียรติ

สมรรถนะทส่ี ำคัญของผเู รยี น
 1. ความสามารถในการสื่อสาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป ญ หา
 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จุดเนนสูก ารพัฒนาผเู รยี น
ความสามารถและทกั ษะท่จี ำเปน ในการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อา นออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแกป ญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรางสรรคแ ละนวัตกรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทมี และภาวะผนู ำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดานการส่อื สารสารสนเทศ
และรเู ทาทันส่อื )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นร)ู
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปนผูน ำ)

6. กจิ กรรมการเรียนรู
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชั่วโมงท่ี 1

ขัน้ ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง การเหนี่ยวนำไฟฟา จากนั้นครูแจง

จดุ ประสงคการเรยี นรูใ หน ักเรยี นทราบ
2. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับแรงกระทำระหวางวัตถุทั้งสองที่มีประจุชนิดเดียวกัน จาก

https://www.youtube.com/watch?v=e0wcF5fT0zw ใหนักเรียนดู จากนั้นครูตั้งประเด็นคำถาม
กระตุนความคิดนักเรียนวา “แรงดูดและแรงผลักเกิดขึ้นไดอยางไร” โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภปิ ราย
แสดงความคดิ เหน็ อยางอสิ ระโดยไมม กี ารเฉลยวา ถูกหรือผดิ

(แนวตอบ : แรงดูดเกดิ ขน้ึ เมอื่ ประจุไฟฟาชนดิ เดยี วกนั อยใู กลก ัน สว นแรงผลักเกดิ จากประจไุ ฟฟา
ตา งชนดิ กนั อยใู กลกนั )
3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนวา “แรงระหวางประจุคูหนึ่ง ๆ
สมั พันธก ับปรมิ าณประจุไฟฟาหรอื ไมอ ยา งไร” จากนั้นครกู ลา วเชื่อมโยงเขา สกู จิ กรรมการเรยี นการสอน
(แนวตอบ : สัมพนั ธหากปริมาณประจุไฟฟา มีคา มากแรงไฟฟากจ็ ะมีคามากไปดว ย แตอยา งไรก็
ตามยงั ขึน้ อยูกับระหางระหวา งประจดุ วยเชนกนั )

ข้ันท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)
1. นักเรียนคูก บั เพือ่ นชน้ั ในเรียน ตามความสมัครใจ จากน้ันใหนกั เรียนแตละครู วมกันศึกษา

คนควา ขอมูลเกี่ยวกับ เรอ่ื ง กฎของคลู อมบ จากหนังสอื เรยี น รายวชิ าเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2
หนวยการเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟา สถิต หรือแหลง การเรียนรูตา ง ๆ เชน อนิ เทอรเ น็ต หองสมดุ

2. นักเรียนแตล ะคูรว มกนั อภิปรายเรอื่ งที่ไดศ ึกษา จากน้ันใหนักเรียนแตละคนเขียนสรุป
ความรทู ไี่ ดจากการศกึ ษาคน ควาลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น

(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
3. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คู ออกมานำเสนอผลการศึกษาคนควาหนาชั้นเรียน ในระหวางท่ี
นักเรียนนำเสนอ ครอู าจเสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิ่มเติมในเร่ืองน้นั ๆ เพอื่ ใหน กั เรียนมีความเขาใจที่ถูกตอง
มากยง่ิ ข้ึน
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
4. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนโดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภิปรายแสดง
ความคิดเหน็ เพอื่ หาคำตอบ ดงั น้ี
• กฎของคูลอมบ กลา ววา อยา งไร

(แนวตอบ : กฎของคูลอมบ กลาววา ขนาดของแรงระหวางจุดประจุเปนสัดสวนโดยตรงกับ
ผลคูณของปริมาณประจุของจุดประจุทั้งสอง แตเปนสัดสวนผกผันกับกำลังสองของ
ระยะหา งระหวางจุดประจุทง้ั สอง)
• แรงระหวางประจุของอนภุ าคที่มีประจุไฟฟาข้ึนอยูกบั สง่ิ ใดเปน สำคัญท่สี ุด
(แนวตอบ : ขนาดของประจุ และระยะหางระหวา งอนภุ าค)

ชว่ั โมงที่ 2

ขนั้ ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
5. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับกฎของคูลอมบ โดยครูตั้งประเด็นคำถามกระตุน

ความคิดนักเรียนวา “กฎของคูลอมบ กลาวถึงความสัมพันธข องแรงกับระยะหา งระหวางจุดประจุทั้งสองไวว า
อยางไร”

(แนวตอบ : แรงจะแปรผนั ตรงกับปรมิ าณประจุของประจุทงั้ สอง แตจะแปรผกผนั กบั กำลงั สอง
ของระยะหา งระหวางจดุ ประจุทัง้ สอง)
6. นกั เรียนแบงกลมุ กลมุ ละ 4-5 คน ตามความสมัครใจ จากน้นั ใหน กั เรียนแตละกลุมสงตัวแทน
ออกมาจับสลากเรื่องที่ศึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลข ไวหนาชั้นเรียน ซึ่งหมายเลขจะระบุเรื่องที่ให
นักเรยี นศกึ ษา ดังนี้

• หมายเลข 1 ศึกษา เรื่อง แรงระหวางจุดประจุสองจดุ ประจุ
• หมายเลข 2 ศึกษา เรื่อง แรงบนจุดประจุหน่ึงจากกลมุ ของจดุ ประจุ
7. นักเรียนแตล ะกลุมรวมกันศึกษาคน ควาขอมลู เร่ืองท่ีกลุมตนเองจับสลากได จากหนงั สือเรยี น
รายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟาสถติ หรือแหลง การเรียนรตู า ง ๆ
เชน อินเทอรเ นต็ หองสมุด จากนัน้ รว มกันสรุปความรูทไ่ี ดจากการศึกษาคน ควา ลงในสมุดประจำตัวนักเรียน
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ชั่วโมงที่ 3

ข้ันท่ี 3 อธิบายความรู (Explain)
8. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนำเสนอ

ครคู อยใหข อ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ เพ่ือใหน กั เรยี นมคี วามเขาใจทถี่ ูกตองมากย่ิงขึ้น
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบประเมินการนำเสนอผลงาน)
9. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “ขนาดและทิศทางของแรงกระทำระหวาง

จดุ ประจุคูห นึง่ ๆ เปน อยา งไร” โดยใหนักเรยี นแตละกลมุ รว มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เพอ่ื หาคำตอบ
(แนวตอบ : แรงกระทำระหวางจดุ ประจุคูหนง่ึ ๆ จะมขี นาดเทากัน แตทศิ ตรงกันขา มกันเสมอ)
10. นักเรียนแตละคนพิจารณาภาพแรงกระทำระหวางประจุสองจุดประจุ จากหนังสือเรียน

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟา สถติ จากน้นั ครอู ธบิ ายเพิม่ เติมจาก
ภาพใหนักเรียนเขาใจวา “แรงกระทำระหวางจุดประจุคูหนึ่ง ๆ จะมีขนาดเทากัน แตมีทิศตรงขามเสมอ และ
ในกรณที รี่ ะบบมีประจจุ ำนวนมากอาจใชก ฎของคูลอมบห าแรงที่ประจุหน่ึงถูกประจอุ ื่น ๆ มากระทำ และใชก ฎ
การรวมเวกเตอรร วมแรงทัง้ หมดทีก่ ระทำตอ ประจุนนั้ ”

11. ครูถามคำถามทาทายการคิดขั้นสูง โดยใชคำถาม H.O.T.S. จากหนังสือเรียน รายวิชา
เพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต วา “การเพิ่มขนาดของแรงกระทำ
ระหวา งจุดประจุคหู นึ่งใหเปน 4 เทา ของขนาดแรงกระทำเดมิ สามารถทำไดอยา งไร”

(แนวตอบ : ตอ งลดระยะหา งระหวา งประจุลงครึ่งหน่ึงของระยะหา งเดิม)

ขนั้ ที่ 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)
12. ครูเปดโอกาสใหนักเรยี นซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง แรงระหวางประจุและกฎของคูลอมบ

และใหความรูเพิ่มเติมจากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง แรงระหวางประจุและกฎของ
คลู อมบ ในการอธบิ ายเพม่ิ เติม

13. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน
ศึกษาตวั อยางที่ 6.1 – 6.4 จากหนังสอื เรียน รายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรู
ท่ี 6 ไฟฟา สถิต

14. ครูสุมนักเรียน จำนวน 4 คน ออกมาหนาชั้นเรียน จากนั้นครูใหนักเรียนจับสลาก โดยครู
เตรียมสลากหมายเลข แลวใหนักเรยี นแสดงวิธกี ารคำนวณหาผลลพั ธจ ากตัวอยา งท่ีไดรวมกันศึกษาบนกระดาน
หนา ชั้นเรยี น ครูอาจเสนอแนะ หรอื อธบิ ายเพ่มิ เติมในตัวอยางนนั้ ๆ ดงั นี้

• หมายเลข 1 ตัวอยางท่ี 6.1
• หมายเลข 2 ตัวอยางที่ 6.2
• หมายเลข 3 ตัวอยา งท่ี 6.3
• หมายเลข 4 ตัวอยางที่ 6.4
15. นักเรยี นทำใบงานท่ี 6.3.1 เรื่อง แรงระหวา งประจแุ ละกฎของคลู อมบท ำเสรจ็ แลว นำสงครู
16. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง แรงระหวางประจุและกฎของคลู อมบ จากหนังสือเรียน
รายวชิ า เพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟาสถติ ลงในสมุดประจำตวั นกั เรยี น
17. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 6 เรื่อง แรงระหวางประจุและกฎของคูลอมบ จาก
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต ลงในสมุด
ประจำตัวนักเรียน
18. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง แรงระหวางประจุและกฎของคูลอมบ จากแบบฝกหัด
รายวิชา เพิ่มเติมวิทยาศาสตรฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เปนการบานสงในช่ัวโมง
ถัดไป
ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมหนา ช้นั เรียน
2. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานท่ี 6.3.1 เร่ือง แรงระหวางประจแุ ละกฎของคูลอมบ
3. ครูตรวจ Topic Question เรื่อง แรงระหวางประจุและกฎของคูลอมบ ในสมุดประจำตัว
นักเรียน
4. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 6 เรอื่ ง แรงระหวา งประจแุ ละกฎของคลู อมบในสมุด
ประจำตัวนกั เรียน
5. ครตู รวจสอบแบบฝกหัด เรอ่ื ง แรงระหวางประจแุ ละกฎของคูลอมบ จากแบบฝกหดั รายวิชา
เพิม่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2
6. นกั เรียนและครูรว มกันสรปุ เกี่ยวกับแรงระหวางประจุและกฎของคลู อมบ ซึ่งไดขอ สรุปรวมกัน
วา “คูลอมบไดทำการทดลองและศึกษาแรงระหวางประจุไฟฟา คูลอมบสรุปวา แรงระหวางประจุไฟฟาสอง
ประจุเปนปฏิภาคโดยตรงกับผลคูณระหวางประจุทั้งสอง และเปนปฏิภาคผกผันกับกำลังสองของระยะหาง
ระหวา งประจนุ ั้น”

7. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วิธีวัด เครอื่ งมอื เกณฑการประเมิน
7.1 การประเมนิ ระหวาง
การจัดกิจกรรม
1) แรงระหวา งประจุ - ตรวจใบงานที่ 6.3.1 - ใบงานท่ี 6.3.1 - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
และกฎของคลู อมบ - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝก หดั - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดบั คณุ ภาพ 2
ผลการปฏิบตั ิ ผลงาน/ผลการปฏบิ ัติ นำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
กิจกรรม กจิ กรรม
3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2
ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ

4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2
ทำงานกลุม การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
- สงั เกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ 2
5) คุณลักษณะ รับผิดชอบ ใฝเรียนรู คณุ ลกั ษณะ ผานเกณฑ
อันพงึ ประสงค ซอ่ื สัตย สุจรติ และ อันพึงประสงค
มงุ มน่ั ในการทำงาน

8. สอ่ื /แหลงการเรียนรู
8.1 สื่อการเรยี นรู
1) หนังสือเรยี น รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 6 ไฟฟา สถติ
2) แบบฝก หดั รายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟา สถิต
3) ใบงานท่ี 6.3.1 เร่ือง แรงระหวางประจแุ ละกฎของคูลอมบ
4) PowerPoint เรอื่ ง แรงระหวางประจุและกฎของคลู อมบ
5) สลากหมายเลข
6) วีดที ศั นเ กี่ยวกับแรงกระทำระหวางวตั ถุทัง้ สองที่มีประจชุ นิดเดยี วกัน
จาก https://www.youtube.com/watch?v=e0wcF5fT0zw
7) สมุดประจำตัวนักเรียน
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรียน
2) หองสมดุ
3) อินเทอรเ นต็

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 4

รายวชิ า ฟสิกส 4 รหัสวชิ า ว30204 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5
กลุม สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2564
หนว ยการเรียนรูที่ 2 เร่อื ง ไฟฟา สถติ เวลา 33 ชว่ั โมง
เร่ือง สนามไฟฟา เวลา 4 ชั่วโมง
ผสู อน นายธนพันธ เพง็ สวัสด์ิ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลยั สุราษฎรธานี

1. ผลการเรียนรู
อธิบาย และคำนวณสนามไฟฟาและแรงไฟฟาที่กระทำกับอนุภาคที่มีประจุไฟฟาที่อยูในสนามไฟฟา

รวมท้งั หาสนามไฟฟา ลัพธเนื่องจากระบบจดุ ประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอร

2. จุดประสงคก ารเรยี นรู
1. อธิบายสนามไฟฟา และแรงไฟฟา ที่กระทำกบั อนภุ าคท่ีมีประจไุ ฟฟาท่ีอยูในสนามไฟฟาได (K)
2. อธิบายสนามไฟฟา ลัพธเน่อื งจากระบบจุดประจุโดยรวมกนั แบบเวกเตอรได (K)
3. ตรวจสอบหาปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสนามไฟฟาและแรงไฟฟาที่กระทำกับอนุภาคที่มีประจุ

ไฟฟา ท่ีอยใู นสนามไฟฟา ได (P)
4. ตรวจสอบหาสนามไฟฟาลัพธเ นอื่ งจากระบบประจุโดยรวมกันแบบเวกเตอรได (P)
5. มคี วามใฝเ รียนรแู ละมคี วามมงุ มัน่ ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรยี นรู
รอบอนภุ าคทีม่ ีประจไุ ฟฟา q1 มีสนามไฟฟาขนาด E = k qr21 ทำใหเ กดิ แรงไฟฟา กระทำตออนุภาคที่

มEปี =ระจqFุไ1ฟ22ฟาสนสานมาไมฟไฟฟฟาลา ทัพี่ตธำเแนหื่อนงงจใาดกจๆุดมปีครวะาจมุหสลัมาพยนั จธุดก ปบั รแะรงจไุเฟทฟาากทับ่ีกผรละรทวำมตแอบปบระเวจกุไฟเตฟอารขqอ2งสตนาามมสไมฟกฟารา
เนื่องจากจุดประจุแตละจุดประจุ และตัวนำทรงกลมที่มีประจุไฟฟามีสนามไฟฟาภายในตัวนำเปนศูนย และ
สนามไฟฟาบนตัวนำมีทิศทางตั้งฉากกับผิวตัวนำนั้น โดยสนามไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลมที่
ตำแหนงหางจากผิวออกไปหาไดเชนเดียวกับสนามไฟฟา เนื่องจากจุดประจุที่มีจำนวนประจุเทากันแตอยูที่
ศูนยกลางของทรงกลม

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
สนามไฟฟา หมายถึง บริเวณที่มีประจไุ ฟฟาสามารถสง อำนาจไฟฟาไปถึง โดยสนามไฟฟาจะใชเ สนแรง

ไฟฟาเขยี นแทนสนามไฟฟา บรเิ วณนนั้

5. สมรรถนะสำคัญของผูเรยี นและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยูอ ยา งพอเพียง
 2. ซอ่ื สัตยสุจริต  6. มงุ มั่นในการทำงาน
 3. มวี นิ ยั  7. รกั ความเปน ไทย
 4. ใฝเรียนรู  8. มีจิตสาธารณะ

เบญจวิถีกาญจนา
 1. เทิดทูนสถาบัน
 2. กตญั ู
 3. บุคลกิ ดี
 4. มวี ินยั
 5. ใหเกียรติ

สมรรถนะทีส่ ำคญั ของผูเรยี น
 1. ความสามารถในการสือ่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญหา
 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จุดเนนสูก ารพฒั นาผูเรียน
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปนในการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแกป ญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรางสรรคแ ละนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูน ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดานการสือ่ สารสารสนเทศ
และรเู ทาทันสอื่ )

 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร)

 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนร)ู
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรุณา วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นร)ู
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปนผูนำ)

6. กจิ กรรมการเรียนรู
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ช่ัวโมงท่ี 1

ข้ันท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง แรงระหวางประจุและกฎของคูลอมบ

จากน้ันครแู จง จุดประสงคการเรยี นรูใ หนักเรยี นทราบ
2. ครเู ปดวีดทิ ัศนเ กีย่ วกับสนามไฟฟา (Electric Field Lines)
จาก https://www.youtube.com/watch?v=F1z5UaX96j8 ใหนักเรียนดู จากน้ัน

ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “สนามไฟฟาของประจุบวกและสนามไฟฟาของประจุลบ
เหมือนกันหรือไม อยางไร” โดยใหนักเรียนแตคนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอยางอิสระโดยไมมีการ
เฉลยวา ถูกหรือผิด

(แนวตอบ : ไมเ หมือนกัน เพราะสนามไฟฟาของประจุบวกมที ิศพุงออกจากประจบุ วก สว น
สนามไฟฟา ของประจุลบจะมีทิศเขาหาประจุลบ)
3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนวา “การตรวจสอบสนามไฟฟา
สามารถทำไดโ ดยวิธใี ด” จากนน้ั ครกู ลา วเช่ือมโยงเขา สูก ิจกรรมการเรยี นการสอน
(แนวตอบ : สามารถตรวจสอบไดโดยทำการทดลอง เชน โรยผงดางทบั ทิบลงบนกระดาษกรอง
ทเี่ ปยกน้ำหมาดๆ บริเวณรอบๆ ขวั้ ไฟฟาทวี่ างอยบู นกระดาษกรอง เสน แนวการเคลื่อนของผง
ดางทับทิมจะเปนเสนสนามไฟฟา )

ข้นั ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
1. นักเรียนคูกับเพื่อนชั้นในเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละคูรวมกันศึกษา

คนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง สนามไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2
หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด QR Code เรื่อง
สนามไฟฟา

2. นกั เรียนแตละคูรวมกนั อภปิ รายเร่ืองท่ีไดศ ึกษา จากนนั้ ใหน กั เรยี นแตละคนเขยี นสรุปความรูท่ี
ไดจากการศึกษาคนควาลงในสมดุ ประจำตัวนักเรียน

(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)

3. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คู ออกมานำเสนอผลการศึกษาคนควาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่
นกั เรียนนำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกขอมลู เพ่ิมเตมิ ในเร่ืองนน้ั ๆ เพอื่ ใหน ักเรียนมีความเขาใจท่ีถูกตอง
มากยง่ิ ขึ้น

(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
4. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนโดยใหนักเรียนแตละคูรวมกันอภิปรายแสดง
ความคดิ เห็นเพ่อื หาคำตอบ ดงั นี้
• สนามไฟฟา เปนปรมิ าณใด

(แนวตอบ : ปริมาณเวกเตอร)
• จะทราบไดอ ยา งไรวาบริเวณนั้นมีสนามไฟฟา

(แนวตอบ : นำประจทุ ดสอบ +q ไปวางทีต่ ำแหนง น้ัน ถามีแรงไฟฟา กระทำตอประจทุ ดสอบ
แสดงวา บริเวณน้ันมสี นามไฟฟา )
• สนามไฟฟา หมายความวาอยางไร
(แนวตอบ : สนามไฟฟา หมายถึง บรเิ วณทมี่ ีประจไุ ฟฟา สามารถสง อำนาจไฟฟาไปถึง
โดยสนามไฟฟาจะใชเ สน แรงไฟฟา เขยี นแทนสนามไฟฟาบริเวณนัน้ )
5. ครวู าดภาพทศิ ของสนามไฟฟา และทิศของแรงไฟฟาทก่ี ระทำตอประจุบวกและประจุลบ บน
กระดานใหน กั เรยี นดู จากนนั้ ครอู ธบิ ายใหน กั เรียนเขา ใจเก่ียวกับทศิ ของสนามไฟฟา ดังนี้
• สนามไฟฟามีทศิ พงุ ออกจากประจุบวก และมีทิศเขาหาประจุลบ
• แรงไฟฟา ท่ีกระทำตอประจุ +q มีทิศเดยี วกับทิศสนามไฟฟา
• แรงไฟฟา ท่ีกระทำตอประจุ –q มที ิศตรงขา มกับทิศสนามไฟฟา

ชั่วโมงที่ 2

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
6. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับสนามไฟฟา โดยครูตั้งประเด็นคำถามกระตุน

ความคิดนักเรยี นวา “สนามไฟฟา สัมพนั ธแ รงไฟฟาทกี่ ระทำตอประจุไฟฟา อยา งไร”
(แนวตอบ : สนามไฟฟา จะแปรผนั ตรงกบั แรงไฟฟาที่กระทำตอประจุไฟฟา โดยทศิ ทางจะ
ขนึ้ อยกู ับชนิดของประจไุ ฟฟา กลาวคือ แรงไฟฟาทก่ี ระทำตอประจุบวกจะมที ิศเดียวกบั ทิศ
สนามไฟฟา สวนแรงไฟฟา ที่กระทำตอ ประจลุ บจะมีทศิ ตรงขา มกบั ทิศสนามไฟฟา)
7. นักเรยี นแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน ตามความสมคั รใจ จากนน้ั ใหน ักเรยี นแตละกลุมสงตัวแทน

ออกมาจับสลากเรื่องที่ศึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลข ไวหนาชั้นเรียน ซึ่งหมายเลขจะระบุเรื่องที่ให
นักเรียนศกึ ษา ดงั น้ี

• หมายเลข 1 ศึกษา เรอื่ ง ความเขมสนามไฟฟาจากจดุ ประจุเด่ียว
• หมายเลข 2 ศกึ ษา เร่อื ง ความเขมสนามไฟฟาจากกลมุ จุดประจุ
• หมายเลข 3 ศกึ ษา เรอ่ื ง ความเขมสนามไฟฟา ของตัวนำที่มีประจุ
8. นักเรียนแตล ะกลุมรวมกันศึกษาคนควาขอ มูลเรื่องที่กลุมตนเองจบั สลากได จากหนังสือเรียน
รายวิชา เพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ
เชน อนิ เทอรเ นต็ หองสมดุ จากนั้นรวมกันสรุปความรูทไ่ี ดจ ากการศึกษาคนควา ลงในสมุดประจำตัวนักเรียน
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ช่วั โมงท่ี 3 – 4

ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู (Explain)
9. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนำเสนอ

ครูคอยใหขอ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ เพื่อใหนักเรยี นมคี วามเขา ใจที่ถกู ตองมากย่งิ ขนึ้
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
10. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “ความเขมสนามไฟฟาของตัวนำทรงกลมที่

ตำแหนง ใดมคี าเปน ศูนย” โดยใหนักเรียนแตล ะกลมุ รวมกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นเพือ่ หาคำตอบ
(แนวตอบ : เนื่องจากตวั นำทรงกลมจะมปี ระจุกระจายอยูบนผิว จงึ ทำใหที่ตำแหนง บริเวณ
ภายในตวั นำทรงกลมความเขมสนามไฟฟา จะมีคา เปนศนู ย)

ขั้นท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)
11. ครเู ปดโอกาสใหน กั เรยี นซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรอื่ ง สนามไฟฟา และใหค วามรูเ พิ่มเติมจาก

คำถามของนกั เรยี น โดยครใู ช PowerPoint เร่อื ง สนามไฟฟา ในการอธบิ ายเพ่ิมเติม
12. นกั เรียนศกึ ษาตวั อยางท่ี 6.5-6.8 จากหนงั สอื เรียน รายวิชาเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5

เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต จากนั้นครูสุมนักเรียน จำนวน 4 – 5 คน ออกมาแสดงวิธีการ
คำนวณหาผลลัพธจากตัวอยางท่ีไดศึกษา ครูอาจเสนอแนะ หรืออธิบายเพมิ่ เติมในตัวอยางน้นั ๆ

13. นักเรียนจับคูตามเลขที่ของตนเอง เชน เลขที่ 1 จับคูกับเลขที่ 2 จากนั้นใหนักเรียนแตละคู
รวมกันทำใบงานที่ 6.4.1 เรอ่ื ง สนามไฟฟา

14. ครสู ุม นักเรยี น จำนวน 2 คู ออกมาแสดงวธิ ีการคำนวณหาผลลัพธ จากใบงานท่ี 6.4.1 เรื่อง
สนามไฟฟา หนาชั้นเรียน โดยครูสอบถามนักเรียนคูอื่น ๆ วามีคำตอบแตกตางจากสิ่งที่เพื่อนออกมาแสดง
วิธีการคำนวณหรอื ไม ถาแตกตางครใู หนักเรียนออกมาแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ จากนั้นครเู ฉลยคำตอบ
ท่ีถูกตอ งใหนกั เรียน

15. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง สนามไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟา สถิต ลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น

16. นกั เรยี นแตละคนทำ Unit Question 6 เรื่อง สนามไฟฟา จากหนงั สอื เรยี น รายวิชาเพ่มิ เติม
วทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 6 ไฟฟา สถิต ลงในสมดุ ประจำตวั นักเรียน

17. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง สนามไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตรฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟา สถิต เปนการบานสงในชวั่ โมงถดั ไป

ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏิบตั กิ ิจกรรมหนาช้ันเรยี น
2. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานท่ี 6.4.1 เรื่อง สนามไฟฟา
3. ครูตรวจ Topic Question เรื่อง สนามไฟฟา ในสมดุ ประจำตวั นกั เรียน
4. ครตู รวจแบบฝกหดั จาก Unit Question 6 เรอื่ ง สนามไฟฟา ในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น

5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง สนามไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟาสถติ

6. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับสนามไฟฟา ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา “สนามไฟฟา คือ
บริเวณโดยรอบของวัตถุที่มีประจุ แรงไฟฟาจากประจุไฟฟาบนวัตถุดังกลาวสามารถสงอำนาจไฟฟาไปถึงโดย
สนามไฟฟาจะใชแรงไฟฟาเขียนแทนสนามไฟฟาบริเวณนั้น สนามไฟฟาทดสอบไดโ ดยการนำประจุไปวางท่ีจุด
ตาง ๆ โดยรอบวัตถทุ ีม่ ีประจุ”

7. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วธิ ีวัด เคร่ืองมือ เกณฑก ารประเมนิ
7.1 การประเมนิ ระหวาง
การจดั กิจกรรม
1) สนามไฟฟา - ตรวจใบงานที่ 6.4.1 - ใบงานท่ี 6.4.1 - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
- ตรวจแบบฝกหดั - แบบฝก หดั - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
2) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2
ผลการปฏิบตั ิ ผลงาน/ผลการปฏิบตั ิ นำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
กจิ กรรม กิจกรรม
3) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2
ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ

4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทำงานกลุม การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
- สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
5) คณุ ลักษณะ รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รียนรู คุณลักษณะ ผา นเกณฑ
อนั พึงประสงค ซ่อื สัตย สุจรติ และ อนั พงึ ประสงค
มงุ ม่ันในการทำงาน

8. สื่อ/แหลงการเรยี นรู
8.1 สอ่ื การเรียนรู
1) หนงั สอื เรียน รายวชิ าเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 6 ไฟฟา สถิต
2) แบบฝก หดั รายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 6 ไฟฟา สถติ
3) ใบงานท่ี 6.4.1 เรื่อง สนามไฟฟา
4) PowerPoint เรื่อง สนามไฟฟา
5) สลากหมายเลข
6) QR Code เร่อื ง สนามไฟฟา
7) วดี ิทัศนเก่ยี วกับสนามไฟฟา (Electric Field Lines)
จาก https://www.youtube.com/watch?v=F1z5UaX96j8
8) สมุดประจำตวั นักเรียน

8.2 แหลงการเรียนรู
1) หองเรียน
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเน็ต

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 5

รายวิชา ฟส ิกส 4 รหัสวชิ า ว30204 ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5
กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 2564
หนวยการเรยี นรูที่ 2 เร่อื ง ไฟฟา สถติ เวลา 33 ชวั่ โมง
เรือ่ ง เสนสนามไฟฟา เวลา 4 ช่ัวโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพ็งสวัสด์ิ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สุราษฎรธ านี

1. ผลการเรียนรู
อธบิ าย และคำนวณสนามไฟฟาและแรงไฟฟา ทก่ี ระทำกับอนภุ าคทม่ี ีประจุไฟฟาที่อยูในสนามไฟฟา

รวมทัง้ หาสนามไฟฟา ลัพธเ น่ืองจากระบบจุดประจุโดยรวมกนั แบบเวกเตอร
2. จุดประสงคก ารเรียนรู

1. อธบิ ายเสนสนามไฟฟาและจดุ สะเทนิ ได (K)
2. ปฏิบตั กิ ิจกรรมเสนสนามไฟฟาไดอยา งถูกตองและเปน ลำดับข้ันตอน (P)
3. มีความมุงมั่นในการเรียนรูและการทำงานที่ไดร ับมอบหมายตลอดเวลา (A)
3. สาระการเรียนรู
สนามไฟฟาของแผน โลหะคขู นานเปนสนามไฟฟาสม่ำเสมอ

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
เสนสนามไฟฟาหรือเสนแรงไฟฟา คือ เสนที่ใชเขียนเพื่อแสดงทิศของสนามไฟฟาในบริเวณรอบ ๆ จุด

ประจุ โดยหัวลูกศรแสดงทิศทางของสนามไฟฟา ซึ่งมที ศิ พงุ ออกจากประจุบวกและพุงเขาสูป ระจุลบ สวนจุดท่ี
ไมมีเสน สนามไฟฟา ผานหรือจดุ ทีส่ นามไฟฟา ลัพธเ ปนศนู ย เรยี กจุดนน้ั วา จดุ สะเทนิ
5. สมรรถนะสำคัญของผเู รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

6. กจิ กรรมการเรียนรู
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชวั่ โมงที่ 1

ขนั้ ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)

1. ครูใหนักเรียนสแกน QR Code เรื่อง สนามไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูท่ี 6 ไฟฟา สถติ เพื่อเปด Interactive 3D เร่ือง สนามไฟฟา

2. จากนั้นครูตั้งประเด็นคำถามและทบทวนความรูเดิมของนักเรียน โดยใหนักเรียนแตละคน
รวมกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นเพอ่ื หาคำตอบ ดงั นี้

• สนามไฟฟา มีทิศทางอยา งไร
(แนวตอบ : สนามไฟฟา มีทศิ พุงออกจากประจบุ วก และมที ิศเขา หาประจลุ บ)

• ถา นำประจุทดสอบไปไวในสนามไฟฟา แรงไฟฟา จะมที ิศทางอยางไร
(แนวตอบ : ถานำประจุทดสอบที่มปี ระจุเปนบวกไปไวในสนามไฟฟา แรงไฟฟาทกี่ ระทำตอ
ประจุจะมีทิศทางเดียวกบั สนามไฟฟา แตถ าถา นำประจุทดสอบท่ีมปี ระจุเปน ลบไปไวใ น
สนามไฟฟา แรงไฟฟาท่กี ระทำตอ ประจุจะมีทิศทางตรงขามกับสนามไฟฟา)

3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสอื เรยี น รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5
เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 6 ไฟฟาสถิต เพอื่ เปน การนำเขาสูบทเรยี นวา “เสนแรงไฟฟาใชอ ธบิ ายสนามไฟฟาได
อยางไร และมีขอจำกดั อะไรบา ง” จากน้นั ครกู ลา วเช่ือมโยงเขา สกู ิจกรรมการเรียนการสอน

(แนวตอบ : เสน แรงไฟฟา ใชอธิบายสนามไฟฟาไดโ ดยการนำความรเู รอื่ งแรงระหวา งประจุหา
ทิศทางของสนามไฟฟาเนอ่ื งจากจดุ ประจุ และเขยี นภาพแสดงทศิ ทางของสนามไฟฟารอบจดุ
ประจไุ ด แตเสนแรงไฟฟามขี อจำกัด คือ ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา ตอ งทำการทดลอง
เพ่อื แสดงใหเหน็ )

ข้ันที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นกั เรยี นแบงกลุม กลุมละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนนั้ ครแู จงจุดประสงคของกิจกรรม

เสนสนามไฟฟา ใหนักเรียนทราบเพอื่ เปน แนวทางการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมท่ีถูกตอง
2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษากิจกรรม เสนสนามไฟฟา จากใบกิจกรรม เรื่อง เสน

สนามไฟฟา โดยครูใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือมาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกำหนดใหส มาชกิ แตละคน
ภายในกลมุ มบี ทบาทหนา ท่ขี องตนเอง ดังน้ี

• สมาชกิ คนท่ี 1 – 2 ทำหนา ที่ เตรียมวสั ดุอุปกรณท ใ่ี ชในการปฏบิ ัติกิจกรรมเสน
สนามไฟฟา

• สมาชิกคนที่ 3 – 4 ทำหนา ที่อา นวิธีปฏิบตั กิ ิจกรรมและนำมาอธิบายใหส มาชิกในกลมุ ฟง
• สมาชิกคนท่ี 5 – 6 ทำหนา ท่ี บนั ทึกผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมลงในใบกิจกรรม
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม)
3. นกั เรยี นแตละกลุมรวมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขนั้ ตอน จากใบกจิ กรรม เร่ือง เสนสนามไฟฟา
4. นักเรียนแตละกลุมรว มกันแลกเปลยี่ นความรูและวิเคราะหผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม แลว
อภิปรายผลรวมกัน

ชวั่ โมงที่ 2

ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู (Explain)
5. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียน

นำเสนอครูคอยใหขอเสนอแนะเพ่ิมเตมิ เพอื่ ใหนกั เรียนมีความเขาใจทีถ่ ูกตอ งมากยง่ิ ขน้ึ
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรียน โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)

6. นกั เรียนแตละกลุมรว มกนั ตอบคำถามทายกจิ กรรม เสนสนามไฟฟา โดยใหน กั เรยี นแตละกลุม
รวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อหาคำตอบ จากนั้นครูสุมนักเรียนจำนวน 4 – 5 กลุม ออกมานำเสนอ
คำตอบของกลุมตนเองหนาชนั้ เรยี น

7. เมื่อนักเรียนแตละกลุมนำเสนอคำตอบของกลุมตนเองเรียบรอยแลว นักเรียนและครูรวมกัน
อภปิ รายผลทา ยกจิ กรรม เสน สนามไฟฟา และเฉลยคำถามทายกิจกรรม

ชว่ั โมงท่ี 3 – 4

ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain)
8. นกั เรียนแบงกลุม กลมุ ละ 3 – 4 คน ตามความสมัครใจ จากนัน้ ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน

ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง เสนสนามไฟฟา และจุดสะเทิน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต หรือแหลงการเรยี นรูต าง ๆ เชน อินเทอรเน็ต
หองสมุด

9. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละคนเขียนสรุป
ความรทู ไ่ี ดจ ากการศกึ ษาคนควา ลงในสมุดประจำตัวนักเรยี น เพอ่ื นำสงครูทา ยช่ัวโมง

(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
10. ครูสุมนักเรียนออกมานำเสนอผลจากการศึกษาคนควาหนาชั้นเรียน โดยสุมออกมาเพียง 4
กลุม ซึ่งครเู ปน คนเลือกวาจะใหน ักเรียนกลมุ ไหนนำเสนอเรื่องอะไร ตามหวั ขอเรื่อง ดังตอ ไปน้ี
• กลมุ ที่ 1 – 2 เรอื่ ง เสน สนามไฟฟา
• กลมุ ที่ 3 – 4 เร่ือง จุดสะเทิน
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยใชแบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
11. ขณะที่นักเรียนนำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิ่มเติมในเรื่องนั้น ๆ เพื่อให
นักเรยี นมีความเขา ใจทถี่ ูกตองมากยิ่งข้นึ
12. ครตู ้งั ประเด็นคำถามกระตนุ ความคดิ นักเรียนวา “จุดสะเทิน คอื อะไร” โดยใหนกั เรียนแตละ
คน รวมกนั อภิปรายแสดงความคดิ เห็นเพื่อหาคำตอบ
(แนวตอบ : จดุ สะเทนิ เปน จุดท่ีความเขมสนามไฟฟา ลัพธมคี าเปน ศูนย)

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)
13. ครูเปด โอกาสใหนักเรียนซักถามเน้ือหาเกย่ี วกับ เร่อื ง เสน สนามไฟฟา และใหค วามรูเพ่ิมเติม

จากคำถามของนักเรยี น โดยครูใช PowerPoint เรือ่ ง เสนสนามไฟฟา ในการอธิบายเพิ่มเตมิ
14. นักเรยี นแตล ะคนศกึ ษาตวั อยางท่ี 6.9 จากหนังสือเรียน รายวิชาเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร ฟสิกส

ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต จากนั้นใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ
รว มกันทำ Topic Question เรอ่ื ง เสน สนามไฟฟา จากหนังสือเรยี น รายวชิ า เพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.
5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟา สถิต ลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น

15. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 6 เรื่อง เสนสนามไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชา
เพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟา สถติ ลงในสมุดประจำตัวนักเรยี น

16. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง เสนสนามไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตรฟ สกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟา สถิต เปน การบานสงในชว่ั โมงถดั ไป

ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหนา ช้ันเรียน
2. ครูวดั และประเมนิ ผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม เสนสนามไฟฟา
3. ครูตรวจ Topic Question เรอื่ ง เสน สนามไฟฟา ในสมดุ ประจำตัวนักเรยี น
4. ครตู รวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 6 เรื่อง เสนสนามไฟฟา ในสมุดประจำตวั นกั เรยี น
5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง เสนสนามไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร

ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟา สถติ
6. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับเสนสนามไฟฟา และจุดสะเทิน ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา

“เสน แรงไฟฟา พงุ ออกจากประจุบวกและพุงเขา หาประจุลบเสมอ เสน แรงไฟฟาจะมีระเบียบโดยเสน แรงไฟฟา
แตละเสน จะไมตัดกัน และสนามไฟฟา ณ ตำแหนงใด ๆ จะมีทศิ อยูใ นแนวสัมผสั กับเสนแรงไฟฟา ณ ตำแหนง
นั้น และจดุ สะเทิน เปน จดุ ท่ีความเขม สนามไฟฟาลพั ธม ีคา เปน ศนู ย”

7. การวดั และประเมินผล

รายการวัด วธิ วี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก ารประเมิน
7.1 การประเมนิ ระหวา ง
การจัดกิจกรรม - ใบกิจกรรม - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
1) เสนสนามไฟฟา - ตรวจใบกิจกรรม - แบบฝก หัด - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
- ตรวจแบบฝก หัด - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2
2) ผลบันทกึ การปฏิบตั ิ - ประเมนิ การปฏบิ ัติ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม ผา นเกณฑ
กจิ กรรม กิจกรรม - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2
เสน สนามไฟฟา นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
3) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบสังเกต - ระดับคุณภาพ 2
ผลการปฏิบัติ ผลงาน/ผลการปฏบิ ตั ิ พฤติกรรม ผานเกณฑ
กิจกรรม กิจกรรม การทำงาน
4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม รายบุคคล - ระดับคุณภาพ 2
ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล - แบบสังเกต ผา นเกณฑ
พฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2
5) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลุม ผานเกณฑ
ทำงานกลมุ การทำงานกลุม - แบบประเมนิ
- สังเกตความมีวนิ ัย คุณลักษณะ
6) คุณลกั ษณะ รบั ผดิ ชอบ ใฝเรียนรู อันพงึ ประสงค
อันพึงประสงค ซอื่ สตั ย สจุ รติ และ
มงุ ม่ันในการทำงาน

8. สอื่ /แหลงการเรยี นรู
8.1 สือ่ การเรยี นรู
1) หนงั สอื เรียน รายวิชาเพ่ิมเติมวทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟาสถติ
2) แบบฝก หดั รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟา สถิต
3) วสั ดุอุปกรณท ี่ใชในการปฏิบัติกิจกรรมเสนสนามไฟฟา
4) PowerPoint เร่อื ง เสนสนามไฟฟา
5) QR Code เร่ือง สนามไฟฟา
6) สมดุ ประจำตวั นักเรยี น
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรียน
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเ น็ต

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 6

รายวิชา ฟสิกส 4 รหัสวชิ า ว30204 ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 5
กลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564
หนวยการเรียนรทู ่ี 2 เร่ือง ไฟฟา สถิต เวลา 33 ชั่วโมง
เรือ่ ง ศักยไฟฟา เวลา 3 ชั่วโมง
ผูสอน นายธนพนั ธ เพ็งสวัสดิ์ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สรุ าษฎรธานี

1. ผลการเรียนรู
อธบิ าย และคำนวณพลงั งานศักยไฟฟา ศกั ยไ ฟฟา และความตางศักยร ะหวางสองตำแหนงใด ๆ

2. จดุ ประสงคก ารเรียนรู
1. อธบิ ายพลังงานศกั ยไฟฟา ศกั ยไ ฟฟา และความตา งศักยระหวา งสองตำแหนง ใด ๆ ได (K)
2. ตรวจสอบหาปรมิ าณตาง ๆ ที่เกี่ยวขอ งกับพลังงานศักยไฟฟา ศักยไฟฟา และความตางศักยระหวาง

สองตำแหนง ใด ๆ ได (P)
3. มีความใฝเรียนรแู ละมีความมงุ มน่ั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรยี นรู q1q2
r
ประจุที่อยูในสนามไฟฟามีพลงั งานศักยไฟฟาคำนวณไดจากสมการ U = k พลังงานศักยไฟฟา

ที่ตำแหนงใด ๆ ตอหนึ่งหนวยประจุ เรียกวา ศักยไฟฟาที่ตำแหนงนั้น โดยศักยไฟฟาที่ตำแหนงซึ่งอยูหางจาก

จุดประจุแปรผันตรงกับขนาดของประจุ และแปรผกผันกับระยะทางจากจุดประจุถึงตำแหนงนั้นเขียนแทนได
Q
ดวยสมการ V = k r ศกั ยไฟฟารวมเนอื่ งจากจุดประจหุ ลายจุดประจุ คอื ผลรวมของศักยไฟฟาเนื่องจากจุด

ประจุแตละจุดประจุ เขียนแทนไดดว ยสมการ V = ki∑=n1qrii และความตางศักยระหวางสองตำแหนงใด ๆ ใน

บริเวณที่มีสนามไฟฟาคือ งานในการเคลื่อนประจุบวกหนึ่งหนวยจากตำแหนงหนึ่งไปอีกตำแหนงหนึ่ง เขียน
WA→B
แทนไดดวยสมการ VB − VA = q

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
เมื่อพิจารณาประจุในบริเวณที่มีสนามไฟฟา พบวา ประจุไดรับแรงกระทำจากสนามไฟฟาซึ่งอาจทำให

ประจุเคล่ือนที่และเกดิ งานได จึงกลาวไดว า เมือ่ ประจุอยูในตำแหนงตา ง ๆ ทีม่ ีสนามไฟฟาจะมีพลังงานศักยที่

เรียกวา พลังงานศักยไ ฟฟา โดยศักยไ ฟฟา คอื พลงั งานศกั ยไ ฟฟา ตอหน่ึงหนว ยประจุ ศักยไ ฟฟา รวมเนื่องจาก
จุดประจหุ ลายจุดประจุ คอื ผลรวมของศกั ยไฟฟา เน่ืองจากจุดประจแุ ตล ะจดุ ประจุ

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู รียนและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค
 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยอู ยางพอเพียง
 2. ซ่อื สัตยส จุ รติ  6. มงุ ม่นั ในการทำงาน
 3. มวี ินัย  7. รกั ความเปนไทย
 4. ใฝเ รยี นรู  8. มจี ติ สาธารณะ

เบญจวิถีกาญจนา
 1. เทิดทูนสถาบัน
 2. กตัญู
 3. บคุ ลกิ ดี
 4. มวี นิ ยั
 5. ใหเกียรติ

สมรรถนะที่สำคญั ของผูเ รียน
 1. ความสามารถในการสอื่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญหา
 4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จดุ เนน สกู ารพฒั นาผเู รียน
ความสามารถและทักษะท่จี ำเปนในการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแกป ญ หา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดานการสรางสรรคและนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูนำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา นการสอ่ื สารสารสนเทศ
และรเู ทา ทนั สอื่ )

 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สาร)

 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรยี นร)ู
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรุณา วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นร)ู
 L2 – Leadership (ทักษะความเปน ผนู ำ)

6. กจิ กรรมการเรยี นรู
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงที่ 1

ขัน้ ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับพลังงานศักยโนมถวง (Kinetic and Potential Energy) จาก

https://www.youtube.com/watch?v=vl4g7T5gw1M ใหนักเรียนดู จากนั้นครูตั้งประเด็นคำถาม
กระตุนความคิดนกั เรียนวา “พลังงานศักยโ นมถวง คืออะไร และปจจัยใดบางที่มผี ลตอ พลังงานศักยโนม ถวง”
โดยใหน ักเรยี นแตคนรว มกนั อภิปรายแสดงความคดิ เห็นอยา งอสิ ระโดยไมมีการเฉลยวาถูกหรอื ผดิ

(แนวตอบ : พลังงานศักยของวตั ถุเน่ืองจากแรงโนม ถวงของโลก และปจจัยทม่ี ีผลตอ พลังงาน
ศักยโนมถวง คอื มวลของวตั ถุ และความสูง)
2. ครูทบทวนความรเู ดิมของนกั เรียนเก่ียวกับพลังงานศักยโ นมถวง ดงั น้ี
• เม่อื วตั ถุอยูทส่ี งู จากระดับอา งองิ วัตถุจะมพี ลังงานศกั ยโ นมถว ง โดยถอื วาทรี่ ะดบั อา งอิง

วตั ถมุ พี ลงั งานศกั ยโนม ถว งเทา กับศนู ย
• การเลือกตำแหนงอา งอิงเพ่ือบอกคาพลงั งานศักยโนม ถวง ผสู งั เกตเลอื กตำแหนงใดกไ็ ด
• เม่อื ปลอยวัตถใุ หเ คลอื่ นทีอ่ ยางอสิ ระ วัตถุจะเคล่ือนทจ่ี ากตำแหนง ทมี่ พี ลงั งานศักยโ นม ถวง

มากกวาไปตำแหนง ที่มพี ลงั งานศกั ยโนมถว งนอยกวา
3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนวา “พลังงานศักยโนมถวงสัมพันธ
กบั พลังงานศกั ยไฟฟา อยา งไร” จากนนั้ ครูกลาวเช่อื มโยงเขา สกู จิ กรรมการเรียนการสอน
(แนวตอบ : พลงั งานศกั ยโ นมถวงสัมพันธก บั พลงั งานศักยไฟฟาลวนแตเปนพลังงานทท่ี ำเกิด
จากแรงภายนอกมากระทำ)

ขัน้ ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
1. นักเรียนคูกับเพื่อนชั้นในเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละคูรวมกันศึกษา

คนควา ขอมลู เก่ียวกับ เร่ือง พลังงานศกั ยไฟฟา และศักยไ ฟฟา จากหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร
ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 6 ไฟฟา สถิต หรือแหลง การเรยี นรตู าง ๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด

2. นักเรียนแตล ะคูรวมกันอภิปรายเร่ืองที่ไดศ ึกษา จากน้ันใหนกั เรยี นแตล ะคนเขียนสรปุ ความรทู ี่
ไดจ ากการศึกษาคน ควา ลงในสมุดประจำตัวนักเรียน

(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมินนักเรียน โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)

3. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คู ออกมานำเสนอผลการศึกษาคนควาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่
นกั เรยี นนำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกขอมลู เพ่ิมเตมิ ในเร่ืองนนั้ ๆ เพื่อใหน ักเรยี นมคี วามเขาใจที่ถูกตอง
มากยิ่งขน้ึ

(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
4. ครตู ้งั ประเดน็ คำถามกระตุนความคดิ นักเรยี นโดยใหนักเรียนแตล ะครู วมกนั อภปิ รายแสดง
ความคดิ เห็นเพอ่ื หาคำตอบ ดังน้ี
• พลงั งานศักยไฟฟา กับความตางศกั ยไฟฟาแตกตางกนั อยา งไร

(แนวตอบ : ประจอุ ยูในตำแหนง ตาง ๆ ที่มีสนามไฟฟา จะมีพลังงานศักยไ ฟฟาเกดิ ข้นึ และ
ความตา งศักยไ ฟฟา คือ งานท่ีเกิดขน้ึ ในการเคล่อื นท่ีของประจุ +1 หนว ย จากตำแหนง หนึ่ง
ไปยงั อีกตำแหนงหนงึ่ ภายในบรเิ วณที่มีสนามไฟฟา )
• ศักยไฟฟา คืออะไร
(แนวตอบ : ศกั ยไฟฟา คือ พลงั งานศักยไฟฟา ตอหน่ึงหนวยประจุ )

ชั่วโมงที่ 2 – 3

ขน้ั ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore)
5. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน

ศึกษาคนควาขอมลู เกีย่ วกบั เรอ่ื ง ศกั ยไ ฟฟา เนื่องจากจุดประจุ จากหนงั สือเรยี น รายวิชาเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร
ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 6 ไฟฟา สถิต หรอื แหลง การเรยี นรตู า ง ๆ เชน อินเทอรเ น็ต หองสมุด

6. ครูแจกกระดาษฟลิปชารทใหนักเรียนกลุมละ 1 แผน จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน
อภิปรายระดมความคิดเห็นกันภายในกลุม แลวนำขอมูลที่ไดจากการอภิปราย มาจัดทำในรูปแบบตาง ๆ เชน
แผนผงั มโนทัศน ลงในกระดาษฟลิปชารท

(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ขัน้ ที่ 3 อธิบายความรู (Explain)
7. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนำเสนอ

ครคู อยใหขอ เสนอแนะเพิม่ เตมิ เพ่อื ใหน ักเรียนมีความเขาใจทถ่ี กู ตองมากยิง่ ขนึ้
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนกั เรียน โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
8. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “ศักยไฟฟารวมเนื่องจากจุดประจุหลายจุด

ประจุหมายความวา อยา งไร” โดยใหน ักเรยี นแตล ะกลมุ รว มกันอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เพอื่ หาคำตอบ
(แนวตอบ : ผลรวมของศักยไ ฟฟาเน่ืองจากจดุ ประจุแตล ะจดุ ประจ)ุ
9. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับเงื่อนไขการใชสมการศักยไฟฟาวา “ศักยไฟฟาเปน

ปริมาณสเกลาร ตองแทนเครื่องหมายของประจุไฟฟาลงในสมการทุกครั้ง ถาประจุไฟฟาเปนลบจะได
ศกั ยไฟฟาลบ ถา ประจไุ ฟฟา เปน บวกจะไดศ ักยไ ฟฟาบวก”

ขนั้ ที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
10. ครูเปดโอกาสใหน ักเรยี นซักถามเน้ือหาเกยี่ วกับ เรือ่ ง ศักยไฟฟา และศักยไฟฟาเน่ืองจากจุด

ประจุและใหความรูเพิ่มเติมจากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง ศักยไฟฟาในการอธิบาย
เพ่ิมเตมิ

11. นักเรยี นแตล ะคนศึกษาตวั อยางที่ 6.10-6.11 จากหนังสอื เรียน รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร
ฟส ิกส ม.5 เลม 2 จากนน้ั ใหน กั เรียนแตละคนทำใบงานที่ 6.6.1 เรอ่ื ง ศักยไ ฟฟา เนือ่ งจากจุดประจุ

12. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คน ออกมาแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ จากใบงานที่ 6.6.1
เรอื่ ง ศักยไฟฟาเนือ่ งจากจุดประจุ หนาช้ันเรียน โดยครูสอบถามนักเรยี นในชั้นเรียนวา มีคำตอบแตกตา งจากส่ิง
ที่เพื่อนออกมาแสดงวิธีการคำนวณหรือไม ถาแตกตางครูใหนักเรียนออกมาแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ
จากนนั้ ครูเฉลยคำตอบท่ถี ูกตอ งใหนักเรยี น

13. นักเรยี นแตละคนทำ Unit Question 6 เรอ่ื ง ศกั ยไ ฟฟา เนือ่ งจากจุดประจุ จากหนงั สอื เรียน
รายวิชาเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟา สถติ ลงในสมุดประจำตัวนักเรยี น

14. นกั เรยี นแตล ะคนทำแบบฝก หัด เรอ่ื ง ศกั ยไฟฟา เนือ่ งจากจุดประจุ จากแบบฝกหัด รายวิชา
เพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟา สถิต เปนการบานสงในชวั่ โมงถัดไป

ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนาชน้ั เรยี น
2. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานท่ี 6.6.1 เรื่อง ศักยไฟฟาเน่อื งจากจุดประจุ
3. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 6 เรื่อง ศักยไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ ในสมุด

ประจำตวั นักเรยี น
4. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง ศักยไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม

วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท ่ี 6 ไฟฟา สถติ
5. นกั เรยี นและครรู วมกนั สรุปเก่ียวกับศักยไฟฟา และศักยไ ฟฟาเนื่องจากจุดประจุ ซึ่งไดขอสรุป

รวมกันวา “ศักยไฟฟา คือ พลังงานศักยไฟฟาตอหนึ่งหนวยประจุ โดยเสนแรงไฟฟาจะมีทิศพุงออกจากจุดที่
ศักยไ ฟฟาสงู ไปยังจุดที่ศักยไฟฟา ตำ่ กวาเสมอ และศักยไ ฟฟารวมเน่ืองจากจุดประจุหลายจุดประจุ คือ ผลรวม
ของศกั ยไฟฟา เน่ืองจากจดุ ประจุแตล ะจดุ ประจุ”

7. การวัดและประเมินผล

รายการวัด วธิ ีวัด เครื่องมือ เกณฑก ารประเมนิ
7.1 การประเมนิ ระหวา ง
การจัดกิจกรรม
1) ศักยไฟฟา และ - ตรวจใบงานท่ี 6.6.1 - ใบงานท่ี 6.6.1 - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
ศักยไฟฟา เนื่องจาก - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝกหัด - รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
จุดประจุ
2) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดบั คณุ ภาพ 2
ผลการปฏบิ ตั ิ ผลงาน/ผลการปฏิบัติ นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
กิจกรรม กจิ กรรม
3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ

รายการวดั วธิ วี ัด เคร่ืองมือ เกณฑการประเมิน
4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2
การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
ทำงานกลุม - สังเกตความมีวนิ ยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
5) คุณลกั ษณะ รับผิดชอบ ใฝเรยี นรู คณุ ลักษณะ ผานเกณฑ
ซ่ือสตั ย สจุ รติ และ อันพงึ ประสงค
อนั พึงประสงค มุงมัน่ ในการทำงาน

8. สือ่ /แหลงการเรียนรู
8.1 สื่อการเรยี นรู
1) หนงั สือเรียน รายวชิ าเพ่ิมเติมวทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 6 ไฟฟา สถติ
2) แบบฝก หัด รายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ่ี 6 ไฟฟา สถติ
3) ใบงานที่ 6.6.1 เรื่อง ศักยไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ
4) PowerPoint เรอ่ื ง ศักยไ ฟฟา
5) วดี ทิ ศั นเกี่ยวกบั พลังงานศักยโ นมถวง (Kinetic and Potential Energy)
จาก https://www.youtube.com/watch?v=vl4g7T5gw1M
6) สมุดประจำตวั นักเรียน
8.2 แหลงการเรียนรู
1) หอ งเรยี น
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเนต็

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 7

รายวิชา ฟส ิกส 4 รหสั วิชา ว30204 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5
กลุมสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศึกษา 2564
หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 เรือ่ ง ไฟฟาสถิต เวลา 33 ชั่วโมง
เรือ่ ง ศักยไ ฟฟา (1) เวลา 4 ชั่วโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพ็งสวัสดิ์ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธานี

1. ผลการเรียนรู
อธิบาย และคำนวณพลงั งานศักยไฟฟา ศักยไฟฟา และความตางศักยระหวา งสองตำแหนงใด ๆ

2. จุดประสงคการเรยี นรู
1. อธิบายความตางศักยไฟฟาเน่ืองจากประจุบนตัวนำทรงกลมได (K)
2. อธบิ ายความตา งศกั ยไฟฟา ระหวา งแผน โลหะคูข นานได (K)
3. ตรวจสอบหาปรมิ าณตา ง ๆ ท่เี กยี่ วของกบั ความตางศกั ยไ ฟฟาเน่ืองจากประจบุ นตัวนำทรงกลมได
4. ตรวจสอบหาปรมิ าณตา ง ๆ ทีเ่ กย่ี วของกบั ความตางศกั ยไ ฟฟาระหวางแผนโลหะคขู นานได (P)
5. มีความใฝเ รยี นรูแ ละมีความมุงมน่ั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรียนรู
พลังงานศักยไฟฟา ท่ีตำแหนงใด ๆ ตอหนงึ่ หนว ยประจุ เรยี กวา ศกั ยไ ฟฟาทต่ี ำแหนงนั้น โดยศักยไฟฟา

ที่ตำแหนงซึ่งอยูหางจากจุดประจุแปรผันตรงกับขนาดของประจุ และแปรผกผันกับระยะทางจากจุดประจุถึง

ตำแหนง น้ันเขยี นแทนไดด ว ยสมการ Q
r
V = k

ความตางศักยระหวางสองตำแหนงใด ๆ ในบริเวณที่มีสนามไฟฟาคือ งานในการเคลื่อนประจุบวกหนง่ึ

หนวยจากตำแหนง หนง่ึ ไปอกี ตำแหนงหนง่ึ เขยี นแทนไดด วยสมการ
WA→B
VB − VA = q

ความตางศักยระหวางสองตำแหนงใด ๆ ในสนามไฟฟาสม่ำเสมอขึ้นกับขนาดของสนามไฟฟา และ
ระยะทางระหวา งสองตำแหนง นั้น ในแนวขนานกบั สนามไฟฟา ตามสมการ

VB − VA = Ed

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ศักยไฟฟาที่จุดภายนอกตัวนำทรงกลมซึ่งอยูหางเปนระยะ r จากจุดศูนยกลางของตัวนำทรงกลม หา
Q Q
ไดจากสมการ V = k r ศักยไฟฟาที่จุดบนผิวตัวนำทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ Q หาไดจาก V = k a

และศกั ยไฟฟาทจี่ ุดภายในตัวนำทรงกลมจงึ มีคาเทากบั ศักยไฟฟาทีผ่ วิ ตัวนำทรงกลม
ศักยไฟฟาระหวางสองตำแหนงใด ๆ ในสนามไฟฟาสม่ำเสมอ หาไดจาก VB − VA = Ed สวน
∆V
สนามไฟฟา สมำ่ เสมอในบริเวณระหวา งแผนโลหะคขู นาน หาไดจาก E = d

5. สมรรถนะสำคัญของผเู รยี นและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค
คุณลักษณะอนั พึงประสงค
 1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย  5. อยูอยางพอเพยี ง
 2. ซ่อื สัตยส จุ รติ  6. มุง มัน่ ในการทำงาน
 3. มีวนิ ยั  7. รกั ความเปนไทย
 4. ใฝเรยี นรู  8. มจี ติ สาธารณะ

เบญจวิถีกาญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบัน
 2. กตัญู
 3. บุคลิกดี
 4. มีวนิ ยั
 5. ใหเกยี รติ

สมรรถนะทสี่ ำคญั ของผเู รยี น
 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป ญ หา
 4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จดุ เนนสูการพฒั นาผูเรียน
ความสามารถและทักษะท่ีจำเปน ในการเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อา นออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน )
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดา นการสรา งสรรคแ ละนวัตกรรม)

 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทัศน)

 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูนำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดา นการส่อื สารสารสนเทศ
และรูเทา ทนั ส่ือ)

 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร)

 C7 – Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนร)ู
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู)
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน ผูนำ)

6. กิจกรรมการเรียนรู
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ช่ัวโมงที่ 1

ขน้ั ที่ 1 กระตุน ความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรยี นเกี่ยวกบั เรอ่ื ง ศักยไ ฟฟา และศกั ยไฟฟาเนื่องจากจุดประจุ

จากนั้นครแู จงจุดประสงคการเรียนรูใ หนกั เรยี นทราบ
2. ครูต้ังประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “สนามไฟฟา ท่ีบรเิ วณใดของตวั นำทรงกลมมี

คาเปนศนู ย” โดยใหนกั เรียนแตละคนรวมกนั อภิปรายแสดงความคดิ เห็นอยางอิสระ
(แนวตอบ : สนามไฟฟาภายในตวั นำทรงกลม)

3. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสนามไฟฟาของตัวนำทรงกลมที่บริเวณตาง ๆ วา “สนามไฟฟาที่
ผิวทรงกลมมีคามากที่สุด และสนามไฟฟาเนื่องจากตัวนำทรงกลมมีคาลดลง เมื่อตำแหนงใด ๆ อยูหางจากผวิ
ทรงกลมมากขน้ึ ”

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นกั เรียนจับกลมุ กลมุ ละ 3 คน ตามความสมัครใจ จากนนั้ ใหนกั เรยี นแตละกลุมรวมกันศึกษา

คนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง ศักยไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟาสถติ หรือแหลงการเรียนรตู าง ๆ

2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละคนเขียนสรุป
ความรูท่ีไดจากการศึกษาคน ควาลงในสมดุ ประจำตัวนักเรียน

(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)

ชัว่ โมงท่ี 2

ขัน้ ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
3. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาคนควาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียน

นำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิ่มเติมในเรื่องนั้น ๆ เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจที่ถูกตองมาก
ยงิ่ ข้ึน

(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
4. นักเรียนและครูรวมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับศักยไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม
ซ่ึงไดขอสรุปรวมกนั ดังน้ี
• ศักยไฟฟา ภายนอกตวั นำทรงกลมจะมีคาลดลงเร่ือย ๆ ตามระยะจากตัวนำทรงกลม
• ศกั ยไ ฟฟาท่ีจุดภายในตัวนำทรงกลมจึงมีคา เทา กับศักยไฟฟาที่ผวิ ตัวนำทรงกลม
5. ครูถามคำถามทาทายการคิดขัน้ สูง โดยใชค ำถาม H.O.T.S. จากหนงั สอื เรยี น รายวิชาเพ่ิมเติม
วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต วา “ในการเคลื่อนประจุในสนามไฟฟา
พลงั งานศกั ยไ ฟฟาของประจบุ วกจะเพิม่ ขน้ึ กรณีใด”
(แนวตอบ : ขนาดของประจุมีคา เพ่ิมข้ึน)
6. นักเรียนแตละคนศึกษาตัวอยางที่ 6.12-6.13 จากหนังสือเรยี น รายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร
ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต จากนั้นใหนักเรียนแตละคนทำใบงานที่ 6.7.1 เรื่อง
ศกั ยไฟฟา เนอื่ งจากประจบุ นตวั นำทรงกลม
7. ครสู ุม นกั เรียน จำนวน 5 คน ออกมาแสดงวธิ ีการคำนวณหาผลลัพธ จากใบงานท่ี 6.7.1 เรื่อง
ศักยไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม หนาชั้นเรียน โดยครูสอบถามนักเรียนในชั้นเรียนวามีคำตอบ
แตกตางจากสิ่งที่เพื่อนออกมาแสดงวิธีการคำนวณหรือไม ถาแตกตางครูใหนักเรียนออกมาแสดงวิธีการ
คำนวณหาผลลพั ธ จากนั้นครเู ฉลยคำตอบที่ถกู ตอ งใหนักเรยี น

ชวั่ โมงที่ 3 – 4

ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)
8. ครเู ปดวดี ทิ ัศนเกยี่ วกบั Electric Potential Difference
จาก https://www.youtube.com/watch?v=SNlOPxZ-Ev4&t=36s ใหนักเรียนดู

จากนั้นครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “ความตางศักย คืออะไร” โดยใหนักเรียนแตละคน
รวมกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ อยา งอิสระโดยไมมีการเฉลยวาถูกหรือผดิ

(แนวตอบ : ความตา งศกั ยไฟฟา ระหวา งจุด 2 จุด ในสนามไฟฟาหรอื ในวงจรไฟฟา เปนงานท่ี
ทำในการเคลอ่ื นประจุบวก 1 หนว ยจากจุดหน่งึ ไปยังอีกจุดหนึ่ง)
9. นักเรียนจับคูก ับเพื่อนในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละคูรว มกนั ศึกษา
คนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง ความสัมพันธระหวางความตางศักยและสนามไฟฟาสม่ำเสมอ จากหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ
เชน อนิ เทอรเนต็ หอ งสมุด
10. นกั เรียนแตละคูรวมกันอภิปรายเรอ่ื งท่ีไดศกึ ษา จากนั้นใหน กั เรียนแตละคนเขียนสรุปความรู
ที่ไดจ ากการศกึ ษาคน ควาลงในสมุดประจำตวั นักเรียน
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู (Explain)
11. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คู ออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาช้ันเรยี น ในระหวางที่นักเรียน

นำเสนอครูคอยใหขอเสนอแนะเพมิ่ เตมิ เพื่อใหน ักเรียนมีความเขาใจทถ่ี กู ตอ งมากย่ิงขน้ึ
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนกั เรียน โดยใชแ บบประเมินการนำเสนอผลงาน)
12. นักเรียนแตละคนพิจารณาภาพสนามไฟฟาระหวางแผนตัวนำคูขนาน จากนั้นครูอธิบาย

เพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา “ถานำแผนโลหะคูขนานประจุบวก และประจุลบตอกับความตางศักย จะให
สนามไฟฟาสม่ำเสมอ และขนาดของแรงที่กระทำตอประจุจะมีคาคงที่”13. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุน
ความคิดนักเรียนวา “เสนสมศักย (equipotential line) คืออะไร” โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภิปราย
แสดงความคดิ เห็นเพื่อหาคำตอบ

(แนวตอบ : เสน สมศักย (equipotential line) คอื เสน ที่เชื่อมจุดตาง ๆ ในสนามไฟฟา
ซง่ึ มีศกั ยไ ฟฟา เทา กนั โดยเสนสมศักยจ ะต้งั ฉากกบั เสนแรงไฟฟา เสมอ)
ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
14. ครเู ปด โอกาสใหน ักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรอื่ ง ศกั ยไฟฟา และศักยไฟฟาเนื่องจากจุด
ประจุและใหความรูเพิ่มเติมจากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง ศักยไฟฟาในการอธิบาย
เพ่มิ เติม
15. นักเรียนแตละคนศึกษาตัวอยางที่ 6.14 – 6.15 จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 จากนั้นใหนักเรียนแตละคนทำใบงานท่ี 6.7.2 เรื่อง ศักยไฟฟาระหวางแผน
โลหะคูข นาน
16. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง ศักยไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูท่ี 6 ไฟฟา สถิต ลงในสมุดประจำตวั นกั เรียน
17. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 6 เรื่อง ศักยไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม
และศักยไฟฟาระหวางแผนโลหะคูขนาน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2
หนวยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟาสถติ ลงในสมุดประจำตวั นักเรยี น
18. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง ศักยไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม และ
ศักยไฟฟาระหวางแผนโลหะคูขนาน จากแบบฝก หดั รายวิชาเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวย
การเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟาสถิต เปนการบานสง ในชว่ั โมงถดั ไป
ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤติกรรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนาชัน้ เรยี น
2. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานที่ 6.7.1 เร่อื ง ศกั ยไฟฟาเนือ่ งจากประจบุ นตวั นำทรงกลม
3. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานที่ 6.7.2 เรื่อง ศักยไ ฟฟาระหวา งแผน โลหะคขู นาน
4. ครูตรวจ Topic Question เร่อื ง ศักยไฟฟา ในสมดุ ประจำตวั นกั เรยี น
5. ครูตรวจแบบฝกหดั จาก Unit Question 6 เรื่อง ศักยไฟฟาเนื่องจากประจบุ นตัวนำทรงกลม
และศักยไฟฟาระหวางแผนโลหะคูขนาน ในสมุดประจำตัวนกั เรียน

6. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง ศักยไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม และศักยไฟฟา
ระหวางแผนโลหะคูข นาน จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ี่
6 ไฟฟา สถิต

7. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับศักยไฟฟาเนื่องจากประจุบนตัวนำทรงกลม และ
ศักยไฟฟาระหวางแผนโลหะคูขนาน ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา “ศักยไฟฟาที่จุดภายในตัวนำทรงกลมจะมีคา
เทากับศักยไฟฟาที่ผิวตัวนำทรงกลม และศักยไฟฟาระหวางแผนโลหะคูขนาน ถานำแผนโลหะคูขนานประจุ
บวก และประจุลบตอกับความตางศักย จะใหสนามไฟฟาสม่ำเสมอ และขนาดของแรงที่กระทำตอประจุจะมี
คาคงท”่ี

7. การวดั และประเมินผล

รายการวดั วธิ วี ดั เคร่อื งมอื เกณฑการประเมิน
7.1 การประเมนิ ระหวาง
- ตรวจใบงานที่ 6.7.1 - ใบงานท่ี 6.7.1 - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
การจดั กิจกรรม - ตรวจแบบฝกหัด - แบบฝกหดั - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
1) ศกั ยไฟฟา เนื่องจาก - ตรวจใบงานที่ 6.7.2 - ใบงานท่ี 6.7.2 - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
- ตรวจแบบฝกหัด - แบบฝก หดั - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
ประจบุ นตัวนำ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคณุ ภาพ 2
ทรงกลม ผลงาน/ผลการปฏบิ ตั ิ นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
2) ศักยไฟฟาระหวา ง กิจกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2
แผนโลหะคูขนาน - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ
3) การนำเสนอผลงาน/ การทำงานรายบุคคล
ผลการปฏบิ ัติ
กจิ กรรม
4) พฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล

5) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
ทำงานกลมุ การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผานเกณฑ
- สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
6) คุณลักษณะ รบั ผิดชอบ ใฝเ รยี นรู คณุ ลกั ษณะ ผา นเกณฑ
อนั พึงประสงค ซือ่ สัตย สุจริต และ อันพึงประสงค
มุง มั่นในการทำงาน

8. สอื่ /แหลงการเรียนรู
8.1 ส่อื การเรียนรู
1) หนงั สือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต
2) แบบฝก หัด รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟา สถิต
3) ใบงานที่ 6.7.1 เร่ือง ศักยไฟฟา เน่ืองจากประจบุ นตัวนำทรงกลม
4) ใบงานที่ 6.7.2 เรื่อง ศักยไ ฟฟา ระหวา งแผน โลหะคูขนาน

5) PowerPoint เร่ือง ศักยไฟฟา
6) วีดิทศั นเกยี่ วกับ Electric Potential Difference

จาก https://www.youtube.com/watch?v=SNlOPxZ-Ev4&t=36s
7) สมุดประจำตวั นักเรียน
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรยี น
2) หอ งสมุด
3) อินเทอรเ น็ต

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 8

รายวชิ า ฟสิกส 4 รหัสวชิ า ว30204 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 5
กลุม สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2564
หนวยการเรียนรูท ี่ 2 เร่อื ง ไฟฟา สถติ เวลา 33 ช่ัวโมง
เรือ่ ง ตวั เก็บประจุและความจุ เวลา 4 ชั่วโมง
ผูสอน นายธนพันธ เพง็ สวัสด์ิ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธานี

1. ผลการเรียนรู
อธิบายสว นประกอบของตัวเกบ็ ประจุ ความสัมพันธระหวางประจุไฟฟา ความตา งศักย และความจุของตัว

เก็บประจุ และอธิบายพลงั งานสะสมในตวั เก็บประจุ และความจุสมมูล รวมทัง้ คำนวณปริมาณตาง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ ง

2. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
1. อธิบายตวั เก็บประจุและความจไุ ด (K)
2. อธิบายความสมั พนั ธระหวางประจุไฟฟา ความตางศกั ย และความจุของตวั เก็บประจุได (K)
3. อธิบายพลังงานสะสมในตวั เกบ็ ประจุ และความจุสมมูลได (K)
4. ตรวจสอบหาปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูลของการ

ตอตัวเก็บประจแุ บบอนกุ รมและแบบขนานได (P)
5. มีความใฝเ รียนรแู ละมคี วามมุงมน่ั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรยี นรู
ตัวเก็บประจุประกอบดวยตัวนำไฟฟาสองชิ้นที่คั่นดวยฉนวน โดยปริมาณประจุที่เก็บไดขึ้นอยูกับ

ความตางศักยค รอ มตวั เก็บประจุและความจุของตัวเกบ็ ประจุ ตามสมการ
Q
C = ∆V

ตวั เกบ็ ประจุจะมพี ลังงานสะสมซึ่งมีคา ขึ้นกับความตา งศกั ยและปริมาณประจุ ตามสมการ
1
U = 2 Q∆V

เม่ือนำตวั เก็บประจุมาตอแบบอนุกรม ความจสุ มมลู มีคาลดลง ตามสมการ
1 1 1 1
C = C1 + C2 + C3 + ...

เมอื่ นำตัวเกบ็ ประจมุ าตอ แบบขนาน ความจสุ มมลู มีคาเพ่ิมขึ้น ตามสมการ
C = C1 + C2 + C3 + ...

4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
ตัวเก็บประจุเปนอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ซึ่งประกอบดวยแผนโลหะขนาน 2 แผน ที่มีฉนวน

คั่นกลาง ซึ่งความสามารถในการเก็บประจุของตัวนำทรงกลม เรียกวา ความจุ สวนการตอตัวเก็บประจุ
สามารถตอได 2 แบบ คอื แบบอนกุ รม และแบบขนาน

5. สมรรถนะสำคัญของผเู รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยอู ยา งพอเพียง
 2. ซอื่ สัตยส ุจริต  6. มงุ มนั่ ในการทำงาน
 3. มวี ินัย  7. รักความเปน ไทย
 4. ใฝเ รียนรู  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถีกาญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบนั
 2. กตญั ู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มวี ินยั
 5. ใหเ กยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคัญของผเู รยี น
 1. ความสามารถในการสอื่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญหา
 4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จุดเนนสูการพัฒนาผเู รียน
ความสามารถและทกั ษะที่จำเปน ในการเรยี นรูในศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อา นออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน )
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทักษะดา นการสรางสรรคและนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทัศน)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทมี และภาวะผนู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดานการสอื่ สารสารสนเทศ
และรเู ทาทันสือ่ )

 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สาร)

 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรยี นรู)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรุณา วนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นรู)
 L2 – Leadership (ทักษะความเปน ผูน ำ)

6. กจิ กรรมการเรยี นรู
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ช่ัวโมงที่ 1

ข้ันท่ี 1 กระตุนความสนใจ (Engage)
1. นกั เรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 9-10 คน ตามความสมคั รใจ จากน้นั ตัวแทนกลมุ แตละกลุมออกมา

รับแผงวงจรไฟฟา ที่ประกอบดวยอุปกรณไฟฟาตาง ๆ แลวใหสมาชิกภายในกลุมรวมกันพิจารณาแผงวงจร
ไฟฟา

2. ครตู ้ังประเดน็ คำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “ในแผนวงจรไฟฟา มอี ปุ กรณอ ะไรบาง และ
อุปกรณแตละชิ้นทำหนาที่อยางไร” โดยใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ
โดยไมม ีการเฉลยวาถกู หรอื ผิด จากนั้นบนั ทกึ คำตอบท่ไี ดล งในสมุดประจำตัวนกั เรยี น

(แนวตอบ : ขนึ้ อยกู ับดุลยพินจิ ของครู เชน ในแผงวงจรไฟฟา มตี ัวเกบ็ ประจุ สวติ ซ ไดโอด เปน
ตน ซึ่งอปุ กรณแตละชนิดทำหนา ท่แี ตกตางกัน เชน ตัวเก็บประจุ ทำหนาท่เี กบ็ พลงั งานไฟฟา
เปนตน)
3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟา สถิต เพ่ือเปน การนำเขาสบู ทเรียนวา “ตองตอตัวเกบ็ ประจุอยา งไร จึง
ทำใหความจไุ ฟฟา รวมมีคา มากขึ้น” จากน้นั ครกู ลา วเช่ือมโยงเขา สกู ิจกรรมการเรยี นการสอน
(แนวตอบ : ตอ แบบขนานจะทำใหคาความจุของตัวเก็บประจุเพิ่มมากขนึ้ )

ข้นั ที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน

ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง ตัวเก็บประจุและความจุ จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 6 ไฟฟา สถิต หรอื แหลง การเรยี นรูต าง ๆ เชน อนิ เทอรเ นต็ หองสมุด

2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละคนเขียนสรุป
ความรูท ่ีไดจ ากการศึกษาคน ควา ลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น

(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)


Click to View FlipBook Version