The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 2 ไฟฟ้าสถิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 2 ไฟฟ้าสถิต

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 2 ไฟฟ้าสถิต

ชัว่ โมงท่ี 2

ข้นั ท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)
3. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนำเสนอ

ครคู อยใหข อเสนอแนะเพมิ่ เตมิ เพื่อใหน กั เรียนมคี วามเขา ใจท่ีถูกตองมากย่ิงขึน้
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
4. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคดิ นักเรยี นโดยใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภปิ รายแสดง

ความคดิ เห็นเพ่ือหาคำตอบ ดงั นี้
• ตัวเก็บประจุ ทำหนา อะไร
(แนวตอบ : ตวั เก็บประจุ ทำหนาที่เก็บพลงั งานไฟฟา และปลอยออกมาเม่ือตอ งการใชป ระจุ
ไฟฟาในตวั เก็บประจุ)
• ตวั เกบ็ ประจุ มีลักษณะอยางไร
(แนวตอบ : ตัวเก็บประจุ ประกอบดว ยแผนโลหะบาง 2 แผน ระหวางแผนโลหะ 2 แผน
จะมฉี นวนคั่นกลาง เรยี กวา ไดอิเล็กตริก)
5. ครูสุมเลขที่นักเรยี น จำนวน 3 – 4 คน ยกตัวอยางตวั เก็บประจุแบบตาง ๆ ที่นักเรียนรูจ ักมา

คนละ 1 ชนดิ
(แนวตอบ : ตวั เกบ็ ประจุแบบอเิ ลก็ ตรกิ ตัวเก็บประจุแบบไบโพลาร ตวั เกบ็ ประจุแบบเซรามิค
ตัวเก็บประจแุ บบไมลา ร เปนตน )
6. นกั เรียนแตล ะคนพิจารณากราฟระหวางปริมาณประจุที่เก็บสะสมในตวั เก็บประจุกับความตาง

ศักยต กครอมตวั เก็บประจุ จากหนงั สอื เรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรู
ที่ 6 ไฟฟาสถิต จากนั้นครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “ปริมาณประจุที่เก็บสะสมในตัวเก็บ
ประจุจะขน้ึ อยูก บั สงิ่ ใด”

(แนวตอบ : จะข้นึ อยูกบั ความตางศกั ย และปริมาณประจุ)
7. นกั เรยี นแตล ะคนศึกษาตวั อยางท่ี 6.16 จากหนังสอื เรียน รายวิชาเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 6 ไฟฟาสถิต จากนัน้ ใหน กั เรียนแตล ะคนทำใบงานที่ 6.8.1 เรือ่ ง ตัวเก็บประจุ
และความจุ
8. ครูสุม นกั เรยี น จำนวน 2 คน ออกมาแสดงวธิ ีการคำนวณหาผลลัพธ จากใบงานที่ 6.8.1 เร่ือง
ตัวเก็บประจุและความจุ หนาชั้นเรียน โดยครูสอบถามนักเรียนในชั้นเรียนวามีคำตอบแตกตางจากสิ่งที่เพื่อน
ออกมาแสดงวิธีการคำนวณหรือไม ถา แตกตางครูใหน ักเรยี นออกมาแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ จากน้ันครู
เฉลยคำตอบท่ถี ูกตอ งใหนักเรียน

ช่วั โมงที่ 3 – 4

ขัน้ ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
9. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 – 5 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมสง

ตัวแทนออกมาจบั สลากเรื่องท่ศี ึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลข ไวหนา ช้ันเรยี น ซึง่ หมายเลขจะระบุเรื่องท่ี
ใหนักเรียนศึกษา ดงั น้ี

• หมายเลข 1 ศกึ ษา เร่ือง การถายโอนประจุระหวางตัวนำทรงกลม

• หมายเลข 2 ศึกษา เร่อื ง การตอตัวเกบ็ ประจุแบบอนุกรม
• หมายเลข 3 ศึกษา เรื่อง การตอตัวเกบ็ ประจแุ บบขนาน
10. นกั เรียนแตล ะกลมุ รว มกันศกึ ษาคน ควา ขอมลู เรื่องทกี่ ลุมตนเองจับสลากได จากหนงั สอื เรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต จากนั้นรวมกันสรุปความรูที่
ไดจ ากการศกึ ษาคนควา ลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรียน
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม)

ขัน้ ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain)
11. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียนนำเสนอ
ครคู อยใหขอ เสนอแนะเพ่มิ เติม เพ่อื ใหนกั เรียนมีความเขาใจที่ถูกตองมากยง่ิ ขนึ้
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
12. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับการถายโอนประจุระหวางตัวนำทรงกลมวา “การถาย
โอนประจรุ ะหวางตวั นำทรงกลม ผลรวมของประจุกอนการถายโอนประจุเทากบั ผลรวมของประจุหลังจากการ
ถา ยโอนประจุ ซงึ่ เปนไปตามกฎการอนรุ ักษป ระจุไฟฟา ”
13. ครอู ธบิ ายใหนักเรียนเขาใจเก่ยี วกับการตอตัวเกบ็ ประจวุ า “การนำตัวเก็บประจุหลาย ๆ ตัว
มาตอ กันเปน วงจร มี 2 แบบ ไดแก การตอแบบอนุกรมและการตอแบบขนาน
• เมอื่ นำตัวเก็บประจุมาตอแบบอนกุ รม ความจุสมมูลมีคา ลดลง
1 1 1 1
ตามสมการ C = C1 + C2 + C3 + ...

• เม่อื นำตวั เก็บประจุมาตอ แบบขนาน ความจุสมมูลมีคา เพม่ิ ข้ึน
ตามสมการ C = C1 + C2 + C3 + ... ”

ข้ันที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
14. ครเู ปดโอกาสใหน ักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรอ่ื ง ตวั เกบ็ ประจุและความจุ และใหความรู

เพิ่มเติมจากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง ตัวเก็บประจุและความจุ ในการอธิบาย
เพมิ่ เติม

15. นกั เรียนแตละคนศกึ ษาตัวอยา งท่ี 6.17-6.18 จากหนังสอื เรียน รายวิชาเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร
ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต จากนั้นใหนักเรียนแตละคนทำใบงานที่ 6.8.2 เรื่อง การ
ตอ ตัวเก็บประจุ

16. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คน ออกมาแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ จากใบงานที่ 6.8.2
เรื่อง การตอตัวเก็บประจุ หนาชัน้ เรียน โดยครูสอบถามนักเรยี นในชั้นเรียนวามีคำตอบแตกตางจากสิ่งที่เพ่ือน
ออกมาแสดงวิธีการคำนวณหรือไม ถาแตกตา งครูใหนักเรียนออกมาแสดงวธิ ีการคำนวณหาผลลัพธ จากนั้นครู
เฉลยคำตอบท่ีถูกตองใหนักเรียน

17. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง ตัวเก็บประจุและความจุ จากหนังสือเรียน รายวิชา
เพิม่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟา สถิต ลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น

18. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 6 เรื่อง ตัวเก็บประจุและความจุ จากหนังสือเรียน
รายวิชาเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟาสถิต ลงในสมุดประจำตวั นกั เรยี น

19. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง ตัวเก็บประจุและความจุ จากแบบฝกหัด รายวิชา
เพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟา สถิต เปนการบา นสงในชัว่ โมงถัดไป

ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤติกรรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมหนา ช้นั เรยี น
2. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานที่ 6.8.1 เร่ือง ตวั เก็บประจุและความจุ
3. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานท่ี 6.8.2 เร่อื ง การตอ ตัวเก็บประจุ
4. ครตู รวจ Topic Question เรอ่ื ง ตัวเกบ็ ประจุและความจุ ในสมดุ ประจำตวั นกั เรยี น
5. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 6 เรื่อง ตัวเก็บประจุและความจุ ในสมุดประจำตัว

นักเรียน
6. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง ตัวเก็บประจุและความจุ จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม

วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟาสถิต
7. นักเรียนและครูรวมกันสรปุ เกี่ยวกับตวั เก็บประจุและความจุ ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา “ตัวเก็บ

ประจุเปนอุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ซึ่งประกอบดวยแผนโลหะขนาน 2 แผน มีฉนวนคั่นกลาง เรียกวา
ไดอเิ ลก็ ตรกิ ซงึ่ ตวั เกบ็ ประจุ ทำหนา ที่เก็บพลงั งานไฟฟา และปลอยออกมาเมอ่ื ตอ งการใชป ระจุไฟฟา ในตัวเก็บ
ประจุ ความจุ คือ ความสามารถในการเก็บประจุของตัวนำทรงกลม และการตอตัวเก็บประจุ มี 2 แบบ คือ
การตอแบบอนกุ รม และการตอแบบขนาน เพ่ือใหไ ดค วามจไุ ฟฟารวมเทากับคา ความจุไฟฟาท่ตี องการ”

7. การวดั และประเมนิ ผล

รายการวัด วิธวี ดั เครื่องมือ เกณฑการประเมิน
7.1 การประเมนิ ระหวาง
การจัดกิจกรรม
1) ตัวเก็บประจุและ - ตรวจใบงานท่ี 6.8.1 - ใบงานท่ี 6.8.1 - รอยละ 60 ผานเกณฑ
ความจุ - ตรวจแบบฝกหดั - แบบฝกหัด - รอยละ 60 ผานเกณฑ
2) การตอตัวเก็บประจุ - ตรวจใบงานที่ 6.8.2 - ใบงานที่ 6.8.2 - รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
3) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2
ผลการปฏบิ ัติ ผลงาน/ผลการปฏบิ ัติ นำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
กิจกรรม กจิ กรรม
4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ

5) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2
ทำงานกลุม การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผานเกณฑ
- สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมิน - ระดบั คุณภาพ 2
6) คณุ ลักษณะ รับผิดชอบ ใฝเรียนรู คณุ ลกั ษณะ ผา นเกณฑ
อันพงึ ประสงค อันพงึ ประสงค

รายการวดั วิธีวัด เคร่อื งมอื เกณฑการประเมนิ
ซ่ือสัตย สจุ รติ และ
มงุ มนั่ ในการทำงาน

8. สอื่ /แหลงการเรียนรู
8.1 สือ่ การเรียนรู
1) หนงั สือเรียน รายวชิ าเพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 6 ไฟฟาสถิต
2) แบบฝก หดั รายวชิ าเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 6 ไฟฟา สถิต
3) ใบงานที่ 6.8.1 เร่ือง ตัวเก็บประจแุ ละความจุ
4) ใบงานที่ 6.8.2 เร่ือง การตอตวั เก็บประจุ
5) PowerPoint เรอื่ ง ตัวเก็บประจแุ ละความจุ
6) แผงวงจรไฟฟา
7) สลากหมายเลข
8) สมดุ ประจำตัวนักเรียน
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรยี น
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเน็ต

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 9

รายวิชา ฟส ิกส 4 รหัสวิชา ว30204 ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5
กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2564
หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 เร่ือง ไฟฟา สถติ เวลา 33 ชว่ั โมง
เรอื่ ง การนำความรเู กย่ี วกบั ไฟฟา สถิตไปใชประโยชน เวลา 3 ช่ัวโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพ็งสวัสดิ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธ านี

1. ผลการเรียนรู
นำความรูเรื่องไฟฟาสถิตไปอธิบายหลักการทำงานของเครื่องใชไฟฟาบางชนิด และปรากฏการณใน

ชีวิตประจำวัน

2. จุดประสงคการเรยี นรู
1. อธบิ ายหลักการทำงานของเครื่องมอื ที่นำความรูเร่ืองไฟฟาสถติ ไปประยกุ ตใชไ ด (K)
2. อธบิ ายปรากฏการณในชวี ติ ประจำวันท่ีเก่ียวของกบั ไฟฟา สถิตได (K)
3. สืบคนขอ มลู เกี่ยวกบั หลกั การทำงานของเครอ่ื งมือที่นำความรูเร่อื งไฟฟา สถติ ไปประยุกตใ ชไ ด (P)
4. มคี วามใฝเ รียนรูแ ละมคี วามมุงมน่ั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรยี นรู
ความรูเรื่องไฟฟาสถิตสามารถนำไปอธิบายการทำงานของเครื่องใชไ ฟฟาบางชนิด เชน เครื่องกำจัดฝนุ

ในอากาศ เครอื่ งพน สี เครอื่ งถายลายนิว้ มอื และเครอื่ งถา ยเอกสาร
ความรูเรื่องไฟฟาสถิตยังสามารถนำไปอธิบายปรากฏการณในชีวิตประจำวันได เชน ฟาผา ประกายไฟ

จากการเสียดสีกนั ของวัตถุ ซ่งึ ชวยใหสามารถปองกันอนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขึ้น

4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
ความรูเรื่องไฟฟาสถิตสามารถนำไปอธิบายการทำงานของเครื่องใชไฟฟาบางชนิด เชน เครื่องพนสี

เครื่องถายเอกสาร ไมโครโฟนแบบตวั เก็บประจุ นอกจากนั้นความรูเรื่องไฟฟาสถิตยังสามารถนำไปอธิบาย
ปรากฏการณในชวี ิตประจำวนั ได

5. สมรรถนะสำคัญของผูเ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยูอ ยา งพอเพยี ง
 2. ซอ่ื สตั ยสุจริต  6. มงุ ม่ันในการทำงาน
 3. มวี ินยั  7. รักความเปน ไทย

 4. ใฝเ รยี นรู  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทิดทนู สถาบัน
 2. กตญั ู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มวี นิ ยั
 5. ใหเ กยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผูเ รยี น
 1. ความสามารถในการสื่อสาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป ญหา
 4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จุดเนน สกู ารพฒั นาผูเรียน
ความสามารถและทกั ษะท่ีจำเปนในการเรยี นรูใ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดา นการสรา งสรรคและนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทมี และภาวะผูนำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดานการส่อื สารสารสนเทศ
และรูเ ทา ทันสอื่ )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรยี นรู)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน ผูนำ)

6. กิจกรรมการเรยี นรู
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงท่ี 1

ขนั้ ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูนำถุงพลาสติกมาตัดเปนเสนตรงกวางประมาณ 1 นิ้ว แลวนำเทปใสมาติดเปนวงกลม

จากนั้นครูขออาสาสมัครนักเรียน 1 คน ออกมาสาธิตการทดลองโดยปลอยพลาสติกจากความสูงระดับหนึ่ง
แลวนำทอพีวีซีมาถูกับผาสักหลาด แลวนำมาทอพีวีซเี ขา ใกลพ ลาสติกที่กำลังจะตกลงมา (จะเห็นวาพลาสติก
จะลอยขนึ้ เม่อื นำทอพวี ซี ีเขา ใกล ซ่ึงพลาสติกจะไมหลน ลงพ้ืน) ครอู าจเปดวีดทิ ัศนเกยี่ วกบั Static Electricity
Experiment จาก https://www.youtube.com/watch?v=LocNNWGe0hA ใหน กั เรยี นดู

2. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “เพราะเหตุใดเมื่อนำทอพีวีซีมาเขาใกลกับ
พลาสติกแลว พลาสติกถึงไมตกลงมา” โดยใหน กั เรียนแตละกลุมรว มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ
โดยไมม กี ารเฉลยวา ถูกหรือผิด

(แนวตอบ : เพราะพลาสติกกับทอ พีวีซีมีประจุตรงขามกนั ประจจุ ึงเกดิ การผลักกนั ทำให
พลาสติกไมต กลงมา)
3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรยี นวา “ความรูทางไฟฟาสถิตนำไปใช
ประโยชนในดา นใดบาง” จากนัน้ ครกู ลา วเชื่อมโยงเขาสูกิจกรรมการเรียนการสอน
(แนวตอบ : ข้นึ อยูกับดลุ ยพนิ ิจของครู ตัวอยางความรูท างไฟฟาสถติ สามารถนำไปใชประโยชน
ในงานดา นตาง ๆ ไดหลายดา น เชน เครือ่ งถา ยเอกสาร เครื่องพนสี เปนตน )

ขนั้ ที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม กลุมละเทา ๆ กัน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียน

แตละกลุมสงตัวแทนออกมาจบั สลากเรือ่ งที่ศึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลข ไวหนาชั้นเรียน ซึ่งหมายเลข
สลากจะระบเุ รื่องที่ใหนักเรยี นศึกษา ดังนี้

• หมายเลข 1 ศึกษา เรอ่ื ง เคร่ืองถา ยเอกสาร
• หมายเลข 2 ศกึ ษา เร่ือง เครื่องพนสี
• หมายเลข 3 ศึกษา เรือ่ ง ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ
• หมายเลข 4 ศึกษา เรื่อง การประยุกตใ ชไฟฟา สถิตกับการทดลองหาประจไุ ฟฟา
2. ครูแจกกระดาษฟลิปชารทใหนักเรียนกลุมละ 1 แผน จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน
อภิปรายระดมความคิดเห็นกันภายในกลุม แลวนำขอมูลที่ไดจากการอภิปราย มาจัดทำในรูปแบบตาง ๆ เชน
แผนผงั มโนทศั น ลงในกระดาษฟลิปชารท
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ช่วั โมงท่ี 2-3

ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain)
3. นกั เรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาช้ันเรยี น ในระหวางที่นักเรยี นนำเสนอครู

คอยใหข อ เสนอแนะเพิ่มเติม เพ่ือใหนกั เรียนมีความเขาใจทีถ่ ูกตอ งมากย่ิงขน้ึ

(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
ขั้นท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)

4. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง การนำความรูเกี่ยวกับไฟฟาสถิตไปใช
ประโยชน และใหความรเู พ่มิ เติมจากคำถามของนักเรียน โดยครใู ช PowerPoint เร่ือง การนำความรเู กย่ี วกับ
ไฟฟา สถิตไปใชป ระโยชน ในการอธบิ ายเพิ่มเตมิ

5. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง การนำความรูเกี่ยวกับไฟฟาสถิตไปใชประโยชน จาก
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต ลงในสมุด
ประจำตวั นักเรียน

6. นักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเองจากกรอบ Self Check เรื่อง ไฟฟาสถิต ในหนังสือ
เรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต โดยบันทึกลงในสมุด
ประจำตวั นกั เรียน

7. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง การนำความรูเกี่ยวกับไฟฟาสถิตไปใชประโยชน จาก
แบบฝก หดั รายวชิ าเพ่มิ เติมวิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 6 ไฟฟาสถิต เปนการบาน
สงในชว่ั โมงถัดไป

8. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนของหนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อเปนการวัดความรู
หลงั เรียนของนักเรยี น

9. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหแตละกลุมนำความรู เรื่อง
ไฟฟาสถติ มาออกแบบและประดิษฐช ้นิ งานเกีย่ วกบั ประโยชนจ ากไฟฟาสถิต

ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบหลังเรียนหนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต เพื่อตรวจสอบ

ความเขาใจหลงั เรยี นของนักเรียน
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหนาชั้นเรยี น
3. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเขาใจของตนเองจากกรอบ Self Check เรื่อง ไฟฟาสถิต

จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 6 ไฟฟาสถิต ในสมุด
ประจำตัวนกั เรยี น

4. ครูตรวจ Topic Question เรื่อง การนำความรูเกี่ยวกับไฟฟาสถิตไปใชประโยชน ในสมุด
ประจำตวั นักเรยี น

5. ครูตรวจสอบแบบฝก หัด เรื่อง การนำความรเู ก่ียวกับไฟฟา สถิตไปใชประโยชน จากแบบฝกหัด
รายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟาสถิต

6. ครูวัดและประเมนิ ผลจากช้นิ งานประโยชนจากไฟฟาสถติ
7. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับการนำความรูเกี่ยวกับไฟฟาสถิตไปใชประโยชน ซึ่งได
ขอสรุปรวมกันวา “ไฟฟาสถิตสามารถนำไปใชประโยชนในงานดานตาง ๆ ไดหลายดาน เชน เครื่องถาย
เอกสาร เครื่องพนสี ไมโครโฟนแบบตัวเก็บประจุ โดยใชความรูเกี่ยวกับแรงกระทำระหวางประจุไฟฟา
โดยเฉพาะแรงดึงดูดระหวางประจุไฟฟา ตางชนดิ กนั ”

7. การวดั และประเมินผล

รายการวัด วิธีวดั เครอื่ งมอื เกณฑการประเมิน
7.1 การประเมนิ ระหวาง
การจดั กจิ กรรม
1) การนำความรู - ตรวจแบบฝกหัด - แบบฝก หดั - รอ ยละ 60 ผา น
เกีย่ วกบั ไฟฟาสถิต เกณฑ
ไปใชประโยชน
2) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ การ - ระดบั คุณภาพ 2
ผลการปฏิบตั ิ ผลงาน/ผลการปฏบิ ัติ นำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
กิจกรรม กิจกรรม
3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ

4) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2
ทำงานกลมุ การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผานเกณฑ
5) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
อันพึงประสงค รับผดิ ชอบ ใฝเรยี นรู คณุ ลักษณะ ผา นเกณฑ
ซ่ือสตั ย สจุ รติ และ อนั พงึ ประสงค
มงุ มั่น ในการทำงาน
7.2 การประเมินหลังเรียน
1) แบบทดสอบ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลงั - รอยละ 60 ผาน
หลงั เรยี น หนวยการ หลงั เรียน หนวยการ เรียน เกณฑ
เรียนรทู ่ี 6 เรียนรทู ่ี 6 ไฟฟาสถิต หนว ยการเรียนรทู ่ี 6
ไฟฟาสถติ ไฟฟา สถิต
8. ส่อื /แหลงการเรียนรู
8.1 สอื่ การเรยี นรู
1) หนังสือเรียน รายวิชาเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 6 ไฟฟา สถิต
2) แบบฝก หดั รายวิชาเพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ่ี 6 ไฟฟา สถติ
3) PowerPoint เรือ่ ง การนำความรเู ก่ียวกบั ไฟฟา สถิตไปใชประโยชน
4) วดี ีทศั นเก่ยี วกับ Static Electricity Experiment
จาก https://www.youtube.com/watch?v=LocNNWGe0hA
5) สมดุ ประจำตัวนักเรยี น
8.2 แหลงการเรียนรู
1) หอ งเรียน
2) หองสมุด
3) อนิ เทอรเ น็ต

ภาคผนวก ก
แบบบันทึกการสรปุ ผลการจัดการเรียนรู

สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู
ดา นความรู (Knowledge)

กลมุ ผูเรียน ชว งคะแนน จำนวน (คน) คิดเปนรอยละ
ดี จำนวน (คน) คดิ เปน รอยละ
จำนวน (คน) คิดเปนรอยละ
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ดานทกั ษะ/กระบวนการ (Process)

กลุมผเู รียน ชว งคะแนน
ดี

ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ดานคณุ ลกั ษะอันพึงประสงค (Attitude)

กลุม ผูเ รียน ชว งระดับคณุ ภาพ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรับปรงุ 0-1

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู
ดา นการจดั กิจกรรมการเรียนรู

.............................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................

ปญหาที่พบระหวา งหรือหลงั จดั กิจกรรม

.............................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................

ขอเสนอแนะ/แนวทางแกปญหา

.............................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ..................................................................ผสู อน
( นายธนพันธ เพ็งสวสั ด์ิ )

............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนากลุมสาระการเรียนรู
 สอดคลอ งกับมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของหลกั สูตรฯ
 กิจกรรมการเรยี นรเู นนผูเรยี นเปน สำคัญ
 มีการวดั และประเมินผลตามสภาพจริง มคี วามหลากหลายเหมาะสมกับผูเ รยี น
 ใชสื่อหรือแหลง เรยี นรทู ่ีทนั สมัยและสง เสริมการเรียนรูไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ
 สอดคลอ งตามจดุ เนน ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจดุ เนน ของโรงเรยี น
 สง เสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls
 สงเสริมเบญจวิถีกาญจนา

.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .....................................................................
( นางสาวทิพวัลย ขลิดรมั )
หวั หนา กลุมสาระการเรียนรู

ความคิดเหน็ ของรองผอู ำนวยการฝายวิชาการ

.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ..................................................................................
( นางกัญจนช ญาณัท วงศจ ิระศักดิ์ )

รองผอู ำนวยการโรงเรียน กลมุ บรหิ ารงานวิชาการ

ความคิดเห็นของผอู ำนวยการโรงเรียน

.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ..................................................................................
( นางพรทิพย นุกลู กิจ )
ผูอำนวยการโรงเรยี น

ภาคผนวก ข
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู




Click to View FlipBook Version