The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 3 ไฟฟ้ากระแส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 3 ไฟฟ้ากระแส

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 3 ไฟฟ้ากระแส

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 1

รายวชิ า ฟส ิกส 4 รหสั วิชา ว30204 ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 5
กลุม สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรียนที่ 2 ปก ารศึกษา 2564
หนว ยการเรยี นรูท ี่ 3 เรอื่ ง ไฟฟากระแส เวลา 32 ชว่ั โมง
เร่ือง กระแสไฟฟา เวลา 4 ชั่วโมง
ผูสอน นายธนพันธ เพง็ สวัสดิ์ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สุราษฎรธ านี

1. ผลการเรียนรู
อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนอิสระและกระแสไฟฟาในลวดตัวนำ ความสัมพันธระหวาง

กระแสไฟฟาในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแนนของอิเล็กตรอนในลวด
ตวั นำและพื้นทห่ี นา ตัดของลวดตวั นำ และคำนวณปริมาณตาง ๆ ท่เี กีย่ วขอ ง

2. จุดประสงคก ารเรียนรู
1. อธบิ ายกระแสไฟฟา และกระแสอิเล็กตรอนได (K)
2. อธบิ ายความสมั พนั ธร ะหวา งกระแสไฟฟาในลวดตวั นำกับความเร็วลอยเล่อื นของอิเล็กตรอนอิสระได
3. อธิบายความสมพันธร ะหวา งความหนาแนน ของอิเล็กตรอนในลวดตวั นำและพ้นื ท่หี นาตัดของลวดตัวนำ

ได (K)
4. ตรวจสอบหาปรมิ าณตาง ๆ ทเี่ กย่ี วของกบั กระแสไฟฟา ในตัวนำไฟฟา (P)
5. มีความมุงมนั่ ในการเรียนรูและการทำงานท่ีไดรบั มอบหมายตลอดเวลา (A)

3. สาระการเรียนรู
เมื่อตอลวดตัวนำกับแหลงกำเนิดไฟฟาอิเล็กตรอนอิสระที่อยูในลวดตัวนำจะเคลือ่ นที่ในทิศตรงขามกบั

สนามไฟฟา ทำใหเ กิดกระแสไฟฟา ซ่ึงทิศของกระแสไฟฟา มีทิศทางเดียวกับสนามไฟฟา หรอื มีทิศทางจากจุดท่ี
มีศกั ยไ ฟฟาสูงไปยังจุดท่มี ศี ักยไ ฟฟา ต่ำกวา

กระแสไฟฟาในตัวนำไฟฟามีความสัมพันธกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ
ความหนาแนน ของอิเลก็ ตรอนอิสระในตวั นำและพื้นที่หนา ตดั ของตวั นำ ตามสมการ I = nevdA

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การถายโอนประจุไฟฟาผานลวดตัวนำหรือตัวนำอื่น ๆ เรียกวา กระแสไฟฟา จึงกลาวไดวา เมื่อมี

ประจุไฟฟาในตัวนำใดจะเกิดกระแสไฟฟาขึ้นในตัวนำนั้น กระแสไฟฟาจึงเกิดจากการไหลของประจุไฟฟา
โดยกระแสไฟฟาในตัวนำไฟฟามีความสัมพันธกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแนน
ของอิเลก็ ตรอนอสิ ระในตัวนำและพื้นท่หี นาตัดของตัวนำ

5. สมรรถนะสำคัญของผูเรยี นและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค
 1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย  5. อยอู ยา งพอเพียง
 2. ซ่ือสัตยส จุ รติ  6. มงุ มน่ั ในการทำงาน
 3. มวี ินยั  7. รกั ความเปน ไทย
 4. ใฝเรียนรู  8. มีจิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทิดทนู สถาบนั
 2. กตัญู
 3. บุคลกิ ดี
 4. มวี นิ ัย
 5. ใหเกยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผเู รยี น
 1. ความสามารถในการสือ่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญ หา
 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จุดเนน สกู ารพฒั นาผูเ รียน
ความสามารถและทกั ษะท่จี ำเปนในการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขยี นได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน )
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทักษะดา นการสรา งสรรคและนวัตกรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทัศน)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทมี และภาวะผนู ำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา นการสือ่ สารสารสนเทศ
และรเู ทา ทันส่อื )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่อื สาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนร)ู

 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู)
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปนผูนำ)
6. กิจกรรมการเรยี นรู
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชั่วโมงที่ 1

ข้นั ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครแู จง จดุ ประสงคการเรียนรใู หนักเรยี นทราบ จากน้ันครูใหน ักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรียน

ของหนว ยการเรียนรทู ี่ 7 ไฟฟากระแส เพอ่ื ตรวจสอบความรเู ดิมของนักเรียนเปน รายบคุ คลกอ นเขา สกู จิ กรรม
2. ครูถามคำถามกระตุนความสนใจของนักเรียนโดยใชคำถาม Big Question จากหนังสือเรีย

รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส และรวมกันอภิปราย
แสดงความคดิ เหน็ อยา งอสิ ระโดยไมมกี ารเฉลยวาถูกหรอื ผิด ดังน้ี

• ไฟฟา ที่ใชใ นบา นเรือนเปนกระแสไฟฟาแบบใด
(แนวตอบ : กระแสไฟฟา สลับ)
• หากตอ งการวัดกระแสไฟฟา ตอ งใชส ง่ิ ใด
(แนวตอบ : แอมมิเตอร)
• พลังงานไฟฟาท่ีนำไปคิดคาไฟฟาจะตองใชหนว ยใด
(แนวตอบ : หนวย (unit))
3. นักเรยี นตรวจสอบความเขา ใจของตนเองจากกรอบ Understanding Check ในหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส โดยบันทึกลงในสมุด
ประจำตัวนกั เรียน

ขัน้ ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
1. ครูนำอุปกรณสาธิตการทดลอง เชน อิเล็กโทรสโคปแบบแผนโลหะ 2 ชุด และลวดตัวนำ

จากนน้ั ครนู ำลวดตวั นำมาวางระหวางจานโลหะของอเิ ลก็ โทรสโคปท้งั สองชุด
2. นักเรียนแตละคนสังเกตลักษณะการกางของแผนโลหะบางกอนวางลวดตัวนำ และหลังวาง

ลวดตัวนำจากนนั้ ใหนกั เรียนแตละคนรว มกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นส่งิ ที่สงั เกตได
3. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “เพราะเหตุใด เมื่อนำลวดตัวนำมาวาง

ระหวางจานโลหะของอิเล็กโทรสโคปทั้งสองชุด แลวแผนโลหะบางของอิเล็กโทรสโคปทั้งสองชุดจึงเกิดการ
เปลี่ยนแปลง” โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอยางอิสระโดยไมมีการเฉลยวาถูก
หรือผดิ

(แนวตอบ : เพราะเกิดการถา ยโอนประจรุ ะหวางอิเล็กโทรสโคป และจะหยดุ การถา ยโอนประจุ
เม่ือความตา งศักยข องอิเลก็ โทรสโคปทง้ั สองเทากนั )
4. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน
ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง กระแสไฟฟา และการนำไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม

วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน
อนิ เทอรเนต็ หอ งสมดุ

5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละคนเขียนสรุป
ความรูท ่ไี ดจากการศึกษาคน ควาลงในสมดุ ประจำตวั นักเรยี น

(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)

ช่วั โมงที่ 2

ข้นั ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
6. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาคนควาหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียน

นำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิ่มเติมในเรื่องนั้น ๆ เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจที่ถูกตองมาก
ย่ิงขนึ้

(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมินนักเรยี น โดยใชแบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
7. ครตู ง้ั ประเดน็ คำถามกระตุนความคดิ นักเรียน โดยใหนกั เรียนแตละกลุมรวมกนั อภิปรายแสดง
ความคดิ เห็นเพื่อคำตอบ ดังนี้
• กระแสไฟฟาเกิดจากอะไร

(แนวตอบ : เกดิ จากประจุไฟฟาเคล่ือนท่)ี
• กระแสไฟฟา แบง เปนกี่ชนดิ อะไรบา ง

(แนวตอบ : กระแสไฟฟา แบงเปน 2 ชนิด คือ กระแสไฟฟาตรง และกระแสไฟฟา สลับ)
• กระแสไฟฟา ตรง และกระแสไฟฟา สลบั แตกตางกันอยา งไร

(แนวตอบ : กระแสไฟฟา ตรง จะมกี ารไหลในทิศทางเดยี วตลอดเวลา สวนกระแสไฟฟาสลบั
จะขึ้นอยกู ับเวลาท่ีอิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีไปมาตลอดเวลา)
• คณุ สมบตั ิของตัวนำไฟฟาที่ดี มีลักษณะอยา งไร
(แนวตอบ : มีความตานทานไฟฟา นอย)
8. ครูสมุ นักเรยี น จำนวน 5 คน ยกตวั อยา งแหลงกำเนดิ ไฟฟาท่ีรจู ัก มาคนละ 1 ชนิด
(แนวตอบ : เชน เซลลแหง เซลลสุรยิ ะ เซลลเ ช้ือเพลงิ แบตเตอรี่ เครอื่ งกำเนดิ ไฟฟา เปนตน)
9. นักเรียนแตละคนทำใบงานที่ 7.1.1 เรื่อง กระแสไฟฟา และกระแสอิเล็กตรอน จากนั้นครู
สุมนักเรียน จำนวน 2 คน ออกมาเฉลยใบงานที่ 7.1.1 เรื่อง กระแสไฟฟา และกระแสอิเล็กตรอนโดยครูให
นกั เรยี นรวมกนั พจิ ารณาวา คำตอบใดถูกตอ ง จากนั้นครเู ฉลยคำตอบท่ีถูกตองใหน ักเรียน

ชั่วโมงที่ 3 – 4

ขัน้ ที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
10. ครถู ามคำถาม Prior Knowledge จากหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.

5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูท่ี 7 ไฟฟา กระแส วา “ปรมิ าณกระแสไฟฟา ท่ีผา นลวดตวั นำขน้ึ อยกู ับสงิ่ ใด”
(แนวตอบ: ความเร็วลอยเลื่อนของอิเลก็ ตรอนอสิ ระ ความหนาแนน ของอิเล็กตรอนอสิ ระใน
ตัวนำและพ้ืนทหี่ นาตดั ของตัวนำ)
11. นกั เรียนแบง กลุม (กลมุ เดิม) จากชวั่ โมงทผ่ี า นมา จากน้ันใหนกั เรยี นแตละกลุมรวมกันศึกษา

คน ควา ขอ มลู เก่ยี วกับ เรอ่ื ง กระแสไฟฟาในตัวนำไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส

ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน อินเทอรเน็ตหองสมุด QR
Code เรอ่ื ง กระแสไฟฟา ในตวั นำไฟฟา

12. นกั เรียนแตล ะกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากน้นั ใหน กั เรียนแตละกลุมรวมกันสรุป
ความรทู ่ไี ดจ ากการศึกษาคนควาลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรียน

(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนักเรยี น โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )
ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู (Explain)

13. นักเรียนแตล ะกลุมออกมานำเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียน
นำเสนอครูคอยใหขอ เสนอแนะเพิ่มเติมเพอ่ื ใหนักเรยี นมีความเขา ใจที่ถูกตอ งมากย่งิ ข้นึ

(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
14. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหน ักเรียนเขาใจเกี่ยวกบั ทศิ ทางการเคลือ่ นท่ีของกระแสไฟฟาในตัวนำวา
“กระแสไฟฟาในตัวนำ มีทิศทางการเคลื่อนที่เดียวกับทิศทางของสนามไฟฟา เคลื่อนที่จากบริเวณที่มี
ศกั ยไ ฟฟา สูงไปยังบริเวณท่มี ศี ักยไฟฟา ตำ่ ”
15. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสอิเล็กตรอนวา
“กระแสอิเล็กตรอน มีทิศทางสวนทางกับทิศทางของสนามไฟฟา เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีศักยไฟฟาต่ำไปยัง
บริเวณท่ีมศี ักยไ ฟฟาสงู ”
ขัน้ ที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
16. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง กระแสไฟฟา การนำไฟฟา และ
กระแสไฟฟาในตัวนำไฟฟา และใหความรูเพิ่มเติมจากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง
กระแสไฟฟา ในการอธิบายเพิม่ เติม
17. นักเรยี นแตล ะคนศึกษาตัวอยางท่ี 7.1 – 7.2 จากหนงั สอื เรียน รายวชิ าเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร
ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 7 ไฟฟากระแส จากนั้นทำใบงานที่ 7.1.2 เรื่อง กระแสไฟฟาในตัวนำ
ไฟฟา
18. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คน ออกมาแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ จากใบงานที่ 7.1.2
เร่อื ง กระแสไฟฟาในตัวนำไฟฟา หนาชัน้ เรียน โดยครสู อบถามนักเรยี นในชน้ั เรยี นวามคี ำตอบแตกตางจากสิ่งท่ี
เพื่อนออกมาแสดงวิธีการคำนวณหรือไม ถาแตกตางครูใหนักเรียนออกมาแสดงวิธีการคำนวณหาผลลัพธ
จากน้ันครเู ฉลยคำตอบท่ีถูกตองใหน ักเรยี น
19. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง กระแสไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 7 ไฟฟา กระแส ลงในสมุดประจำตัวนกั เรยี น
20. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 7 เรื่อง กระแสไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชา
เพ่ิมเตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟา กระแส ลงในสมุดประจำตวั นักเรยี น
21. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง กระแสไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตรฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟา กระแส เปนการบา นสง ในชั่วโมงถัดไป

ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบกอนเรียนหนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส เพ่ือ

ตรวจสอบความเขาใจกอนเรียนของนกั เรียน

2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหนา ช้ันเรยี น

3. ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนจากกรอบ Understanding Check ในสมุดประจำตัว
นักเรียน

4. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานที่ 7.1.1 เรอื่ ง กระแสไฟฟา และกระแสอเิ ล็กตรอน
5. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานที่ 7.1.2 เรือ่ ง กระแสไฟฟา ในตวั นำไฟฟา
6. ครูตรวจ Topic Question เร่อื ง กระแสไฟฟา ในสมดุ ประจำตัวนักเรียน
7. ครตู รวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 7 เร่ือง กระแสไฟฟา ในสมุดประจำตัวนักเรียน
8. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง กระแสไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 7 ไฟฟากระแส
9. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับกระแสไฟฟา ซึ่งไดขอสรุปรว มกันวา “การถายโอนประจุ
ไฟฟาผานลวดตัวนำหรือตัวนำอื่น ๆ เรียกวา กระแสไฟฟา (electric current) เมื่อมีประจุไฟฟาไหลในตัวนำ
ใดจะเกดิ กระแสไฟฟาขึน้ ในตัวนำนน้ั กระแสไฟฟา จึงเกดิ จากการไหลของประจไุ ฟฟา”

7. การวัดและประเมินผล

รายการวดั วิธีวดั เคร่ืองมือ เกณฑการประเมิน
7.1 การประเมนิ กอนเรียน
- แบบทดสอบกอนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอน - ประเมินตามสภาพจริง
หนวยการเรยี นรูท่ี 7 กอนเรยี น หนวยการ เรยี น
ไฟฟา กระแส เรยี นรูท ี่ 7 ไฟฟา หนว ยการเรยี นรทู ่ี 7
กระแส ไฟฟา กระแส
7.2 การประเมินระหวา ง
การจัดกจิ กรรม
1) กระแสไฟฟา และ - ตรวจใบงานท่ี 7.1.1 - ใบงานท่ี 7.1.1 - รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
กระแสอิเล็กตรอน - ตรวจแบบฝกหัด - แบบฝก หัด - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
2) กระแสไฟฟา ใน - ตรวจใบงานที่ 7.1.2 - ใบงานท่ี 7.1.2 - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
ตวั นำไฟฟา - ตรวจแบบฝกหัด - แบบฝกหัด - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
3) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2
ผลการปฏบิ ัติ ผลงาน/ผลการปฏบิ ัติ นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
กจิ กรรม กจิ กรรม
4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ

5) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
ทำงานกลุม การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผานเกณฑ
- สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
6) คณุ ลกั ษณะ รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รยี นรู คุณลักษณะ ผานเกณฑ
อนั พึงประสงค

รายการวัด วิธีวัด เคร่อื งมอื เกณฑการประเมนิ
ซ่อื สัตย สจุ ริต และ อนั พงึ ประสงค
มุงมั่นในการทำงาน

8. สื่อ/แหลงการเรยี นรู
8.1 ส่ือการเรยี นรู
1) หนงั สือเรียน รายวิชาเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟา กระแส
2) แบบฝกหัด รายวิชาเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 7 ไฟฟากระแส
3) ใบงานที่ 7.1.1 เรื่อง กระแสไฟฟา และกระแสอิเลก็ ตรอน
4) ใบงานท่ี 7.1.2 เร่ือง กระแสไฟฟาในตัวนำไฟฟา
5) PowerPoint เร่ือง กระแสไฟฟา
6) อุปกรณส าธิตการทดลอง เชน อิเล็กโทรสโคปแบบแผนโลหะ 2 ชุด และลวดตวั นำ
7) QR Code เรื่อง กระแสไฟฟา ในตัวนำไฟฟา
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรยี น
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเ น็ต

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 2

รายวิชา ฟส ิกส 4 รหสั วชิ า ว30204 ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 5
กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2564
หนวยการเรยี นรทู ี่ 3 เร่ือง ไฟฟากระแส เวลา 32 ชว่ั โมง
เรือ่ ง ความสัมพนั ธร ะหวา งกระแสไฟฟาและความตางศักย เวลา 4 ช่ัวโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพ็งสวัสด์ิ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธานี

1. ผลการเรียนรู
ทดลอง และอธบิ ายกฎของโอหม อธิบายความสมั พนั ธร ะหวางความตา นทานกับความยาว พื้นที่หนา ตัด

และสภาพตานทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคำนวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวขอ ง รวมทั้งอธิบายและ
คำนวณความตานทานสมมลู เมื่อนำตวั ตา นทานมาตอกนั แบบอนุกรมและแบบขนาน

2. จุดประสงคการเรยี นรู
1. อธิบายกฎของโอหมได (K)
2. อธิบายความสัมพนั ธระหวา งกระแสไฟฟาและความตางศักยไ ด (K)
3. ปฏิบัติกิจกรรมความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักยไดอยางถูกตองและเปนลำดับ

ข้ันตอน (P)
4. ตรวจสอบหาปริมาณตา ง ๆ ท่เี กีย่ วขอ งกับกฎของโอหม ได (P)
5. มคี วามใฝเรยี นรแู ละมีความมงุ ม่นั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรียนรู
เมื่ออุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟาในตัวนำโลหะ ความตางศักยที่ปลายทั้งสองและความตานทานของ

ตัวนำนน้ั มคี วามสัมพนั ธก ันตามกฎของโอหม เขียนแทนไดด ว ยสมการ I =  1  V
R

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
กฎของโอหม มีใจความวา “ถาอุณหภูมิของลวดตัวนำคงตัว กระแสไฟฟาที่ผานลวดตัวนำจะเปน
สัดสวนโดยตรงกบั ความตา งศักยระหวางปลายทั้งสองของลวดตวั นำนั้น”

5. สมรรถนะสำคัญของผูเรยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยอู ยา งพอเพยี ง
 2. ซ่อื สตั ยส ุจรติ  6. มงุ มนั่ ในการทำงาน
 3. มีวนิ ยั  7. รักความเปนไทย

 4. ใฝเ รยี นรู  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทิดทนู สถาบัน
 2. กตญั ู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มวี นิ ยั
 5. ใหเ กยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผูเ รยี น
 1. ความสามารถในการสื่อสาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป ญหา
 4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จุดเนน สกู ารพฒั นาผูเรียน
ความสามารถและทกั ษะท่ีจำเปนในการเรยี นรูใ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดา นการสรา งสรรคและนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทมี และภาวะผูนำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา นการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ ทา ทันสอื่ )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรยี นรู)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน ผูนำ)

6. กิจกรรมการเรยี นรู
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชั่วโมงท่ี 1

ข้นั ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรูเดิมของนกั เรียนเก่ียวกบั เรื่อง กระแสไฟฟา จากนั้นครูแจง จุดประสงคการ

เรยี นรใู หนกั เรียนทราบ
2. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “สิ่งใดที่ทำใหประจุไฟฟาในตัวนำเคลื่อนท่ี

และการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟานั้นสงผลใหเกิดสิ่งใด” โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภิปรายแสดงความ
คดิ เหน็ อยา งอสิ ระโดยไมมกี ารเฉลยวา ถกู หรือผิด

(แนวตอบ : ความตา งศกั ยม ีผลทำใหประจไุ ฟฟาในตัวนำเคลือ่ นที่ และการเคลื่อนทข่ี องประจุ
ไฟฟานั้นทำใหเกดิ กระแสไฟฟา )

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นักเรียนแตละคนศึกษาคนควาขอ มูลเกี่ยวกับ เรื่อง กฎของโอหม จากหนังสือเรียน รายวิชา

เพิม่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส หรือแหลงการเรยี นรูตา ง ๆ เชน
อินเทอรเ นต็ หองสมุด จากนนั้ เขียนสรุปความรทู ไ่ี ดจ ากการศึกษาคน ควาลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรียน

(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
2. นกั เรียนแบง กลุม กลุมละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนัน้ ครแู จง จดุ ประสงคของกจิ กรรม
ความสมั พนั ธระหวางกระแสไฟฟา และความตางศักย ใหน ักเรยี นทราบเพ่ือเปน แนวทางการปฏบิ ัติกจิ กรรมท่ี
ถกู ตอง
3. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษากิจกรรม ความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตาง
ศักยจ ากหนงั สือเรียน รายวิชาเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟา กระแส โดย
ครูใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือมาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกำหนดใหสมาชิกแตละคนภายในกลุมมี
บทบาทหนาทีข่ องตนเอง ดงั น้ี

• สมาชกิ คนท่ี 1 – 2 ทำหนาท่ี เตรียมวัสดุอุปกรณท ใี่ ชใ นการปฏิบตั ิกจิ กรรม
ความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตา งศักย

• สมาชิกคนท่ี 3 – 4 ทำหนาที่อานวิธปี ฏิบัตกิ จิ กรรมและนำมาอธบิ ายใหสมาชิกในกลมุ ฟง
• สมาชิกคนที่ 5 – 6 ทำหนาที่ บันทกึ ผลการปฏิบัติกิจกรรมลงในสมุดประจำตัวนักเรยี น
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรม)
4. นักเรียนแตละกลุมรวมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตรฟ สกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูท ี่ 7 ไฟฟากระแส
5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันแลกเปลี่ยนความรูและวิเคราะหผลการปฏิบัติกิจกรรม แลว
อภปิ รายผลรว มกนั

ช่วั โมงท่ี 2 – 3

ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู (Explain)

6. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียน
นำเสนอครูคอยใหขอเสนอแนะเพ่ิมเติมเพ่ือใหนกั เรียนมีความเขา ใจทีถ่ ูกตองมากย่ิงข้นึ
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
7. นกั เรียนแตละกลุมรว มกันตอบคำถามทายกิจกรรม ความสัมพันธร ะหวางกระแสไฟฟาและความ
ตางศักยโดยใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อหาคำตอบ จากนั้นครูสุมนักเรียน
จำนวน 4 – 5 กลุม ออกมานำเสนอคำตอบของกลมุ ตนเองหนา ช้นั เรียน
8. เมื่อนักเรียนแตละกลุมนำเสนอคำตอบของกลุมตนเองเรียบรอยแลว นักเรียนและครูรวมกัน
อภิปรายผลทา ยกจิ กรรม ความสมั พันธร ะหวางกระแสไฟฟา และความตางศักย และเฉลยคำถามทา ยกิจกรรม
9. ครตู งั้ ประเด็นคำถามกระตนุ ความคดิ นักเรียน โดยใหน กั เรยี นแตล ะกลมุ รวมกนั อภิปรายแสดง
ความคิดเหน็ เพ่อื หาคำตอบ ดงั นี้
• กฎของโอหม มีใจความวา อยางไร
(แนวตอบ : กฎของโอหม มีใจความวา “ถาอุณหภมู ิของลวดตัวนำคงตวั กระแสไฟฟา ท่ผี า น
ลวดตัวนำจะเปน สัดสว นโดยตรงกบั ความตา งศักยร ะหวา งปลายทง้ั สองของลวดตัวนำน้นั ”)
• กระแสไฟฟากบั ความตา งศกั ยมคี วามสมั พันธก นั อยางไร และสอดคลองกบั กฎใด
(แนวตอบ : กระแสไฟฟากับความตา งศกั ยมคี วามสัมพันธก ัน โดยแปรผนั ตามกัน หาก
กระแสไฟฟา มีคามาก ความตางศักยจะมคี ามาก แตถา กระแสไฟฟา มีคานอ ย ความตางศักยก ็
จะมีคา นอยตามไปดว ย ซ่งึ ความสมั พนั ธดังกลา วสอดคลองกบั กฎของโอหม )
10. ครูยกตัวอยางโจทยปญหาเกี่ยวกับกฎของโอหม โดยครูเขียนโจทยและแสดงวิธีการ
คำนวณหาผลลพั ธใหน กั เรียนดบู นกระดาน ดังน้ี
ตวั อยา ง หลอดไฟฟา หลอดหนง่ึ ตอ กับความตางศักยไฟฟาเทากับ 220 โวลต มีกระแสไฟฟา
ไหลผาน 2.0 แอมแปร อยากทราบวา ความตานทานไฟฟา ของหลอดไฟฟามคี า ก่ีโอหม
วธิ ีทำ จากสมการ V = IR

จะไดว า R = I = 220 = 110 Ω
R 2.0
ดงั นั้น หลอดไฟฟาหลอดนี้มีความตานทานไฟฟาเทากบั 110 โอหม

ข้ันที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
11. ครเู ปด โอกาสใหนักเรยี นซักถามเน้ือหาเก่ยี วกับ เร่ือง ความสมั พันธร ะหวางกระแสไฟฟาและ

ความตางศักย และใหความรูเพิ่มเติมจากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง ความสัมพันธ
ระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักย ในการอธิบายเพ่ิมเตมิ

12. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง ความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักย
จากแบบฝกหดั รายวิชาเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟา กระแส

ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ัติกิจกรรมหนา ช้ันเรียน
2. ครูวัดและประเมนิ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมความสมั พนั ธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศกั ย

3. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง ความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักย จาก
แบบฝก หัด รายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ่ี 7 ไฟฟากระแส

4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางกระแสไฟฟาและความตางศักย ซึ่ง
ไดขอสรุปรวมกันวา “เมื่อมีความตางศักยระหวางปลายทั้งสองของลวดตัวนำใด จะมีกระแสไฟฟาผานลวด
ตัวนำนั้น การเปลี่ยนแปลงคาความตางศักยระหวางปลายท้ังสองของลวดตัวนำจะสงผลใหกระแสไฟฟาท่ีผาน
ลวดตัวนำเปล่ียนแปลงไป ซง่ึ พิจารณาไดจ ากกฎของโอหม ท่วี า ถา อุณหภูมิของลวดตัวนำคงตัว กระแสไฟฟาท่ี
ผานลวดตวั นำจะเปนสัดสวนโดยตรงกบั ความตา งศักยระหวา งปลายทง้ั สองของลวดตัวนำน้นั ”

7. การวัดและประเมินผล

รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑก ารประเมนิ
7.1 การประเมนิ ระหวาง
- ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝกหัด - รอยละ 60 ผาน
การจดั กจิ กรรม เกณฑ
1) ความสมั พนั ธระหวา ง - ประเมนิ การปฏิบตั ิ - แบบประเมนิ การ - ระดบั คุณภาพ 2
กิจกรรม ปฏิบตั ิกิจกรรม ผานเกณฑ
กระแสไฟฟา
และความตางศักย - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดบั คณุ ภาพ 2
2) ผลบันทกึ การปฏบิ ตั ิ ผลงาน/ผลการปฏบิ ัติ นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
กจิ กรรมความสมั พนั ธ กจิ กรรม
ระหวางกระแสไฟฟา - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
และความตา งศักย การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ
3) การนำเสนอผลงาน/ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2
ผลการปฏิบัติ การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
กจิ กรรม - สงั เกตความมีวนิ ยั - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2
4) พฤติกรรมการ รับผิดชอบ ใฝเ รียนรู คณุ ลักษณะ ผา นเกณฑ
ทำงานรายบุคคล ซ่อื สัตย สุจรติ อนั พึงประสงค
5) พฤติกรรมการ
ทำงานกลุม
6) คณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงค

8. ส่อื /แหลงการเรยี นรู
8.1 สือ่ การเรียนรู
1) หนังสือเรียน รายวิชาเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ี่ 7 ไฟฟากระแส
2) แบบฝก หดั รายวิชาเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟากระแส
3) วัสดอุ ุปกรณทใี่ ชใ นการปฏิบัตกิ ิจกรรมความสัมพนั ธร ะหวา งกระแสไฟฟาและความตา งศักย
4) PowerPoint เรอ่ื ง ความสัมพันธระหวา งกระแสไฟฟาและความตา งศักย
5) สมุดประจำตวั นักเรยี น

8.2 แหลงการเรียนรู
1) หองเรียน
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเน็ต

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 3

รายวิชา ฟส ิกส 4 รหัสวชิ า ว30204 ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 5
กลุม สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2564
หนวยการเรียนรูท่ี 3 เรื่อง ไฟฟา กระแส เวลา 32 ชว่ั โมง
เรือ่ ง ตวั ตา นทาน เวลา 5 ชั่วโมง
ผูสอน นายธนพันธ เพ็งสวัสดิ์ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธานี

1. ผลการเรยี นรู
ทดลอง และอธิบายกฎของโอหม อธบิ ายความสัมพันธร ะหวางความตา นทานกบั ความยาว พ้นื ท่ีหนาตัด

และสภาพตานทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมคิ งตัว และคำนวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวขอ ง รวมทั้งอธบิ ายและ
คำนวณความตานทานสมมลู เมอื่ นำตัวตา นทานมาตอ กนั แบบอนกุ รมและแบบขนาน

2. จดุ ประสงคก ารเรียนรู
1. อธิบายชนดิ ของตัวตานทานและอานคาความตา นทานจากแถบสบี นตัวตานทานได (K)
2. อธิบายความตา นทานสมมูลของตวั ตา นทานท่ีตอแบบอนุกรมและแบบขนานได (K)
3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมกระแสไฟฟาและความตางศักยร ะหวางปลายของตัวตา นทานทีต่ อกนั แบบอนุกรมและ

แบบขนานไดอยางถกู ตอ งและเปนลำดบั ขน้ั ตอน (P)
4. ตรวจสอบหาปริมาณตา ง ๆ ที่เก่ยี วขอ งกบั ความตา นทานสมมูลของตัวตา นทานทตี่ อแบบอนุกรมและ

แบบขนานได (P)
5. มคี วามใฝเ รียนรแู ละมีความมุงม่นั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรียนรู
คา ความตานทานของตัวตา นทานอานไดจากแถบสบี นตัวตา นทาน เมอ่ื นำตวั ตานทานมาตอ แบบอนุกรม

ความตานทานสมมูลมคี าเพ่ิมขึ้น ตามสมการ
R = R1 + R2 + R3 + ...

เม่อื นำตัวตา นทานมาตอ แบบขนาน ความตานทานสมมูลมีคาลดลง ตามสมการ
1 1 1 1
R = R1 + R2 + R3 + ...

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ตัวตานทานเปนอุปกรณที่ชวยในการปรับความตานทานและกระแสใหวงจร แบงออกเปน 5 ประเภท

ไดแ ก ตวั ตา นทานชนิดคาคงตัว ตัวตานทานแปรคาได ตัวตา นทานชนิดแบง คาได ตัวตา นทานชนิดปรับแตงคา

ไดและตัวตานทานชนิดพิเศษ โดยคาความตานของตัวตานทานชนิดคาคงตัวสามารถอานไดจากแถบสีบน
ตัวตานทาน เมื่อนำตัวตานทานมาตอกันจะสามารถตอได 2 แบบ คือ แบบอนุกรมและแบบขนาน โดยความ
ตานทานสมมูล (ความตานทานรวม) จะมีคาเพิ่มขึ้นเมื่อตอแบบอนุกรม และความตานทานสมมูล (ความ
ตา นทานรวม) จะมคี าลดลงเมอื่ ตอ แบบขนาน

5. สมรรถนะสำคัญของผูเรยี นและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยูอยา งพอเพยี ง
 2. ซ่อื สัตยสุจรติ  6. มงุ มน่ั ในการทำงาน
 3. มีวินยั  7. รักความเปนไทย
 4. ใฝเ รยี นรู  8. มีจติ สาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทิดทนู สถาบนั
 2. กตญั ู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวนิ ยั
 5. ใหเ กยี รติ

สมรรถนะท่ีสำคญั ของผเู รยี น
 1. ความสามารถในการสอื่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญ หา
 4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จุดเนนสูการพฒั นาผเู รียน
ความสามารถและทกั ษะทจ่ี ำเปนในการเรียนรูใ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขยี นได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน )
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแกป ญ หา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดา นการสรางสรรคแ ละนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผนู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดานการสือ่ สารสารสนเทศ
และรเู ทาทนั สอื่ )

 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร)

 C7 – Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู)
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรียนร)ู
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน ผนู ำ)

6. กจิ กรรมการเรยี นรู
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชัว่ โมงที่ 1

ขนั้ ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรเู ดิมของนักเรยี นเกี่ยวกับ เร่อื ง ความสมั พันธร ะหวา งกระแสไฟฟาและความ

ตา งศกั ยจากน้นั ครูแจง จุดประสงคการเรียนรูใ หนักเรยี นทราบ
2. นักเรยี นแบง กลุม กลุมละ 5 คน ตามความสมัครใจ จากน้นั ครแู จกตัวตานทานชนิดคาคงตัว

ทีม่ แี ถบสีแตกตา งกนั โดยใหแตละกลมุ รวมกนั สงั เกต
3. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียน โดยครูใชคำถาม Prior Knowledge จาก

หนังสอื เรียน รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟา กระแส วา “แถบ
สีบนตัวตานทานมีความหมาย หรือไมอยางไร” โดยใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น
อยางอสิ ระโดยไมมีการเฉลยวา ถกู หรอื ผดิ

(แนวตอบ : แถบสีบนตัวตา นทานใชแสดงคาความตา นทานของตัวตานทานตวั น้ัน)

ข้ันท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)
1. นักเรยี นแบง กลุม (กลุมเดิม) จากนน้ั ใหนกั เรยี นแตล ะกลุมรวมกันศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับ

เรื่อง ประเภทของตัวตานทาน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการ
เรียนรทู ่ี 7 ไฟฟา กระแส หรอื แหลงการเรยี นรูต าง ๆ เชน อนิ เทอรเ นต็ หอ งสมุด

2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมเขียนสรุป
ความรูท ี่ไดจ ากการศกึ ษาคนควาลงในสมุดประจำตวั นักเรยี น

(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)

ช่ัวโมงที่ 2

ขน้ั ที่ 2 สำรวจคนหา (Explore)
3. ครูสุมนักเรียนออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน โดยสุมออกมาเพียง 5 กลุม ซึ่งครู

เปน คนเลอื กวาจะใหกลุมไหนนำเสนอเรื่องอะไร ตามหวั ขอเร่ืองดงั ตอ ไปน้ี
• กลุม ท่ี 1 นำเสนอเกยี่ วกบั ตัวตานทานชนดิ คาคงตัว

• กลมุ ท่ี 2 นำเสนอเกีย่ วกบั ตัวตา นทานแปรคาได
• กลุมที่ 3 นำเสนอเกย่ี วกบั ตัวตา นทานชนดิ แบงคาได
• กลุม ท่ี 4 นำเสนอเกีย่ วกับตัวตานทานชนดิ ปรับแตงคาได
• กลุมท่ี 5 นำเสนอเกยี่ วกับตวั ตานทานชนิดพเิ ศษ
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
4. ขณะทนี่ กั เรียนแตล ะกลุม นำเสนอ ครอู าจเสนอแนะหรือแทรกขอมลู เพมิ่ เติมในเร่ืองน้ัน ๆ ให
นักเรียนทกุ คนไดม ีความเขา ใจท่ีถกู ตองมากยิง่ ขน้ึ
5. ครใู หนักเรียนแตล ะคนเขียนสญั ลกั ษณต วั ตานทานแตละประเภท ลงในสมุดประจำตวั นกั เรียน
ดังนี้
• ตัวตานทานชนดิ คาคงตวั
• ตัวตานทานแปรคา ได
• ตวั ตานทานชนดิ แบงคาได
• ตัวตา นทานชนดิ ปรับแตงคาได
• แอลดีอาร
• เทอรม ิสเตอร
• วาริสเตอร
6. นักเรียนแตละคนพิจารณาตารางคาของแถบสีบนตัวตานทาน จากหนังสือเรียน รายวิชา
เพิ่มเตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 7 ไฟฟา กระแส จากนั้นครอู ธบิ ายใหนักเรียนเขาใจ
เกี่ยวกับความหมายของแถบสีแตละแถบบนตัวความตานทานชนิดคาคงตัววา “แถบสีบนตัวตานทานจะมี 4
แถบ โดยแตล ะแถบสีมคี วามหมาย ดังนี้
• แถบที่ 1 : บอกเลขหลกั สบิ
• แถบที่ 2 : บอกเลขหลักหนวย
• แถบที่ 3 : บอกเลขยกกำลงั ฐาน 10 ทต่ี องคณู กบั 2 ตวั แรก
• แถบที่ 4 : บอกคาเปอรเซ็นตความคลาดเคลื่อน”

7. นักเรียนจับคูกับเพื่อนในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นรวมกันทำใบงานที่ 7.3.1 เรื่อง
การอานคา ความตา นทานจากแถบสี

8. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คู ออกมาเฉลยใบงานที่ 7.3.1 เรื่อง การอานคาความตานทานจาก
แถบสีโดยครใู หน ักเรยี นรว มกนั พิจารณาวา คำตอบใดถกู ตอง จากนน้ั ครูเฉลยคำตอบทีถ่ กู ตองใหนกั เรียน

ชัว่ โมงที่ 3

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore)
9. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนจากชั่วโมงที่ผานมา โดยครูตั้งประเด็นคำถามกระตุน

ความคิดนกั เรยี นวา “ตัวตานทาน ทำหนา ทอ่ี ะไร”
(แนวตอบ : ตวั ตานทาน มีหนา ที่ ในการควบคุมปริมาณกระแสไฟฟาท่ีผานวงจรและคาความ
ตา งศกั ยร ะหวา งสองจุดใด ๆ ในวงจร)

10. นักเรียนแบงกลุม (กลุมเดิม) จากชั่วโมงที่ผานมา จากนั้นใหนักเรียนแตละคนกลุมรวมกัน
ศกึ ษาคน ควา ขอมลู เกีย่ วกับ เร่ือง การตอตวั ตานทาน จากหนงั สอื เรียน รายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.
5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูท ี่ 7 ไฟฟา กระแส หรือแหลง การเรยี นรูตาง ๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด QR Code
เร่ือง การตอ ตัวตา นทาน

11. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมเขียนสรุป
ความรูที่ไดจากการศึกษาคน ควาลงในสมุดประจำตวั นักเรยี น

(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
12. ครตู ง้ั ประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียน โดยใหน ักเรยี นแตล ะกลุมรวมกันอภปิ ราย
แสดงความคิดเห็นเพื่อหาคำตอบ ดงั นี้
• การตอตัวตา นทานแบบอนุกรม มีลักษณะอยา งไร

(แนวตอบ : การตอตัวตานทานแบบอนุกรม เปน การนำตวั ตา นทานหลาย ๆ ตัวมาตอเรยี งกนั
โดยใชป ลายหนง่ึ ของตวั ตานทานตัวหนงึ่ ตอกับปลายของตัวตานทานอีกตวั หนึ่งตอเรียงกันไป
เร่อื ย ๆ)
• การตอตวั ตา นทานแบบขนาน มลี กั ษณะอยางไร
(แนวตอบ : การตอตวั ตานทานแบบขนาน เปนการตอ ตวั ตานทานครอมอยรู ะหวาง 2 จุด
โดยตอ รวบปลายหรือขาแตละขางของตวั ตานไวทีจ่ ดุ เดยี วกัน)
• การตอ ตานทานแบบผสม มีลักษณะอยางไร
(แนวตอบ : การตอตัวตา นทานแบบผสม เปนการตอตัวตานทานตงั้ แต 3 ตัวข้นึ ไป มาตอ
ผสมกนั ระหวา งการตอแบบอนุกรมและแบบขนาน)
13. นักเรยี นแตล ะคนศึกษาตัวอยา งท่ี 7.3 – 7.4 จากหนังสือเรียน รายวชิ าเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร
ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 7 ไฟฟากระแส จากนัน้ ครสู มุ นกั เรียน จำนวน 4 คน ออกมาแสดงวิธีการ
คำนวณหาผลลพั ธท ีไ่ ดศกึ ษา ครูอาจเสนอแนะ หรืออธิบายเพม่ิ เตมิ ในตัวอยางนั้น ๆ
14. นกั เรยี นทำใบงานที่ 7.3.2 เร่อื ง ความตานทานสมมลู

ชว่ั โมงที่ 4

ข้ันท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)
15. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นครูแจงจุดประสงคของกิจกรรม

กระแสไฟฟาและความตางศักยระหวางปลายของตัวตานทานที่ตอกันแบบอนุกรมและแบบขนานใหนักเรียน
ทราบเพอื่ เปนแนวทางการปฏบิ ัติกจิ กรรมทถ่ี กู ตอง

16. นักเรียนแตละกลุมรว มกันศึกษากิจกรรม กระแสไฟฟาและความตางศักยระหวางปลายของ
ตัวตานทานที่ตอกันแบบอนุกรมและแบบขนาน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5
เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส โดยครูใชรูปแบบการเรียนรูแบบรวมมือมาจัดกระบวนการเรียนรู
โดยกำหนดใหสมาชกิ แตล ะคนภายในกลุมมีบทบาทหนา ทขี่ องตนเอง ดงั น้ี

• สมาชิกคนท่ี 1 – 2 ทำหนาท่ีเตรยี มวสั ดุอปุ กรณท่ใี ชในการปฏิบัติกจิ กรรมกระแสไฟฟา
และความตางศักยระหวางปลายของตวั ตา นทานท่ตี อกนั แบบอนกุ รมและแบบขนาน

• สมาชิกคนที่ 3 – 4 ทำหนาท่ีอา นวิธปี ฏิบัตกิ ิจกรรมและนำมาอธิบายใหสมาชิกในกลุมฟง
• สมาชิกคนที่ 5 – 6 ทำหนาท่ี บันทึกผลการปฏิบตั ิกิจกรรมลงในสมดุ ประจำตัวนักเรยี น
(หมายเหตุ : ครูเร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบประเมินการปฏิบัตกิ ิจกรรม)
17. นักเรียนแตละกลุมรวมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตรฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ี่ 7 ไฟฟา กระแส
18. นักเรียนแตละกลุมรวมกันแลกเปลี่ยนความรูและวิเคราะหผลการปฏิบัติกิจกรรม แลว
อภปิ รายผลรว มกนั

ชั่วโมงท่ี 5

ขั้นที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain)
19. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนาช้ันเรียน ในระหวางที่นักเรียน

นำเสนอครคู อยใหข อ เสนอแนะเพิม่ เตมิ เพือ่ ใหน กั เรยี นมีความเขาใจที่ถูกตอ งมากยิง่ ขึ้น
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
20. นักเรียนแตละกลุมรวมกันตอบคำถามทายกิจกรรม กระแสไฟฟาและความตางศักยระหวาง

ปลายของตัวตานทานท่ีตอกันแบบอนุกรมและแบบขนาน โดยใหน กั เรียนแตละกลุมรวมกนั อภิปรายแสดงความ
คิดเห็นเพื่อหาคำตอบ จากนั้นครูสุมนักเรียน จำนวน 4-5 กลุม ออกมานำเสนอคำตอบของกลุมตนเองหนา
ชั้นเรียน

21. เม่อื นกั เรยี นแตละกลมุ นำเสนอคำตอบของกลมุ ตนเองเรียบรอยแลว นกั เรยี นและครูรวมกัน
อภิปรายผลทายกจิ กรรม ความสมั พันธร ะหวา งกระแสไฟฟา และความตางศักย และเฉลยคำถามทา ยกจิ กรรม

22. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียน โดยใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปราย
แสดงความคิดเหน็ เพอ่ื หาคำตอบ ดงั นี้

• แถบสีบนตัวตานทานแสดงถงึ คา อะไร และคา นนั้ เปนคา เดยี วกับคาท่ีไดจ ากการนำโอหม
มเิ ตอรไปวัดหรอื ไม
(แนวตอบ : แถบสีบนตัวตา นทานแสดงถึงคา ความตา นทาน และคาจากการอานแถบสบี น
ตัวตานทานน้นั เปนคา ท่บี อกเปนชว งความตา นทานซึ่งจะเปนคา ท่ีใกลเ คียงกบั การนำโอหม
มเิ ตอรไปวดั คา)

• ถา ตอ งการใหคา ความตานทานสมมลู มีคาเพ่ิมขน้ึ จะตองนำตัวตา นทานมาตอกันแบบใด
(แนวตอบ : แบบอนุกรม)

• ถาตอ งการใหคา ความตานทานสมมูลมีคา ลดลงจะตอ งนำตัวตานทานมาตอกันแบบใด
(แนวตอบ : แบบขนาน)

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
23. ครเู ปดโอกาสใหนักเรยี นซักถามเนอ้ื หาเกี่ยวกับ เรอื่ ง ตวั ตา นทาน และใหค วามรเู พ่ิมเติมจาก

คำถามของนักเรยี น โดยครใู ช PowerPoint เรอื่ ง ตัวตานทาน ในการอธบิ ายเพ่มิ เติม
24. นกั เรียนทำ Topic Question เรื่อง ตัวตานทาน จากหนงั สือเรียน รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร

ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ี่ 7 ไฟฟากระแส ลงในสมุดประจำตวั นักเรียน

25. นักเรยี นแตละคนทำ Unit Question 7 เร่ือง ตวั ตา นทาน จากหนงั สอื เรียน รายวิชาเพิม่ เติม
วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 7 ไฟฟา กระแส ลงในสมุดประจำตัวนกั เรยี น

26. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง ตัวตานทาน จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตรฟส กิ ส ม.5 เลม 2

ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤติกรรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนาช้นั เรยี น
2. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานท่ี 7.3.1 เร่ือง การอา นคา ความตานทานจากแถบสี
3. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานท่ี 7.3.2 เร่อื ง ความตา นทานสมมลู
4. ครูวัดและประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรม กระแสไฟฟาและความตางศักยระหวางปลายของ

ตัวตานทานทีต่ อ กนั แบบอนกุ รมและแบบขนาน
5. ครูตรวจ Topic Question เร่ือง ตวั ตา นทาน ในสมดุ ประจำตัวนักเรียน
6. ครตู รวจแบบฝก หดั จาก Unit Question 7 เร่ือง ตวั ตา นทาน ในสมุดประจำตัวนกั เรียน
7. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง ตัวตานทาน จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร

ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟากระแส
8. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับตัวตานทาน ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา “ตัวตานทาน เปน

อุปกรณที่ชวยปรับความตานทานและกระแสไฟฟาใหกับวงจร แบงเปน 2 ชนิด ไดแก ตัวตานทานคาคงตัว
และตัวตานทานแปรคาได การตอตัวตานแบบอนุกรม เปนการนำตัวตานทานหลาย ๆ ตัว มาตอเรียงกัน โดย
ใชปลายหนงึ่ ของตัวตานทานตวั หนึ่งตอกับปลายของตวั ตานทานอีกตัวหนึง่ และการตอตวั ตานทานแบบขนาน
เปนการนำตัวตานทานหลาย ๆ ตัว มาตอรวมกันเปนกลุม โดยใชปลายของตัวตานทานหลายตัวมาตอรวมกนั
ไวท จี่ ดุ หน่งึ และใชปลายอกี ขางของตัวตานทานทุกตัวไปตอรวมกนั ไวอีกจดุ หน่งึ ”

7. การวดั และประเมินผล วิธวี ดั เครื่องมอื เกณฑก ารประเมิน
รายการวดั
- ตรวจใบงานท่ี 7.3.1 - ใบงานที่ 7.3.1 - รอยละ 60 ผานเกณฑ
7.1 การประเมินระหวา ง - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝกหดั - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
การจัดกิจกรรม - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
1) การอา นคา - ตรวจใบงานท่ี 7.3.2 - ใบงานที่ 7.3.2 - รอยละ 60 ผานเกณฑ
ความตา นทาน - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝก หัด - ระดับคณุ ภาพ 2
จากแถบสี - ประเมนิ การปฏบิ ัติ - แบบประเมนิ การ ผา นเกณฑ
2) ความตานทาน กจิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรม
สมมูล
3) ผลบนั ทึกการปฏิบตั ิ
กจิ กรรม
กระแสไฟฟาและ
ความตางศักย
ระหวา งปลายของ

รายการวัด วธิ ีวดั เครื่องมอื เกณฑก ารประเมิน
ตวั ตา นทานท่ตี อกนั - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ การ
แบบอนกุ รมและ ผลงาน/ผลการปฏิบตั ิ นำเสนอผลงาน - ระดับคุณภาพ 2
แบบขนาน กิจกรรม ผา นเกณฑ
4) การนำเสนอผลงาน/ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดับคุณภาพ 2
ผลการปฏบิ ัติ การทำงานรายบุคคล พฤติกรรม ผา นเกณฑ
กจิ กรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
5) พฤติกรรมการ การทำงาน ผา นเกณฑ
ทำงานรายบุคคล รายบคุ คล - ระดบั คณุ ภาพ 2
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต ผานเกณฑ
6) พฤตกิ รรมการ การทำงานกลุม พฤติกรรม
ทำงานกลมุ การทำงานกลุม
- สังเกตความมีวินยั - แบบประเมิน
7) คุณลกั ษณะ รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รยี นรู คณุ ลักษณะ
อนั พึงประสงค ซ่ือสตั ย สจุ รติ และ อนั พงึ ประสงค
มุง ม่นั ในการทำงาน

8. สื่อ/แหลงการเรยี นรู
8.1 ส่อื การเรียนรู
1) หนงั สือเรยี น รายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 7 ไฟฟา กระแส
2) แบบฝก หัด รายวิชาเพิ่มเตมิ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ี่ 7 ไฟฟา กระแส
3) ใบงานที่ 7.3.1 เร่ือง การอานคาความตานทานจากแถบสี
4) ใบงานที่ 7.3.2 เรือ่ ง ความตา นทานสมมลู
5) วัสดุอุปกรณทใ่ี ชในการปฏิบตั กิ จิ กรรมกระแสไฟฟา และความตางศักยร ะหวางปลายของตวั ตานทาน
ท่ตี อกนั แบบอนุกรมและแบบขนาน
6) PowerPoint เรอ่ื ง ตัวตานทาน
7) ตวั ตา นทานชนดิ คาคงตวั
8) QR Code เรอ่ื ง การตอตัวตา นทาน
9) สมดุ ประจำตวั นักเรียน
8.2 แหลงการเรียนรู
1) หองเรยี น
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเนต็

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 4

รายวิชา ฟส ิกส 4 รหสั วิชา ว30204 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 5
กลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564
หนว ยการเรียนรูท่ี 3 เรื่อง ไฟฟา กระแส เวลา 32 ชวั่ โมง
เรอ่ื ง สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา เวลา 2 ชั่วโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพ็งสวัสด์ิ โรงเรียนกาญจนาภเิ ษกวทิ ยาลัย สุราษฎรธ านี

1. ผลการเรียนรู
ทดลอง และอธิบายกฎของโอหม อธบิ ายความสัมพนั ธร ะหวางความตานทานกบั ความยาว พืน้ ทห่ี นา ตัด

และสภาพตานทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคำนวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวขอ ง รวมทั้งอธบิ ายและ
คำนวณความตานทานสมมูล เมือ่ นำตวั ตานทานมาตอ กนั แบบอนุกรมและแบบขนาน

2. จดุ ประสงคการเรียนรู
1. อธบิ ายความสัมพนั ธระหวา งความตานทานกับความยาว พน้ื ทหี่ นา ตดั และสภาพตา นทานของตัวนำ

โลหะทอ่ี ณุ หภูมิคงตัวได (K)
2. ตรวจสอบหาปริมาณตาง ๆ ทเี่ กี่ยวของกบั สภาพตานทานไฟฟา และสภาพนำไฟฟาได (P)
3. มคี วามมงุ มน่ั ในการเรยี นรูและการทำงานที่ไดร บั มอบหมายตลอดเวลา (A)

3. สาระการเรยี นรู
ความตานทานของวตั ถุเมอ่ื อุณหภูมิคงตวั ขน้ึ อยูกับชนิดและรูปรางของวตั ถุ ตามสมการ
1
R = ρ A

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
ความตานทานไฟฟาตอหนวยความยาวของวัสดุที่มีพื้นที่หนาตัดคงตัว เรียกวา สภาพตานทานไฟฟา

สวนความนำไฟฟาตอพื้นที่หนาตัดของวัสดุซึ่งยาว 1 เมตร ของวัสดุที่มีพื้นที่หนาตัดคงตัว 1 ตารางเมตร
เรยี กวา สภาพนำไฟฟา โดยสภาพตานทานไฟฟา กบั สภาพนำไฟฟา เปน สว นกลับของกันและกนั

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ รยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
 1. รักชาติ ศาสน กษตั ริย  5. อยูอยา งพอเพียง
 2. ซอ่ื สตั ยส ุจริต  6. มงุ มน่ั ในการทำงาน
 3. มวี นิ ัย  7. รกั ความเปน ไทย

 4. ใฝเ รยี นรู  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทิดทนู สถาบัน
 2. กตญั ู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มวี นิ ยั
 5. ใหเ กยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผูเ รยี น
 1. ความสามารถในการสื่อสาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป ญหา
 4. ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จุดเนน สกู ารพฒั นาผูเรียน
ความสามารถและทกั ษะท่ีจำเปนในการเรยี นรูใ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดา นการสรา งสรรคและนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทมี และภาวะผูนำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา นการสื่อสารสารสนเทศ
และรูเ ทา ทันสอื่ )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรยี นรู)
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรณุ า วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน ผูนำ)

6. กิจกรรมการเรยี นรู
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ช่วั โมงท่ี 1

ข้นั ท่ี 1 กระตุนความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง ตัวตานทาน จากนั้นครูแจงจุดประสงคการ

เรยี นรูใหน กั เรยี นทราบ
2. ครูตัง้ ประเด็นคำถามกระตนุ ความคิดนักเรยี นวา “ความตานทานไฟฟา หมายความวาอยางไร

และสงผลตอกระแสไฟฟาในตัวนำอยางไร” โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอยาง
อิสระโดยไมมีการเฉลยวาถกู หรือผิด

(แนวตอบ : สมบัติอยา งหนึง่ ของตวั นำทจี่ ะตานกระแสไฟฟา ถาตวั นำนั้นยอมใหกระแสไฟฟา
ผานไปไดดีเรยี กวา ตวั นำนน้ั มีความตา นทานไฟฟานอย หรอื เปนตัวนำไฟฟา ทดี่ ี ความตานทาน
ไฟฟาของตัวนำมคี า เทา กับอตั ราสวนระหวางความตางศักยไฟฟาระหวางปลายของตวั นำกับ
กระแสไฟฟา ที่ผานตัวนำน้ัน)
ข้ันที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน
ศกึ ษาคนควาขอมลู เกย่ี วกับ เรือ่ ง สภาพตวั ตา นทาน สภาพนำไฟฟา และผลของอณุ หภูมิทีม่ ีตอสภาพตานทาน
จากหนังสอื เรียน รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟา กระแส หรือ
แหลงการเรยี นรตู า ง ๆ เชน อนิ เทอรเนต็ หองสมดุ QR Code เรื่อง สภาพตานทานไฟฟา
2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายเรื่องที่ไดศึกษา จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมเขียนสรุป
ความรทู ี่ไดจ ากการศกึ ษาคนควาลงในสมุดประจำตัวนกั เรียน
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)

ชัว่ โมงท่ี 2

ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู (Explain)
3. ครูสุมนักเรียนออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน โดยสุมออกมาเพียง 2 กลุม ซึ่งครู

เปนคนเลอื กวาจะใหก ลมุ ไหนนำเสนอเรื่องอะไร ตามหัวขอเรอ่ื งดังตอไปนี้
• กลมุ ท่ี 1 นำเสนอเกย่ี วกับสภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา
• กลมุ ท่ี 2 นำเสนอเกย่ี วกับผลของอุณหภูมิท่ีมีตอสภาพตา นทาน
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ บบประเมินการนำเสนอผลงาน)
4. ขณะทีน่ ักเรยี นแตล ะกลุมนำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรอื แทรกขอมลู เพมิ่ เติมในเร่ืองน้ัน ๆ ให

นักเรยี นทุกคนไดมคี วามเขา ใจท่ีถูกตองมากย่ิงขนึ้
5. นกั เรยี นแตล ะคนพิจารณาตารางสภาพความตานทานไฟฟาของตัวนำ สารก่งึ ตัวนำและฉนวน

บางชนิด ที่อุณหภูมิ 20 องศา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการ

เรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา “สภาพความตานทานไฟฟาจะขึ้นอยู
กับอุณหภูมิ เมื่ออุณหภมู ิเปลี่ยนสภาพตานทานไฟฟาของวัสดุจะเปลี่ยนไปดวย โดยอาจมีคาเพิม่ ขึ้นหรอื ลดลง
ข้นึ อยกู บั ประเภทของวสั ดุ คาสภาพความตา นทานไฟฟาของตวั นำ สารกงึ่ ตัวนำ และฉนวนบางชนดิ ”

ข้ันท่ี 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
6. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนอื้ หาเก่ยี วกบั เรอื่ ง สภาพตา นทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา

และใหค วามรเู พ่ิมเติมจากคำถามของนักเรยี น โดยครใู ช PowerPoint เร่อื ง สภาพตา นทานไฟฟาและสภาพ
นำไฟฟา ในการอธิบายเพม่ิ เติม

7. นักเรียนจับคูกับเพื่อนในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นรวมกันศึกษาตัวอยางที่ 7.5 –
7.8 จากหนงั สือเรยี น รายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูท่ี 7 ไฟฟากระแส

8. นักเรียนทำใบงานท่ี 7.4.1 เรื่อง สภาพตานทานไฟฟา และสภาพนำไฟฟา
9. ครูสุมนักเรียน จำนวน 2 คน ออกมาเฉลยใบงานที่ 7.4.1 เรื่อง สภาพตานทานไฟฟาและ
สภาพนำไฟฟา โดยครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวาคำตอบใดถูกตอง จากนั้นครูเฉลยคำตอบที่ถูกตองให
นกั เรยี น
10. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา จากหนังสือเรียน
รายวิชาเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 7 ไฟฟากระแส ลงในสมดุ ประจำตวั นักเรียน
11. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 7 เรื่อง สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟาจาก
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแสลงในสมุด
ประจำตวั นกั เรียน
12. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา จาก
แบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส เปน
การบานสงชวั่ โมงถัดไป
ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤติกรรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมหนา ชน้ั เรยี น
2. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานท่ี 7.4.1 เรอ่ื ง สภาพตา นทานไฟฟา และสภาพนำไฟฟา
3. ครูตรวจ Topic Question เรอ่ื ง สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา ในสมดุ
4. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 7 เรื่อง สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟาใน
สมุดประจำตวั นักเรียน
5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา จากแบบฝกหัด
รายวิชาเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟา กระแส
6. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับสภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา ซึ่งไดขอสรุป
รวมกันวา “สภาพตานทานไฟฟา คือ ความตานทานไฟฟาตอหนวยความยาวของวัสดุที่มีพื้นที่หนาตัดคงตัว
และสภาพนำไฟฟา คือ ความนำไฟฟาตอพ้ืนท่ีหนาตัดของวัสดุ ซ่งึ ยาว 1 เมตร และมพี ้ืนทีห่ นา ตัดคงตัวเทากับ
1 ตารางเมตร สภาพการนำไฟฟากับสภาพตานทานไฟฟา จึงเปน สว นกลับของกนั และกนั ”

7. การวดั และประเมนิ ผล

รายการวัด วธิ วี ัด เครือ่ งมอื เกณฑก ารประเมิน
7.1 การประเมนิ ระหวา ง
การจดั กจิ กรรม
1) สภาพตานทาน - ตรวจใบงานท่ี 7.4.1 - ใบงานที่ 7.4.1 - รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
ไฟฟาและสภาพนำ - ตรวจแบบฝกหดั - แบบฝก หัด - รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
ไฟฟา
2) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2
ผลการปฏบิ ัติ ผลงาน/ผลการปฏบิ ตั ิ นำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
กจิ กรรม กิจกรรม
3) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ

4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคุณภาพ 2
ทำงานกลมุ การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
- สงั เกตความมีวินัย - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ 2
5) คณุ ลักษณะ รับผดิ ชอบ ใฝเ รยี นรู คณุ ลักษณะ ผานเกณฑ
อันพงึ ประสงค ซ่ือสัตย สุจริต และ อนั พึงประสงค
มุงมั่นในการทำงาน

8. สือ่ /แหลงการเรยี นรู
8.1 ส่ือการเรยี นรู
1) หนงั สือเรยี น รายวิชาเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟา กระแส
2) แบบฝก หัด รายวชิ าเพิม่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟา กระแส
3) ใบงานท่ี 7.4.1 เร่ือง สภาพตานทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา
4) PowerPoint เร่ือง สภาพตา นทานไฟฟาและสภาพนำไฟฟา
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรยี น
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเน็ต

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 5

รายวิชา ฟส ิกส 4 รหัสวชิ า ว30204 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564
หนวยการเรียนรูท ี่ 3 เรื่อง ไฟฟากระแส เวลา 32 ช่วั โมง
เรอื่ ง พลังงานในวงจรไฟฟา เวลา 4 ชั่วโมง
ผสู อน นายธนพันธ เพง็ สวัสด์ิ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สุราษฎรธ านี

1. ผลการเรยี นรู
1) ทดลอง อธิบาย และคำนวณอีเอ็มเอฟของแหลงกำเนิดไฟฟากระแสตรง รวมทั้งอธิบายและคำนวณ

พลงั งานไฟฟา และกำลงั ไฟฟา
2) ทดลอง และคำนวณอเี อ็มเอฟสมมูลจากการตอแบตเตอร่ีแบบอนกุ รมและแบบขนาน รวมท้งั คำนวณ

ปรมิ าณตาง ๆ ทีเ่ กีย่ วขอ งในวงจรไฟฟา กระแสตรงซงึ่ ประกอบดว ย แบตเตอร่แี ละตัวตานทาน

2. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
1. อธบิ ายแรงเคล่ือนไฟฟา หรืออเี อ็มเอฟได (K)
2. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมความตางศักยร ะหวา งขัว้ แบตเตอรี่ไดอยางถูกตองและเปนลำดับขั้นตอน (P)
3. ตรวจสอบหาปริมาณตา ง ๆ ที่เก่ียวของกบั อเี อ็มเอฟสมมลู และความตานทานสมมลู ของตัวตานทานที่

ตอ แบบอนกุ รมและแบบขนานได (P)
4. มคี วามใฝเ รยี นรูและมคี วามมงุ มน่ั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรยี นรู
แหลงกำเนิดไฟฟากระแสตรง เชน แบตเตอรี่ เปนอุปกรณที่ใหพลังงานไฟฟาแกวงจร พลังงานไฟฟาท่ี

ประจุไฟฟาไดรับตอหนึ่งหนวยประจุไฟฟาเมื่อเคลื่อนที่ผานแหลงกำเนิดไฟฟา เรียกวา อีเอ็มเอฟ คำนวณได
จากสมการ ε = ∆V + Ir

เมื่อนำแบตเตอรี่มาตอแบบอนุกรม อีเอ็มเอฟสมมูลและความตานทานภายในสมมูลมีคาเพิ่มขึ้น
ตามสมการ ε = ε1 + ε2 + ... + εn และr = r1 + r2 + ... + rn ตามลำดับ

เมือ่ นำแบตเตอร่ีทเ่ี หมือนกนั มาตอ แบบขนาน อเี อ็มเอฟสมมลู มีคา คงเดิม และความตา นทานภายในสมมูลมี
1 1 1 1
คา ลดลง ตามสมการ ε = ε1 = ε2 = ... + εn และ r = r1 + r2 + ... + rn ตามลำดบั

4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
แรงเคลื่อนไฟฟา คือ พลังงานไฟฟาทั้งหมดจากแบตเตอรี่ตอหนึ่งหนวยประจุจากแบตเตอรี่ สวนความ

ตางศักย คือ ความตางศักยระหวาง 2 จุดใด ๆ ในวงจรที่มีกระแสไฟฟาซึ่งมีคาเทากับพลังงานไฟฟาตอหนึ่ง
หนวยประจุที่สูญเสียไประหวาง 2 จุดนั้น สวนการตอแบตเตอรี่สามารถตอได 2 แบบ คือ แบบอนุกรมและ
แบบขนาน เมื่อตอแบตเตอรี่แบบอนุกรม อีเอ็มเอฟสมมูลและความตานทานภายในสมมูลมีคาเพิ่มขึ้น แตเม่ือ
นำแบตเตอรี่ที่เหมือนกนั มาตอแบบขนาน อีเอ็มเอฟสมมลู จะมีคา คงเดิมแตความตา นทานภายในสมมูลจะมีคา
ลดลง

5. สมรรถนะสำคัญของผูเ รียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย  5. อยอู ยา งพอเพียง
 2. ซ่อื สัตยส ุจริต  6. มงุ มน่ั ในการทำงาน
 3. มีวินยั  7. รกั ความเปนไทย
 4. ใฝเรียนรู  8. มีจติ สาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทิดทูนสถาบนั
 2. กตญั ู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มวี ินยั
 5. ใหเ กยี รติ

สมรรถนะทส่ี ำคญั ของผูเ รียน
 1. ความสามารถในการสอื่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญหา
 4. ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จุดเนนสกู ารพฒั นาผเู รยี น
ความสามารถและทกั ษะทีจ่ ำเปน ในการเรยี นรูใ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขียนได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน )
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกปญ หา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรา งสรรคแ ละนวตั กรรม)

 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทัศน)

 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผนู ำ)

 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา นการส่อื สารสารสนเทศ
และรูเทา ทันสื่อ)

 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร)

 C7 – Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทกั ษะการเรยี นร)ู
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นรู)
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปนผูน ำ)
6. กิจกรรมการเรียนรู
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชั่วโมงที่ 1

ข้นั ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. นักเรียนนับจำนวน 1 – 5 วนไปเรื่อย ๆ จนครบทุกคน เพื่อแบงกลุมนักเรียนออกเปนกลุม

กลุมละ 5 คน โดยคนที่นับจำนวนเดียวกันใหอยูกลุมเดียวกัน จากนั้นครูแจกถานไฟฉายขนาดตาง ๆ เชน
ขนาดAA และขนาดAAA ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันสังเกตขอมูลที่อยูในถานไฟฉาย และอภิปรายแสดง
ความคดิ เห็นกนั ภายในกลุม

2. ครูตั้งประเดน็ คำถามกระตุนความคิดนักเรยี นวา “ถา นไฟฉาย ทำหนาที่อะไรในวงจรไฟฟา”
(แนวตอบ : เปน แหลง พลังงานใหแ กว งจรไฟฟา)
ขน้ั ที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นักเรียนจับคูกับเพื่อนในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละคูรว มกันศึกษา
คนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง แรงเคลื่อนไฟฟาและความตางศักย จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน
อินเทอรเนต็ หองสมดุ
2. นักเรียนแตละครู ว มกนั อภปิ รายเรือ่ งทีไ่ ดศึกษา จากน้ันใหน ักเรียนแตละคนเขียนสรปุ ความรูที่
ไดจ ากการศกึ ษาคน ควาลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรียน
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นครูแจงจุดประสงคของกิจกรรม
ความตางศกั ยระหวางขั้วแบตเตอรี่ ใหนกั เรียนทราบเพ่ือเปน แนวทางการปฏบิ ตั ิกิจกรรมที่ถูกตอง
4. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษากิจกรรม ความตางศักยระหวางขั้วแบตเตอร่ี จากหนังสือ
เรยี น รายวชิ าเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ี่ 7 ไฟฟา กระแส โดยครใู ชร ูปแบบการ

เรียนรูแบบรวมมือมาจัดกระบวนการเรียนรู โดยกำหนดใหสมาชิกแตละคนภายในกลุมมีบทบาทหนาที่ของ
ตนเอง ดงั น้ี

• สมาชกิ คนที่ 1 – 2 ทำหนา ที่ เตรยี มวสั ดุอุปกรณท่ีใชใ นการปฏิบัติกจิ กรรมความตา ง
ศักยระหวา งขั้วแบตเตอรี่

• สมาชิกคนที่ 3 – 4 ทำหนาท่ีอา นวธิ ปี ฏิบัติกิจกรรมและนำมาอธบิ ายใหสมาชิกในกลุม ฟง
• สมาชกิ คนท่ี 5 – 6 ทำหนา ที่ บันทึกผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมลงในสมุดประจำตวั นักเรียน
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรียน โดยใชแบบประเมนิ การปฏิบัตกิ ิจกรรม)
5. นักเรียนแตละกลุมรวมกันปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตรฟ สิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟา กระแส
6. นักเรียนแตละกลุมรวมกันแลกเปลี่ยนความรูและวิเคราะหผลการปฏิบัติกิจกรรม แลว
อภปิ รายผลรวมกัน

ชั่วโมงท่ี 2

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore)
7. นักเรียนแตละกลุมออกมานำเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหนาชั้นเรียน ในระหวางที่นักเรียน

นำเสนอครคู อยใหข อ เสนอแนะเพม่ิ เติมเพอื่ ใหนักเรียนมีความเขาใจทถี่ ูกตอ งมากย่งิ ข้ึน
(หมายเหตุ : ครูเรมิ่ ประเมินนกั เรยี น โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
8. นักเรียนแตละกลุมรวมกันตอบคำถามทายกิจกรรม ความตางศักยระหวางขั้วแบตเตอร่ี โดยให

นักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพื่อหาคำตอบ จากนั้นครูสุมนักเรียน จำนวน 4 – 5
กลุม ออกมานำเสนอคำตอบของกลมุ ตนเองหนา ชนั้ เรียน

9. เมื่อนักเรียนแตละกลุมนำเสนอคำตอบของกลุมตนเองเรียบรอยแลว นักเรียนและครูรวมกัน
อภิปรายผลทายกิจกรรม ความตางศักยระหวา งขว้ั แบตเตอร่ี และเฉลยคำถามทา ยกิจกรรม

10. ครตู ง้ั ประเดน็ คำถามกระตนุ ความคดิ นักเรยี นวา “แรงเคลื่อนไฟฟาและความตางศักยตางกัน
อยางไร” โดยใหน กั เรียนแตล ะกลมุ รว มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ เพือ่ หาคำตอบ

(แนวตอบ : แรงเคล่ือนไฟฟา เปนพลังงานของแหลง กำเนิดไฟฟาตอหนง่ึ หนวยประจุไฟฟาท่ี
เคลื่อนผา นแหลงกำเนิดไฟฟา และความตางศกั ย หมายถงึ พลังงาน (ศักย) ไฟฟาตอหนวย
ประจุท่ีประจุไฟฟา ถา ยโอนใหช้ินสวนตา ง ๆ ของวงจรไฟฟาระหวางสองจดุ นนั้ )

ช่วั โมงที่ 3 – 4

ข้ันที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
11. นักเรยี นแบงกลุม (กลุม เดิม) จากช่วั โมงทผ่ี า นมา จากนนั้ ใหนกั เรียนแตละกลุมรวมกันศึกษา

คน ควาขอ มูลเกย่ี วกับ เร่ือง พลงั งานไฟฟา กำลงั ไฟฟา และการตอแบตเตอรี่ จากหนังสอื เรยี น รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน
อนิ เทอรเน็ต หองสมุด QR Code เรอื่ ง การตอ แบตเตอรี่

12. นกั เรียนแตล ะครู ว มกันอภิปรายเร่ืองที่ไดศกึ ษา จากนัน้ ใหนกั เรียนแตล ะคนเขียนสรุปความรู
ท่ไี ดจ ากการศกึ ษาคนควาลงในสมดุ ประจำตวั นกั เรียน

(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)
ข้นั ที่ 3 อธบิ ายความรู (Explain)

13. ครูสุมนักเรียนออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน โดยสุมออกมาเพียง 4 กลุม ซึ่งครู
เปนคนเลอื กวาจะใหกลมุ ไหนนำเสนอเร่อื งอะไร ตามหัวขอ เรอ่ื งดงั ตอ ไปนี้

• กลมุ ท่ี 1 นำเสนอเกย่ี วกับพลังงานไฟฟา
• กลุมท่ี 2 นำเสนอเกย่ี วกบั กำลงั ไฟฟา
• กลมุ ท่ี 3 นำเสนอเกยี่ วกับการตอแบตเตอรีแ่ บบอนกุ รม
• กลมุ ท่ี 4 นำเสนอเก่ียวกบั การตอ แบตเตอร่ีแบบขนาน
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
14. ขณะที่นักเรียนแตละกลุมนำเสนอ ครูอาจเสนอแนะหรือแทรกขอมูลเพิ่มเติมในเรื่องนั้น ๆ
ใหน กั เรียนทกุ คนไดม ีความเขา ใจท่ถี ูกตอ งมากย่งิ ขน้ึ
15. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียน โดยใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปราย
แสดงความคิดเหน็ เพื่อหาคำตอบ ดงั นี้
• กำลังไฟฟา คืออะไร

(แนวตอบ : กำลงั ไฟฟา คือ พลังงานไฟฟา ทไ่ี ดร บั หรือสูญเสียไปในหนงึ่ หนวยเวลา)
• การตอแบตเตอรีแ่ บบอนุกรม มีลักษณะอยา งไร

(แนวตอบ : การตอแบตเตอร่ีแบบอนกุ รม เปนการนำเซลลไ ฟฟา หลาย ๆ เซลลม าตอเรียงกนั
โดยใชปลายหน่งึ ของเซลลไ ฟฟาตอกับอีกปลายของเซลลไ ฟฟาตอเรยี งกนั ไปเร่ือย ๆ)
• การตอ แบตเตอร่แี บบขนาน มลี ักษณะอยา งไร
(แนวตอบ : การตอแบตเตอร่ีแบบขนาน เปน การนำเซลลไ ฟฟา หลาย ๆ เซลลม าตอ รวมเปน
กลุมเดยี วกนั โดยใชปลายของเซลลไ ฟฟาทุกเซลลม าตอรวมกนั ไวทีจ่ ดุ หน่ึง)
• ถา แบตเตอรี่ไมไดถกู นำไปตอในวงจรไฟฟา (ไมม กี ระแสไฟฟาไหลผา น) แลวนำโวลตม เิ ตอร
มาวดั ระหวางขัว้ แบบเตอร่ี คา ท่ีไดจะเปนคาอะไร
(แนวตอบ : ในกรณีทีแ่ บตเตอรไี่ มไดถกู นำไปตอในวงจรไฟฟาความตางศักยระหวางขว้ั
แบตเตอรจ่ี ะเทา กบั แรงเคลื่อนไฟฟา )
• หากตอ งการใหอเี อ็มเอฟสมมูลและความตา นทานภายในสมมูลมีคาเพม่ิ ขน้ึ จะตองตอ
แบตเตอรี่แบบใด
(แนวตอบ : แบบอนุกรม)
ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)
16. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง พลังงานในวงจรไฟฟา และใหความรู
เพมิ่ เติมจากคำถามของนักเรยี น โดยครใู ช PowerPoint เรอื่ ง พลงั งานในวงจรไฟฟา ในการอธบิ ายเพม่ิ เตมิ
17. นักเรยี นแตล ะคนศกึ ษาตวั อยา งท่ี 7.9 จากหนังสอื เรยี น รายวิชาเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 จากนน้ั ใหนักเรียนแตล ะคนทำใบงานท่ี 7.5.1 เร่อื ง แรงเคลือ่ นไฟฟาและความตา งศักย
18. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง พลังงานในวงจรไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 7 ไฟฟา กระแส ลงในสมุดประจำตัวนักเรียน

19. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 7 เรื่อง พลังงานในวงจรไฟฟา จากหนังสือเรียน
รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส ลงในสมุดประจำตัว
นกั เรยี น

20. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง พลังงานในวงจรไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชา
เพิม่ เติมวทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท ่ี 7 ไฟฟา กระแส

ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤติกรรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏิบตั ิกิจกรรมหนา ชั้นเรียน
2. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานที่ 7.5.1 เรื่อง แรงเคลอื่ นไฟฟาและความตางศักย
3. ครูวัดและประเมินผลการปฏบิ ัติกิจกรรม ความตา งศักยร ะหวา งข้ัวแบตเตอรี่
4. ครูตรวจ Topic Question เร่อื ง พลงั งานในวงจรไฟฟา ในสมุดประจำตวั นักเรียน
5. ครูตรวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 7 เรื่อง พลังงานในวงจรไฟฟา ในสมุดประจำตัว

นกั เรียน
6. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง พลังงานในวงจรไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม

วทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูท่ี 7 ไฟฟากระแส
7. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับพลังงานในวงจรไฟฟา ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา

“แรงเคลื่อนไฟฟาหรืออีเอ็มเอฟ หมายถึง พลังงานของแหลงกำเนิดไฟฟาตอหนึ่งหนวยประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่
ผานแหลงกำเนิดไฟฟา ความตางศักย ระหวางสองจุดใด ๆ ในวงจรไฟฟา หมายถึง พลังงาน (ศักย) ไฟฟาตอ
หนวยประจทุ ป่ี ระจไุ ฟฟาถายดอนใหช ิ้นสวนตาง ๆ ของวงจรไฟฟาระหวา งสองจุดน้ัน กำลังไฟฟา คือ พลังงาน
ไฟฟาที่ไดรับหรือสูญเสียไปในหนึ่งหนวยเวลา และการตอเซลลไฟฟาหรือแบตเตอรี่ คือ การนำเซลลไฟฟา
หลาย ๆ เซลลมาตอรวมเปนกลุมเดียวกันอยูระหวางจุด 2 จุด มีวิธีการตอ 2 แบบ คือ การตอแบตเตอรี่แบบ
อนุกรมและการตอแบตเตอรแี่ บบขนาน”

7. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวดั วธิ วี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก ารประเมิน
7.1 การประเมินระหวาง - ใบงานท่ี 7.5.1 - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
การจัดกจิ กรรม - แบบฝกหดั - รอยละ 60 ผานเกณฑ
1) พลังงานในวงจร - ตรวจใบงานที่ 7.5.1 - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2
ไฟฟา - ตรวจแบบฝก หดั ปฏิบตั กิ จิ กรรม ผานเกณฑ
2) ผลบนั ทึกการ - ประเมินการปฏิบตั ิ
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม กิจกรรม - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2
ความตา งศักย นำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
ระหวางขวั้
แบตเตอร่ี
3) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ
ผลงาน/ ผลงาน/ผลการปฏบิ ตั ิ

รายการวดั วิธวี ัด เครอ่ื งมอื เกณฑการประเมิน
ผลการปฏบิ ัติ กจิ กรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
กิจกรรม - สงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ
4) พฤติกรรมการ การทำงานรายบุคคล
ทำงานรายบคุ คล

5) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดับคณุ ภาพ 2
ทำงานกลมุ การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
- สงั เกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
6) คุณลักษณะ รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รียนรู คณุ ลกั ษณะ ผานเกณฑ
อันพึงประสงค ซื่อสัตย สุจริต และ อันพงึ ประสงค
มงุ ม่ันในการทำงาน

8. สือ่ /แหลงการเรียนรู
8.1 ส่ือการเรยี นรู
1) หนังสือเรียน รายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟา กระแส
2) แบบฝกหัด รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูท่ี 7 ไฟฟา กระแส
3) ใบงานที่ 7.5.1 เรอื่ ง แรงเคลอื่ นไฟฟาและความตางศักย
4) วสั ดุอุปกรณทใ่ี ชในการปฏิบัตกิ จิ กรรมความตางศกั ยร ะหวางขัว้ แบตเตอรี่
5) PowerPoint เรอื่ ง พลังงานในวงจรไฟฟา
6) ถานไฟฉายขนาดตาง ๆ เชน ขนาดAA และขนาดAAA
7) QR Code เร่ือง การตอแบตเตอรี่
8) สมดุ ประจำตวั นักเรียน
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หอ งเรียน
2) หอ งสมดุ
3) อนิ เทอรเน็ต

แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 6

รายวชิ า ฟสิกส 4 รหสั วิชา ว30204 ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 5
กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2564
หนว ยการเรียนรทู ่ี 3 เรือ่ ง ไฟฟา กระแส เวลา 32 ชัว่ โมง
เร่ือง การวิเคราะหว งจรไฟฟากระแสตรงเบ้ืองตน เวลา 2 ช่ัวโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพง็ สวัสด์ิ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลัย สรุ าษฎรธ านี

1. ผลการเรยี นรู
ทดลอง และคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการตอแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้งคำนวณ

ปริมาณตา ง ๆ ทเี่ กีย่ วของในวงจรไฟฟากระแสตรงซ่ึงประกอบดวย แบตเตอรีแ่ ละตวั ตา นทาน

2. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
1. อธบิ ายกระแสไฟฟาในวงจรไฟฟากระแสตรงเบ้ืองตน ได (K)
2. ตรวจสอบหาปรมิ าณตาง ๆ ท่เี กย่ี วของกับกระแสไฟฟา ในวงจรได (P)
3. มคี วามใฝเรยี นรูแ ละมีความมงุ มน่ั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรียนรู
กระแสไฟฟา ในวงจรไฟฟา กระแสตรงที่ประกอบดวยแบตเตอรแ่ี ละตัวตานทาน คำนวณไดตามสมการ
ε
I = R+r

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
วงจรไฟฟาทุกวงจร ประกอบดวย แหลงกำเนิดไฟฟาหรือเซลลไฟฟา สายไฟ อุปกรณไฟฟาที่ตอเขากับ

แหลง กำเนิดไฟฟา โดยวงจรไฟฟา เบ้ืองตนจะประกอบดวย แบตเตอรแ่ี ละตัวตา นทาน

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู รียนและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยอู ยางพอเพียง
 2. ซ่อื สตั ยส จุ รติ  6. มุง มัน่ ในการทำงาน
 3. มวี นิ ยั  7. รกั ความเปน ไทย
 4. ใฝเรียนรู  8. มจี ิตสาธารณะ

เบญจวิถกี าญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบัน

 2. กตญั ู
 3. บุคลิกดี
 4. มวี ินยั
 5. ใหเ กยี รติ
สมรรถนะทีส่ ำคญั ของผเู รยี น
 1. ความสามารถในการส่อื สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญหา
 4. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
จุดเนน สกู ารพฒั นาผูเรยี น
ความสามารถและทักษะทีจ่ ำเปน ในการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อา นออก)
 R2 – (W)Riting (เขยี นได)
 R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกป ญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดานการสรา งสรรคแ ละนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทัศน)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูนำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา นการสื่อสารสารสนเทศ
และรเู ทา ทนั ส่ือ)
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสือ่ สาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู)
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรยี นรู)
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปน ผูน ำ)

6. กจิ กรรมการเรียนรู
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนคิ : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ช่ัวโมงท่ี 1

ขัน้ ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครทู บทวนความรูเดิมของนักเรยี นเก่ียวกบั กฎพื้นฐานทางไฟฟา เชน กฎของโอหม กฎของจูล

กฎการอนุรักษพลังงาน กฎการอนุรักษประจุไฟฟา การตอตัวตานทานและการตอแบตเตอรี่ จากนั้นครูแจง
จดุ ประสงคก ารเรียนรใู หน กั เรยี นทราบ

2. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 7 ไฟฟา กระแส เพ่ือเปนการนำเขาสบู ทเรยี นวา “กฎพ้ืนฐานทางไฟฟานำไปใช
วิเคราะหวงจรไฟฟากระแสตรงไดอยางไร” โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอยาง
อสิ ระโดยไมมกี ารเฉลยวาถกู หรือผดิ

(แนวตอบ : ทำไดโดยพิจารณาโหลดท่จี ะแทนคา ดว ยความตานทานภายนอกและความ
ตา นทานภายในของเซลลไ ฟฟา แรงเคลอื่ นไฟฟาวามีกตี่ ัว แลวนำมาหาคา สมมลู เพ่ือจะไดย บุ
เปน วงจรไฟฟาอยางงาย แลว นำไปวิเคราะหหาคา ที่ตอ งการ)

ขั้นท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)
1. นักเรียนจับคูกับเพือ่ นในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละคูรว มกันศึกษา

คนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง การวิเคราะหวงจรไฟฟากระแสตรงเบื้องตน จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน
อนิ เทอรเน็ต หอ งสมดุ

2. นักเรยี นแตละครู วมกนั อภิปรายเร่อื งที่ไดศึกษา จากนัน้ ใหน ักเรียนแตล ะคนเขียนสรุปความรูท่ี
ไดจากการศกึ ษาคนควา ลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรียน

(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมินนักเรยี น โดยใชแ บบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)

ชวั่ โมงท่ี 2

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain)
3. ครูสุมนกั เรียน จำนวน 2 – 3 คู ออกมานำเสนอผลการศึกษาขอมลู หนา ชน้ั เรยี น ในระหวางที

นักเรียนนำเสนอ ครคู อยใหขอเสนอแนะเพ่ิมเติมเพ่อื ใหนกั เรียนมีความเขาใจที่ถกู ตองมากยงิ่ ขน้ึ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมินนกั เรียน โดยใชแบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
4. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “วงจรไฟฟาควรจะประกอบดวยอุปกรณ

ไฟฟาอะไรบา ง” โดยใหน ักเรยี นแตล ะคนรว มกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นเพ่อื หาคำตอบ
(แนวตอบ : วงจรไฟฟาทกุ วงจรประกอบดวย แหลง กำเนิดไฟฟาหรอื เซลลไฟฟา สายไฟ)
5. ครูอธิบายเพ่ิมเติมใหนกั เรียนเขา ใจเกย่ี วกบั การวิเคราะหวงจรไฟฟา กระแสตรงเบื้องตน ดงั น้ี
• อปุ กรณไฟฟา ทต่ี อเขา กบั แหลงกำเนดิ ไฟฟา เรยี กวา โหลด (load)
• วงจรไฟฟาทสี่ ามารถยบุ รวมเปน วงจรพ้ืนฐานทป่ี ระกอบดว ยตวั ตานทานภายนอกเซลล 1 ตวั
และเซลลไฟฟา รวม 1 เซลล เรยี กวา วงจรอยา งงา ย

•กระแสไฟฟา ของวงจรอยา งงายสามารถคำนวณหาไดจากสมการ I = ε
R+r
ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
6. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง การวิเคราะหวงจรไฟฟากระแสตรง
เบื้องตนและใหความรูเพิ่มเติม จากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง การวิเคราะห
วงจรไฟฟากระแสตรงเบ้ืองตน ในการอธิบายเพ่ิมเติม
7. นักเรียนแตละคนศึกษาตัวอยางที่ 7.10 – 7.12 จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส จากนั้นใหนักเรียนแตละคนทำใบงานที่
7.6.1 เรอื่ ง การวเิ คราะหวงจรไฟฟากระแสตรงเบือ้ งตน
8. ครูสุมนักเรียน จำนวน 2 คน ออกมาเฉลยใบงานที่ 7.6.1 เรื่อง การวิเคราะหวงจรไฟฟา
กระแสตรงเบื้องตน โดยครใู หนกั เรียนรวมกนั พิจารณาวา คำตอบใดถูกตอง จากนน้ั ครูเฉลยคำตอบท่ีถูกตองให
นกั เรยี น
9. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง การวิเคราะหวงจรไฟฟากระแสตรงเบื้องตน จากหนังสือ
เรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส ลงในสมุดประจำตัว
นกั เรยี น
10. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 7 เรื่อง การวิเคราะหวงจรไฟฟากระแสตรงเบื้องตน
จากหนงั สอื เรยี น รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟา กระแส ลงในสมดุ
ประจำตัวนักเรียน
11. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง การวิเคราะหวงจรไฟฟากระแสตรงเบื้องตน จาก
แบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส เปน
การบา นสง ในชัว่ โมงถดั ไป

ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤตกิ รรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหนาชั้นเรยี น
2. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานที่ 7.6.1 เรื่อง การวิเคราะหว งจรไฟฟา กระแสตรงเบื้องตน
3. ครูตรวจ Topic Question เรื่อง การวิเคราะหวงจรไฟฟากระแสตรงเบื้องตน ในสมุด

ประจำตัวนกั เรียน
4. ครตู รวจแบบฝก หัดจาก Unit Question 7 เร่ือง การวเิ คราะหว งจรไฟฟากระแสตรงเบื้องตน

ในสมดุ ประจำตวั นักเรียน
5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง การวิเคราะหวงจรไฟฟากระแสตรงเบื้องตน จากแบบฝกหัด

รายวชิ าเพิม่ เติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ี่ 7 ไฟฟา กระแส
6. นักเรียนและครูรว มกันสรุปเกี่ยวกับการวิเคราะหวงจรไฟฟา กระแสตรงเบื้องตน ซึ่งไดขอสรุป

รวมกนั วา “วงจรไฟฟา ทุกวงจร ประกอบดว ย แหลงกำเนิดไฟฟา หรือเซลลไฟฟา (electrical source) สายไฟ
อปุ กรณไฟฟา ที่ตอเขากบั แหลง กำเนิดไฟฟา เรยี กวา โหลด (load) เชน หลอดไฟ เตารีด”
7. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วธิ ีวัด เครอ่ื งมือ เกณฑก ารประเมนิ
7.1 การประเมนิ ระหวาง - ใบงานท่ี 7.6.1 - รอยละ 60 ผานเกณฑ
การจัดกจิ กรรม - แบบฝกหัด - รอยละ 60 ผานเกณฑ
1) การวเิ คราะหวงจร - ตรวจใบงานที่ 7.6.1 - แบบประเมนิ การ - ระดับคุณภาพ 2
ไฟฟากระแสตรง - ตรวจแบบฝกหดั นำเสนอผลงาน ผานเกณฑ
เบ้อื งตน
2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคณุ ภาพ 2
ผลงาน/ ผลงาน/ผลการปฏบิ ัติ การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ
ผลการปฏิบตั ิ กจิ กรรม
กจิ กรรม
3) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม
ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล

4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2
ทำงานกลุม การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผานเกณฑ
- สังเกตความมีวินัย - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
5) คุณลกั ษณะ รับผดิ ชอบ ใฝเ รยี นรู คุณลกั ษณะ ผา นเกณฑ
อนั พงึ ประสงค ซ่ือสตั ย สุจริต และ อันพงึ ประสงค
มุงมัน่ ในการทำงาน

8. สอื่ /แหลงการเรียนรู
8.1 สอ่ื การเรยี นรู
1) หนังสอื เรยี น รายวชิ าเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท ี่ 7 ไฟฟากระแส
2) แบบฝกหดั รายวิชาเพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟากระแส
3) ใบงานที่ 7.6.1 เรอื่ ง การวิเคราะหว งจรไฟฟากระแสตรงเบ้ืองตน
4) PowerPoint เรอื่ ง การวิเคราะหวงจรไฟฟา กระแสตรงเบอื้ งตน
5) สมดุ ประจำตัวนักเรยี น
8.2 แหลงการเรียนรู
1) หอ งเรยี น
2) หองสมุด
3) อนิ เทอรเน็ต

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 7

รายวิชา ฟสิกส 4 รหสั วชิ า ว30204 ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที่ 5
กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564
หนว ยการเรียนรทู ี่ 3 เรือ่ ง ไฟฟา กระแส เวลา 32 ชั่วโมง
เร่ือง เครอ่ื งวัดไฟฟา เวลา 3 ชั่วโมง
ผสู อน นายธนพันธ เพ็งสวัสดิ์ โรงเรยี นกาญจนาภเิ ษกวิทยาลยั สรุ าษฎรธานี

1. ผลการเรยี นรู
ทดลอง และคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการตอแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้งคำนวณ

ปริมาณตาง ๆ ที่เก่ยี วของในวงจรไฟฟากระแสตรงซ่ึงประกอบดว ย แบตเตอร่ีและตัวตานทาน

2. จุดประสงคการเรยี นรู
1. อธิบายเคร่ืองวดั ไฟฟา แตละชนิดได (K)
2. ตรวจสอบหาปริมาณตา ง ๆ ที่เกีย่ วของกบั กระแสไฟฟาในวงจรได (P)
3. มีความใฝเ รยี นรูแ ละมีความมุงม่นั ในการทำงาน (A)

3. สาระการเรยี นรู
-

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
เครื่องวัดไฟฟาที่ใชวัดกระแสไฟฟา เรียกวา แอมมิเตอร เครื่องวัดไฟฟาที่ใชวัดความตางศักย เรียกวา

โวลตมเิ ตอร และเครอื่ งวัดไฟฟา ท่ีใชว ดั ความตา น เรยี กวา โอหมมิเตอร ซ่ึงเครอ่ื งวดั ท้ัง 3 ชนิด ถูกดัดแปลงมา
จากแกลแวนอมิเตอร

5. สมรรถนะสำคัญของผูเ รยี นและคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยอู ยา งพอเพียง
 2. ซือ่ สัตยส ุจรติ  6. มงุ มั่นในการทำงาน
 3. มวี นิ ัย  7. รักความเปน ไทย
 4. ใฝเรยี นรู  8. มีจิตสาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทิดทนู สถาบัน
 2. กตญั ู

 3. บุคลิกดี
 4. มีวนิ ัย
 5. ใหเกียรติ

สมรรถนะท่ีสำคญั ของผูเรยี น
 1. ความสามารถในการส่ือสาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญ หา
 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จุดเนนสูการพัฒนาผูเ รยี น
ความสามารถและทักษะท่ีจำเปนในการเรยี นรูใ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อา นออก)
 R2 – (W)Riting (เขยี นได)
 R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแกปญ หา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทักษะดา นการสรางสรรคและนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทัศน)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูน ำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดา นการส่อื สารสารสนเทศ
และรเู ทาทันสอ่ื )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอ่ื สาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นร)ู
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นร)ู
 L2 – Leadership (ทักษะความเปนผูนำ)
6. กจิ กรรมการเรยี นรู
แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชว่ั โมงท่ี 1

ขน้ั ท่ี 1 กระตุน ความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับวงจรไฟฟากระแสตรงเบื้องตน จากนั้นครูแจง

จดุ ประสงคการเรยี นรใู หน กั เรยี นทราบ

2. ครูนำเครื่องวัดไฟฟา เชน แอมมิเตอร โวลตมิเตอร และโอหมมิเตอร มาใหนักเรียนดู
จากนน้ั ครูใหน ักเรยี นรว มกนั สงั เกตสว นประกอบและขอมูลทีป่ รากฏบนเครอ่ื ง

3. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียน โดยครูใชคำถาม Prior Knowledge จาก
หนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส วา
“แอมมิเตอร โวลตมเิ ตอร และโอหม มเิ ตอรร วมกนั อยูในเครือ่ งเดียวกัน เรียกวาอะไร” โดยใหน กั เรยี นแตละคน
รวมกันอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ อยางอสิ ระโดยไมมกี ารเฉลยวา ถูกหรือผิด

(แนวตอบ : เรียกวา มัลตมิ เิ ตอร (multimeter))

ข้ันที่ 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นักเรียนแบง กลมุ กลมุ ละ 4 – 5 คน ตามความสมัครใจ จากนนั้ ใหนักเรียนแตละกลมุ สง

ตัวแทนออกมาจบั สลากเรอ่ื งทศี่ ึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลข ไวหนา ชัน้ เรียน ซ่ึงหมายเลขจะระบเุ รื่องท่ี
ใหน ักเรียนศึกษา ดงั น้ี

• หมายเลข 1 ศึกษา เรื่อง แอมมิเตอร
• หมายเลข 2 ศึกษา เรอ่ื ง โวลตมิเตอร
• หมายเลข 3 ศกึ ษา เร่ือง โอหมมเิ ตอร
2. นักเรียนแตละกลุมรวมกันศึกษาคนควาขอมูลเรื่องที่กลุมตนเองจบั สลากได จากหนังสือเรียน
รายวิชาเพม่ิ เตมิ วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟากระแส หรือแหลงการเรียนรตู า ง ๆ
เชน อินเทอรเ นต็ หองสมุด จากน้ันรว มกนั สรปุ ความรูท ี่ไดจากการศึกษาคนควา ลงในสมดุ ประจำตัวนักเรียน
(หมายเหตุ : ครูเริม่ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม)

ช่วั โมงที่ 2 – 3

ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู (Explain)
3. นักเรียนแตล ะกลมุ ออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาช้นั เรยี น ในระหวา งที่นักเรียนนำเสนอครู

คอยใหข อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ เพื่อใหน กั เรียนมคี วามเขาใจทถ่ี ูกตองมากยิ่งข้นึ
(หมายเหตุ : ครเู ริม่ ประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบประเมินการนำเสนอผลงาน)
4. ครูตัง้ ประเดน็ คำถามกระตุนความคดิ นักเรยี น โดยใหน ักเรียนแตล ะกลมุ รวมกันอภปิ รายแสดง

ความคิดเห็นเพอื่ หาคำตอบ ดังน้ี
• เครือ่ งมอื ที่ใชว ัดกระแสไฟฟา เรยี กวา
(แนวตอบ : แอมมิเตอร)
• เครือ่ งมอื ท่ีใชว ัดความตา งศักย เรียกวา
(แนวตอบ : โวลตมิเตอร)
• เคร่ืองมือท่ีใชว ัดความตานทาน เรียกวา
(แนวตอบ : โอหม มิเตอร)
• ถา ตองการดดั แปลงแกลแวนอมิเตอรใหเ ปนแอมมิเตอรต องทำอยา งไร
(แนวตอบ : นำชันตซ่ึงก็คือตวั ตานทานทีม่ ีคานอยมากเม่ือเทียบกบั ความตา นทานของแกล
แวนอมเิ ตอรมาตอขนานกับแกลแวนอมเิ ตอร)
• ถาตอ งการดดั แปลงแกลแวนอมิเตอรใ หเ ปน โวลตม ิเตอรตองทำอยางไร
(แนวตอบ : นำมัลติพลายเออรซ ่งึ กค็ ือตัวตานทานทม่ี คี าสงู มากเมื่อเทยี บกบั ความตา นทาน

ชนิด ดงั น้ี ของแกลแวนอมเิ ตอรมาตออนกุ รมกบั แกลแวนอมเิ ตอร)
5. นักเรียนแตละคนเขียนสวนประกอบและสัญลักษณในวงจรไฟฟาของเครื่องวัดไฟฟาแตละ
• แอมมิเตอร
• โวลตมิเตอร
•โอหมมเิ ตอร

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา ใจ (Elaborate)
6. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง เครื่องวัดไฟฟา และใหความรูเพิ่มเติม

จากคำถามของนกั เรียน โดยครูใช PowerPoint เรอ่ื ง เครอ่ื งวดั ไฟฟา ในการอธบิ ายเพม่ิ เติม
7. นักเรียนแตละคนศึกษาตัวอยางที่ 7.13 – 7.14 จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม

วิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส จากนั้นใหนักเรียนแตละคนทำใบงานท่ี
7.7.1 เร่อื ง เคร่อื งวัดไฟฟา

8. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 คน ออกมาเฉลยใบงานที่ 7.7.1 เรื่อง เครื่องวัดไฟฟา โดยครูให
นักเรียนรวมกันพิจารณาวาคำตอบใดถูกตอง จากนน้ั ครูเฉลยคำตอบที่ถูกตองใหนักเรยี น

9. นักเรียนทำ Topic Question เรื่อง เครื่องวัดไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติม
วิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรทู ี่ 7 ไฟฟา กระแส ลงในสมดุ ประจำตัวนักเรียน

10. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 7 เรื่อง เครื่องวัดไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชา
เพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูที่ 7 ไฟฟา กระแส ลงในสมดุ ประจำตวั นักเรยี น

11. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง เครื่องวัดไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 7 ไฟฟากระแส เปน การบานสง ในช่วั โมงถัดไป

ข้ันที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤติกรรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหนา ชนั้ เรียน
2. ครตู รวจสอบผลการทำใบงานที่ 7.7.1 เรื่อง เครอ่ื งวดั ไฟฟา
3. ครตู รวจ Topic Question เรือ่ ง เครื่องวัดไฟฟา ในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น
4. ครตู รวจแบบฝกหัดจาก Unit Question 7 เรอื่ ง เครื่องวดั ไฟฟา ในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น
5. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง เครื่องวัดไฟฟา จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร

ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ่ี 7 ไฟฟา กระแส
6. นกั เรยี นและครรู วมกันสรุปเกย่ี วกับเครื่องวดั ไฟฟา ซ่งึ ไดขอ สรุปรว มกันวา “เคร่ืองวัดไฟฟาท่ี

ใชงานทั่วไป คือ แอมมิเตอร โวลตมิเตอร และโอหมมิเตอร ซึ่งใชวัดกระแสไฟฟา ความตางศักย และความ
ตานทาน ตามลำดับ ปจจุบันมีทั้งแบบแอนาล็อกที่แสดงผลการวัดดวยสเกล และแบบดิจิทัลที่แสดงผลการวดั
ดวยตัวเลข แอมมิเตอร โวลตมิเตอร และโอหมมิเตอร ดัดแปลงมาจากแกลแวนอมิเตอรชนิดขดลวด เคลื่อนที่
โดยการตอ ตัวตานทานเพมิ่ เขา ไป แกลแวนอมิเตอร ใชวดั ไดท ้ังกระแสไฟฟาและความตางศักย”

7. การวดั และประเมนิ ผล

รายการวัด วธิ ีวดั เคร่อื งมือ เกณฑก ารประเมนิ
7.1 การประเมนิ ระหวา ง - ใบงานที่ 7.7.1 - รอยละ 60 ผานเกณฑ
การจัดกจิ กรรม - แบบฝก หดั - รอยละ 60 ผานเกณฑ
1) เครอ่ื งวัดไฟฟา - ตรวจใบงานท่ี 7.7.1 - แบบประเมินการ - ระดับคุณภาพ 2
- ตรวจแบบฝก หดั นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ผลงาน/ ผลงาน/ผลการปฏิบัติ การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ
ผลการปฏิบตั ิ กิจกรรม
กิจกรรม
3) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม
ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล

4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทำงานกลมุ การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
- สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
5) คณุ ลักษณะ รบั ผิดชอบ ใฝเ รยี นรู คุณลกั ษณะ ผานเกณฑ
อันพึงประสงค ซือ่ สตั ย สุจริต และ อันพึงประสงค
มงุ มัน่ ในการทำงาน

8. สอ่ื /แหลงการเรยี นรู
8.1 สอ่ื การเรียนรู
1) หนงั สอื เรยี น รายวิชาเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท ี่ 7 ไฟฟากระแส
2) แบบฝกหัด รายวิชาเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูท่ี 7 ไฟฟา กระแส
3) ใบงานท่ี 7.7.1 เรอื่ ง เคร่อื งวัดไฟฟา
4) PowerPoint เรือ่ ง เครอื่ งวัดไฟฟา
5) เครอ่ื งวัดไฟฟา เชน แอมมเิ ตอร โวลตมิเตอร และโอหม มิเตอร
6) สลากหมายเลข
7) สมุดประจำตวั นักเรียน
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรยี น
2) หองสมดุ
3) อินเทอรเ นต็

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 8

รายวชิ า ฟส ิกส 4 รหัสวชิ า ว30204 ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 5
กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564
หนวยการเรยี นรูที่ 3 เร่ือง ไฟฟา กระแส เวลา 32 ชัว่ โมง
เรอื่ ง การคำนวณหาพลังงานไฟฟา ของเคร่ืองใชไ ฟฟา ในบา น เวลา 3 ชั่วโมง
ผสู อน นายธนพันธ เพง็ สวัสด์ิ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลยั สุราษฎรธานี

1. ผลการเรยี นรู
ทดลอง อธิบาย และคำนวณอีเอ็มเอฟของแหลงกำเนิดไฟฟากระแสตรง รวมทั้งอธิบายและคำนวณ

พลังงานไฟฟา และกำลงั ไฟฟา
2. จดุ ประสงคการเรยี นรู

1. อธิบายพลงั งานไฟฟา และกำลังไฟฟา ของเครื่องใชไฟฟา ได (K)
2. ตรวจสอบหาปริมาณตา ง ๆ ท่เี กี่ยวของกับพลังงานไฟฟา กำลังไฟฟา และคา ไฟฟา ได (P)
3. มคี วามใฝเ รียนรแู ละมีความมุง มนั่ ในการทำงาน (A)
3. สาระการเรียนรู
พลังงานไฟฟาที่ถูกใชไปในเครื่องใชไฟฟาในหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา กำลังไฟฟา ซึ่งมีคาขึ้นกับ
ความตางศกั ยและกระแสไฟฟา คำนวณไดจากสมการ W = I∆Vt เเละ P = I∆V

4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
อุปกรณไฟฟาเปนอุปกรณที่ใชพลังงานไฟฟาซึ่งพลังงานไฟฟาที่ถูกใชไปในเครื่องใชไฟฟาในหนึ่งหนวย

เวลา เรยี กวา กำลงั ไฟฟา ซ่งึ แปรผันตามความตางศกั ยและกระแสไฟฟา

5. สมรรถนะสำคัญของผูเรียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
คุณลักษณะอนั พึงประสงค
 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยูอยางพอเพียง
 2. ซอื่ สัตยส จุ ริต  6. มุงม่ันในการทำงาน
 3. มวี นิ ยั  7. รักความเปนไทย
 4. ใฝเ รยี นรู  8. มจี ติ สาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทิดทูนสถาบนั

 2. กตัญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มีวนิ ัย
 5. ใหเ กียรติ

สมรรถนะท่ีสำคญั ของผเู รียน
 1. ความสามารถในการสือ่ สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญ หา
 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี

จุดเนน สูการพฒั นาผูเรยี น
ความสามารถและทักษะท่จี ำเปน ในการเรยี นรใู นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขยี นได)
 R3 – (A)Rithmetics (คดิ เลขเปน )
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดานการสรา งสรรคแ ละนวัตกรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูน ำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดานการส่ือสารสารสนเทศ
และรเู ทา ทนั สือ่ )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสอื่ สาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรยี นร)ู
 C8 – Compassion (ความมเี มตตากรุณา วินยั คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทกั ษะการเรียนร)ู
 L2 – Leadership (ทกั ษะความเปนผูน ำ)
6. กิจกรรมการเรยี นรู
แนวคดิ /รปู แบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนคิ : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชั่วโมงที่ 1

ข้ันที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage)

1. ครูนำตัวอยางใบแจงคาไฟฟา มาใหนักเรียนดู จากนั้นใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภิปราย
แสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับขอ มลู ท่ปี รากฏบนใบแจงคา ไฟฟา

2. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “นักเรียนจะทราบไดอยางไรวา ในแตละ
เดือนใชคาไฟฟาไปกี่หนวย และมีวิธีการคิดอยางไร” โดยใหนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นอยาง
อิสระโดยไมม กี ารเฉลยวาถกู หรอื ผิด

(แนวตอบ : ข้นึ อยูกบั ดลุ ยพนิ ิจของครแู ละนักเรียน)
3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนและตรวจสอบความรูเดิมของ
นักเรียนวา “เครือ่ งใชไ ฟฟา ภายในบานใชพ ลังงานไฟฟาจากแหลง กำเนิดใด”
(แนวตอบ : ใชพลังงานไฟฟา จากแหลง กำเนิดไฟฟา กระแสสลับ โดยพลงั งานไฟฟาจะถกู สงจาก
โรงงานไฟฟาไปตามสายสง ดว ยความตา งศักยทเ่ี หมาะสมและมกี ารแปลงความตา งศักยตาม
เสนทางเปน ระยะ)

ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคนหา (Explore)
1. ครนู ำเครอื่ งใชไ ฟฟา เชน กระตกิ นำ้ รอน เตารดี และพัดลม มาใหน ักเรยี นดู โดยใหนักเรียน

สังเกตขอมูลที่อยูบนเครื่องใชไฟฟา จากนั้นครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียนวา “ตัวเลข 900 Wที่
ปรากฏบนเคร่ืองใชไฟฟา หมายถึงอะไร”

(แนวตอบ : กำลังไฟฟา )
2. นักเรียนจับคูก ับเพื่อนในชั้นเรียน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหนักเรียนแตละคูรวมกันศึกษา
คนควาขอมูลเกี่ยวกับ เรื่อง พลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟา กระแส หรอื แหลง การเรียนรตู าง ๆ เชน หองสมุด อินเตอรเนต็
3. นกั เรยี นแตล ะครู ว มกันอภปิ รายเร่อื งที่ไดศึกษา จากน้นั ใหนกั เรียนแตละคนเขยี นสรปุ ความรูที่
ไดจากการศกึ ษาคนควา ลงในสมุดประจำตัวนักเรยี น
(หมายเหตุ : ครูเรม่ิ ประเมนิ นักเรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล)

ชว่ั โมงที่ 2-3

ขนั้ ที่ 3 อธิบายความรู (Explain)
4. ครูสุมนักเรียน จำนวน 3 – 4 คู ออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาชั้นเรียน ในระหวางท่ี

นกั เรยี นนำเสนอครคู อยใหข อ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ เพ่อื ใหนักเรียนมคี วามเขาใจที่ถูกตองมากยง่ิ ขน้ึ
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบประเมนิ การนำเสนอผลงาน)
5. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรียน โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภปิ รายแสดง

ความคดิ เหน็ เพือ่ หาคำตอบ ดงั นี้
• พลังงานไฟฟา หมายถึง
(แนวตอบ : พลงั งานไฟฟา หมายถงึ ความสน้ิ เปลืองไฟฟาที่เครือ่ งใชไฟฟา ใช)
• กำลงั ไฟฟา หมายถงึ
(แนวตอบ : กำลังไฟฟา หมายถงึ พลงั งานไฟฟาทใี่ ชห รือเปลี่ยนไปในหน่งึ หนว ยเวลา หรือ
อัตราการใชพลงั งานไฟฟา)
• ประโยคทก่ี ลา ววา เตารดี กนิ ไฟมากกวาพัดลม มีความหมายวาอยา งไร

(แนวตอบ : เตารีดใชพ ลงั งานไฟฟา และกำลงั ไฟฟามากกวา พัดลม)
6. นักเรียนแตละคนศกึ ษาตัวอยางที่ 7.15-7.17 จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวทิ ยาศาสตร
ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส จากนั้นครยู กตวั อยางโจทยเ พิ่มเติมเกี่ยวกับการคำนวณ
คา ไฟ โดยครเู ขียนโจทยและแสดงวิธกี ารคำนวณใหนักเรยี นดบู นกระดาน ดังนี้
ตวั อยาง หองเชาแหงหน่ึงมีเตารดี ไฟฟา ขนาด 750 วัตต เปด ใชง านวนั ละ 2 ช่วั โมง และ

เคร่อื งปรับอากาศ ขนาด 1,200 วัตต เปดใชง านวันละ 5 ช่ัวโมง อยากทราบวา ใน
เดอื นสงิ หาคม หองเชาแหงนี้จะตอ งจายคาไฟเทา ไร กำหนดใหคาไฟหนว ยละ 5 บาท

วธิ ีทำ คำนวณหาจำนวนยูนิต =  750 × 2  +  1,200 × 5 
1,000   1,000

= 1.5+ 6

จำนวนยูนิต = 6.5 หนวย

คำนวณคา ไฟฟา
จากสมการ คา ไฟ = จํานวนหนวย × วัน × ราคาตอหนว ย

= 6.5 × 31 × 5

คา ไฟ = 1,007.50 บาท

ดังนั้น ในเดือนสงิ หาคม หอ งเชา แหง นจ้ี ะตองเสียคา ไฟฟา 1,007.50 บาท

ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)
7. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง การคำนวณพลังงานไฟฟาของ

เครื่องใชไฟฟาในบาน และใหความรูเพิ่มเติม จากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง การ
คำนวณพลังงานไฟฟา ของเคร่ืองใชไ ฟฟาในบา น ในการอธบิ ายเพ่มิ เตมิ

8. นักเรียนแตละคนทำใบงานที่ 7.8.1 เรื่อง การคำนวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไ ฟฟาใน
บานจากนั้นครูสุมนักเรียน จำนวน 6 คน ออกมาเฉลยใบงานที่ 7.8.1 เรื่อง การคำนวณพลังงานไฟฟาของ
เครื่องใชไฟฟาในบาน โดยครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณาวาคำตอบใดถกู ตอง จากนั้นครูเฉลยคำตอบที่ถกู ตอ ง
ใหนกั เรยี น

9. นักเรียนแตละคนทำ Unit Question 7 เรื่อง การคำนวณพลังงานไฟฟา ของเคร่ืองใชไฟฟาใน
บา นจากหนงั สอื เรยี น รายวิชาเพ่ิมเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 7 ไฟฟา กระแสลงใน
สมุดประจำตัวนักเรียน

10. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง การคำนวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาในบาน
จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส เปน
การบานสงในชัว่ โมงถดั ไป

ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤติกรรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมหนา ชน้ั เรียน

2. ครูตรวจสอบผลการทำใบงานที่ 7.8.1 เรื่อง การคำนวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาใน
บา น

3. ครตู รวจแบบฝก หดั จาก Unit Question 7 เรื่อง การคำนวณพลังงานไฟฟาของเครอื่ งใชไฟฟา
ในบานในสมดุ ประจำตวั นักเรยี น

4. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง การคำนวณพลังงานไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาในบาน จาก
แบบฝก หัด รายวิชาเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรูท ่ี 7 ไฟฟา กระแส

5. นักเรยี นและครูรวมกันสรปุ เกย่ี วกับการคำนวณพลังงานไฟฟา ของเคร่ืองใชไฟฟาในบาน ซ่ึงได
ขอสรปุ รวมกันวา “เคร่อื งใชไ ฟฟาในบา นใชพ ลังงานไฟฟาจากแหลง กำเนดิ ไฟฟากระแสสลับ พลังงานไฟฟาถูก
สง จากโรงไฟฟาไปตามสายสงความตางศกั ยท่ีเหมาะสม โดยประเทศไทยพลงั งานไฟฟาҩ สงเขาบา นดวยความ
ตา งศกั ย 220 โวลต พลงั งานไฟฟา หมายถึง ความสน้ิ เปลอื งไฟฟา ที่เครื่องใชไฟฟา ใช และกำลงั ไฟฟา หมายถึง
พลังงานไฟฟาที่ใชหรอื เปล่ยี นไปในหนงึ่ หนวยเวลา หรืออัตราการใชพ ลงั งานไฟฟา เคร่ืองใชไ ฟฟา แตล ะชนิดจะ
มีตัวเลขกำกับไว โดยแตละชนิดจะใชพลังงานไฟฟาแตกตางกัน โดยจะขึ้นอยูกับชนิดและขนาดของ
เครื่องใชไ ฟฟา ”

7. การวัดและประเมนิ ผล

รายการวัด วิธวี ัด เคร่อื งมือ เกณฑการประเมนิ
7.1 การประเมนิ ระหวา ง
การจัดกจิ กรรม - ใบงานท่ี 7.8.1 - รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
1) การคำนวณหา - ตรวจใบงานท่ี 7.8.1 - แบบฝก หัด - รอ ยละ 60 ผา นเกณฑ
พลังงานไฟฟาของ - ตรวจแบบฝกหดั - แบบประเมินการ - ระดบั คณุ ภาพ 2
เครอื่ งใชไ ฟฟา นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
2) การนำเสนอ - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2
ผลงาน/ ผลงาน/ผลการปฏิบตั ิ การทำงานรายบุคคล ผา นเกณฑ
ผลการปฏิบตั ิ กิจกรรม
3) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม
ทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล

4) พฤตกิ รรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
ทำงานกลุม การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
- สังเกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
5) คณุ ลกั ษณะ รับผดิ ชอบ ใฝเ รียนรู คณุ ลักษณะ ผา นเกณฑ
อนั พงึ ประสงค ซือ่ สตั ย สุจริต อนั พงึ ประสงค

8. สือ่ /แหลงการเรียนรู
8.1 สือ่ การเรียนรู
1) หนังสอื เรียน รายวิชาเพมิ่ เติมวทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟากระแส
2) แบบฝก หดั รายวชิ าเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟา กระแส
3) ใบงานท่ี 7.8.1 เรือ่ ง การคำนวณพลงั งานไฟฟา ของเครื่องใชไ ฟฟาในบาน


Click to View FlipBook Version