The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 3 ไฟฟ้ากระแส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 3 ไฟฟ้ากระแส

ธนพันธ์ ว30204 บทที่ 3 ไฟฟ้ากระแส

4) PowerPoint เรอื่ ง การคำนวณพลังงานไฟฟาของเคร่ืองใชไ ฟฟา ในบาน
5) ตัวอยางใบแจง คา ไฟฟา
6) เคร่ืองใชไฟฟา เชน กระติกนำ้ รอ น เตารดี และพัดลม
7) สมุดประจำตัวนักเรยี น
8.2 แหลงการเรยี นรู
1) หองเรียน
2) หองสมุด
3) อนิ เทอรเ น็ต

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 9

รายวิชา ฟสิกส 4 รหัสวชิ า ว30204 ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5
กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศึกษา 2564
หนวยการเรยี นรูท่ี 3 เร่ือง ไฟฟากระแส เวลา 32 ชั่วโมง
เรอ่ื ง วงจรไฟฟา เคร่ืองใชไ ฟฟาในบา นและการใชไฟฟา อยา งปลอดภยั เวลา 3 ช่ัวโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพ็งสวัสดิ์ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลยั สรุ าษฎรธานี

1. ผลการเรียนรู
ทดลอง และคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการตอแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้งคำนวณ

ปรมิ าณตาง ๆ ทเี่ กี่ยวของในวงจรไฟฟากระแสตรงซง่ึ ประกอบดว ย แบตเตอรีแ่ ละตวั ตานทาน

2. จุดประสงคก ารเรยี นรู
1. อธิบายการจา ยกระแสไฟฟาจากโรงผลติ ไฟฟา สูบา นเรือนเพือ่ การใชไฟฟาอยา งปลอดภัยได (K)
2. สบื คนขอมลู เกย่ี วกับวงจรไฟฟา เคร่ืองใชไ ฟฟาและการใชไฟฟาอยางปลอดภยั ได (P)
3. มีความใฝเรียนรแู ละมคี วามมุงม่ันในการทำงาน (A)

3. สาระการเรียนรู
-

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การจายกระแสไฟฟาจากโรงผลิตไฟฟาสูบานเรือนเพื่อการใชงาน มีหลายรูปแบบ แตที่นิยมกันมากจะ

สงมาในลักษณะไฟ 3 เฟส ซึ่งระบบนี้จะมีสายไฟอยู 3 เสน โดยสายไฟทั้ง 3 เสนนี้ จะมีความตางศักยคาหน่ึง
(ไมเปนศูนย) เมื่อเทียบกับดิน จะเรียกสายเหลานี้วา สายมีศักย (สาย L) และนอกจากนี้จะมีสายหนึ่งซึ่งมี
ศกั ยไ ฟฟา เปนศูนยเ มือ่ เทยี บกับดนิ เรียกวา สายกลาง (สาย N)

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเรียนและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยอู ยางพอเพยี ง
 2. ซอื่ สัตยสุจริต  6. มุงมนั่ ในการทำงาน
 3. มวี นิ ัย  7. รกั ความเปนไทย
 4. ใฝเรยี นรู  8. มีจติ สาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา

 1. เทิดทนู สถาบนั
 2. กตัญู
 3. บคุ ลิกดี
 4. มวี นิ ัย
 5. ใหเ กียรติ
สมรรถนะท่สี ำคญั ของผเู รียน
 1. ความสามารถในการส่อื สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป ญหา
 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
จดุ เนน สูการพฒั นาผเู รียน
ความสามารถและทักษะทจ่ี ำเปน ในการเรียนรูใ นศตวรรษที่ 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขยี นได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทักษะในการแกป ญ หา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทกั ษะดา นการสรา งสรรคและนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทศั น)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูน ำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทกั ษะดานการสอื่ สารสารสนเทศ
และรเู ทา ทนั สอื่ )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู)
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรุณา วนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรียนรู)
 L2 – Leadership (ทักษะความเปน ผูนำ)
6. กิจกรรมการเรยี นรู
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ กี ารสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชัว่ โมงท่ี 1

ขน้ั ที่ 1 กระตุน ความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับ เรื่อง กำลังไฟฟา และพลังงานไฟฟาของ

เคร่ืองใชไฟฟา ในบา น จากนัน้ ครูแจงจดุ ประสงคก ารเรียนรใู หนกั เรยี นทราบ
2. ครูเปดวีดิทัศนเกี่ยวกับไฟฟามาสูบานไดอยางไร จาก https://www.youtube.com/

watch?v=i87SfWsDI9I ใหนกั เรยี นดู จากน้ันครตู ัง้ ประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรยี นวา “การไฟฟาสง
กระแสไฟฟามายังบานเรือนไดอยางไร” โดยใหนักเรียนรวมกนั อภิปรายแสดงความคิดเหน็ อยางอิสระโดยไมมี
การเฉลยวา ถูกหรือผดิ

(แนวตอบ : ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครแู ละนักเรยี น)
3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟากระแส เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนวา “แผงควบคุมไฟฟามีอุปกรณ
ใดบาง และทำหนาที่อยา งไร”
(แนวตอบ : แผงควบคุมไฟฟา เปน แผงตัวตัดวงจร ประกอบดวยตัวตัดวงจรรวม และตัวตดั
วงจรยอ ย ซง่ึ แผงตวั ตัดวงจรมีหนาท่ีเพ่ือแยกและควบคุมการสงพลังงานไฟฟาไปยังหลอดไฟ
และเครื่องใชไ ฟฟาทใี่ ชก ระแสไฟฟาสงู )

ขั้นท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore)
1. นักเรยี นแบงกลุม ออกเปน 3 กลุม กลุมละเทา ๆ กัน ตามความสมคั รใจ จากนน้ั ใหน ักเรียนแต

ละกลุมสงตัวแทนออกมาจับสลากเรื่องที่ศึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลข ไวหนาชั้นเรียน ซึ่งหมายเลข
สลากจะระบุเร่ืองท่ใี หน กั เรียนศกึ ษา ดังน้ี

• หมายเลข 1 ศกึ ษา เรอื่ ง การตอ สายไฟเขาบาน
• หมายเลข 2 ศกึ ษา เรื่อง วงจรไฟฟาในบา น
• หมายเลข 3 ศึกษา เรือ่ ง อุปกรณไฟฟา และเคร่ืองใชไฟฟาในบาน
2. ครูแจกกระดาษฟลิปชารท ใหนกั เรยี นกลมุ ละ 1 แผน จากนน้ั ใหน ักเรยี นแตละกลุมรว มกนั
ศึกษาคน ควาขอมูลจากหนงั สือเรียน รายวิชาเพิม่ เติมวทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรยี นรทู ่ี 7
ไฟฟา กระแส หรือแหลง การเรียนรูต า ง ๆ เชน อินเทอรเน็ต หอ งสมดุ และรว มกนั อภปิ รายระดมความคดิ เห็น
กันภายในกลมุ แลวนำขอมูลทไี่ ดจ ากการอภปิ ราย มาจดั ทำในรูปแบบตาง ๆ เชน แผนผังมโนทศั น ลงใน
กระดาษฟลิปชารท
(หมายเหตุ : ครเู ร่ิมประเมินนักเรียน โดยใชแ บบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ชัว่ โมงที่ 2 – 3

ขน้ั ท่ี 3 อธบิ ายความรู (Explain)
3. นักเรยี นแตล ะกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาช้ันเรียน ในระหวางท่นี ักเรียนนำเสนอครู

คอยใหขอ เสนอแนะเพิ่มเตมิ เพ่อื ใหน ักเรียนมีความเขาใจทถ่ี กู ตอ งมากยิ่งข้ึน
(หมายเหตุ : ครเู ร่มิ ประเมนิ นกั เรยี น โดยใชแบบประเมินการนำเสนอผลงาน)
4. ครตู งั้ ประเดน็ คำถามกระตนุ ความคิดนักเรียน โดยใหนักเรยี นแตล ะกลมุ รว มกนั อภิปรายแสดง

ความคดิ เห็นเพือ่ หาคำตอบ ดังนี้
• วงจรไฟฟาแบบเปด และวงจรไฟฟาแบบปด แตกตางกันอยางไร

(แนวตอบ : วงจรไฟฟา แบบเปด กระแสไฟฟา ไมส ามารถไหลไดครบวงจร และวงจรไฟฟา
แบบปด กระแสไฟฟา ไหลไดครบวงจร)
• จะทราบไดอยา งไรวา สายใดเปน สาย L และสายใดเปน N
(แนวตอบ : ใชไขควงตรวจสอบไฟฟา โดยเอาปลายไขควงแตะสายสง พลังงานไฟฟาเสน หนงึ่
แลว ใชน วิ้ มือสัมผสั กับปลายดานบนสดุ ของไขควง ถาสายไฟนัน้ เปน สาย L หลอดแอลอีดีจะ
เปลงแสง แตถา สาย N จะไมมแี สงจากหลอดแอลอดี ี)
• สายมีศักย และสายกลาง แตกตางกนั อยางไร
(แนวตอบ : สายมีศักย จะมีศักยไฟฟาไมเ ปน ศนู ยเม่ือเทยี บกบั พืน้ ดิน และสายกลาง จะมี
ศักยไ ฟฟาเปน ศูนยเมอ่ื เทียบกับพื้นดิน)
• คุณสมบตั ิของมอเตอรไฟฟา มีลกั ษณะอยางไร
(แนวตอบ : มอเตอรไฟฟา ทำหนาที่เปล่ยี นพลงั งานไฟฟา เปนพลงั งานกลในรูปของการหมุน)
• ตวั ตดั วงจรเชิงความรอนทำหนาทอ่ี ยา งไร และมหี ลักการทำงานอยางไร
(แนวตอบ : ตวั ตดั วงจรเชิงความรอนใชหลกั การของแผนโลหะคูในการทำงาน ทำหนา ที่ตัด
หรอื ตอ วงจรทจ่ี ายกระแสไฟฟาใหอุปกรณสรา งความรอน และชว ยใหผ ใู ชสามารถปรบั
อุณหภูมหิ รอื ความรอนจากเครอ่ื งใชไฟฟาไดตามตองการ ซึ่งสามารถนำไปใชงานแทนฟว สใน
แผงวงจรไฟฟา ได)
5. ครูสุมนักเรียน จำนวน 6 คน ออกมาหนาชั้นเรียน โดยยกตัวอยางอุปกรณไฟฟาหรือ
เครอ่ื งใชไฟฟาในบา น มาคนละ 1 ตวั อยาง ดังนี้
• คนที่ 1 – 2 ยกตวั อยางเคร่ืองใชไ ฟฟา ที่ใหพลังงานแสงสวา ง
• คนที่ 3 – 4 ยกตวั อยางเคร่ืองใชไฟฟาที่ใหพลงั งานความรอ น
• คนที่ 5 – 6 ยกตัวอยางเคร่ืองใชไฟฟาทใี่ หพลงั งานกล
ขั้นท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)
6. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง วงจรไฟฟา เครื่องใชไฟฟาในบานและ
การใชไฟฟาอยางปลอดภัย และใหความรูเพิ่มเติม จากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPointเรื่อง
วงจรไฟฟา เคร่อื งใชไ ฟฟา ในบานและการใชไฟฟา อยางปลอดภัย ในการอธบิ ายเพมิ่ เติม
7. นักเรียนแตละคนยกตัวอยางการใชไฟฟาอยางปลอดภัยที่เกี่ยวของกับในชีวิตประจำวันของ
นกั เรียน โดยเขียนลงในสมดุ ประจำตัวนกั เรยี น จากนั้นครูสุม นักเรียน จำนวน 3 คน ออกมาหนาชน้ั เรียน เพ่ือ
นำเสนอคำตอบของตนเอง ครูอาจเสนอแนะ หรืออธิบายเพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจที่ถูกตองมาก
ย่งิ ขนึ้
8. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง การวงจรไฟฟา เครื่องใชไฟฟาในบานและการใชไฟฟา
อยางปลอดภัย จากแบบฝก หัด รายวิชาเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟา
กระแส

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
พฤตกิ รรมการทำงานกลุม และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหนาชนั้ เรียน

2. ครตู รวจสอบแบบฝก หดั เรอ่ื ง วงจรไฟฟา เคร่ืองใชไฟฟา ในบา นและการใชไฟฟาอยางปลอดภัย
จากแบบฝก หดั รายวชิ าเพม่ิ เติมวทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟากระแส

3. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับวงจรไฟฟา เครื่องใชไฟฟาในบานและการใชไฟฟาอยาง
ปลอดภยั ซึง่ ไดข อ สรปุ รวมกันวา “แผงควบคมุ ไฟฟายคุ กอนจะประกอบดว ย ฟวส สะพานไฟรวม และสะพาน
ไฟยอย แตแผงควบคุมไฟฟายุคปจจบุ ันเปนแผงตัวตดั วงจร ประกอบดว ย ตัวตัดวงจรรวม และตวั ตัดวงจรยอย
ซึ่งตัวตัดวงจรที่ติดตั้งบนแผงควบคุมไฟฟา ทำหนาที่เปนฟวสและสะพานไฟ การจายไฟเขาบานเรือนจะจาย
ผา นสายไฟ 2 สาย คอื สายศกั ย (live wire) หรอื สาย L กับสายกลาง (neutral wire) หรอื สาย N ”

7. การวัดและประเมินผล

รายการวัด วิธีวัด เครอื่ งมอื เกณฑก ารประเมนิ
7.1 การประเมินระหวา ง - แบบฝก หัด - รอยละ 60 ผา นเกณฑ
การจดั กจิ กรรม
1) วงจรไฟฟา - ตรวจแบบฝก หดั - แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ 2
เคร่อื งใชไ ฟฟา นำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
ในบา นและการใช - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
ไฟฟาอยาง การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ
ปลอดภัย
2) การนำเสนอ - ประเมินการนำเสนอ
ผลงาน/ ผลงาน/ผลการปฏบิ ตั ิ
ผลการปฏบิ ตั ิ กิจกรรม
กิจกรรม
3) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม
ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล

4) พฤตกิ รรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
ทำงานกลุม การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผานเกณฑ
- สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมิน - ระดบั คณุ ภาพ 2
5) คณุ ลักษณะ รบั ผดิ ชอบ ใฝเ รียนรู คุณลักษณะ ผานเกณฑ
อันพงึ ประสงค ซือ่ สตั ย สุจริต อันพงึ ประสงค

8. สอื่ /แหลงการเรียนรู
8.1 สือ่ การเรียนรู
1) หนังสอื เรยี น รายวิชาเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท ี่ 7 ไฟฟา กระแส
2) แบบฝกหัด รายวชิ าเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรูท ่ี 7 ไฟฟากระแส
3) PowerPoint เร่ือง วงจรไฟฟา เครอื่ งใชไ ฟฟาในบานและการใชไฟฟาอยา งปลอดภัย
4) สลากหมายเลข
5) วีดิทศั นเ กยี่ วกบั ไฟฟามาสูบานไดอยา งไร จาก https://www.youtube.com/watch?v=i87SfWsDI9I
6) สมุดประจำตัวนักเรียน

8.2 แหลงการเรียนรู
1) หองเรียน
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเน็ต

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 10

รายวชิ า ฟสิกส 4 รหสั วชิ า ว30204 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 5
กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2564
หนวยการเรยี นรทู ่ี 3 เรือ่ ง ไฟฟา กระแส เวลา 32 ชัว่ โมง
เรอ่ื ง ไฟฟาจากพลังงานทดแทน เวลา 3 ช่ัวโมง
ผสู อน นายธนพนั ธ เพง็ สวัสดิ์ โรงเรยี นกาญจนาภิเษกวทิ ยาลัย สรุ าษฎรธานี

1. ผลการเรยี นรู
อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเปนพลังงานไฟฟา รวมทั้งสืบคนและอภิปราย เกี่ยวกับเทคโนโลยี

ที่นำมาแกปญหาหรือตอบสนองความตองการทางดานพลังงานไฟฟา โดยเนนดานประสิทธิภาพและความ
คมุ คา ดานคา ใชจ า ย

2. จดุ ประสงคการเรยี นรู
1. อธิบายการเปล่ียนพลังงานทดแทนเปน พลังงานไฟฟาได (K)
2. สืบคน ขอ มลู เกี่ยวกบั พลังงานทดแทนได (P)
3. มีความมงุ ม่ันในการเรียนรูและการทำงานท่ีไดรับมอบหมายตลอดเวลา (A)

3. สาระการเรียนรู
การนำพลังงานทดแทนมาใชเปนการแกปญหา หรือตอบสนองความตองการดานพลังงาน เชน

การเปลย่ี นพลังงานนิวเคลยี รเปน พลังงานไฟฟา ในโรงไฟฟานวิ เคลยี ร และการเปล่ยี นพลงั งานแสงอาทิตยเปน
พลังงานไฟฟาโดยเซลลส ุริยะ

เทคโนโลยีตาง ๆ ที่นำมาแกปญหาหรือตอบสนองความตองการทางดานพลังงานเปนการนำความรู
ทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตรมาสราง อุปกรณหรือผลิตภัณฑตาง ๆ ที่ชวยใหการใชพลังงานมี
ประสิทธภิ าพยิ่งขึ้น

4. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด
การเปลี่ยนพลงั งานทดแทนเปนพลังงานไฟฟาทำไดโดยนำพลังงานทดแทนมาทำใหเกิดความรอนโดยใช

กระบวนการตา ง ๆ แลวนำความรอ นท่ไี ดมาทำใหเ คร่ืองผลิตกระแสไฟฟา หรอื การนำเทคโนโลยเี ซลลสุริยะมา
ใชใ นการผลติ พลังงานไฟฟา

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเรียนและคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค
 1. รกั ชาติ ศาสน กษัตริย  5. อยูอยางพอเพยี ง

 2. ซอื่ สัตยส ุจรติ  6. มุงมัน่ ในการทำงาน
 3. มวี นิ ัย  7. รักความเปนไทย
 4. ใฝเรียนรู  8. มีจติ สาธารณะ

เบญจวถิ ีกาญจนา
 1. เทดิ ทนู สถาบนั
 2. กตญั ู
 3. บคุ ลกิ ดี
 4. มีวินัย
 5. ใหเกียรติ

สมรรถนะท่สี ำคัญของผเู รียน
 1. ความสามารถในการส่อื สาร
 2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกปญหา
 4. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

จดุ เนน สูก ารพัฒนาผเู รยี น
ความสามารถและทักษะท่จี ำเปนในการเรียนรูใ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs x 8Cs x 2Ls)
 R1 – Reading (อานออก)
 R2 – (W)Riting (เขยี นได)
 R3 – (A)Rithmetics (คิดเลขเปน)
 C1 – Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะดานการคิดอยางมีวิจารณญาณและ
ทกั ษะในการแกปญหา)
 C2 – Creativity and Innovation (ทักษะดานการสรา งสรรคแ ละนวตั กรรม)
 C3 – Cross – cultural Understanding (ทักษะดานความเขาใจตางวัฒนธรรมตางกระบวน
ทัศน)
 C4 – Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะดานความรวมมือ การทำงานเปน
ทีมและภาวะผูนำ)
 C5 – Communications, Information and Media Literacy (ทักษะดานการสอื่ สารสารสนเทศ
และรูเทาทนั สอื่ )
 C6 – Computing and ICT Literacy (ทักษะดานคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การส่ือสาร)
 C7 – Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชีพและทกั ษะการเรียนร)ู
 C8 – Compassion (ความมีเมตตากรณุ า วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม)
 L1 – Learning (ทักษะการเรยี นรู)
 L2 – Leadership (ทักษะความเปน ผนู ำ)

6. กิจกรรมการเรียนรู
แนวคิด/รปู แบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : แบบสบื เสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ชั่วโมงท่ี 1

ข้นั ที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage)
1. ครูทบทวนความรเู ดิมของนักเรียนเกยี่ วกับ เรอื่ ง วงจรไฟฟา เคร่อื งใชไฟฟาในบานและการใช

ไฟฟา อยางปลอดภยั จากนั้นครแู จงจุดประสงคก ารเรียนรใู หนักเรยี นทราบ
2. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการผลิตพลังงานไฟฟาจากแหลงพลงั งานตาง ๆ เชน การผลิต

ไฟฟาจากการเผาไหมถานหิน หรือแกสธรรมชาติมาเผาไหมใหไดความรอนมาขับเคลื่อนเครื่องผลิตไฟฟาซ่ึง
ถานหิน หรือแกสธรรมชาติเปน แหลงพลังงานทีใ่ ชแลวหมดไป อีกทั้งสรางมลพิษในกระบวนการผลิตไฟฟา จึง
ทำใหตอ งมีการสรรหาแหลงพลงั งานใหมม าใชในการผลติ ไฟฟา เชน แหลงพลงั งานทดแทน

3. ครูถามคำถาม Prior Knowledge จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส
ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส เพื่อเปนการนำเขาสูบทเรียนวา “พลังงานไฟฟาผลิตไดจาก
แหลงพลังงานใดไดบา ง”

(แนวตอบ : นกั เรยี นอาจตอบวา พลงั งานความรอน พลังงานลม พลงั งานแสงอาทติ ย เปนตน)
ขัน้ ท่ี 2 สำรวจคน หา (Explore)

1. นักเรียนแบงกลมุ ออกเปน 7 กลมุ กลุม ละเทา ๆ กนั ตามความสมคั รใจ จากน้ันใหนกั เรียนแต
ละกลุมสงตัวแทนออกมาจับสลากเรื่องที่ศึกษา โดยครูเตรียมสลากหมายเลข ไวหนาชั้นเรียน ซึ่งหมายเลข
สลากจะระบุเรือ่ งทีใ่ หนกั เรยี นศึกษา ดังน้ี

• หมายเลข 1 ศกึ ษา เรอ่ื ง พลงั งานน้ำ
• หมายเลข 2 ศึกษา เรอ่ื ง พลังงานลม
• หมายเลข 3 ศกึ ษา เรื่อง พลังงานชวี ภาพ
• หมายเลข 4 ศึกษา เรือ่ ง พลงั งานแสงอาทติ ย
• หมายเลข 5 ศึกษา เรือ่ ง พลังงานความรอนใตพ ภิ พ
• หมายเลข 6 ศกึ ษา เรอ่ื ง พลงั งานทดแทนประเภทสิ้นเปลือง
• หมายเลข 7 ศึกษา เร่อื ง พลงั งานทดแทนประเภทหมุนเวยี น
2. ครูแจกกระดาษฟลิปชารทใหนักเรียนกลุมละ 1 แผน จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน
ศึกษาคนควาขอมูล จากหนังสือเรียน รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูที่ 7
ไฟฟากระแส หรือแหลงการเรียนรูตาง ๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด QR Code เรื่อง ไฟฟาจากพลังงาน
ทดแทน และรวมกนั อภิปรายระดมความคิดเหน็ กันภายในกลมุ แลว นำขอมลู ท่ไี ดจากการอภิปราย มาจัดทำใน
รูปแบบตา ง ๆ เชน แผนผงั มโนทศั น ลงในกระดาษฟลิปชารท
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ )

ช่วั โมงที่ 2 – 3

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain)
3. นกั เรยี นแตละกลุมออกมานำเสนอผลการศึกษาหนาช้นั เรยี น ในระหวางท่ีนักเรียนนำเสนอครู

คอยใหข อเสนอแนะเพ่มิ เติม เพ่อื ใหนกั เรยี นมคี วามเขาใจทถี่ ูกตอ งมากยิ่งขึ้น
(หมายเหตุ : ครูเร่ิมประเมนิ นักเรยี น โดยใชแ บบประเมินการนำเสนอผลงาน)
4. ครูตั้งประเด็นคำถามกระตุนความคิดนักเรยี น โดยใหนักเรียนแตละคนรวมกันอภปิ รายแสดง

ความคิดเห็นเพ่ือหาคำตอบ ดงั นี้
•พลังงานทีน่ ำมาใชแ ทนนำ้ มันเชอื้ เพลงิ เรยี กวาอะไร
(แนวตอบ : พลังงานทดแทน)
•พลงั งานทดแทนประเภทสิน้ เปลือง มีลักษณะอยา งไร
(แนวตอบ : เปนพลงั งานทดแทนจากแหลง พลงั งานทใี่ ชไ ปนาน ๆ จะหมดไปได)
•พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวยี น มลี กั ษณะอยา งไร
(แนวตอบ : เปนพลงั งานที่ไดมาจากแหลงพลงั งานทีใ่ ชแ ลวสามารถนำกลับมาใชไดอีก)

ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขาใจ (Elaborate)
5. ครูเปดโอกาสใหนักเรียนซักถามเนื้อหาเกี่ยวกับ เรื่อง ไฟฟาจากพลังงานทดแทน และให

ความรูเพิ่มเติม จากคำถามของนักเรียน โดยครูใช PowerPoint เรื่อง ไฟฟาจากพลังงานทดแทน ในการ
อธบิ ายเพมิ่ เติม

6. นักเรียนตรวจสอบความเขาใจของตนเองจากกรอบ Self Check เรื่อง ไฟฟากระแส ใน
หนงั สือเรียน รายวิชาเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร ฟส ิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 7 ไฟฟา กระแส โดยบันทึกลง
ในสมุดประจำตวั นักเรยี น

7. นักเรียนแตละคนทำแบบฝกหัด เรื่อง ไฟฟาจากพลังงานทดแทน จากแบบฝกหัด รายวิชา
เพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟส กิ ส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 7 ไฟฟากระแส

8. นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียนของหนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส เพื่อเปนการวัด
ความรหู ลงั เรียนของนักเรยี น

9. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 6 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นใหแตละกลุมนำความรู เรื่อง
ไฟฟากระแสมาออกแบบและประดิษฐชิ้นงานเกี่ยวกับการตอวงจรไฟฟา เชน ปายไฟ จากหลอด LED ชุด
ทดลองการตอวงจรไฟฟากระแสตรง ชุดทดลองวงจรปลุกตามแสงตะวัน ชุดทดลองวงจรปรับความสวางของ
หลอดไฟ เปน ตน พรอ มอธบิ ายหลักการทำงาน หรือวิธีการใชง าน

ขน้ั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)
1. ครูตรวจสอบผลการทำแบบทดสอบหลังเรียนหนวยการเรียนรูที่ 7 ไฟฟากระแส เพื่อ

ตรวจสอบความเขา ใจหลังเรยี นของนกั เรียน
2. ครูประเมินผล โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบคำถาม พฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

พฤติกรรมการทำงานกลมุ และจากการนำเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหนา ช้นั เรียน
3. ครูตรวจสอบผลการตรวจสอบความเขาใจของตนเองจากกรอบ Self Check เรื่อง ไฟฟา

กระแสจากหนงั สือเรยี น รายวิชาเพิม่ เตมิ วทิ ยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 ในสมดุ ประจำตวั นกั เรียน

4. ครูตรวจสอบแบบฝกหัด เรื่อง ไฟฟาจากพลังงานทดแทน จากแบบฝกหัด รายวิชาเพิ่มเติม
วทิ ยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2

5. ครูวัดและประเมนิ ผลจากช้ินงานส่งิ ประดิษฐเ ก่ยี วกบั การตอ วงจรไฟฟา
6. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับไฟฟาจากพลังงานทดแทน ซึ่งไดขอสรุปรวมกันวา
พลังงานไฟฟาในชีวิตประจำวันสวนใหญมาจากโรงไฟฟาพลังงานความรอน ซึ่งใชความรอนจากการเผาไหม
ของน้ำมัน ถานหินและแกสธรรมชาติ ในการผลิตไฟฟามีเพียงสวนนอยที่มาจากโรงไฟฟาพลังงานน้ำ และ
โรงไฟฟาพลังงานนวิ เคลยี ร พลังงานทดแทน แบง เปน 2 ประเภท คอื พลงั งานทดแทนประเภทสน้ิ เปลือง และ
พลังงานทดแทนประเภทหมุนเวียน”

7. การวดั และประเมินผล

รายการวัด วิธีวดั เครื่องมือ เกณฑการประเมิน
7.1 การประเมินระหวาง
การจัดกิจกรรม
1) ไฟฟา จากพลงั งาน - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝก หดั - รอยละ 60 ผา น
ทดแทน - แบบประเมินการ เกณฑ
2) การนำเสนอผลงาน/ - ประเมนิ การนำเสนอ นำเสนอผลงาน - ระดับคุณภาพ 2
ผลการปฏบิ ตั ิ ผลงาน/ผลการปฏิบัติ ผา นเกณฑ
กจิ กรรม กิจกรรม
3) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม - ระดบั คณุ ภาพ 2
ทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ
4) พฤติกรรมการ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2
ทำงานกลมุ การทำงานกลุม การทำงานกลุม ผา นเกณฑ
5) คุณลกั ษณะ - สงั เกตความมวี ินยั - แบบประเมนิ - ระดบั คุณภาพ 2
อนั พงึ ประสงค รบั ผิดชอบ ใฝเรียนรู คุณลักษณะ ผา นเกณฑ
ซอ่ื สตั ย สจุ รติ อันพงึ ประสงค
7.2 การประเมินหลงั เรยี น
1) แบบทดสอบ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลัง - รอ ยละ 60 ผา น
หลงั เรียน หนวยการ หลังเรยี น หนวยการ เรยี น เกณฑ
เรียนรูท่ี 7 ไฟฟา เรยี นรทู ี่ 7 ไฟฟา หนว ยการเรยี นรทู ่ี 7
กระแส กระแส ไฟฟา กระแส
2) การประเมนิ ชิน้ งาน/ - ตรวจช้นิ งาน - แบบประเมินช้นิ งาน/ - ระดับคณุ ภาพ 2
ภาระงาน (รวบยอด) สง่ิ ประดิษฐ ภาระงาน (รวบยอด) ผา นเกณฑ
เรือ่ ง การสราง การตอ วงจรไฟฟา
ชิน้ งานส่ิงประดษิ ฐ
การตอ วงจรไฟฟา

8. สื่อ/แหลงการเรยี นรู
8.1 สื่อการเรียนรู
1) หนังสอื เรียน รายวิชาเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร ฟสกิ ส ม.5 เลม 2 หนวยการเรียนรูท่ี 7 ไฟฟากระแส
2) แบบฝก หดั รายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตร ฟสิกส ม.5 เลม 2 หนว ยการเรียนรทู ่ี 7 ไฟฟา กระแส
3) PowerPoint เรอื่ ง ไฟฟา จากพลงั งานทดแทน
4) QR Code เรือ่ ง ไฟฟาจากพลงั งานทดแทน
5) สมุดประจำตัวนักเรยี น
8.2 แหลงการเรียนรู
1) หอ งเรยี น
2) หองสมดุ
3) อนิ เทอรเ น็ต

ภาคผนวก ก
แบบบันทึกการสรปุ ผลการจัดการเรียนรู

สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู
ดา นความรู (Knowledge)

กลมุ ผูเรียน ชว งคะแนน จำนวน (คน) คิดเปนรอยละ
ดี จำนวน (คน) คดิ เปน รอยละ
จำนวน (คน) คิดเปนรอยละ
ปานกลาง
ปรบั ปรงุ

ดานทกั ษะ/กระบวนการ (Process)

กลุมผเู รียน ชว งคะแนน
ดี

ปานกลาง
ปรบั ปรุง

ดานคณุ ลกั ษะอันพึงประสงค (Attitude)

กลุม ผูเ รียน ชว งระดับคณุ ภาพ
ดี 3
2
ปานกลาง
ปรับปรงุ 0-1

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู
ดา นการจดั กิจกรรมการเรียนรู

.............................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................

ปญหาที่พบระหวา งหรือหลงั จดั กิจกรรม

.............................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................

ขอเสนอแนะ/แนวทางแกปญหา

.............................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ..................................................................ผสู อน
( นายธนพันธ เพ็งสวสั ด์ิ )

............/........................../.............

การตรวจสอบและความคิดเหน็ ของหัวหนากลุมสาระการเรียนรู
 สอดคลอ งกับมาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของหลกั สูตรฯ
 กิจกรรมการเรยี นรเู นนผูเรยี นเปน สำคัญ
 มีการวดั และประเมินผลตามสภาพจริง มคี วามหลากหลายเหมาะสมกับผูเ รยี น
 ใชสื่อหรือแหลง เรยี นรทู ่ีทนั สมัยและสง เสริมการเรียนรูไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ
 สอดคลอ งตามจดุ เนน ของกระทรวงศกึ ษาธิการ สพฐ. และจดุ เนน ของโรงเรยี น
 สง เสรมิ ทักษะ 3Rs x 8Cs x 2Ls
 สงเสริมเบญจวิถีกาญจนา

.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .....................................................................
( นางสาวทิพวัลย ขลิดรมั )
หวั หนา กลุมสาระการเรียนรู

ความคิดเหน็ ของรองผอู ำนวยการฝายวิชาการ

.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ..................................................................................
( นางกัญจนช ญาณัท วงศจ ิระศักดิ์ )

รองผอู ำนวยการโรงเรียน กลมุ บรหิ ารงานวิชาการ

ความคิดเห็นของผอู ำนวยการโรงเรียน

.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ..................................................................................
( นางพรทิพย นุกลู กิจ )
ผูอำนวยการโรงเรยี น




Click to View FlipBook Version