ประวตั คิ วามเปน็ มา
องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ
(UNESCO) ซ่ึงเป็นผู้ท่ีมีหน้าท่ีส่งเสริมและเผยแพร่ผลงาน
ดา้ นวฒั นธรรมของประเทศ สมาชิกตา่ งๆทวั่ โลก ด้วยการประกาศ
ยกย่องเชิดชูเกียรติ บุคคลผู้มีผลงานดีเด่น ทางวัฒนธรรม
ระดับโลกในวาระครบรอบ 100 ปีข้ึนไป ประจำทุกปีโดยมี
วัตถุประสงค์ โดยสรุปคือ
1. เพ่ือเผยแพร่เกียรติคุณและผลงานของ
ผมู้ ผี ลงานดีเด่นทางดา้ นวฒั นธรรมระดับโลกให้
ปรากฏแก่มวลสมาชกิ ทั่วโลก
2. เพ่อื เชิญชวนใหป้ ระเทศสมาชกิ มีสว่ นรว่ ม
ในการจัดกจิ กรรม เฉลมิ ฉลองร่วมกับประเทศ
ท่มี ผี ู้ได้รบั การยกยอ่ งเชิดชเู กยี รติ
ประวัตคิ วามเปน็ มา
ในการนี้รัฐบาลไทย โดยคณะกรรมการแห่งชาติ
ว่าด้วยการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง
สหประชาชาติ กระทรวงศึกษาธิการ จะเป็นผู้สืบค้น บรรพ
บุรุษไทยผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม เพ่ือให้ยูเนสโก
ประกาศยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรติและได้ประกาศยกย่องสุนทรภู่
ให้เป็นบุคคล ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรมระดับโลก
วาระครบรอบ2๐๐ปี เกิดวันท่ี 26 มถิ นุ ายน 2329
ชีวประวตั สิ ุนทรภู่
สุนทรภู่ กวสี ำคัญสมัยต้นรัตนโกสินทร์ เกิดเม่ือ
วนั ท่ี 26 มถิ ุนายน พ.ศ.2329 ณ บริเวณ ด้านเหนือ
ของพระราชวังหลัง (บริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อย
ปัจจุบัน) บิดาของท่านเป็นชาวกร่า อำเภอแกลง จังหวัด
ระยอง ตามสันนิษฐานว่ามารดาเป็นข้าหลวงอยู่ใน
พระราชวังหลัง บิดามารดาเลิกร้างกันต้ังแต่สุนทรภู่เกิด
บดิ าออกไปบวชที่วดั ปา่ ตำบลบา้ นกร่า อำเภอแกลง
อันเป็นภูมิลำเนาเดิม ส่วนมารดากลับเข้าไปอยู่ใน
พระราชวงั หลัง และไดถ้ วายตัวเป็นนามนมของพระธดิ าใน
กรมฯน้ัน
ในปฐมวัยสุนทรภู่ได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กใน
พระราชวังหลัง และได้อาศัยอยู่กับมารดา สุนทรภู่
ไ ด ้ รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น พ ร ะ ร า ช วั ง ห ลั ง แ ล ะ ที่ วั ด ชี ป ะ ข า ว
(วัดศรีสุดาราม)ตั้งแต่เยาว์วัยสุนทรภู่ มีนิสัยรักการแต่ง
กลอนยิ่งกวา่ งานอื่น ครั้งรุ่นหนุ่มก็ไปเป็นครูสอนหนังสือ
อยู่ท่ีวัดศรีสุดารามในคลองบางกอกน้อย ได้แต่งกลอน
สภุ าษิตและกลอนนิทานขึ้นไว้ เมื่ออายรุ าว 2๐ปี
ชวี ประวตั สิ ุนทรภู่
ในระยะน้ีได้ลอบรักกับหญิงสาวชาววังช่ือ "จันทร์"
จึงต้องเวรจำทัง้ ชายหญิง เมอ่ื กรมพระราชวงั หลงั ทวิ งคต
จึงพ้นโทษ ต่อมาจึงได้แม่จันทร์เป็นภรรยา แต่อ ยู่
ด้วยกนั ไมน่ านกเ็ กิดระหองระแหงคงจะเปน็ เพราะสุนทรภู่
เมาสุราอยู่เป็นนิตย์
ในสมัยรัชกาลท่ี 2 สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการในกรม
พระอาลกั ษณแ์ ละเปน็ ท่ีโปรดปราน ของสมเด็จพระพุทธ
เลิศหล้านภาลัย จนได้รับแต่งต้ังเป็นขุนสุนทรโวหาร
เป็นกวีทป่ี รึกษาและคอยรับใช้ใกล้ชิด ระยะนี้สุนทรภู่ได้
หญิงชาวบางกอกนอ้ ยทชี่ อื่ น่ิม เปน็ ภรยิ าอีกคนต่อมาใน
พ.ศ.2364 สุนทรภู่ต้องติดคุก เพราะเมาสุราอาละวาด
และทำรา้ ยท่านผู้ใหญ่ แต่ติดอยู่ไม่นานก็พ้นโทษเพราะ
ความสามารถในทางกลอนเป็นท่ีพอพระราชหฤทัยของ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นนภาลัย
ชวี ประวตั สิ ุนทรภู่
สมัยรชั กาลที่ 3 สุนทรภู่ถกู กล่าวหาด้วยเร่ือง
เสพสุรา แล ะเร่ืองอ่ืนๆ จึงถูกถอดออกจ าก
ตำแหน่งขุนสุนทรโ วหารต่อมาสุนทรภู่ออกบวช ที่
วัดราชบูรณะ(วัดเลียบ) และเดินทางไปจำพรรษา
ตามวัดต่างๆและได้รับการอุปการะจากพระองค์เจ้า
ลั ก ข ณ า นุ คุ ณ จ น พ ร ะ อ ง ค ์ ป ร ะ ช ว ร ส้ิ น พ ร ะ ช น ม์
สุนทรภู่จึงลาสิกขาบทรวมอายุพรรษาที่บวชได้
ประมาณ 10 พรรษา สุนทรภู่ออกมาตกระกำลำบาก
อยูพ่ ักหนึง่ จงึ กลับเข้าไปบวชอีกครั้งแต่อยู่ได้เพียง
2 พรรษาก็ลาสิกขาบท และถวายตัวอยู่กับเจ้าฟ้า
กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ณ พระราชวังเดิม รวมท้ัง
ได้อุปการะจากกรมหมืน่ อปั สรสุดาเทพอกี ดว้ ย
ชีวประวตั ิสนุ ทรภู่
เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้ครองราชย์ ทรงสถาปนาเจ้าฟ้า
กรมขุนอิศเรศรังสรรค์เป็นพระบาทสมเด็จพระ
ปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ประทับอยู่วังหน้า (พระบวร
ร า ช วั ง ) สุ น ท ร ภู ่ จึ ง ไ ด ้ รั บ พ ร ะ ร า ช ท า น
บรรดาศักด์ิเป็นพระสุนทรโวหาร ตำแหน่ง
เ จ ้ า ก ร ม พ ร ะ อ า ลั ก ษ ณ ์ ฝ ่ า ย บ ว ร ร า ช วั ง
ในปี พ.ศ.2394 และรับราชการต่อมาได้ 4 ปี
ก็ ถึ ง แ ก ่ ม ร ณ ก ร ร ม ใ น พ . ศ . 2 3 9 4
รวมอายุได้ 70 ปี
ผลงานของสนุ ทรภู่
นริ าศ นริ าศเมอื งแกลง
นิราศพระบาท
นิราศภเู ขาทอง
นริ าศสพุ รรณ
นริ าศวดั เจ้าฟ้า
นิราศอิเหนา
รำพนั พลิ าป
นิราศพระประธม
นิราศเมอื งเพชร
ผลงานของสนุ ทรภู่
นิทาน
เรื่องโคบุตร,เรื่องพระอภยั มณี, เรอื่ งพระไชยสุริยา
เรื่องลกั ษณวงศ์,เร่ืองสงิ หไกรภพ
บทละคร
เรอ่ื งอภัยนุรา ซึง่ เขียนข้นึ ในสมัยรัชกาล
ที่ 4 เพื่อถวายพระองค์เจา้ ดวงประภา
พระธิดาในพระบาทสมเด็จพระปน่ิ เกลเ้ จา้ อยู่หวั
บทเสภา
เร่ืองขนุ ชา้ งขนุ แผน (ตอนกำเนิดพลายงาม)
เร่อื งพระราชพงศาวดาร
ผลงานของสนุ ทรภู่
สภุ าษติ
สวสั ดิรักษาคาดว่าประพันธ์ในสมัยรัชกาลที่ 2
ข ณ ะ เ ป ็ น พ ร ะ อ า จ า ร ย ์ ถ ว า ย อั ก ษ ร แ ด ่ เ จ ้ า ฟ ้ า
อาภรณ์ สุภาษิตสอนหญิง เป็นหนึ่งในผลงาน
ซ่ึงยังเป็น ท่ีเคลือบแคลงว่า สุน ทรภู่เป็ น
ผู้ประพันธ์จริงหรือไม่ เพลงยาวถวายโอวาท
คาดว่าประพันธใ์ นสมัยรชั กาลท่ี 3 ขณะเป็นพระ
อาจารยถ์ วายอกั ษรแด่ เจา้ ฟ้ากลางและเจ้าฟ้าป๋ิว
บทเห่กลอ่ มพระบรรทม
แต่งขึ้นสำหรับใช้ขับกล่อมหม่อม
เจ ้า ใ น พร ะ องค ์เจ ้ าลักข ณ า นุคุ ณ
กับพระเจา้ ลกู ยาเธอในพระบาทสมเด็จ
พระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เท่าท่ีพ บมี
4 เ รื่ อ ง คื อ เ ห ่ เ รื่ อ ง พ ร ะ อ ภั ย ม ณี
เห่เรื่องโคบตุ ร เหเ่ ร่ืองจับระบำและ
เหเ่ รอื่ งกากี