The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-01-27 03:33:03

หนังสือสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดินนแผ่นดิน

หนังสือสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดิน

1

2

3

2

นับเปน็ เวลา ๗ ทศวรรษท่สี มเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์ิ
พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง
ทรงให้ความส�าคัญและทุ่มเทพระวรกายในการอนรุ กั ษ์
และฟื้นฟศู ิลปวฒั นธรรมของชาติ โดยเฉพาะอย่างยงิ่
“ผ้าไทย” ที่ทรงอนุรกั ษ์ฟื้นฟูและเป็นแบบอยา่ ง
ในการใชผ้ า้ ไทยด้วยพระองคเ์ อง พระองคท์ รงพลกิ ฟน้ื
ผา้ ไทย จากส่ิงทอของชาวบ้านทเ่ี กอื บสญู หาย
ใหก้ ลบั มาเปน็ อาภรณท์ ค่ี นทว่ั โลกใหก้ ารยอมรบั ถงึ คณุ คา่
และความงดงามอันประเมนิ คา่ มิได้ พระองค์ทรง
ชว่ ยเหลอื ชาวไรช่ าวนาในถิ่นทรุ กันดารจากทุกภมู ิภาค
ของไทยใหม้ รี ายไดเ้ สรมิ จากงานหตั ถกรรมทอผา้
รวมทงั้ หัตถกรรมประเภทอน่ื ๆ ดว้ ยทรงทราบว่า
คนไทยในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ มคี วามสามารถในการสรา้ งสรรค์
งานฝมี อื หากไดร้ บั การสง่ เสรมิ อยา่ งถกู ตอ้ ง ความสามารถ
พิเศษเช่นนนั้ จะชว่ ยสร้างรายไดพ้ ิเศษแก่ตนเอง
รวมทงั้ ชุมชนได้เปน็ อยา่ งดี ดังพระราชด�ารสั

“…การท่ขี า้ พเจ้าเร่มิ งานศลิ ปาชพี ขึ้นน้นั ขา้ พเจ้า
ต้งั ใจจะสรรหาอาชีพใหช้ าวนาทย่ี ากจนเลี้ยงตนเองได้
ในเบ้ืองต้น ทงั้ นี้ เนื่องจากขา้ พเจา้ ได้ตามเสด็จ
พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวไปเย่ยี มราษฎรตามชนบท
มาหลายสบิ ปี ได้พบว่าราษฎรสว่ นใหญเ่ ป็นชาวนา
ชาวไรท่ ีต่ ้องทา� งานหนกั และต้องเผชญิ อปุ สรรค
จากภัยธรรมชาตมิ ากมาย เชน่ ฝนแล้ง นา�้ ทว่ ม
ศตั รูพืชระบาด เป็นตน้ ท�าให้ชาวไร่ชาวนามักยากจน
การนา� สง่ิ ของไปแจกราษฎรผ้ปู ระสบภัยธรรมชาติ
เปน็ เพยี งการบรรเทาความเดอื ดรอ้ นเฉพาะหน้า
ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มพี ระราชปรารภวา่
เปน็ การชว่ ยเหลอื ทไ่ี มย่ ่ังยนื ควรจะหาวิธอี น่ื
ทชี่ ่วยให้ราษฎรพึง่ ตนเองได้”

“…ชาวนาชาวไรเ่ หลา่ นม้ี ฝี มี ือทางหตั ถกรรมสืบทอด
กนั มาตัง้ แต่บรรพบุรษุ แลว้ โดยทหี่ ัตถกรรมส่วนใหญ่
เปน็ สิ่งที่เขาใช้สอยอย่ใู นชวี ติ ประจา� วัน ตัวอยา่ งเชน่
ชาวอสี านปลกู หมอ่ นเลี้ยงไหมเพอ่ื ทอผ้าไวใ้ ชเ้ อง
สง่ิ น้จี งึ เปน็ แรงบนั ดาลใจใหข้ า้ พเจา้ เริม่ งานส่งเสริม
การทอผา้ ข้ึน เพอื่ ให้ชาวนาชาวไรน่ า� ความสามารถ
ของเขาเองมายกระดบั ความเป็นอยู่ รวมท้ังเพิม่ พูน
ศกั ด์ศิ รีและความภาคภูมิใจในงานของเขา จนในท่สี ุด
จงึ เกิดเป็นมลู นธิ ศิ ิลปาชีพ…”

ต้ังแตน่ น้ั มาหตั ถกรรมทอผ้าพ้นื เมอื งก็ได้กลายเปน็
อาชีพทส่ี ร้างรายไดใ้ หช้ าวบ้านไดอ้ ยา่ งยั่งยนื

ความตอนหนงึ่ จากพระราชดา� รสั ในสมเดจ็ พระนางเจา้
สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง

ในโอกาสทอ่ี งคก์ ารยเู นสโก ทลู เกล้าฯ ถวาย
เหรยี ญทองโบโรพุทโธ

ณ ศาลาธรรม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่
พระราชทานไวเ้ มื่อวันที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๓๕

3

สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง
ทรงพลกิ ฟ้ นื ผา้ ไทย ทรงทมุ่ เทพระวรกาย

พระปรชี าญาณและกา� ลงั พระราชทรพั ยต์ า่ งๆ ยาวนาน รน้ื ฟ้ นื ขนึ้ มา
ทา� ใหผ้ า้ ไทยกลบั คนื สสู่ งั คมไทย ชาวบา้ นภาคภมู ใิ จ เปน็ อาชพี เลย้ี งดชู วี ติ และครอบครวั ได้

“สมเดจ็ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวงทรงมพี ระราชดา� รวิ า่
ขาดทนุ ของพระองค์ คอื กา� ไรของชาติ ทรงชบุ ชวี ติ ผา้ ไทยขน้ึ มา
กระทงั่ มาถงึ วนั น้ี คนทอผา้ ของเรามมี ากพอทจ่ี ะรกั ษามรดกภมู ปิ ญั ญาไวไ้ ดแ้ ลว้ ”
“ดว้ ยพระบารมปี กเกลา้ ฯ ของสมเดจ็ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวงทรงรอ้ื ฟ้ นื ผา้ ไทยขนึ้ มา

ใหก้ ลบั มาไดร้ บั ความนยิ มอกี ครงั้ ตอ่ จากนเ้ี ปน็ หนา้ ทข่ี องเรา
ลกู หลานในการสบื ทอดตอ่ ไป

วธิ กี ารทด่ี ที ส่ี ดุ เราตอ้ งภาคภมู ใิ จในการสวมใสผ่ า้ ไทย
เพ่ือใหค้ วามตอ้ งการสวมใสผ่ า้ ไทย เปน็ ตวั กระตนุ้

ทา� ใหภ้ มู ปิ ญั ญานย้ี งั คงอยกู่ บั พ่อครแู มค่ รแู ละลกู หลานทจ่ี ะสบื ทอดภมู ปิ ญั ญานต้ี อ่ ไป”
นายสทุ ธิพงษ์ จลุ เจรญิ

อธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน

4

ตลอด ๗๐ ปี พระองคท์ รงรอ้ื ฟ้ นื ชวี ติ ของผา้
ใหก้ ลายเปน็ เอกลกั ษณว์ ฒั นธรรมของไทย

ปจั จบุ นั เรามผี า้ หลากหลายวฒั นธรรมทวั่ ทกุ ภมู ภิ าค
ไมว่ า่ จะเปน็ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มผี า้ ไหมแพรวา ผา้ มดั หม,่ี
ภาคเหนอื มผี า้ ไหมยกดอกลา� พูน, ภาคกลางมหี ลากหลายมาก

ทงั้ ผา้ ไหม ผา้ ฝา้ ย ผา้ ยอ้ มคราม, ภาคใต้ มผี า้ ยกนคร
“ผา้ หนง่ึ ผนื ตอ้ งผา่ นลมหายใจของผหู้ ญงิ เปน็ แรมวนั แรมอาทติ ย์ แรมเดอื น

เงนิ ทกุ บาททไ่ี ดจ้ ากการขายผา้ กก็ ลบั ไปสคู่ รอบครวั
สรา้ งคณุ ภาพชวี ติ ใหด้ ขี นึ้

จนกระทงั่ การทอผา้ ทเ่ี ปน็ อาชพี เสรมิ ในปจั จบุ นั
เปน็ อาชพี หลกั ในหลายๆ ครอบครวั ทวั่ ประเทศ ซงึ่ สงิ่ ทพ่ี ระองคท์ รงสรา้ งไว้

นบั เปน็ มรดกทม่ี คี ณุ คา่ มคี วามหมายอยา่ งยงิ่ ตอ่ ปวงชนชาวไทย”
ดร.วันดี กุญชรยาคง จลุ เจรญิ

ประธานสภาสตรแี ห่งชาติ ในพระบรมราชนิ ปู ถัมภ์

5

คา� นา�

ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปี ทสี่ มเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนี
พันปีหลวง ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อการอนุรักษณ์และสืบสานภูมิปัญญา
ของคนไทย ต้ังแต่เมื่อคร้ังที่ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ในคราวเสดจ็ พระราชดา� เนนิ ไปเยย่ี มราษฎร
ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เป็นคร้ังแรก เมอื่ วนั ท่ี ๒ ธนั วาคม ปีพุทธศกั ราช ๒๔๙๘
ได้ทอดพระเนตรเห็นราษฎรนุ่งซิ่นไหมมัดหม่ีกันเป็นส่วนใหญ่ จึงได้มีพระราชด�าริว่า
ควรจะมีการน�าภูมิปัญญาของราษฎรที่ได้ทอผ้าไว้ใช้กันอยู่มาพัฒนาเป็นอาชีพให้เกิด
รายได้แก่ราษฎร ซึ่งในเวลาต่อมาก็ได้ทรงก่อต้ังมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จ
พระนางเจ้าสริ กิ ิต์ พระบรมราชินนี าถขน้ึ เมอ่ื วันที่ ๒๑ กรกฎาคม ปีพุทธศักราช ๒๕๑๙
เพื่อท�าการฝึกอาชีพเสริมให้กับราษฎร อีกทั้งยังมีพระประสงค์เพื่อการอนุรักษ์
และสบื สานภมู ิปญั ญาของคนไทยให้คงอยู่สบื ไป

กรมการพฒั นาชมุ ชน ไดด้ า� เนนิ การสานตอ่ พระราชปณธิ านสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์
พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง และอนรุ กั ษผ์ า้ ไทยใหค้ งอยคู่ แู่ ผน่ ดนิ
โดยได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรม
ราชนิ ปู ถมั ภ์ และจดั ทา� โครงการ “สบื สาน อนรุ กั ษศ์ ลิ ปผ์ า้ ถน่ิ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ” ขนึ้
ทั้งยังได้ผลักดันมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการใช้และสวมใส่ผ้าไทย จนเป็น
มตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ที่ ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ เหน็ ชอบมาตรการดงั กลา่ ว โดยการรณรงค์
เชิญชวนคนไทยสวมใส่ผ้าไทยอย่างน้อยสัปดาห์ละสองวัน เพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์
มรดกทางวฒั นธรรมอนั ลา้� คา่ ใหด้ า� รงคงอยปู่ รากฏเปน็ ความภาคภมู ใิ จของคนไทย และ
คณะรฐั มนตรไี ดม้ อบหมายให้ กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย เปน็ หนว่ ยงาน
เจา้ ภาพหลกั ในการดา� เนนิ การตามมาตรการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย

หนงั สอื เลม่ น้ี จดั ทา� ขน้ึ เพอื่ เผยแพรผ่ า้ ไทยอนั ทรงคณุ คา่ ใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั อยา่ งแพรห่ ลาย
และเผยแพรผ่ ลการดา� เนนิ งานการรณรงคก์ ารใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทยของหนว่ ยงาน ภาครฐั
ภาคเอกชน ภาคประชาชน ทร่ี ว่ มกนั อนรุ กั ษภ์ มู ปิ ญั ญาผา้ ไทย ดว้ ยการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ
การใช้และสวมใส่ผ้าไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดรายได้กับผู้ผลิต ผู้ประกอบการ
ประเภทผา้ และการสบื สาน รกั ษา ตอ่ ยอดมรดกภมู ปิ ญั ญางานผา้ ไทยใหค้ งอยคู่ แู่ ผน่ ดนิ ไทย
สบื ไป

กรมการพัฒนาชุมชน
ธนั วาคม ๒๕๖๔

6

7

8

สารบญั ๘

โครงการสร้างการรบั รู้
“สบื สาน อนุรักษศ์ ิลปผ์ ้าถน่ิ ไทย
ดา� รงไว้ในแผ่นดนิ ”

๑๐

ปฐมบทโครงการสบื สาน
อนุรักษ์ศิลป์ผา้ ถ่ินไทย ด�ารงไว้ในแผน่ ดนิ

๑๑

ภาพกิจกรรมการทา� MOU ร่วมกบั
จงั หวัด ๗๖ จงั หวัด และกรุงเทพมหานคร
รวมถึงการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าค
และการประปาสว่ นภมู ิภาค

๙๔

มาตรการส่งเสริมและสนับสนนุ การใช้
และสวมใส่ผ้าไทย ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี
เมอื่ วันที่ ๙ มถิ ุนายน ๒๕๖๓

๑๐๒

โครงการ “ประกวดผา้ สืบสาน
อนรุ ักษ์ศลิ ป์ผา้ ถิ่นไทย ด�ารงไวใ้ นแผ่นดิน”

๑๐๔

การจดั แสดงผา้ ทชี่ นะการประกวดโครงการ
“ประกวดผ้าสบื สาน อนุรักษศ์ ิลปผ์ ้าถิ่นไทย
ดา� รงไว้ในแผน่ ดนิ ”

๑๐๖

ผ้าชนะการประกวดโครงการ
“ประกวดผา้ สบื สาน อนรุ กั ษ์ศลิ ป์ผ้าถนิ่ ไทย
ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดิน”

9

810

โครงการสรา้ งการรบั รู้

“สืบสาน อนรุ กั ษ์ศลิ ปผ์ า้ ถนิ่ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ”

ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปี ท่ีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ และอนุรักษ์ผ้าไทย ให้คงอยู่คู่แผ่นดิน โดยได้ลงนามบันทึกข้อตกลง
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้ทรงมีพระมหา ความร่วมมือ (MOU) กับสภาสตรีแห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถัมภ์
กรุณาธิคุณต่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของคนไทย ต้ังแต่ และจัดท�าโครงการ “สืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ด�ารงไว้
เม่ือครั้งที่ได้ตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร ในแผ่นดิน” ข้ึน ทั้งยังได้ผลักดันมาตรการส่งเสริมและสนับสนุน
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ในคราวเสด็จพระราชด�าเนินไปทรงเยี่ยมราษฎร การใช้และสวมใส่ผ้าไทย จนเป็นมติคณะรัฐมนตรี
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นคร้ังแรก เมื่อวันท่ี เม่ือวันท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๖๓ เห็นชอบมาตรการ
๒ ธนั วาคม ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๔๙๘ ไดท้ อดพระเนตร ดังกล่าว โดยการรณรงค์เชิญชวนคนไทยสวมใส่
เห็นราษฎรนุ่งซิ่นไหมมัดหมี่กันเป็นส่วนใหญ่ ผ้าไทย อย่างน้อยสัปดาห์ละสองวัน เพ่ือส่งเสริม
จึงได้มีพระราชด�าริว่าควรจะมีการน�าภูมิปัญญา การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมอันล้�าค่า ให้ด�ารง
ของราษฎรท่ีได้ทอผ้าไว้ใช้กันอยู่มาพัฒนา คงอยู่ปรากฏ เป็นความภาคภมู ิใจของคนไทย
เปน็ อาชีพใหเ้ กิดรายได้แกร่ าษฎร ซ่ึงในเวลาตอ่ มา
ก็ได้ทรงก่อต้ังมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จ นอกจากนเี้ พอ่ื เปน็ การสบื สานพระราชปณธิ าน
พระนางเจา้ สริ กิ ิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ ข้ึน เมอ่ื วนั ท่ี ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถ
๒๑ กรกฎาคม ปีพุทธศักราช ๒๕๑๙ เพ่ือท�าการ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง ในการอนรุ กั ษ์ สง่ เสรมิ
ฝึกอาชีพเสริมใหก้ บั ราษฎร อีกทั้งยังมพี ระประสงค์ และเผยแพรผ่ า้ ไทย ศลิ ปะอนั ลา้� คา่ ของชาตใิ หด้ า� รง
เพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาของคนไทยให้คงอยู่สืบไป อยู่ จึงได้จัดท�าเอกสารเพื่อเป็นการเผยแพร่
ซึ่งรัฐบาลได้น้อมน�าแนวพระราชด�าริมาขยายผลจัดท�าเป็นโครงการ ประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จักและให้คนรุ่นหลัง
หนงึ่ ตา� บล หนงึ่ ผลติ ภณั ฑ์ หรอื One Tambon One Product (OTOP) ไดศ้ กึ ษาเรยี นรู้ และสบื สาน รกั ษา ตอ่ ยอดมรดกภมู ปิ ญั ญางานผา้ ไทย
และกรมการพฒั นาชมุ ชนไดด้ า� เนนิ การสานตอ่ พระราชปณธิ านสมเดจ็ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมช่องทางการจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้าง
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง รายได้เพ่ิมให้แก่ผู้ประกอบการ OTOP ประเภทผ้า กรมการพัฒนา
ชุมชนจึงได้จัดท�าโครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ้าในโครงการ
สรา้ งการรบั รู้ “สบื สาน อนรุ กั ษศ์ ลิ ปผ์ า้ ถน่ิ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ” ขน้ึ

191

ปฐมบท

กรมการพฒั นาชมุ ชน รว่ มกบั
สภาสตรแี หง่ ชาติ ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์
ลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื (MOU)

เรม่ิ ตน้ ปฐมบทของการดา� เนนิ งานดว้ ยการลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลง
วา่ ดว้ ยการประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งสภาสตรแี หง่ ชาติ
ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ โดย ดร.วนั ดี กญุ ชรยาคง จลุ เจรญิ
ประธานสภาสตรแี หง่ ชาติ ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ รว่ มกบั

กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย โดยนายสทุ ธพิ งษ์ จลุ เจรญิ
อธบิ ดกี รมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย
จดั ทา� บนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื

โครงการสบื สาน อนรุ กั ษ์ศิลปผ์ า้ ถนิ่ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ

10

11

การลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ยการประสานความรว่ มมอื
โครงการ “สืบสาน อนรุ กั ษ์ศิลปผ์ า้ ถนิ่ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ” ในระดบั จงั หวดั

ภาคเหนอื

กา� แพงเพชร

๑๙ มนี าคม ๒๕๖๓
12

เชยี งราย

๒๘ มกราคม ๒๕๖๓
13

เชยี งใหม่

๙ ธนั วาคม ๒๕๖๒
14

ตาก

๓๑ มกราคม ๒๕๖๓

15

นครสวรรค์

๑๓ ธนั วาคม ๒๕๖๒
16

นา่ น

๗ มกราคม ๒๕๖๓

17

พะเยา

๒๑ มกราคม ๒๕๖๓
18

พิจติ ร

๒๗ มกราคม ๒๕๖๓

19

พิษณโุ ลก

๒๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒
20

เพชรบรู ณ์

๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒

21

แพร่

๒๘ ธันวาคม ๒๕๖๒
22

แมฮ่ อ่ งสอน ๑

๙ ธันวาคม ๒๕๖๒

23

แมฮ่ อ่ งสอน ๒

๑๗ มกราคม ๒๕๖๓
24

ลา� ปาง

๙ ธันวาคม ๒๕๖๒

25

ลา� พูน ๑

๕ ธันวาคม ๒๕๖๒
26

ลา� พูน ๒

๙ ธันวาคม ๒๕๖๒

27

ลา� พูน ๓

๕ มกราคม ๒๕๖๓
28

สุโขทยั

๙ มกราคม ๒๕๖๓

29

อตุ รดติ ถ์

๒ ธนั วาคม ๒๕๖๒
30

อทุ ยั ธานี

๔ ธันวาคม ๒๕๖๒

31

การลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงวา่ ดว้ ยการประสานความรว่ มมอื
โครงการ “สืบสาน อนรุ กั ษ์ศิลปผ์ า้ ถนิ่ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ” ในระดบั จงั หวดั

ภาคกลาง

กาญจนบรุ ี

๑๙ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓
32

จนั ทบรุ ี

๒๒ มกราคม ๒๕๖๓

33

ฉะเชงิ เทรา

๓ มนี าคม ๒๕๖๓
34

ชลบรุ ี

๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๒

35

ชยั นาท

๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๒
36

ตราด

๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๒

37

นครนายก

๑๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๓
38

นครปฐม

๖ ธันวาคม ๒๕๖๒

39

นนทบรุ ี

๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๒
40

ปทมุ ธานี

๔ ธนั วาคม ๒๕๖๒

41

ประจวบครี ขี นั ธ์

๑๒ ธนั วาคม ๒๕๖๒
42

ปราจนี บรุ ี

๔ ธนั วาคม ๒๕๖๒

43

พระนครศรอี ยธุ ยา

๑๖ มกราคม ๒๕๖๓
44

เพชรบรุ ี

๑๓ มกราคม ๒๕๖๓

45

ระยอง

๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๒
46


Click to View FlipBook Version