The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-01-27 03:33:03

หนังสือสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดินนแผ่นดิน

หนังสือสืบสาน อนุรักษ์ศิลป์ผ้าถิ่นไทย ดำรงไว้ในแผ่นดิน

มตคิ ณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั ท่ี ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓
เหน็ ชอบตามทก่ี ระทรวงมหาดไทยเสนอใหร้ ฐั บาลมมี าตรการ

สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย
เพ่ืออนรุ กั ษม์ รดกทางวฒั นธรรมอนั ลา�้ คา่

รากเหงา้ จากภมู ปิ ญั ญาของบรรพบรุ ษุ ทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็
บรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรมของแตล่ ะพ้ืนท่ี
กระตนุ้ เศรษฐกจิ ลดความเหลอ่ื มลา�้

และกระจายรายไดส้ ชู่ มุ ชน พัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก
เพ่ือใหป้ ระชาชนมรี ายได้ พึ่งพาตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื
ซง่ึ จะสามารถบรรเทาความเดอื ดรอ้ นของประชาชน
ในภมู ภิ าค และทอ้ งถนิ่ ในสถานการณก์ ารระบาดของ

โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙)
โดยรณรงคก์ ารใสผ่ า้ ไทย อยา่ งนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ ๒ วนั

เพ่ือสบื สาน รกั ษา และตอ่ ยอดการอนรุ กั ษ์
และสบื สานภมู ปิ ญั ญาผา้ ไทย

97

98

ผลการขบั เคลอื่ นตามมาตรการส่งเสรมิ
และสนบั สนนุ การใช้ และสวมใส่ผา้ ไทย
ตอ่ คณะรฐั มนตรี
การจดั แสดงผลติ ภณั ฑผ์ ้าไทยและ
นทิ รรศการผลการขบั เคลอ่ื นตามมาตรการ
สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การใชแ้ ละสวมใส่
ผ้าไทยตอ่ คณะรฐั มนตรี เมอ่ื วนั องั คารท่ี
๒๓ มนี าคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๐ น.
ณ บรเิ วณทางเดนิ หอ้ งโถงตกึ สนั ตไิ มตรี
ทา� เนยี บรฐั บาล
ผลการดา� เนนิ งาน
คณะรฐั มนตรใี หค้ วามสนใจและอดุ หนนุ ผา้ ไทย
ทนี่ า� ไปจดั แสดง จา� นวน ๓๙ ชน้ิ
มยี อดจา� หนา่ ยจา� นวน ๑๔๗,๗๕๐ บาท
(หนงึ่ แสนสี่หมนื่ เจด็ พันเจด็ รอ้ ยหา้ สิบบาทถว้ น)

99

ผลการดา� เนนิ การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ
การใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย

ตามมาตรการ ๗ มาตรการ ดงั น้ี

๑การส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การสวมใส่ผา้ ไทย
และผา้ พื้นเมอื ง
การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การสวมใส่ผา้ ไทย และ

ผา้ พื้นเมือง พบว่าทุกจังหวัด (๗๗ จังหวัด) มีมาตรการ
สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการสวมใส่ผ้าไทย และผา้ พนื้ เมอื ง
ตามความเหมาะสมของทอ้ งถิ่น โดยส่วนใหญ่กา� หนด
มาตรการสง่ เสริมให้ขา้ ราชการ ประชาชน แต่งกายดว้ ย
ผา้ ไทย และผา้ พ้ืนเมือง อย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ วนั
จา� นวน ๕๖ จงั หวัด (๗๒.๗๓%) รองลงมา ทกุ วนั
จา� นวน ๑๕ จังหวดั (๑๙.๔๘%) ๓ วนั จ�านวน ๕ จงั หวดั
(๖.๔๙%) และ ๔ วนั จ�านวน ๑ จังหวัด (๑.๓๐%)

๒การสรา้ ง
การรบั รู้
มาตรการส่งเสรมิ
และสนบั สนนุ
การใชแ้ ละสวมใส่
ผา้ ไทย

การสรา้ งการรับรู้
มาตรการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การใชแ้ ละสวมใสผ่ า้ ไทย
เร่ืองการรณรงค์การแต่งกายด้วยผา้ ไทย และผา้ พื้นเมือง
แกส่ ว่ นราชการในสงั กดั และพน้ื ทจี่ งั หวดั ใหแ้ กก่ ลมุ่ เปา้ หมาย ไดแ้ ก่
หนว่ ยงาน/องค์กรภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยมี
แนวทางการด�าเนินการ ท้งั ๗๗ จงั หวัด จัดกจิ กรรมสรา้ งการรับรู้
ผ่านกิจกรรมใหแ้ กก่ ลุ่มเปา้ หมาย ไดแ้ ก่ หนว่ ยงาน/องคก์ ร
ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ทั้ง ๗๗ จงั หวดั พบวา่
มีการรณรงค์การแต่งกายด้วยผ้าไทย และผ้าพื้นเมือง โดยการ-
ประชุม และสือ่ ตา่ ง ๆ ทง้ั สื่อออนไลน์ และออฟไลนเ์ ปน็ ส่วนใหญ่
จ�านวน ๕๗ จงั หวดั (๗๔.๐๓%) รองลงมา มีการรณรงค์ผา่ นส่อื
ออนไลน์และออฟไลน์ จ�านวน ๑๕ จังหวัด (๑๙.๔๘%) ผ่านสอื่
ออนไลนอ์ ยา่ งเดียว จ�านวน ๔ จงั หวดั (๕.๑๙%) และผ่านสอื่
ออฟไลน์อย่างเดยี ว ๑ จงั หวดั (๑.๐๓%)

๓การจดั ทา� แผนงาน/โครงการรณรงคก์ ารใชแ้ ละสวมใส่ผา้ ไทย
และผา้ พื้นเมอื ง
รวบรวมเนื้อหาสาระและข้อมลู เกี่ยวกับผา้ ไทย และ

ผ้าพน้ื เมือง ในพ้นื ทีจ่ งั หวัด พบวา่ จาก ๗๗ จงั หวดั ส่วนใหญ่
มีการรวบรวมเนือ้ หาสาระและขอ้ มลู เก่ียวกบั ผ้าไทย และ
ผา้ พ้นื เมอื งจ�านวน ๖๖ จงั หวดั (๘๕.๗๑%) และอยู่ระหว่าง
ดา� เนนิ การจา� นวน ๑๑ จังหวัด (๑๔.๒๙%) รปู แบบการรวบรวม
เนือ้ หาสาระและขอ้ มลู เก่ียวกับผ้าไทย และผา้ พื้นเมอื ง ในพนื้ ที่
จงั หวดั พบว่า จากจา� นวน ๖๖ จังหวดั ทม่ี กี ารรวบรวมขอ้ มลู
ผา้ ไทยนัน้ มีการด�าเนินการในรูปแบบของแคตตาล็อค
จา� นวน ๔๖ จังหวดั รองลงมาคือคลิปวีดโิ อ จา� นวน ๒๖ จงั หวัด
แผ่นพับ ๗ จังหวดั และหนังสอื จ�านวน ๕ จงั หวดั
100

๔การสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ย
ในการรณรงคร์ ะหวา่ งภาครฐั /เอกชน และ
ประชาชน

การสรา้ งความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ยในการรณรงคร์ ะหวา่ ง
ภาครฐั /เอกชน และประชาชน พบว่า จงั หวัดที่มีภาคเี ครือขา่ ย
เขา้ รว่ มในการรณรงค์ ระหว่าง
๐-๒๐ หนว่ ยงาน/องคก์ ร มจี า� นวน
๒๖ จงั หวดั (๓๓.๗๗%) รองลงมา
คอื ระหวา่ ง ๒๑-๔๐ หน่วยงาน/องคก์ ร จา� นวน ๒๘ จังหวัด (๓๖.๓๖%)
มากกวา่ ๖๐ หน่วยงาน/องค์กร ขึ้นไป จา� นวน ๑๓ จังหวัด (๑๖.๘๘%) และ
ระหว่าง ๔๑ - ๖๐ หนว่ ยงาน/องค์กร จา� นวน ๑๐ จังหวดั (๑๒.๙๙%)

๕การจดั กจิ กรรมเกยี่ วกบั การแตง่ กาย ๖การจดั ใหม้ กี ารอนรุ กั ษ์ตอ่ ยอดภมู ปิ ญั ญา
ดว้ ยผา้ ไทยและผา้ พื้นเมอื งในจงั หวดั เกยี่ วกบั การแปรรปู ผา้ ไทยผลติ เปน็ สนิ คา้ ตา่ ง ๆ
ตามหว้ งเวลาทเี่ หมาะสม การจดั ให้มีการอนุรกั ษ์ต่อยอดภูมปิ ญั ญาเกี่ยวกับ

การจัดกจิ กรรมเกี่ยวกบั การรณรงคแ์ ต่งกายด้วยผ้าไทยและ การแปรรูปผา้ ไทยผลิตเปน็ สินคา้ ต่าง ๆ เพื่อใหเ้ กดิ
ผา้ พ้ืนเมืองในจังหวัดตามห้วงระยะเวลาท่ีเหมาะสม ส่วนใหญ่ ประโยชน์ในการส่งเสรมิ เศรษฐกจิ เชงิ สร้างสรรค์ และ
จงั หวดั มกี ารจดั กจิ กรรมระหวา่ ง ๐ - ๒๐ คร้งั จา� นวน ๓๕ จังหวัด สร้างเศรษฐกิจฐานรากในระดบั จังหวัด และชมุ ชนตา่ ง ๆ
(๔๕.๔๕%) รองลงมาจัดกจิ กรรมระหว่าง ๒๑ - ๔๐ ครัง้ จา� นวน พบว่าจงั หวดั มีการจดั กิจกรรมอนุรกั ษ์ตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญา
๒๖ จงั หวัด (๓๓.๗๗%) จดั กจิ กรรมมากกวา่ ๖๐ คร้ังขึน้ ไป เกยี่ วกบั การแปรรปู ผา้ ไทย จา� นวน ๖๗ จงั หวดั (๘๗.๐๑%)
จา� นวน ๑๒ จงั หวดั (๑๕.๕๘%)
และ มี ๔ จงั หวัดที่จดั กิจกรรม ๗การประกาศยกยอ่ งหนว่ ยงาน/องคก์ รภาครฐั
ระหวา่ ง ๔๑ - ๖๐ ครง้ั (๕.๑๙%) ภาคเอกชน และภาคประชาชนตน้ แบบ
จังหวัดมกี าร
จากการจดั กิจกรรม
เกย่ี วกบั การแตง่ กายดว้ ยผา้ ไทย ประกาศยกย่อง
และผา้ พน้ื เมอื งในจงั หวัด หน่วยงาน/องค์กร
ตามหว้ งระยะเวลาทเ่ี หมาะสม ภาครัฐ ภาคเอกชน
พบวา่ มหี นว่ ยงานภาคที ี่เขา้ และภาคประชาชน
ร่วมกิจกรรมดงั กลา่ วมากทีส่ ดุ ต้นแบบ จ�านวน
ระหวา่ ง ๒๑ - ๔๐ หน่วยงาน ๓๖ จังหวัด (๔๖.๗๕%) ประโยชน์ทปี่ ระชาชนไดร้ บั
จา� นวน ๒๗ จงั หวดั (๓๕.๐๖%)
รองลงมา ระหวา่ ง ๐ - ๒๐
หน่วยงาน จา� นวน ๒๓ จงั หวดั
(๒๙.๘๗%) รองลงมาคอื
มากกว่า ๖๐ หน่วยงานขึ้นไป
จา� นวน ๑๖ จงั หวดั (๒๐.๗๘%)
และระหวา่ ง ๔๑ - ๖๐ หน่วย
งาน จ�านวน ๑๑ จังหวดั
(๑๔.๒๙%)

รายไดจ้ ากการจา� หนา่ ย

จากการดา� เนนิ งานตามมาตรการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การใชแ้ ละสวมใส่ผา้ ไทย
ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ ๙ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ ในชว่ งเดอื นมถิ นุ ายน ๒๕๖๓ – กนั ยายน ๒๕๖๔
มรี ายไดจ้ ากการจา� หนา่ ยผา้ ไทย และผา้ พื้นเมอื ง จากทงั้ หมด ๗๖ จงั หวดั จา� นวน ๑๓,๖๑๗,๒๙๓,๗๕๙ บาท

(หนงึ่ หมนื่ สามพันหกรอ้ ยสิบเจด็ ลา้ นสองแสนเกา้ หมนื่ สามพันเจด็ รอ้ ยหา้ สิบเกา้ บาทถว้ น)
ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ทไี่ ดร้ บั ประโยชน์

กลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ทไี่ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากรายไดจ้ ากการจา� หนา่ ยผา้ ไทย และผา้ พื้นเมอื งดงั กลา่ ว
มผี ผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ทไี่ ดร้ บั ประโยชนจ์ า� นวน ๑๕,๕๓๓ กลมุ่ /ราย โดยส่วนใหญม่ กี ลมุ่ ผผู้ ลติ
ผปู้ ระกอบการ OTOP ทไี่ ดร้ บั ประโยชนร์ ะหวา่ ง ๑-๑๐๐ กลมุ่ /ราย จา� นวน ๔๙ จงั หวดั (๖๔.๔๗%)
สมาชกิ กลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ทไี่ ดร้ บั ประโยชน์

จากกลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP ทไี่ ดร้ บั ประโยชน์ พบวา่ มสี มาชกิ ของกลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP
ทไี่ ดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากการจา� หนา่ ยผา้ ไทย และผา้ พื้นเมอื ง จา� นวนทงั้ ส้ิน ๑๑๔,๘๒๐ คน

101

โครงการ
“ประกวดผา้ สบื สาน อนรุ กั ษศ์ ลิ ปผ์ า้ ถนิ่ ไทย

ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ”

กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย ไดด้ า� เนนิ การตอ่ ยอดโครงการดงั กลา่ ว
โดยจดั ทา� โครงการ “ประกวดผา้ สืบสาน อนรุ กั ษ์ศลิ ปผ์ า้ ถนิ่ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ”

ในพื้นที่ ๗๖ จงั หวดั เพ่ือเผยแพรป่ ระชาสัมพันธผ์ า้ ไทยแตล่ ะประเภท
และเชดิ ชเู กยี รตภิ มู ปิ ญั ญาผา้ ไทยใหเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั

โดยมผี า้ ทช่ี นะเลศิ การประกวด จา� นวน ๗๕ ชน้ิ จาก ๗๕ จงั หวดั
102

103

การจดั แสดงผา้ ทช่ี นะการประกวดโครงการ

“ประกวดผา้ สบื สาน
อนรุ กั ษศ์ ลิ ปผ์ า้ ถน่ิ ไทย

ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ”

วนั ท่ี ๑๖ สงิ หาคม ๒๕๖๓
พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี
และรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกลาโหม พรอ้ มดว้ ยภรยิ า นางนราพร จนั ทรโ์ อชา,
คณะรฐั มนตร,ี นายสทุ ธพิ งษ์ จลุ เจรญิ อธบิ ดกี รมการพัฒนาชมุ ชน
และ ดร.วนั ดี กญุ ชรยาคง จลุ เจรญิ ประธานสภาสตรแี หง่ ชาติ
ในพระบรมราชนิ ปู ถมั ภ์ เยย่ี มชมผา้ ชนะเลศิ การประกวดในโครงการ
“ประกวดผา้ สบื สาน อนรุ กั ษ์ศลิ ปผ์ า้ ถน่ิ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ”
ณ บรเิ วณเวทกี ลางอาคารชาเลนเจอร์ ๒ ศนู ยแ์ สดงสนิ คา้ และการประชมุ อมิ แพค็ เมอื งทองธานี
104

105

106

ผา้ ชนะการประกวด
โครงการ

“ประกวดผา้ สบื สาน
อนรุ กั ษศ์ ลิ ปผ์ า้ ถน่ิ ไทย

ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ”

107

ตวั อยา่ งผา้ ทช่ี นะเลศิ การประกวด
โครงการ “ประกวดผา้ สบื สาน อนรุ กั ษศ์ ลิ ปผ์ า้ ถนิ่ ไทย ดา� รงไวใ้ นแผน่ ดนิ ”

ประจา� ปี ๒๕๖๓

ภาคเหนอื

๑. จงั หวดั อทุ ยั ธานี

ชือ่ - สกลุ : นายชญทรรศ วเิ ศษศรี
ที่อยู่ : ๔/๑ หมทู่ ่ี ๒ ต�าบลโคกหม้อ อ�าเภอทพั ทนั จังหวัดอุทัยธานี
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๖-๓๕๘๕-๕๕๓๕
ชือ่ ผา้ : “ซิน่ ตีนจก”
ชื่อลาย : “มะเขือผ่าโผง่ และ คลองดอกแกว้ ”

เรอื่ งราวผลิตภณั ฑ์ :

จากบรรพบุรุษชาติพันธุ์ไทครั่ง (ลาวครั่ง) ที่อาศัยกระจายตัวอยู่ในจังหวัดอุทัยธานี เป็นกลุ่มชนที่มีความสามารถในการทอผ้า
ได้หลายเทคนิค ประกอบกันรวมเป็นผืนผ้านุ่งท่ีมีอัตลักษณ์เฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์น้ี “ผ้าก่าน” เป็น ๑ ใน ๘ แบบท่ีมีอัตลักษณ์
เฉพาะพนื้ ถน่ิ ท่ลี กู หลานไทครัง่ อทุ ัยธานีได้สบื สานภมู ปิ ญั ญาของบรรพบรุ ษุ มาจนถงึ ทุกวนั น้ี

ผ้าลายมะเขือผ่าโผ่ง เป็นหนึ่งลายท่ีมักจะพบเจอในผ้าก่านที่ใช้เทคนิคการทอผ้าจกแบบเกาะลาย สลับกับการทอผ้ายกขิด
และมีแม่ลายท่ีเป็นอัตลักษณ์เฉพาะพ้ืนถิ่นของผ้าไทคร่ัง จังหวัดอุทัยธานี ที่เป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมในกลุ่มชาติพันธุ์ไทคร่ัง
ในจงั หวัดอ่นื ๆ
108

๒. จงั หวดั สโุ ขทยั

ชื่อ - สกุล : นายชมพนู ุช พลวรรธน์สกุล
ที่อยู่ : ๑๙๙ หมทู่ ่ี ๑๑ ต�าบลปา่ งิว้ อ�าเภอศรสี ชั นาลัย จงั หวดั สโุ ขทัย
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘-๒๖๑๙-๖๕๖๖
ชื่อผ้า : “ผา้ ซิน่ ตีนจก”
ชือ่ ลาย : “นา้� อ่าง”

เรอ่ื งราวผลิตภัณฑ์ :

“ผ้าซิ่นตีนจก ลายน�้าอ่าง” เป็นลายหลักท่ีมีนกหงส์สองตัวคาบดอกไม้ร่วมกัน คล้ายกับว่าหงส์สองตัวคาบดอกไม้ในอ่างน้�า
น่ันเอง ลายหลักนี้สตรีชาวพวนศรีสัชนาลัยนิยมทอใส่กันมากท่ีสุด เน่ืองจากเป็นลายที่มีความสะดุดตา และลายหลักผืนนี้ต่อด้วย
ซน่ิ ตาคบี (ตาลอ้ )

109

๓. จงั หวดั ลา� พูน

ชื่อ - สกลุ : นายวฒุ เิ ดช ไชยวนั
ที่อยู่ : ๓๔ หมู่ท่ี ๑ ต�าบลตะเคียนปม อ�าเภอทุ่งหวั ชา้ ง จังหวดั ลา� พนู
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๘-๗๑๘๘-๙๔๒๘
ชื่อผา้ : “ผ้าไหมยกดอกล�าพูน”
ชือ่ ลาย : “ผา้ ยกราชินี”

เร่ืองราวผลติ ภณั ฑ์ :

จากหลกั ฐานเมอื่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ไดพ้ ระราชทานตวั อยา่ งลายผา้ ยก แกน่ ายปรชี าเกยี รติ
บุณยเกียรติ เพื่อทอเป็นชุดฉลองพระองค์ นายปรีชาเกียรติได้ถอดลายและออกแบบลายเชิงเพิ่มเติม เป็นผ้ายกที่สมบูรณ์
และใชช้ ือ่ วา่ “ผ้ายกราชนิ ”ี

110

๔. จงั หวดั อตุ รดติ ถ์

ชื่อ - สกลุ : นายครนิ ทร์ ค�าคงสม
ท่ีอยู่ : ๑๐๔/๑ หมู่ที่ ๒ ต�าบลแมพ่ ลู อ�าเภอลับแล จังหวัดอตุ รดิตถ์
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๖-๒๓๐๙-๐๗๐๙
ช่ือผ้า : “ผา้ ซ่นิ ตีนจก”
ชื่อลาย : “ดอกดาวดงึ ส์”

เรอื่ งราวผลิตภัณฑ์ :

ชาวลบั แลคอื กลมุ่ ไท-ยวนทอี่ พยพมาตามเมอื งเชยี งแสนเมอื่ สมยั อยธุ ยาตอนปลาย ไดน้ า� เอาศลิ ปวฒั นธรรมตดิ ตวั มา คอื ภาษา
และการทอผา้ ชน่ิ ตนี จกจากรนุ่ สรู่ นุ่ โดยการถา่ ยทอดวธิ กี ารทอใหเ้ ปน็ อตั ลกั ษณเ์ ฉพาะถน่ิ แฝงไวซ้ ง่ึ ความวริ ยิ ะอดทนของชาวไท-ยวน
ผา้ ซน่ิ ตนี จกลายดอกดาวดงึ สต์ อ่ ตวั ซน่ิ ดว้ ยลายดอกเคยี๊ ะและปน่ั ไก (หางกระรอก) ไดส้ บื ทอดกนั มาจากรนุ่ สรู่ นุ่ เพอ่ื รกั ษาเอกลกั ษณ์
ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาตพิ ันธ์ไุ ท-ยวน สืบไป

111

ภาคกลาง

๑. จงั หวดั ราชบรุ ี

ชื่อ - สกลุ : นางณัฐธภา ทิพย์วจั นะ
ที่อยู่ : ๑๐ หมทู่ ี่ ๖ ตา� บลรางบัว อา� เภอจอมบงึ จงั หวดั ราชบรุ ี
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๘-๐๕๘๒-๐๙๑๐
ชอื่ ผา้ : “ผา้ ซ่นิ ตนี จก”
ชื่อลาย : “ลายหงส์เล็ก”

เรื่องราวผลิตภัณฑ์ :

จากความชอบสู่การสานฝันถักทอให้เป็นผ้าซิ่นตีนจกท่ีมีลวดลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของตนเอง งานหัตถกรรมพ้ืนบ้าน
จากฝมี อื ทออยา่ งประณตี ความละเอยี ดของเนอื้ ผา้ ทท่ี า� ใหล้ วดลายการทอนน้ั สวยงาม จากความหลงใหลสกู่ ารนา� มาเสรมิ สรา้ งรายได้
ต้ังแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ จวบจนถึงปัจจุบัน งานทอผ้าแบบดั้งเดิมและแบบประยุกต์ตามสมัยนิยม สร้างเอกลักษณ์ให้สวยงามสง่า
ทรงคณุ คา่ รักษาความเปน็ ไทย

สา� หรบั ผ้าซน่ิ ตนี จกเต็มตัวแบบไท-ยวน เปน็ ลวดลายทีไ่ ด้รบั การออกแบบและสบื ทอดมาจากบรรพบุรษุ ทอ่ี พยพมาจากถิ่นฐาน
อา� เภอเชียงแสน จงั หวดั เชียงราย
112

๒. จงั หวดั สมทุ รปราการ

ช่อื - สกุล : นางสาวปฏญิ ญา โภคชชั วาล
ทีอ่ ยู่ : ๑๐๘๔ หมู่ที่ ๒ ต�าบลส�าโรงเหนือ อา� เภอเมืองสมทุ รปราการ จงั หวัดสมุทรปราการ
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘-๑๔๒๘-๗๙๙๒
ชื่อผา้ : “มดั ย้อม (สีย้อมจากลูกจาก)”
ชอ่ื ลาย : “คลน่ื สะบดั ใบโพทะเล”

เรื่องราวผลิตภัณฑ์ :

ผ้ามัดสีย้อมจากต้นจาก ลายคลื่นสะบัดใบโพทะเล เป็นการสร้างลวดลายโดยจินตนาการผสมผสานระหว่างการน�าลูกจาก
ซึ่งเป็นต้นพืชที่มีอยู่เป็นจ�านวนมากในจังหวัดสมุทรปราการน�ามาย้อมผ้า สีจะติดทนนาน โดยวาดใบโพทะเล ซ่ึงเป็นต้นไม้
ประจ�าจังหวัดสมุทรปราการ ลอยอยู่บนลวดลายผ้า คล้ายคล่ืนในท้องทะเล ท�าให้ลวดลายของผ้ามีความสวยงามพลิ้วไหว
และมคี วามโดดเดน่ แสดงถงึ อตั ลกั ษณ์ของจงั หวัดสมทุ รปราการ

113

๓. จงั หวดั ลพบรุ ี

ชือ่ - สกลุ : นางสมใจ รักษาทรัพย์
ท่ีอยู่ : ๔๕ หมทู่ ี่ ๖ ต�าบลหินปกั อา� เภอบ้านหมี่ จงั หวัดลพบุรี
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘-๙๒๔๐-๗๐๖๒
ช่อื ผ้า : “มัดหมสี่ ่ีตะกอ”
ช่อื ลาย : “พิกุลแก้วกัลยา”

เร่ืองราวผลิตภณั ฑ์ :

ผ้าทอมัดหม่ี เป็นผ้าทอของชาวไทพวน อพยพมาจากเมืองพวน แขวงเชียงขวาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
เมอ่ื ประมาณสองร้อยกว่าปที ี่ผ่านมา ต่อมาไดม้ กี ารพฒั นากรรมวิธีการทอผา้ ด้วยกก่ี ระตุก ซึ่งให้คุณภาพดเี รยี บแนน่ ขน้ึ และทอได้
รวดเรว็ ขนึ้ ปจั จบุ นั ชาวไทพวนในอา� เภอบา้ นหมไี่ ดย้ ดึ เปน็ อาชพี ทงั้ หมบู่ า้ น ผา้ มดั หมม่ี ลี วดลายทหี่ ลากหลาย คณุ ภาพดจี นสามารถ
สง่ จ�าหน่ายระดับประเทศและตา่ งประเทศ เปน็ ท่ขี น้ึ ช่ือว่าผา้ ทอมัดหมีเ่ ป็นของชาวลพบุรี

ส�าหรับผ้ามัดหมี่ลายพิกุลแก้วกัลยา เป็นผ้ามัดหม่ีทอมือ ซ่ึงมีลายดั้งเดิมผสมลายใหม่ เรียงร้อยด้วยลายดอกพิกุลแก้วกัลยา
ผสมผสานเปน็ ลายใหม่

114

๔. จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์

ช่อื - สกุล : นางสาวธญั รดา พลายชมพู
ที่อยู่ : ๕๔ ต�าบลหนองแก อ�าเภอหวั หิน จังหวัดประจวบคีรขี นั ธ์
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘-๙๗๔๓-๒๕๕๙
ชอ่ื ผา้ : “ผ้าขาวม้า”
ช่อื ลาย : “เกา้ เส้น”

เรือ่ งราวผลติ ภณั ฑ์ :

ผา้ ขาวม้าเร่มิ มีการทอขน้ึ มาตั้งแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๐๗ ซ่งึ เป็นโครงการในพระราชดา� ริ เพอื่ สร้างอาชพี เสรมิ ให้กับแมบ่ า้ นเรือประมง
ทวี่ า่ งงานในชว่ งมรสมุ ตอ่ มาในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดม้ กี ารฟน้ื ฟแู ละพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ ทง้ั ลวดลายและสสี นั ใหเ้ ขา้ กบั ยคุ สมยั และคา� นงึ ถงึ
วตั ถปุ ระสงคข์ องผใู้ ชม้ ากขน้ึ ตลอดจนสรา้ งความเปน็ “อตั ลกั ษณ”์ ทา� ใหเ้ กดิ ลวดลาย และสสี นั ทแี่ ตกตา่ งกนั จงึ กลายเปน็ ผา้ รว่ มสมยั
สามารถใชไ้ ดท้ กุ วนั และเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ผใู้ ช้ ทส่ี า� คญั แมว้ า่ ผา้ จะมลี ายและสสี นั แบบใดกต็ าม แตเ่ วลาทอดา้ นพงุ่ นนั้ ตอ้ งพงุ่ เกา้ เสน้
สลบั สี เพอื่ นอ้ มรา� ลกึ ถงึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่พระราชทานอาชีพเสริมจนกลายเป็นอาชีพหลัก
ณ ปัจจบุ ัน

115

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

๑. จงั หวดั อดุ รธานี

ชื่อ - สกุล : นายไวพจน์ ดวงจันทร์
ทอี่ ยู่ : ๒๒๙/๑๙๙ หมทู่ ี่ ๕ ตา� บลหมูมน่ อา� เภอเมอื งอุดรธานี จงั หวดั อุดรธานี
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๙-๓๓๔๘-๘๗๔๘
ช่อื ผา้ : “หมขี่ ดิ ”
ชื่อลาย : “นาคช่อขอล่อแกว้ ”

เรอื่ งราวผลติ ภณั ฑ์ :

ผา้ หมขี่ ดิ ลายนาคชอ่ ขอลอ่ แกว้ ประกอบดว้ ย “ลายนาคชอ่ ” ทสี่ อื่ ความหมายถงึ ประเพณี วฒั นธรรม ความเชอื่ เกยี่ วกบั พญานาค
ของชนชาวจงั หวัดอุดรธานี โดยลายนาคชอ่ จะเป็นกล่มุ ลายหลกั มีลายดอกไมท้ ่แี สดงถึงการเคารพบูชา และไดน้ �าขบวนการมดั หมี่
มาใชใ้ น “ลายขอเครอื ” ซงึ่ เปน็ ลายมงคลแตโ่ บราณ ทส่ี อื่ ถงึ ความอดุ มสมบรู ณ์ ซงึ่ ปรากฏในผา้ ซนิ่ เกา่ แบบหมค่ี น่ั ในสมยั โบราณนยิ มใช้
ในงานมงคลและใชใ้ นพิธกี รรมทางศาสนา ลายขอเครอื จะเปน็ กล่มุ ลายหลกั มลี ายโคมหา้ หรือลูกแก้วคร่ึงซีก เปน็ องค์ประกอบรอง
จึงเกดิ เป็นชื่อว่า “ขอลอ่ แก้ว”
116

๒. จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์

ชื่อ - สกุล : นายวิทวสั โสภารกั ษ์
ทอี่ ยู่ : ๙๐ หมทู่ ่ี ๒ ต�าบลโนนศิลา อ�าเภอสหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสนิ ธุ์
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙-๕๖๖๓-๕๐๒๖
ชอ่ื ผา้ : “ผ้าไหมแพรวา”
ชอ่ื ลาย : “ผา้ ไหมแพรวา ๑๐ ลาย”

เร่อื งราวผลิตภณั ฑ์ :

ผ้าแพรวา ๑๐ ลาย เป็นการทอผ้าไหมท่ีมีภูมิปัญญาในการทอ ใช้วิธีการเก็บลายโดยการขิดลาย มีการท�าลวดลายบนผืนผ้า
ดว้ ยการใช้นิว้ ก้อยในการลว้ งเกาะ ไมห้ น่ึงเกาะ ๒ เทย่ี ว เพอ่ื ใหล้ ายนูน การทอในลักษณะน้จี ะทา� ใหล้ วดลายผ้าปรากฏอยดู่ า้ นล่าง
ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ ใช้สีพื้นเป็นสีแดงใช้ครั่งเป็นสีย้อม ส่วนลวดลายต่าง ๆ บนผืนผ้าก็จะมี
หลากหลาย ผา้ แพรวาแต่ละผืนจะมีจ�านวนลายไมเ่ ท่ากัน ยงิ่ มลี วดลายมากก็จะย่งิ ท�ายากและใช้ระยะเวลาในการทอมากยิ่งข้นึ

117

๓. จงั หวดั ขอนแกน่

ชือ่ - สกุล : นางสาวบชุ ยา สิทธปิ ระเสรฐิ
ที่อยู่ : ๓๔๕ หมู่ท่ี ๑๑ ต�าบลชนบท อ�าเภอชนบท จงั หวดั ขอนแก่น
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘-๙๕๗๒-๗๖๖๓
ชือ่ ผ้า : “มัดหมี่”
ชือ่ ลาย : “แคนแกน่ คนู ”

เร่อื งราวผลติ ภัณฑ์ :

ความลงตัวทางความคิดที่เห็นชอบร่วมกัน เกิดเป็นลายที่เป็นเอกลักษณ์แห่งการรวมภูมิปัญญาสมบูรณ์ครบถ้วนเข้าด้วยกัน
ผ่านผา้ ทอผืนน้ี ซงึ่ ชอ่ื “แคนแกน่ คณู ” น้ัน เกดิ จากการท่ีผูเ้ ขา้ ประกวดตั้งชื่อผา้ ทอทง้ั สองท่าน ไดต้ ้งั ช่ือเหมือนกนั โดยมไิ ดน้ ดั หมาย
ทา� ใหช้ นะใจกรรมการและไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ ทัง้ สองทา่ น

118

๔. จงั หวดั มหาสารคาม

ชื่อ - สกลุ : นายจกั ษภ์ ริ มย์ ศรีเมอื ง
ที่อยู่ : ๓๒ หมู่ท่ี ๑๓ ต�าบลหนองเรอื อ�าเภอนาเชือก จังหวดั มหาสารคาม
เบอรโ์ ทรศัพท์ : ๐๙-๘๐๓๖-๘๔๔๑
ชื่อผา้ : “มัดหมี”่
ชื่อลาย : “สรอ้ ยดอกหมาก”

เร่อื งราวผลติ ภัณฑ์ :

ผ้ามัดหมี่ลายสร้อยดอกหมาก ผลิตจากเส้นไหมพิเศษขนาดเล็ก เพ่ือให้ตัวลายสร้อยดอกหมากมีความเล็กและถี่เป็นพิเศษ
ลงสีแบบโบราณ คือ สีเหลือง แดง และเขียว นอกจากนี้ ยังมีการถมสีพิเศษคือสีขาว จะท�าขึ้นมาระหว่างกระบวนการล้างสี
กระบวนการมดั หมมี่ ดั ดว้ ยหมี่ ๗๓ ลา� และการใชม้ ดั หมแ่ี บบ ๒ หวั เพอ่ื ใหล้ ายละเอยี ดออ่ นชอ้ ย กระบวนการทอ ทอดว้ ยฟมื ๖๐ หลบ
โครงสรา้ งของเส้นยืนมจี า� นวน ๔,๘๐๐ เสน้ เพอ่ื ให้ผา้ มีความแน่น และสอดหางกระรอกแบบพิเศษดว้ ยสแี ดงผสมสเี ม็ดมะขาม

119

ภาคใต้

๑. จงั หวดั สงขลา

ช่ือ - สกุล : นายวิชัย มาระเสนา
ท่อี ยู่ : ๓๘ หมูท่ ่ี ๓ ต�าบลเกาะยอ อ�าเภอเมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘-๘๗๘๓-๖๑๕๔
ช่ือผ้า : “ผ้ายกดอก”
ช่อื ลาย : “คอนกเขา”

เร่ืองราวผลติ ภัณฑ์ :

ผา้ เกาะยอเปน็ ผา้ ทอพนื้ เมอื งของชาวบา้ นในตา� บลเกาะยออา� เภอเมอื งสงขลาจงั หวดั สงขลาเปน็ ผา้ พนื้ เมอื งทม่ี ชี อื่ เสยี งของจงั หวดั
ที่มีความประณีตและสีสันสวยงาม โดยมีการทอยกดอกท่ีมีลวดลายอ่อนนุ่ม ถือเป็นสัญลักษณ์หัตถกรรมพ้ืนบ้านของภาคใต้
และมจี ดุ เดน่ ทม่ี ลี ายในเนอื้ ผา้ ทนี่ นู ขน้ึ มา เนอ้ื ผา้ ดแู ลรกั ษางา่ ย ถอื ไดว้ า่ ผา้ ทอเกาะยอเปน็ ผา้ ทอลายโบราณ และเปน็ งานหตั ถกรรมทอ้ งถน่ิ
ท่ีมกี ารทอกนั มานบั รอ้ ยปีสบื ทอดกนั มาจนถึงปจั จุบนั
120

๒. จงั หวดั ยะลา

ช่อื - สกุล : นายปิยะ สุวรรณพฤกษ์
ทอ่ี ยู่ : ๒๕ เวฬวุ นั ๑๒ ซอยสุขธร ๕ หม่ทู ี่ ๑๑ ตา� บลสะเตง อ�าเภอเมืองยะลา จงั หวดั ยะลา
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙-๘๗๑๕-๔๑๕๕
ช่อื ผ้า : “ปะลางงิ ”
ช่อื ลาย : “แกว้ ชิงดวง”

เร่ืองราวผลติ ภัณฑ์ :

“ลายแกว้ ชงิ ดวง” เปน็ ลายโบราณทพ่ี บในเครอ่ื งทรงเทพตามภาพเขยี นจติ รกรรมฝาผนงั และลวดลายปนู ปน้ั ประดบั สถาปตั ยกรรม
ที่ส�าคัญ โครงสร้างลวดลายที่ยกขึ้นในกลุ่มผ้ายกดอก มักจะพบเห็นผ้าในขบวนรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
เมื่อคร้ังเสด็จประพาสมณฑลปัตตานี ผู้แต่งกายแต่งรับเสด็จในขบวนต้อนรับ แต่ผืนน้ีใช้เทคนิคการเพ้นท์ให้เกิดมิติ ผ้าและสีสัน
ปรับให้ร่วมสมยั มากย่ิงข้ึน

121

๓. จงั หวดั กระบ่ี

ชื่อ - สกุล : นางสาวเกศรนิ อา่ วลึกนอ้ ย
ทีอ่ ยู่ : ๒๒/๗ หมูท่ ี่ ๒ ตา� บลอ่าวลกึ น้อย อา� เภออ่าวลึก จงั หวัดกระบี่
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙-๘๘๖๘-๙๕๒๕
ช่ือผา้ : “บาตกิ ”
ช่ือลาย : “กล้วยไมเ้ หลืองกระบ่ี”

เรือ่ งราวผลติ ภณั ฑ์ :

ผา้ บาตกิ วาดเสน้ ลงสี ๕ ชนั้ เปน็ การวาดลายกลว้ ยไมร้ องเทา้ นารเี หลอื งกระบี่ ซงึ่ กลว้ ยไมช้ นดิ น้ี สามารถพบไดเ้ ฉพาะถนิ่ ทางภาคใต้
ของประเทศไทยเทา่ น้นั โดยจะพบตามป่าดิบเขาและป่าดบิ ชื้นในพื้นทีจ่ ังหวดั ชมุ พร จงั หวัดกระบี่ จดั เป็นกลว้ ยไมห้ ายากชนิดหนึง่
จึงเกิดเป็นแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ลวดลายท่ีมีความซับซ้อนหลายมิติ มีความสวยงาม และโดดเด่น แต่ยังคงรูปแบบ
ของธรรมชาติ

122

๔. จงั หวดั นครศรธี รรมราช

ชอ่ื - สกุล : นายภานุพงศ์ ปานเผอื ก
ที่อยู่ : ๔๑ หมทู่ ี่ ๔ ตา� บลขอนหาด อ�าเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช
เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘-๗๒๘๓-๖๓๗๐
ชอ่ื ผา้ : “ผ้ายก”
ชอ่ื ลาย : “เกล็ดพิมเสน”

เร่ืองราวผลิตภัณฑ์ :

ผา้ ลายเกลด็ พมิ เสน เคยเปน็ ผา้ ทใ่ี นรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (รชั กาลท่ี ๔) พระราชทานใหแ้ ฟรงกลนิ เพยี รซ์
ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ซึ่งปัจจุบันผ้าได้เก็บรักษาอยู่ในพิพิธภัณฑ์ของสถาบันสมิทโซเนียน วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา
ผ้ายกเมืองนครลายเกล็ดพิมเสน จึงเป็นผ้ายกที่ทอข้ึนใหม่ โดยอิงมาจากผ้ายกทองท่ีจัดแสดงในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
นครศรธี รรมราช ใชเ้ สน้ ฝ้ายเมอรเ์ ซอรไ์ รซ์ในการทอทั้งหมด

123

คณะผจู้ ดั ทา�

ทป่ี รกึ ษา

นายสุทธิพงษ์ จุลเจรญิ
ปลดั กระทรวงมหาดไทย
ดร.วันดี กญุ ชรยาคง จุลเจริญ
ประธานสภาสตรแี ห่งชาติ ในพระบรมราชินูปถมั ภ์

นายสมคิด จันทมฤก
อธิบดกี รมการพัฒนาชุมชน

นางรชตภร โตดลิ กเวชช์
ประธานคณะกรรมการบริหารสภาสตรแี ห่งชาติ ในพระบรมราชนิ ูปถัมภ์

นางรติรส ภ่วู ิภาดาวรรธน์
รองประธานโครงการผา้ ไทยใสใ่ หส้ นกุ

นายธนนั ท์รัฐ ธนเสฏฐการย์
รองประธานกรรมการและทปี่ รกึ ษา โครงการผา้ ไทยใสใ่ หส้ นกุ

นายกลุ วิทย์ เลาสุขศรี
บรรณาธิการนติ ยสารโวก้ ประเทศไทย

จดั ทา� โดย

กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย

คณะผจู้ ดั ทา�

นายสุรศกั ด์ิ อักษรกุล
รองอธบิ ดกี รมการพฒั นาชุมชน

นายวรงค์ แสงเมือง
ผอู้ า� นวยการส�านกั สง่ เสริมภูมิปญั ญาท้องถนิ่ และวสิ าหกจิ ชุมชน

นางสาวณฐั นิช อนิ ทสระ
ผ้อู า� นวยการกลมุ่ งานส่งเสรมิ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่

นางสาวสุดารัตน์ ลา�่ งาม
นกั วชิ าการพฒั นาชุมชนช�านาญการ

นางสาวศรญั ญา สบื สายหาญ
นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบตั กิ าร

ออกแบบและพิมพ์โดย

บริษัท ดี โพรดกั ช่นั เฮาส์ จ�ากัด
45 ซอยประดิพัทธ์ 15 ถนนประดิพัทธ์ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรงุ เทพมหานคร

124

125

126

127

128


Click to View FlipBook Version