ก
สารจากสหกรณ์
จังหวัดกระบี่ ได้มีการขับเคล่ือนนโยบายของรัฐบาล ในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
โดยกำหนดให้สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผ่านกลไกสหกรณ์ เป็นกำลังสำคัญของ
การยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในทุกพ้ืนที่ให้ดีขึ้น เพ่ือจะให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเข้มแข็ง
สามารถเป็นท่ีพ่ึงของสมาชิกได้ ซ่ึงในจังหวัดกระบ่ี มีสหกรณ์ จำนวน 68 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน
11 แหง่ สมาชิกรวมท้ังส้นิ 73,971 ราย
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบ่ี ได้ให้ความช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกร ซึ่งไม่สามารถดำเนินธุรกิจตามปกติได้ เน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา
(COVID-19) ซ่ึงนอกจากการสนับสนุนปัจจัยการผลิต เคร่ืองมือเครือ่ งจักร การพฒั นาบรรจุภัณฑ์ การใหค้ วามรู้
รวมถึงสนับสนุนเงินทุนปลอดดอกเบี้ย ช่วยกระจายสินค้า มีการร่วมมือกับจังหวัดบุรีรัมย์ในการแลกเปล่ียน
ปลาตากแห้ง กับข้าวสาร เป็นต้น จากผลการดำเนินงาน ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สำนักงานสหกรณ์
จังหวัดกระบ่ี สามารถปฏิบัติงานตามภารกิจ ม่งุ ม่ันในการส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ผ่านโครงการต่าง
ๆ ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มคี วามคุม้ ค่า เกิดประโยชนต์ อ่ สมาชิกสหกรณก์ ลุ่มเกษตรกรและชมุ ชนฐานราก
สำนักงานสหกรณ์จังหวดั กระบี่ ได้รวบรวมผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ในฐานะ
สหกรณ์จังหวัดกระบ่ี ต้องขอขอบคุณ ผู้บังคับบัญชา ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ รองผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ บุคลากรของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบ่ีทุกท่านที่มีส่วน
รว่ ม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีส่วนในการขบั เคลื่อนและสนับสนนุ ให้ผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2564 สำเรจ็ ตามแผนงานและบรรลตุ ามวตั ถุประสงคไ์ ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เราคือความหวังของเกษตรกร “รอยย้ิมของเกษตรกรไทย คือกำลังใจ
ชนั้ ยอดของข้าราชการกรมสง่ เสรมิ สหกรณ”์
(นายนิรันต์ ศรีวไิ ล)
สหกรณจ์ งั หวัดกระบี่
ข
สหกรณจ์ ังหวดั กระบ่ี
นายนิรันต์ ศรวี ิไล
สหกรณ์จังหวัดกระบี่
หัวหน้าฝา่ ย/ผู้อำนวยการกลุ่มวชิ าการ
นางนันทชิ า สพุ รรณชนะบุรี นายสทุ ยุต พลู สมบตั ิ นายสถาพร วงั บญุ คง
หวั หน้าฝ่ายบรหิ ารทั่วไป
ผอ.กลุ่มจดั ตง้ั และส่งเสริมสหกรณ์ ผอ.กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกจิ สหกรณ์
สหกรณ์
นางฉายา บุญเสริม นางสวภทั ร คีรีพิทักษ์
ผอ.กลุ่มสง่ เสริมและพัฒนาการบรหิ าร ผอ.กลุ่มตรวจการสหกรณ์
การจดั การสหกรณ์
ผูอ้ ำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 - 4
นางสาววรัญญู สะใบทอง นายจาตรุ นต์ หลงขาว
ผอ.กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ 1 ผอ.กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ 2
นางสาวสมุ า หลกี ภัย นายชชั วาล เจนวพิ ากษ์
ผอ.กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ผอ.กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ 4
ผอู้ ำนวยการนคิ มสหกรณ์
นางปารชิ าติ สุธาประดิษฐ์ นายเตมิ ศักดิ์ เสียมไหม
ผอ.นคิ มสหกรณ์คลองท่อม ผอ.นคิ มสหกรณ์อา่ วลกึ
ชา้ ราชการ/ลูกจา้ งประจำ/พนักงานราชการ ฝา่ ยบรหิ ารทวั่ ไป
นางสาวสชุ ญา อมรกล
นักวชิ าการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร
นางสาวถิรนันท์ เอ่งฉ้วน นางสาวพวงรัตน์ ขนุ ชู นางสาวพชั รี เก้อื กลู สง่
นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน เจา้ พนักงานการเงินและบัญชี เจ้าพนักงานธรุ การ
นางสาวสมฤทยั ชนะพาล นายวรี ศักด์ิ ทองชว่ ย
เจา้ พนักงานธุรการ พนักงานขับรถยนต์
ช้าราชการ/พนักงานราชการ กลุ่มจดั ต้ังและส่งเสริมสหกรณ์
นางสาวนันทพร กาญจนะหุต นางสาวเสาวภา หวานแกว้ นางสาวนุชนาฏ พรสุริยา
นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ นักวชิ าการสหกรณช์ ำนาญการ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบตั กิ าร
การ
นางสาวประทมุ วรรณ์ เครือจันทร์ นางสาวณัฐสุดา ชูดวง
นกั วชิ าการสหกรณ์ นกั วชิ าการสหกรณ์
ช้าราชการ/พนกั งานราชการ กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกจิ สหกรณ์
นางเกศรินทร์ คะเณย์ นายศศิศ จติ ต์แจ้ง นายอนวชั ไชยสง
นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ นกั วิชาการสหกรณป์ ฏิบัติการ นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏบิ ตั กิ าร
การ
นายพิสทิ ธิ์ เอง่ ฉ้วน นางเกศินี วงั บุญคง
นกั วชิ าการมาตรฐานสินค้า นกั วชิ าการสหกรณ์
ช้าราชการ/พนกั งานราชการ กลมุ่ ส่งเสรมิ และพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
นางวรนิศฐา ออสนั ตินตุ สกุล นางกรกานต์ ชแู สวง นายธรี วุฒิ ชำนาญนา
นกั วิชาการสหกรณช์ ำนาญการ
นกั วชิ าการสหกรณป์ ฏิบัตกิ าร นกั วิชาการสหกรณ์ปฏบิ ตั ิการ
การ
นางสาวอำภา มาตย์บตุ ร นางสาวศริ วิ รรณ บญู ชู
เจ้าพนกั งานสง่ เสริมสหกรณ์ นักวชิ าการสหกรณ์
ชา้ ราชการ/พนกั งานราชการ กลุ่มตรวจการสหกรณ์
นางสาวเกษราภรณ์ แซ่ล้ี นางสาวรพภี รณ์ รักประทุม
นกั วิชาการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร นิตกิ รปฏบิ ตั กิ าร
นางสาววนิจฉรา จนั ทรห์ อม นายธงชัย แกลว้ กลา้
นิตกิ ร นกั วิชาการสหกรณ์
ชา้ ราชการ/ลูกจ้างประจำ/พนกั งานราชการ กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ 1
นางเกตมณี บุญสง่ นางสาวตสั นมี นรุ ุดิล
นกั วิชาการสหกรณ์ชำนาญการ นกั วชิ าการสหกรณ์ปฏิบัตกิ าร
การ
นางสาวจาริพร ชมุ่ เช้ือ นายธงชัย เพกิ อาภรณ์
เจา้ พนกั งานสง่ เสริมสหกรณ์ พนกั งานขบั รถยนต์
ช้าราชการ/ พนกั งานราชการ กล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 2
นางสาวจารณุ ี ศรชี ู (วา่ ง)
เจา้ พนกั งานส่งเสรมิ สหกรณ์ พนกั งานพมิ พ์
ชา้ ราชการ/ พนกั งานราชการ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3
(วา่ ง) (วา่ ง)
นักวิชาการสหกรณช์ ำนาญการ นักวชิ าการสหกรณ์ปฏบิ ตั กิ าร
อาวโุ ส
นางสาวรตั นมน ลูกหวาย
ข้าราชการ/ พนักงานนักรวาชิชากกาารรกสลหมุ่กสรณ่งเส์ รมิ สหกรณ์ 4
นายธรรมรตั น์ เทพเลื่อน นางประไพ เจนวิพากษ์
เจ้าพนกั งานส่งเสริมสหกรณ์อาวโุ ส นกั วชิ าการสหกรณ์
อาวโุ ส
ขา้ ราชการ/ ลูกจ้างประจำ/พนกั งานราชการ นคิ มสหกรณ์คลองท่อม
นางเมทิกา จนั ทรังษี นายอภริ กั ษ์ คงภักดี
นักวิชาการสหกรณป์ ฏบิ ตั ิการ พนกั งานขับรถยนต์
ขา้ ราชการ/ลกู จา้ งประจำ/ พนกั งานราชการ นิคมสหกรณ์อา่ วลกึ
นางสาวธนั ยวรี ์ น่ิมมณี นางสาวกาญจภรณ์ แกว้ มณี
นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบตั ิการ นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบตั ิการ
นางสาลี ชปู ระจง อาวุโส
พนักงานพิมพ์
นายจาลอง ทองแกว้ เกดิ
พนักงานขบั รถยนต์
ค
บทสรุปผู้บริหาร
(Executive Summary)
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่ มีจำนวนบุคลากรท้ังสิ้น 51 คน ประกอบด้วยข้าราชการ
30 คน ลูกจ้างประจำ 5 คน และพนักงานราชการ 16 คน ได้มีการแบ่งส่วนงานสำนักงานสหกรณ์จังหวัด
กระบี่ ออกเป็น 1 ฝ่าย, 4 กลุ่มวชิ าการ , 2 นคิ มสหกรณ์ , 4 หน่วยส่งเสริมและพฒั นาสหกรณด์ ังนี้
1) ฝ่ายบริหารท่ัวไป 2) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ 3) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
4) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ 5) กลุ่มตรวจการสหกรณ์ 6) นิคมสหกรณ์อ่าวลึก นิคมสหกรณ์คลองท่อม
7) กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ 1-4
ได้รับงบประมาณรายจ่ายประจำปี จำนวน 13,110,587.39 บาท เบิกจ่าย ได้ 100%
ได้รับผลการประเมินเป็นหน่วยงานที่มีผลการปฏิบัติงานส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ.2563 ระดบั ปานกลาง โดยสรุปผลการปฏิบตั งิ านดงั นี้
ผลจากการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรอยู่ในความรับผิดชอบพ้ืนท่ีในเขตจังหวัดกระบ่ี 8 อำเภอ
สหกรณ์ 67 แหง่ สมาชกิ สหกรณ์ 90,881 คน ปริมาณธุรกจิ รวมของสหกรณ์ 12,356,160,000 บาท
กลุ่มเกษตรกร 11 แห่ง สมาชิกกลุ่มเกษตรกร 746 คน ปริมาณธุรกิจรวมของกลุ่มเกษตรกร 7,070,000 บาท
ผลการดำเนินงานของสหกรณ์ กำไร (ขาดทุน) สุทธิในภาพรวม 216.45 ล้านบาท ดำเนินงานของกลุ่ม
เกษตรกร กำไร (ขาดทุน) สุทธิในภาพรวม 0.85 ล้านบาท ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ ชั้น 1 จำนวน 8 แห่ง
ช้ัน 2 จำนวน 51 แห่ง ขั้น 3 จำนวน 8 แห่ง ชั้น 4 จำนวน 17 แห่ง กลุ่มเกษตรกรช้ัน 2 จำนวน 7 แห่ง
กลุ่มเกษตรกรช้ัน 3 จำนวน 4แห่ง กลุ่มเกษตรกรชน้ั 4 จำนวน 5แหง่
ผลจากการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ท่ีนำมาจัดมาตรฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ์ท่ีนำมาจดั มาตรฐานในปี 2564 จำนวน 57 แห่ง ผ่านมาตรฐาน 18 แห่ง คิดเป็นรอ้ ยละ 31.58 ไม่
ผ่านมาตรฐาน 39 แหง่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 68.42 และกลุ่มเกษตรกรนำมาจัดมาตรฐาน 8 แห่ง ผา่ นมาตรฐาน 5
แห่ง คดิ เปน็ ร้อยละ 62.50 ไมผ่ า่ นมาตรฐาน 3แห่ง ร้อยละ 37.50
ผลจากการเขา้ แนะนำสง่ เสริมสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1. สหกรณ์ขนาดเล็กและกลุ่มเกษตรกร พบปัญหาด้านการการควบคุมภายใน การบริหาร
จดั การธุรกิจและไม่มีฝ่ายจัดการ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินการขาดความรู้ความสามารถในการบริหาร
จัดการและการบรหิ ารธรุ กจิ
2. จากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับ
ผลกระทบ สมาชิกได้รับความร้อนจากการประกอบอาชีพ ส่งผลให้ธุรกิจสินเช่ือ และการจำหน่ายสินค้ามี
ปริมาณธุรกิจท่ีลดลงจากปกี อ่ น
ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา
1. คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ต้องได้รับการเสริมสร้างองค์ความรู้ให้สามารถบริหารงาน
สหกรณแ์ ละการบริหารธรุ กจิ สหกรณไ์ ดท้ ันต่อสถานการณ์ในปัจจุบนั ทเ่ี ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเรว็
2. จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ปรับแผนในการปฏิบัติงาน โดยการ
ประชมุ ออนไลน์ และมีมาตรการช่วยเหลือ บรรเทา สมาชกิ ที่ได้รับความเดือดร้อน
รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) |
แผนปฏบิ ัติงานและงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
แผนงานบุคลากรภาครัฐ
ผลผลิต : รายการค่าใชจ้ ่ายบุคลากรภาครัฐ
กจิ กรรมหลกั : ค่าใช้จ่ายบคุ ลากรภาครฐั
แผนงานพน้ื ฐาน
แผนงานพื้นฐาน : ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
ผลผลติ : สหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกรได้รบั การส่งเสริมและพัฒนาใหม้ ีความเข้มแขง็ ตามศกั ยภาพ
กจิ กรรมหลัก : ส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
กิจกรรมรอง : ส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร ให้มคี วามเข้มแข็งตามศกั ยภาพ
กลุม่ ตรวจการสหกรณ์
- โครงการประชุมซกั ซ้อมการตรวจการสหกรณ์
- โครงการประชุมคณะทำงานระดบั จงั หวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร
ทีม่ ีข้อบกพรอ่ ง (จกบ.)
- โครงการ เพม่ิ ศักยภาพการบริหารจัดการสหกรณ์เก่ียวกับกฎหมายวา่ ด้วยการปอ้ งกนั และ
ปราบปรามการฟอกเงนิ และกฎหมายวา่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการสนับสนุนทางการเงนิ แก่การกอ่
การร้ายและการแพร่ขยายอาวุธที่มอี านุภาพทำลายลา้ งสงู แกส่ หกรณ์ ผา่ นระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม
Zoom Meeting
- โครงการ ฝกึ อบรม หลกั สูตร “ผชู้ ำระบัญชสี หกรณ์และกลุ่มเกษตรกรขั้นพื้นฐาน”
- โครงการ พฒั นาผ้ตู รวจการสหกรณ์ หลักสตู ร “ผตู้ รวจการสหกรณร์ ะดบั พน้ื ฐาน” รนุ่ ที่ 1-3 ผ่าน
ระบบสอ่ื สารทางไกล (ระบบ Zoom)
- โครงการ ฝกึ อบรมผา่ นระบบออนไลน์ หลกั สูตร “พฒั นาศักยภาพให้แก่ข้าราชการและพนักงาน
ราชการ ในตำแหนง่ นิติกร” ด้วยระบบ Zoom Meeting
- โครงการ ฝึกอบรม หลกั สูตร “ผชู้ ำระบญั ชสี หกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรข้ันปลาย”
ผ่านระบบสอื่ สารทางไกล (ระบบ Zoom)
กลมุ่ จดั ต้งั และสง่ เสริมสหกรณ์
- การพัฒนาความเข้มแข็งสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรยกระดับชัน้ สหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร ปี 2564
- ส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรใหม้ คี วามเข้มแข็งตามศกั ยภาพผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
กล่มุ ส่งเสรมิ และพัฒนาธุรกจิ สหกรณ์
- โครงการสง่ เสรมิ การดำเนนิ ธรุ กิจรา้ นคา้ สหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาเก็ตสหกรณ์
นิคมสหกรณค์ ลองท่อม
- ออกหนงั สอื รบั รองการทำประโยชนใ์ นทีด่ ินของนิคมสหกรณ์
นคิ มสหกรณ์อ่าวลึก
- ออกหนังสอื รบั รองการทำประโยชนใ์ นทดี่ ินของนิคมสหกรณ์
กลุม่ ส่งเสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารการจัดการสหกรณ์
- โครงการพัฒนาศกั ยภาพสหกรณน์ อกภาคการเกษตรสู่ความเขม้ แข็ง
รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) |
แผนงานยุทธศาสตร์
แผนงานยุทธศาสตร์ : เพ่อื สนับสนนุ ดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
กจิ กรรมหลัก : ช่วยเหลือดา้ นหน้ีสินสมาชกิ สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
กลมุ่ ส่งเสริมและพัฒนาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ์
- โครงการลดดอกเบีย้ เงินกใู้ ห้เกษตรสมาชกิ สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร
แผนงานยุทธศาสตร์ : เสรมิ สร้างพลงั ทางสงั คม
กิจกรรมหลัก : พฒั นาสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ในพ้ืนทโ่ี ครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ
กิจกรรมรอง : ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ
กลุม่ จดั ตง้ั และส่งเสริมสหกรณ์
- กจิ กรรม 4 สง่ เสริมกจิ กรรมสหกรณ์นักเรียนในโรงเรียนตามพระราชดำริ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า
กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
- กจิ กรรม 7 คลนิ ิกเกษตรเคล่อื นท่ีในพระราชานเุ คราะห์ สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกรู
- กิจกรรม 8 ขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธรุ กิจสหกรณ์
- กิจกรรม 8 ส่งเสรมิ การเกษตรตามแนวทฤษฎีใหมใ่ นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
นคิ มสหกรณค์ ลองท่อม
- กจิ กรรม 6 อนุรกั ษ์พันธุกรรมพืชอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี
นคิ มสหกรณ์อา่ วลกึ
- กจิ กรรม 1 สง่ เสริมและพฒั นาสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ในพ้ืนทโี่ ครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
- กจิ กรรม 6 อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี
แผนงานยุทธศาสตร์ : การเกษตรสร้างมลู คา่
กจิ กรรมหลกั : สนับสนุนให้เกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรส่งเสริมสมาชกิ ทำการเกษตรปลอดภัย
กิจกรรมรอง : พัฒนาเกษตรปลอดภยั ในพืน้ ทน่ี คิ มสหกรณ์ ประจำปี พ.ศ.2564
นิคมสหกรณค์ ลองทอ่ ม
- โครงการส่งเสริมและสนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทำการเกษตรเพ่อื เพิม่ มลู ค่า
นิคมสหกรณอ์ า่ วลกึ
- โครงการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรทำการเกษตรเพอ่ื เพิ่มมลู ค่า
รายงานประจำปี 2563 (Annual Report) |
แผนงานบรู ณาการ
แผนงานบรู ณาการ : พฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานราก
กิจกรรมหลกั : ส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพภายใต้โครงการจดั ท่ดี ินตามนโยบายรัฐบาล
กลุ่มจัดต้งั และส่งเสริมสหกรณ์
- โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาอาชีพเพื่อแก้ไขปญั หาทดี่ ินทำกนิ ของเกษตรกร
กจิ กรรมหลกั : นำลกู หลานเกษตรกรกลับบา้ นสานตอ่ อาชพี การเกษตร
กลุม่ ส่งเสรมิ และพัฒนาธุรกิจสหกรณ์
- โครงการนำลกู หลานเกษตรกรกลบั บา้ นสานต่ออาชีพการเกษตร (เป้าหมาย 3 ราย)
- โครงการนำลกู หลานเกษตรกรกลบั บา้ นสานต่ออาชีพการเกษตร (สร้างทกั ษะการตลาดสนิ ค้าเกษตร)
กจิ กรรมหลัก : เพ่ิมขดี ความสามารถในการดำเนนิ ธรุ กจิ ของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรให้เปน็ องคก์ รหลกั ใน
การพฒั นาเศรษฐกจิ ระดบั อำเภอ
- โครงการพัฒนาศักยภาพการดำเนนิ ธุรกิจของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร และธุรกจิ ชุมชน
(กจิ กรรมที่ 1 และ 2)
กจิ กรรมหลกั : พฒั นากลไกการตลาดเพ่อื เพิ่มช่องทางการจำหนา่ ยสนิ ค้าของสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกร
- โครงการสง่ เสรมิ การพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสนิ ค้าเกษตร (กิจกรรมท่ี 3)
งาน/โครงการตามนโยบายสำคัญ ได้แก่
▪ งานสง่ เสริมและพัฒนา
1. โครงการปรับโครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบัน
เกษตรกรรองรับผลผลิตทางการเกษตร (พระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจ
และสงั คมที่ไดร้ บั ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019)
2. โครงการ โครงการส่งเสรมิ การใชย้ างพาราในหน่วยงานภาครัฐ Big Rock
▪ งานกำกับติดตามและงานแก้ปญั หา
1.สนบั สนนุ วงเงนิ กจู้ ากกองทุนพัฒนาสหกรณ์
สารบญั
สารผู้บริหารหนว่ ยงาน ก
ทำเนียบบุคลากรในหน่วยงาน ข
บทสรปุ ผู้บริหาร ค
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มลู ภาพรวมของหน่วยงาน 1
2
1.1 วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ และอำนาจหน้าที่ของสำนักงานสหกรณ์จงั หวดั กระบ่ี 2
1.1 แนวทางการขับเคลื่อนงาน/โครงการท่สี อดคล้องกบั แผนระดับ 3 5
1.2 โครงสรา้ งและอตั รากำลงั ของสำนักงานสหกรณ์จังหวดั กระบ่ี 16
1.3 งบประมาณรายจา่ ยประจำปงี บประมาณ 2564 19
1.4 สรุปขอ้ มลู สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร และกลุ่มอาชีพในสงั กดั สหกรณ์ 17
ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธขิ์ องการปฏบิ ตั ิงาน และผลการปฏิบัตงิ าน/โครงการ
แผนงานพ้ืนฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั 18
2.1. งานส่งเสริมและพฒั นาสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร 54
2.2 การออกหนงั สือรับรองการทำประโยชน์ในท่ีดินพ้ืนทีน่ คิ มสหกรณ์อา่ วลึก 55
2.3 การออกหนงั สือรบั รองการทำประโยชน์ในที่ดนิ พ้ืนที่นคิ มสหกรณ์คลองท่อม 57
2.4 โครงการ เพิม่ ศักยภาพการบรหิ ารจดั การสหกรณ์เกี่ยวกบั กฎหมายว่าด้วยการ
58
ป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมายวา่ ด้วยการปอ้ งกนั และ 59
ปราบปรามการสนบั สนุนทางการเงินแกก่ ารก่อการรา้ ยและการแพรข่ ยายอาวุธทม่ี ี 60
อานภุ าพทำลายล้างสูงแกส่ หกรณ์ ผ่านระบบออนไลนด์ ว้ ยโปรแกรม
2.5 โครงการ ประชมุ ซกั ซ้อมการตรวจการสหกรณ์ 61
2.6 โครงการ ฝกึ อบรม หลกั สูตร “ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรข้ันพื้นฐาน”
2.7 โครงการ พัฒนาผตู้ รวจการสหกรณ์ หลกั สูตร “ผู้ตรวจการสหกรณ์ระดับพ้ืนฐาน” 62
รนุ่ ที่ 1-3 ผ่านระบบส่ือสารทางไกล (ระบบ Zoom) 63
2.8 โครงการ ฝึกอบรมผา่ นระบบออนไลน์ หลักสตู ร “พฒั นาศักยภาพใหแ้ ก่ข้าราชการ
และพนกั งานราชการ ในตำแหน่งนติ ิกร” ดว้ ยระบบ Zoom Meeting 64
2.9 โครงการ ฝึกอบรม หลักสตู ร “ผู้ชำระบัญชีสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกรขั้นปลาย” 66
3. จัดประชมุ คณะทำงานระดบั จังหวัดแก้ไขปัญหาการดำเนินงานของสหกรณ์ 68
และกล่มุ เกษตรกรทมี่ ีข้อบกพร่อง (จกบ.) 72
3.1 โครงการพฒั นาศักยภาพสหกรณน์ อกภาคการเกษตรสู่ความเขม้ แขง็
3.2 การจัดตง้ั สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
3.3 การชำระบัญชสี หกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
3.4 โครงการส่งเสริมการดำเนนิ ธรุ กิจร้านค้าสหกรณ์ในรูปแบบซเู ปอร์มาเก็ตสหกรณ์
แผนงานยุทธศาสตรก์ ารเกษตรสรา้ งมลู คา่ 74
โครงการพฒั นาเกษตรปลอดภัยในพน้ื ทนี่ ิคมสหกรณ์ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 74
แผนงานยุทธศาสตรเ์ รมิ สร้างพลงั ทางสังคม 78
โครงการคลินิกเกษตรเคลอ่ื นทใี่ นพระราชานเุ คราะห์สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั 78
มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ปี 2564
โครงการส่งเสริมกจิ กรรมสหกรณ์นักเรียนตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ 80
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
โครงการเกษตรทฤษฎใี หม่ 82
โครงการอนรุ ักษ์พันธุกรรมพชื อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 84
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
แผนงานยุทธศาสตรเ์ พ่อื สนบั สนุนด้านการสรา้ งโอกาส 86
และความเสมอภาคทางสงั คม
โครงการชว่ ยเหลือดา้ นหนส้ี ินสมาชกิ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 86
แผนงานบรู ณาการพัฒนาและส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 88
โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพเพ่ือแกไ้ ขปัญหาทีด่ ินทำกนิ ของเกษตรกร 88
โครงการส่งเสริมและสร้างทักษะในการประกอบอาชีพทง้ั ในและนอกภาคเกษตร 90
(นำลูกหลานเกษตรกรกลบั บ้าน สานต่ออาชีพเกษตร)
โครงการ พัฒนาศักยภาพการดำเนินธรุ กิจของสหกรณ์ กลุม่ เกษตรกรและธุรกจิ ชุมชน 93
โครงการส่งเสริมและพัฒนาระบบตลาดภายในสำหรับสนิ คา้ เกษตร 96
ผลการดำเนนิ งาน/โครงการตามนโยบายสำคญั ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 99
โครงการปรบั โครงสร้างการผลิต การรวบรวม และการแปรรูปของสถาบนั เกษตรกร 99
รองรบั ผลผลิตทางการเกษตร(พระราชกำหนดให้อำนาจกระทรวงการคลงั กูเ้ งินเพอื่ ฟ้นื ฟู
เศรษฐกิจและสงั คมที่ไดร้ ับผลกระทบจากการระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019) 103
โครงการส่งเสรมิ การใช้ยางพาราในหนว่ ยงานภาครัฐ (Big Rock) 106
งานกำกับตดิ ตาม แก้ปญั หา สนบั สนนุ วงเงนิ กู้จากกองทนุ พัฒนาสหกรณ์ 110
สว่ นท่ี 3 กจิ กรรมประชาสัมพันธส์ หกรณฯ์ โดดเด่นในรอบปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 114
ส่วนท่ี 4 รายงานข้อมูลงบการเงิน 114
3.1 งบแสดงฐานะการเงิน 115
3.2 งบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน 116
3.3 หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 1
วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ และอำนาจหน้าทีข่ องหน่วยงาน
“เปน็ องคก์ รเพ่ือการเรยี นรู้ และการมีส่วนร่วม มุง่ สง่ เสรมิ
พัฒนาขบวนการสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
เอ้อื อาทรสังคม สร้างคา่ นยิ มใหป้ ระชาชนเพื่อการพัฒนาอย่างย่งั ยนื "
1. ใหส้ หกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีสมาชิกปลกู ปาล์มน้ำมัน ไดร้ วบรวมปาลม์ ส่งโรงงานสกัดน้ำมัน
ปาล์มของชุมนุมสหกรณ์ ชาวสวนปาล์มน้ำมนั กระบี่ จำกัด เพ่ือเพม่ิ มูลค่าผลผลติ และเชื่อมโยง
เครอื ข่ายแบบครบวงจร
2. ให้สหกรณก์ องทนุ สวนยาง ซึง่ เปน็ ศูนยก์ ลาง ได้สง่ ยางพาราไปจำหนา่ ยกบั บริษทั ร่วมทุนยางระหวา่ ง
ประเทศ (ITRCO) ได้
3. ให้ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรกระบ่ี จำกัด เป็นศูนย์รวมเครอื ขา่ ยพนั ธมติ รทางธุรกจิ หลากหลายของ
จังหวดั กระบี่
4. สง่ เสรมิ กลุ่มสตรแี ละเยาวชนตน้ แบบเกดิ ขึ้นไม่ต่ำกวา่ 5 กลุม่
5. เปน็ แหลง่ ขอ้ มูลข่าวสาร สง่ เสรมิ พฒั นาผลิตภณั ฑ์ การตลาดสินค้าสหกรณ์กลมุ่ เกษตรกรอย่างย่งั ยนื
6. ส่งเสริมวิสาหกจิ ชุมชนให้ดำเนนิ ธรุ กิจทเ่ี กิดจากความต้องการของชุมชนมิใชเ่ กิดจากบคุ คลใดบุคคล
หนงึ่
7. ส่งเสริมเผยแพร่และให้ความรู้เกี่ยวกบั อดุ มการณ์ หลักการ และวธิ ีการสหกรณ์ให้แก่ผ้สู นใจ
8. สง่ เสริมให้ความรูเ้ รอื่ งพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ ข้อบังคบั และระเบียบอ่นื ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง
9. จดั ต้งั สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มสตรีสหกรณ์ และเยาวชนสหกรณเ์ พ่ิมขึน้
10.ส่งเสริมใหส้ หกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรเขา้ สู่มาตรฐานกรมส่งเสริมสหกรณ์
11. ประสานงานกบั หน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ งเพื่อใหค้ วามชว่ ยเหลือในการพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
12. ช่วยเหลอื แนะนำใหส้ หกรณ์/กลุม่ เกษตรกร ได้ร่วมกันปฏิบัตใิ หเ้ ปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบงั คบั เพื่อก้าวสูค่ วามยง่ั ยนื
13. แนะนำ สนับสนุนด้านการตลาด ใหค้ วามรู้ดา้ นวิชาการ
14. แนะนำด้านการวางแผนในการบริหาร การจัดการในองค์กรใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ
15. จดั หาศนู ย์กลางการทำธุรกิจทกุ รูปแบบให้สหกรณ์
16. จดั หาปจั จยั การตลาดเพ่ือลดต้นทุนใหส้ หกรณ์
รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 2
17. สนับสนนุ เงนิ ทนุ ให้สหกรณ์ เพื่อนำไปใช้ตามวัตถุประสงค์
18. สมาชิกมเี อกสารสิทธแิ ละคุณภาพชีวติ ทดี่ ี
19. สมาชิกอยู่ดกี นิ ดี มเี อกสารสิทธคิ์ รบถ้วน
20. เปน็ องค์กรท่ที ำให้สมาชิกทุกคนทกุ กลุ่มไดร้ ับสิทธิ์ในท่ีดนิ ทำกินอยา่ งถกู ตอ้ ง ครบถ้วนสามารถทำ
การเกษตรไดเ้ หมาะสมและสร้างผลิตผลรายไดม้ ีคุณภาพชีวติ ทด่ี แี ละสมบูรณ์พูนสุขพรอ้ มๆ กบั
ข้าราชการและเจา้ หน้าท่ีมีแรงจูงใจ ขวัญกำลังใจ ทำหน้าที่อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ตลอดจนสนับสนุน
นโยบายรฐั บาล
21. สมาชิกมคี ุณภาพที่ดีไดม้ าตรฐาน เอกสารสทิ ธิ์ในท่ีดนิ ครบถ้วนในปี 2553
1. ดำเนินการเก่ยี วกับงานด้านกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยการจดั
ทีด่ ินเพ่ือการครองชีพเฉพาะในส่วนทเี่ ก่ียวข้องกับการนิคมสหกรณ์ และ
กฎหมายอนื่ ที่เก่ยี วข้อง
2. สง่ เสริมและพัฒนางานสหกรณท์ ุกประเภทและกลุ่มเกษตรกร
3. ส่งเสริม เผยแพร่ และให้ความรูเ้ ก่ียวกบั อุดมการณ์ หลักการ และวธิ กี ารสหกรณ์
ใหแ้ กบ่ คุ ลากรสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร และประชาชนทัว่ ไป
4. สง่ เสรมิ และพัฒนาธรุ กจิ ของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
5. ปฏิบัติงานรว่ มกบั หรือสนบั สนนุ การปฏบิ ัตงิ านของหน่วยงานอื่นท่ีเกยี่ วข้องหรอื
ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
โครงสร้างการแบ่งส่วนงาน ได้มกี ารแบ่งส่วนงานสำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดกระบี่ ออกเป็น 1 ฝ่าย 3
กลมุ่ 2 นิคมสหกรณ์ 4 หนว่ ยสง่ เสริมและพฒั นาสหกรณด์ ังนี้
จัดทำและรวบรวมแผนงาน คำขอตง้ั งบประมาณ แผนงาน ติดตาม เรง่ รดั ประเมินผลการปฏิบัตงิ าน
ตามแผนงาน และโครงการ งานบคุ ลากร งานการเงิน การบัญชี การพสั ดุ งานสารบรรณและงานธุรการทั่วไป
งานประชาสมั พันธ์ ประสานงานโครงการจงั หวัดทดลอง บูรณาการเพื่อการพฒั นา (CEO)
ให้คำปรึกษาแนะนำ เผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ และวิธกี ารสหกรณใ์ ห้แก่บคุ ลากรของสหกรณ์ ตลอด
ประชาชนท่ัวไป ศกึ ษา วิเคราะห์ให้การจดั ต้ังสหกรณ์ กลมุ่ เกษตรกร กลุ่มสตรสี หกรณแ์ ละเยาวชนสหกรณ์
โครงสรา้ งองค์กรเพอื่ การส่งเสริมพฒั นา ช่วยเหลอื ขบวนการสหกรณ์ โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ และ
โครงการอ่นื ๆ แนะนำในการแก้ไขปญั หาด้านการจดั ตั้งและสง่ เสริมสหกรณ์ ติดตามการดำเนนิ การของสหกรณ์
และกลมุ่ เกษตรกรใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายวา่ ด้วย สหกรณ์ ข้อบังคบั ระเบียบ คำสง่ั และกฎหมายอื่นๆ ที่
เกีย่ วขอ้ งและปฏิบัติงานอน่ื ที่เกีย่ วขอ้ ง และตามที่ได้รับมอบหมาย
รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 3
ศึกษา วิเคราะห์ให้คำแนะนำเกย่ี วกับโครงสร้างการจดั ระบบงาน การบรหิ ารงานบุคคลและการควบคุม
ภายใน การจดั หา การลงทนุ และการบริหารเงินทุนสนบั สนนุ เงินทนุ และสนิ เช่ือ ในการแกไ้ ขปัญหาด้านการ
บรหิ ารการจดั การตลอดจนติดตามประเมินผล
ศกึ ษา วิเคราะห์ ให้คำแนะนำปรกึ ษา เกยี่ วกับการพัฒนาธรุ กิจและการตลาด สง่ เสรมิ และพัฒนาสินค้า
การบรรจภุ ณั ฑ์ และรูปแบบการบริการ เพ่ือเพ่ิมมูลค่าสนิ ค้า การเช่อื มโยงธรุ กจิ การตลาด แกป้ ญั หาพัฒนา
ธรุ กจิ สหกรณช์ ่วยเหลอื ในการดูแล รักษาและการพัฒนาเทคโนโลยีการผลติ และขบวนการผลติ และ
ประสานงาน และการติดตามประเมินผล การดำเนินงานของสหกรณ์ และกลมุ่ เกษตรกร
ศึกษาวเิ คราะห์ และงานแผนการจัดที่ดนิ ให้แก่ราษฎรในเขตพืน้ ท่ี นิคมสหกรณ์ ดำเนินการออกหนงั สือ
แสดงการทำประโยชนใ์ นทด่ี ิน การจดั ท่ีดนิ เพ่ือการครองชีพ แก้ไขปัญหาในการบกุ รุกทีด่ ิน พจิ ารณาและ
ควบคุมการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติในเขตนคิ ม
ดำเนินการตามกฎหมายวา่ ด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอ่ืน เผยแพร่ และให้ความรูเ้ กยี่ วกับอดุ มการณ์
หลักการ และวิธกี ารสหกรณ์ใหแ้ ก่บคุ ลากร สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และประชาชนท่ัวไป สง่ เสริมและ
พฒั นาการดำเนินงานการบรหิ ารการจัดการ และการพฒั นาธุรกิจ ตลอดสง่ เสรมิ ให้สหกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร
พฒั นาตนเอง สามารถวางแผน ดำเนนิ การได้ด้วยตนเอง เพอ่ื ใหส้ หกรณ์ / กลุ่มเกษตรกร เข้มแขง็
รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 4
แนวทางการขบั เคลอื่ นงาน/โครงการ
ทีส่ อดคล้องกับแผนระดับ 3
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 นายนิรนั ต์ ศรวี ิไล มีนโยบายการขบั เคล่ือนนโยบายของรัฐบาล
ในการพัฒนาเศรษฐกิจสงั คม โดยกำหนดให้สรา้ งความเขม้ แข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรผ่านกลไก
สหกรณส์ หกรณจ์ งั หวัดกระบี่ โดยการขบั เคลื่อนแผนการแนะนำสง่ เสริมสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร และขับเคลอ่ื น
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการสง่ เสรมิ และพัฒนาให้มีความเขม้ แข็งตามศักยภาพ โดยมกี ารกำหนด
คา่ เปา้ หมายและมีผลการปฏิบตั งิ านท่สี อดคลอ้ งกบั แผนระดับ 3 ดังนี้
ไดด้ ำเนินการ ดงั นี้
- ประชมุ ทบทวนแผนการแนะนำส่งเสรมิ สหกรณ์ และสหกรณ์เพ่ือปรับปรงุ ใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทสหกรณป์ จั จบุ นั
- จดั เวทใี นการแลกเปลีย่ นเพ่ือแก้ไขปัญหาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
- เจ้าหน้าทีส่ ่งเสริมรายงานการเข้าแนะนำสง่ เสรมิ ผ่านระบบ E-Project ของกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 5
โครงสร้างและอัตรากำลังของสำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดกระบ่ี
โครงสร้างสำนกั งานสหกรณ์จังหวัดกระบี่
สหกรณ์จงั หวัดกระบ่ี
ฝ่ายบรหิ าร กลมุ่ จัดตัง้ กล่มุ ส่งเสรมิ กลุ่มส่งเสริมและ กลุ่มตรวจ
ทวั่ ไป และสง่ เสรมิ และพฒั นา พฒั นาการบรหิ าร การสหกรณ์
ธุรกจิ สหกรณ์ จัดการสหกรณ์
สหกรณ์
กลุม่ ส่งเสริม กลุ่มส่งเสรมิ กล่มุ ส่งเสรมิ กลุ่มส่งเสริม
สหกรณ1์ สหกรณ2์ สหกรณ์3 สหกรณ์4
นคิ มสหกรณ์คลองทอ่ ม นิคมสหกรณ์อ่าวลึก
รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 6
สหกรณ์จงั หวดั กระบี่
อตั รากำลงั ของสำนักงานสหกรณ์จงั หวดั กระบ่ี
31.37
%
รวม
51 56.86%
11.76% คน
ขา้ ราชการ ลูกจา้ งประจา พนกั งานราชการ
ประเภทอตั รากำลัง ชาย หญิง หน่วย : คน
ข้าราชการ 20 รวม
ลกู จา้ งประจำ 10 1 30
พนักงานราชการ 4 14 5
2 34 16
รวม 16 50
*** ข้อมลู ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564
รายงานประจำปี 2564 (Annual Report) | 7
งบประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แยกตามยุทธศาสตร์
แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม งบประมาณ
ท่ีได้รับ
ยุทธศาสตรช์ าติ ดา้ นท่ี 2 การสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน จดั สรร
ประเดน็ แผนแม่บท 3 การเกษตร (บาท)
แผนงานพน้ื ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั 5,154,600
แผนงานยทุ ธศาสตรก์ ารเกษตรสรา้ งมูลคา่ 1,030,500
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ประเดน็ แผนแม่บท 15 พลงั ทางสงั คม 300,300
แผนงานยุทธศาสตรเ์ สริมสรา้ งพลังทางสังคม
ประเดน็ แผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก 245,920
แผนงานบรู ณาการพฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 6,731,320
รวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
ข้อมลู ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564
(แยกตามยทุ ธศาสตร)์ ที่มา : (ฝ่ายบริหารทัว่ ไป)
4% 4% ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นที่ 2 การสร้าง
92% ความสามารถในการแขง่ ขัน ประเด็น
แผนแมบ่ ท 3 การเกษตร
ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านท่ี 4 การสร้าง
โอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
ประเดน็ แผนแมบ่ ท 15 พลังทางสงั คม
ยทุ ธศาสตร์ชาติ ดา้ นที่ 4 การสร้าง
โอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม
ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐาน
ราก
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 8
ขอ้ มลู สถิติของสหกรณ์ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
จำนวนสหกรณ์และจำนวนสมาชิกสหกรณ์
จำนวน จำนวนสมาชกิ จำนวนสมาชกิ ท่มี ี
สว่ นร่วมในการ
ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ รวมสมาชกิ สมาชกิ สมาชกิ ดำเนินธุรกจิ ร้อยละ
(แหง่ ) ท้ังหมด สามญั สมทบ
(คน) (คน) 37.02
(คน) (คน) 353 -
15,113
1. สหกรณก์ ารเกษตร 44 40,821 25,355 - - 64.38
- 99.25
2. สหกรณ์ประมง 1 29 29 932 8,045
- 14,652 -
3. สหกรณ์นคิ ม 5 12,496 12,496 1,412 70.41
80 - 43.81
4. สหกรณ์ออมทรัพย์ 6 14,762 13,830 15,813
2,777 138
5. สหกรณร์ ้านคา้ - - -
6. สหกรณบ์ รกิ าร 10 22,458 21,046
7. สหกรณเ์ ครดติ ยู 1 315 235
เนย่ี น
รวม 67 90,881 72,991 53,761 59.16
ทีม่ า :(กลุ่มจดั ตงั้ และส่งเสริมสหกรณ์)
สถานะสหกรณ์ (ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564) จำนวนสหกรณ์
ท้งั หมด
จำนวนสหกรณ์ (แหง่ )
(1) + (2) + (3)
ประเภทสหกรณ์ ดำเนินงาน/ หยดุ ดำเนินงาน/ เลิก จัดตั้งใหม่ + (4)
ธุรกิจ ธุรกจิ /ชำระบัญชี
1. สหกรณ์การเกษตร (1) (2) (4) 54
2. สหกรณ์ประมง 34 4 (3) 6 4
3. สหกรณน์ คิ ม 1 - 10 - 5
4. สหกรณอ์ อมทรพั ย์ 5 - 3 - 6
5. สหกรณร์ ้านคา้ 6 - - - 1
6. สหกรณบ์ รกิ าร - - - - 12
7. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นี่ยน 10 - 1 - 2
1 - 2 -
รวม 1 6 84
57 4
17
ที่มา :(กลุ่มจดั ตง้ั และสง่ เสรมิ สหกรณ์)
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 9
ปรมิ าณธุรกิจของสหกรณใ์ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ปรมิ าณ ปรมิ าณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ ริการ (ล้านบาท)
ธุรกจิ
ประเภทสหกรณ์ ของสหกรณ์ รบั ฝากเงนิ ให้เงนิ กู้ จดั หา รวบรวม แปรรปู บริการ รวมทง้ั สิ้น
(แห่ง) สินคา้ มา ผลผลติ ผลผลิต และอื่น ๆ
จำหน่าย
1. สหกรณก์ ารเกษตร 46 29.83 10.46 124.50 951.77 644.86 11.00 1,772.43
2. สหกรณ์ประมง
3. สหกรณ์นคิ ม 1 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
4. สหกรณอ์ อมทรัพย์
5. สหกรณร์ ้านคา้ 5 21.75 53.61 133.37 354.12 36.32 0.14 599.32
6 4176.36 4,902.59 0.00 0.00 0.00 744.83 9,823.78
0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
6. สหกรณบ์ รกิ าร 10 1,009.42 652.51 1.39 0.00 0.00 0.00 159.61
7. สหกรณ์เครดิต 0.00 0.00 0.00 1.02
ยูเนยี น 1 0.43 0.59 0.00
รวมท้งั ส้ิน 69 5,237.79 5,619.76 259.26 1,305.89 681.18 755.97 12,356.16
ทมี่ า :(กลุ่มส่งเสรมิ และพัฒนาธุรกจิ สหกรณ์)
ผลการดำเนินงานของสหกรณ์
ผลการดำเนนิ งานปลี า่ สดุ ท่มี ีการปดิ บญั ชีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำไร (ขาดทนุ )
สทุ ธิ
ผลการดำเนินงานในภาพรวม การดำเนินงานมผี ลกำไร - ขาดทนุ
ในภาพรวม
(1) (2) (3) สหกรณ์ท่ีมีผลกำไร สหกรณท์ ี่ขาดทุน (ลา้ นบาท)
จำนวน รายได้ คา่ ใชจ้ า่ ย (5) – (7)
ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (4) (5) (6) (7)
(แห่ง) จำนวน ขาดทุน -251.92
1. สหกรณ์การเกษตร จำนวน กำไร สหกรณ์ (ล้านบาท) -0.01
2. สหกรณป์ ระมง สหกร (ล้านบาท) (แหง่ ) -8.20
3. สหกรณน์ คิ ม ณ์
4. สหกรณ์ออมทรพั ย์ 463.21
5. สหกรณร์ า้ นค้า (แห่ง)
6. สหกรณ์บรกิ าร 13.66
7. สหกรณเ์ ครดติ 32 1,944.23 2,196.15 13 7.32 19 259.23 -0.29
10 0.009 216.45
5 405.45 413.65 - 01 0.009
5 790.53 327.32
-- - 2 1.33 3 9.53
9 225.62 211.96
1 0.472 0.765 5 463.21 0
- -- -
7 16.24 2 2.58
- 01 0.293
รวมท้ังสิ้น 53 3,366.30 3,149.85 27 488.10 26 271.65
ที่มา : (กลุม่ สง่ เสรมิ และพัฒนาการบรหิ ารการจดั การสหกรณ์)
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 10
ผลการจดั ระดับช้ันสหกรณจ์ ำแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564
ประเภทสหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ สหกรณ์ รวม
ช้นั 1 ชน้ั 2 ชั้น 3 ชั้น 4
54
สหกรณ์ภาคการเกษตร 5
4
1. สหกรณก์ ารเกษตร 2 35 7 10
2. สหกรณ์นิคม - 41- 6
2
3. สหกรณ์ประมง - 1-3 12
1
สหกรณน์ อกภาคการเกษตร 84
4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ 33- -
5. สหกรณ์เครดติ ยูเน่ียน - 1 - 1
6. สหกรณ์บรกิ าร 37-2
7. สหกรณร์ ้านค้า - - -1
8 51 8 17
รวม
ทมี่ า :รายงานสรปุ ผลการจดั ระดบั ชน้ั สหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน
ผลการจดั ระดบั ช้นั สหกรณ์ เปรียบเทยี บ 3 ปี (ปี พ.ศ. 2562– 2564)
ระดับชนั้ ระดบั ชน้ั ระดบั ช้ัน
ระดบั ชน้ั ณ วันท่ี 31 กนั ยายน ณ วันท่ี 30 กนั ยายน ณ วนั ที่ 30 กันยายน
2562 (แหง่ /ร้อยละ) 2563 (แห่ง/ร้อยละ) 2564 (แหง่ /รอ้ ยละ)
ชัน้ 1 11 6 8
ชน้ั 2 51 51 51
ชั้น 3 5 8 8
ชัน้ 4 13 15 17
รวม 80 80 84
ทมี่ า :รายงานสรุปผลการจัดระดับช้ันสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กองแผนงาน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 11
ผลสำเรจ็ ของการดำเนินงานของสหกรณ์ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1. ผลการจัดมาตรฐานสหกรณ์
สหกรณ์ที่นำมาจัดมาตรฐานในปี 2564 สหกรณ์ท่ีไมน่ ำมาจดั มาตรฐานในปี 2564
จำนวน 57 แหง่ มผี ลการประเมิน ดงั น้ี จำนวน 28 แหง่ เน่ืองจาก
ระดับดเี ลิศ จำนวน 14 แห่ง จัดตัง้ ไม่ครบ 2 ปี จำนวน 6 แหง่
ระดบั ดมี าก จำนวน 10 แห่ง หยดุ ดำเนินงาน จำนวน 5 แห่ง
ระดบั ดี จำนวน 15 แห่ง ชำระบญั ชี จำนวน 17 แห่ง
ไมผ่ ่านมาตรฐาน จำนวน 18 แห่ง
ยังไม่ออกผลประเมิน จำนวน - แหง่
2. ผลการพฒั นาความเขม้ แข็งของสหกรณ์
ดา้ นการควบคมุ ภายใน (ข้อมลู จากรายงานของผู้สอบบญั ชี ปีบญั ชีล่าสุด ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564)
- สหกรณท์ ม่ี ีการควบคุมภายในอยใู่ นระดบั “ดีมาก” จำนวน 5 แหง่
- สหกรณท์ ม่ี กี ารควบคมุ ภายในอยใู่ นระดับ “ดี” จำนวน 26 แห่ง
- สหกรณท์ ีม่ ีการควบคุมภายในอยใู่ นระดบั “พอใช”้ จำนวน 6 แห่ง
- สหกรณท์ ม่ี กี ารควบคมุ ภายในอยใู่ นระดับ “ต้องปรบั ปรงุ ” จำนวน - แห่ง
- สหกรณ์ที่ไม่มกี ารควบคุมภายใน จำนวน 18 แห่ง
ดา้ นการมสี ว่ นรว่ มของสมาชกิ (ข้อมลู ปบี ัญชีลา่ สุดของสหกรณ์ ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564)
- สหกรณท์ ีม่ ีสมาชิกมาใช้บริการรอ้ ยละ 70 ข้ึนไป จำนวน 26 แหง่
- สหกรณท์ ม่ี ีสมาชิกมาใช้บริการร้อยละ 60 - 69 จำนวน 13 แหง่
- สหกรณท์ ี่มีสมาชิกมาใชบ้ ริการตำ่ กว่าร้อยละ 60 จำนวน 28 แห่ง
ดา้ นประสทิ ธิภาพการบรหิ ารงาน (ข้อมูลจากระบบข้อบกพร่อง ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564)
- สหกรณท์ ไ่ี ม่มีข้อบกพรอ่ ง จำนวน แห่ง
หรอื ดำเนินการแกไ้ ขแลว้ เสร็จสมบูรณ์
- สหกรณ์ที่แก้ไขขอ้ บกพร่องแล้วเสรจ็ ตอ้ งตดิ ตาม จำนวน 10 แหง่
หรอื อยรู่ ะหว่างดำเนินการแกไ้ ข
3. ผลการปดิ บัญชขี องสหกรณ์ รวม 64 แห่ง
ปิดบญั ชีได้และส่งงบการเงินให้ผสู้ อบบญั ชภี ายใน 30 วัน จำนวน 11 แห่ง
ปิดบัญชไี ดแ้ ละสง่ งบการเงินให้ผู้สอบบัญชีภายใน 31 - 180 วนั จำนวน 40 แห่ง
ปดิ บญั ชไี ดแ้ ละส่งงบการเงินให้ผ้สู อบบัญชีเกนิ 180 วัน จำนวน 6 แห่ง
ปิดบญั ชีไม่ได/้ ไมส่ ามารถจดั ทำงบการเงนิ ได้ จำนวน 7 แห่ง
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 12
4. ผลการประชมุ ใหญ่ประจำปขี องสหกรณ์ รวม 67 แห่ง จำนวน 4 แห่ง
ประชุมใหญ่สามัญครั้งแรก ภายใน 90 วนั จำนวน 27 แห่ง
ประชมุ ใหญส่ ามัญ ภายใน 150 วัน จำนวน 28 แห่ง
ประชมุ ใหญส่ ามัญ เกนิ 150 วัน จำนวน 8 แห่ง
ไมส่ ามารถจัดประชมุ ใหญส่ ามัญไดเ้ กินกวา่ 6 เดือน
1 .สหกรณ์แพะและปศุสตั ว์กระบ่ี จำกดั
2. สหกรณ์บรกิ ารท่องเทย่ี วเกาะลันตา จำกัด
3. สหกรณอ์ อมทรัพยพ์ นักงานกระบี่รสี อร์ท จำกัด
4. สหกรณก์ ารเกษตรปลายพระยา จำกัด
5. สหกรณก์ องทุนสวนยางตำบลหน้าเขา จำกัด
6. สหกรณ์กองทนุ สวนยางบ้านคลองยาง จำกัด
7. สหกรณก์ ารเกษตรปฏิรูปที่ดนิ บา้ นหินลกู ชา้ ง จำกดั
8. สหกรณ์กองทนุ สวนยางห้วยโต้ จำกดั
ข้อมลู สถิติของกลมุ่ เกษตรกร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
จำนวนกล่มุ เกษตรกรและจำนวนสมาชกิ กลุ่มเกษตรกร
จำนวน จำนวนสมาชกิ จำนวนสมาชกิ ทีม่ ี
ส่วนรว่ มในการ
ประเภทกลุม่ เกษตรกร กลมุ่ รวมสมาชกิ สมาชกิ สมาชกิ ดำเนนิ ธุรกจิ รอ้ ยละ
เกษตรกร ทง้ั หมด สามญั สมทบ
(แห่ง) (คน) (คน) (คน) (คน) 29.37
25.29
1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา 3 143 143 - 42 35.48
- 129
2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน 6 510 510 - 33 -
- - -
3. กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสตั ว์ 2 93 93 - -
4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ - - - -
5. กลุ่มเกษตรกรทำ -- - -
ประมง
6. กลมุ่ เกษตรกรอ่ืน ๆ - - - --
(ระบุ)
รวม 11 746 746 204 27.35
ท่มี า : (กลมุ่ จัดตงั้ และสง่ เสริมสหกรณ์)
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 13
สถานะกลมุ่ เกษตรกร
จำนวนกลุ่มเกษตรกร (แหง่ ) จำนวนกลุ่ม
เกษตรกรทงั้ หมด
ประเภทกลมุ่ เกษตรกร ดำเนนิ งาน/ หยดุ เลิก จดั ตั้งใหม่
ธุรกิจ ดำเนนิ งาน/ /ชำระบญั ชี (4) (1) + (2) +
(3) + (4)
(1) ธุรกจิ (3)
(2)
1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา 3 - 1 - 4
9
2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวน 4 1 3 1 3
-
3. กล่มุ เกษตรกรเลี้ยงสัตว์ 2 - 1 - -
-
4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ -- --
5. กลมุ่ เกษตรกรทำประมง - - - -
6. กลมุ่ เกษตรกรอ่นื ๆ (ระบุ) - - - -
รวม 9 1 5 1 16
ทมี่ า : (กลุ่มจัดต้งั และสง่ เสริมสหกรณ์)
ปรมิ าณธรุ กิจของกลุ่มเกษตรกรในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ปรมิ าณธรุ กจิ แยกตามประเภทการใหบ้ รกิ าร (ลา้ นบาท)
ประเภทสหกรณ์ ปรมิ าณธรุ กจิ จัดหา
ของสหกรณ์ สนิ ค้ามา
รับฝาก ให้เงนิ กู้ จำหนา่ ย รวบรวม แปรรปู บรกิ าร รวม
(แหง่ ) เงนิ ผลผลติ ผลผลติ และอน่ื ๆ ท้งั สิ้น
1. กลุ่มเกษตรกรทำนา 2 0.00 0.12 0.00 0.00 0.00 0.02 0.14
2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน 7 0.00 0.00 1.99 0.00 4.91 0.00 6.90
3. กลุม่ เกษตรกรเล้ียงสัตว์ 2 0.00 0.00 0.03 0.00 0.00 0.00 0.03
4. กลุ่มเกษตรกรทำไร่ 0
5. กล่มุ เกษตรกรทำ 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ประมง
6. กลมุ่ เกษตรกรอนื่ ๆ 0 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
รวมทง้ั ส้ิน 11 0 0.12 2.02 0 4.91 0.02 7.07
ที่มา :(กลมุ่ สง่ เสรมิ และพฒั นาธุรกจิ สหกรณ)์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 14
ผลการดำเนนิ งานของกล่มุ เกษตรกร
ผลการดำเนนิ งานปีลา่ สุดที่มกี ารปิดบญั ชใี นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กำไร
(ขาดทนุ )
ผลการดำเนนิ งานในภาพรวม การดำเนนิ งานมผี ลกำไร - ขาดทนุ
สทุ ธิ
(1) (2) (3) กลุม่ เกษตรกร กล่มุ เกษตรกร ในภาพรวม
(ลา้ นบาท)
ประเภท จำนวน รายได้ ค่าใช้จ่าย ทม่ี ีผลกำไร ท่ีขาดทุน (5) – (7)
กลุ่มเกษตรกร
กลุม่ (ล้าน (ลา้ นบาท) (4) (5) (6) (7) 0.01
1. กลุม่ เกษตรกรทำนา 0.89
2. กลุม่ เกษตรกรทำสวน เกษตรกร บาท) จำนวน กำไร จำนวน ขาดทุน -0.05
3. กลมุ่ เกษตรกรเล้ียงสตั ว์
4. กล่มุ เกษตรกรทำไร่ (แห่ง) กลมุ่ (ล้านบาท) กลมุ่ (ล้านบาท) -
5. กลุ่มเกษตรกรทำ -
ประมง เกษตรกร เกษตรกร
6. กลุ่มเกษตรกรอนื่ ๆ -
(แห่ง) (แห่ง) 0.85
รวมท้ังส้นิ
3 0.101 0.082 2 0.023 1 0.009
4 7.45 6.56
2 0.030 0.080 4 0.89 - 0
--
-- - 1 0.0034 1 0.053
-
- --
- --
-- - - --
9 7.58 6.72 7 0.91 2 0.062
ท่ีมา : (กล่มุ ส่งเสรมิ และพฒั นาการบริหารการจดั การสหกรณ์)
ผลการจดั ระดบั ช้ันกลุม่ เกษตรกรจำแนกตามประเภท ข้อมูล ณ วนั ท่ี 30 กันยายน 2564
ประเภทสหกรณ์ กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ กลมุ่ รวม
เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร เกษตรกร
ชน้ั 1 ช้นั 2 ชน้ั 3 ช้ัน 4 3
10
1. กลมุ่ เกษตรกรทำนา - 2-1 3
-
2. กลุ่มเกษตรกรทำสวน - 5 2 3 -
-
3. กลมุ่ เกษตรกรเลี้ยงสัตว์ - - 21 16
4. กลุม่ เกษตรกรทำไร่ - ---
5. กลุ่มเกษตรกรทำประมง - - - -
6. กลมุ่ เกษตรกรอนื่ ๆ (ระบุ) - - - -
รวม - 7 4 5
ทม่ี า :รายงานสรุปผลการจัดระดบั ชั้นกลุ่มเกษตรกร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
กองพฒั นาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลมุ่ เกษตรกร
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 15
กลมุ่ เกษตรกร:
1. ผลการจดั มาตรฐานกลมุ่ เกษตรกร
กล่มุ เกษตรกรท่นี ำมาจัดมาตรฐานในปี 2564 กลุม่ เกษตรกรทไี่ ม่นำมาจัดมาตรฐานในปี 2564
จำนวน 8 แห่ง มีผลการประเมนิ ดังน้ี จำนวน 8 แห่ง เนื่องจาก
ผา่ นมาตรฐาน จำนวน 5 แห่ง จดั ต้ังไม่ครบ 2 ปี จำนวน 2 แห่ง
ไม่ผ่านมาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง หยดุ ดำเนนิ งาน จำนวน 1 แหง่
ยังไม่ออกผลประเมิน จำนวน - แห่ง ชำระบญั ชี จำนวน 5 แห่ง
2. ผลการปิดบัญชขี องกล่มุ เกษตรกร รวม 10 แห่ง จำนวน 1 แหง่
ปดิ บญั ชไี ดแ้ ละส่งงบการเงินให้ผสู้ อบบัญชีภายใน 30 วนั จำนวน 8 แหง่
ปิดบญั ชีได้และสง่ งบการเงินใหผ้ ้สู อบบญั ชภี ายใน 31 - 180 วัน จำนวน - แหง่
ปดิ บัญชีไดแ้ ละส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชีเกิน 180 วัน จำนวน 1 แหง่
ปดิ บัญชีไม่ได/้ ไม่สามารถจดั ทำงบการเงนิ ได้
3. ผลการประชมุ ใหญป่ ระจำปขี องกลุ่มเกษตรกร รวม 11 แหง่ จำนวน 1 แหง่
ประชมุ ใหญ่สามัญครัง้ แรก ภายใน 90 วัน จำนวน 1 แห่ง
ประชมุ ใหญส่ ามัญ ภายใน 150 วัน จำนวน 6 แห่ง
ประชมุ ใหญ่สามญั เกนิ 150 วัน จำนวน 3 แหง่
ไม่สามารถจดั ประชุมใหญส่ ามัญไดเ้ กินกว่า 6 เดือน
1. กล่มุ เกษตรกรทำสวนเขาดนิ
2. กลุ่มเกษตรกรทำสวนแหลมสัก
3. กลุ่มเกษตรกรเลยี้ งสตั วแ์ ละพืชผลตำบลหนองทะเล
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 16
สินค้าหรือผลิตภณั ฑ์เด่นของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร และชอ่ งทางการตลาดต่าง ๆ ทสี่ ำคัญ
ชอ่ งทางการจำหนา่ ย มลู ค่าการจำหนา่ ยในปี
ช่ือสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร สินค้าหรือผลติ ภัณฑ์ ในประเทศ (ระบุ ตา่ งประเทศ 2564 (ข้อมลู ณ30
ตลาด (ระบปุ ระเทศ) ก.ย. 2564)
ท่ีจำหน่าย) (บาท)
1.กล่มุ สตรเี คร่อื งประดับ เครือ่ งประดบั มกุ ขายท่กี ลมุ่ - 2,950,000
สังกดั สหกรณ์กองทนุ สวนยางเขา งานแสดงสนิ ค้า
ขาว จำกดั ต่างๆ
2.กลมุ่ บากนั บาตกิ ผา้ บาติก/ผา้ มดั ยอ้ ม ขายที่กลุ่ม - 850,000
สงั กัดสหกรณ์การเกษตรอา่ วลกึ งานแสดงสนิ ค้า
จำกัด ต่างๆ
3.กลุ่มอา่ วลึกบาติก ผ้าบาติก/ชดุ บา่ บา๋ ขายทกี่ ลมุ่ - 1,255,000
สหกรณเ์ ชิงนเิ วศน์อา่ วลกึ จำกดั งานแสดงสินคา้
ตา่ งๆ
4.กลมุ่ แม่บ้านเกษตรกรบ้านทงุ่ หยี กะปกิ ุ้งแท้เกาะลันตา ขายที่กลมุ่ /ฝาก มาเลเซยี 825,000
เพง็ ร่วมใจ ขายตามสถานที่
ตา่ งๆ
งานแสดงสนิ ค้า
ต่างๆ
5.กล่มุ หตั ถกรรมเตยปาหนันบ้านวัง เตยปาหนนั ขายท่กี ลมุ่ - 190,000
หิน งานแสดงสนิ ค้า
สงั กัดสหกรณ์การเกษตรคลองท่อม ต่างๆ
จำกดั
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 17
ส่วนที่ 2
ผลสัมฤทธิข์ องการปฏบิ ตั งิ าน
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 18
แผนงานพื้นฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั
◼ งานส่งเสริมและพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ คี วามเข้มแขง็ ตามศกั ยภาพ
กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ 1
อำเภอ เมือง
ประกอบด้วย สหกรณ์ 22 แห่ง สมาชกิ 31,613 คน กลุ่มเกษตรกร 3 แห่ง สมาชกิ 222 คน
สหกรณ์ จำนวน 21 แห่ง สมาชิก 6,949 คน
1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกระบ่ี จำกัด คน
คน
2. สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขกระบ่ี จำกดั สมาชกิ 3,042 คน
คน
3. สหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกระบี่ จำกัด สมาชกิ 1,420 คน
คน
4. สหกรณอ์ อมทรัพย์ท้องถนิ่ จังหวดั กระบ่ี จำกัด สมาชกิ 620 คน
คน
5. สหกรณอ์ อมทรัพย์พนักงานกระบ่รี สี อร์ท จำกัด สมาชิก 106 คน
คน
6. สหกรณเ์ รือหางยาวบรกิ ารตำบลอา่ วนาง จำกัด สมาชิก 149 คน
คน
7. สหกรณ์เรือหางยาวบรกิ ารเกาะพีพี จำกดั สมาชิก 371 คน
คน
8. สหกรณ์รถยนต์โดยสารกระบี่ จำกดั สมาชิก 200 คน
คน
9. สหกรณอ์ ิสลามบารอกะฮ จำกดั สมาชิก 770 คน
คน
10.สหกรณ์นรุ ูลอสิ ลาม จำกัด สมาชกิ 321 คน
คน
11. สหกรณ์ทับปริกการเกษตรสหกจิ จำกัด สมาชกิ 192 คน
12. สหกรณก์ ารเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธกส.กระบี่ จำกัด สมาชิก 16,357 คน
คน
13. สหกรณแ์ พะและปศุสัตว์กระบี่ จำกัด สมาชกิ 140 คน
14. สหกรณก์ องทุนสวนยางห้วยโต้ จำกัด สมาชิก 169
15. สหกรณป์ ระมงรกั ษภ์ มู ิปัญญาโปะ๊ น้ำตนื้ จำกัด สมาชิก 29
16. สหกรณก์ ารเกษตรเมอื งกระบ่ี จำกัด สมาชิก 272
17. สหกรณก์ องทุนสวนยางเขาขาว จำกดั สมาชิก 82
18. สหกรณป์ ศสุ ัตวอ์ ันดามนั เมืองกระบ่ี จำกดั สมาชกิ 102
19.สหกรณก์ องทนุ สวนยางเขาค้อม จำกัด สมาชกิ 108
20.สหกรณ์กองทุนสวนยางเขาทอง จำกดั สมาชกิ 69
21. สหกรณ์การเกษตรบ้านในสระ จำกัด สมาชิก 64
22. สหกรณก์ ารเกษตรกระบ่ีนอ้ ยพัฒนา จำกัด สมาขกิ 81
กลมุ่ เกษตรกร จำนวน 3 แห่ง
1. กลมุ่ เกษตรกรเลยี้ งสตั ว์และพืชผลตำบลหนองทะเล สมาชิก 54
2. กลุ่มเกษตรกรทำสวนเขาคราม สมาชกิ 95
3. กลุ่มเกษตรกรทำนากระบี่น้อย สมาชิก 73
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 19
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ ส่งเสริม และแกไ้ ขปัญหาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
การแนะนำ ส่งเสริม ดา้ นการพฒั นาการบรหิ ารจัดการสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพืน้ ท่ีอำเภอเมือง แยกเป็นสหกรณ์ออมทรพั ย์ 5 แห่ง, สหกรณ์
บริการ 5 แห่ง, สหกรณ์การเกษตร 12 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 3 แห่ง กลมุ่ ส่งเสริมสหกรณ์ 1 ได้เข้าแนะนำ
สง่ เสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทกุ แหง่ ดำเนินกิจการภายใต้กฎหมาย ขอ้ บังคับ และระเบยี บของสหกรณ์
กำหนดอย่างเคร่งครัด เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ และเข้าร่วมประชุมใหญ่
สามัญประจำปีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร มีการให้ความรู้ ทำความเข้าใจกับบุคลากรของสหกรณ์เก่ียวกับ
การบริหารจัดการงานสหกรณ์ เผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ให้กับสมาชิกเข้าใหม่ มีการสอน
แนะ และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำรายงานต่างๆ ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์สามารถ
ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องได้ และสำหรับสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง ได้มีการติดตาม แนะนำ ส่งเสริมให้มีการ
แก้ไขข้อบกพร่องเป็นไปตามเป้าหมายของการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ท้ังสิ้น ตลอดจนการให้คำแนะนำในการ
จัดทำแผนกลยุทธ์ของสหกรณ์ กลุ่มส่งเสรมิ สหกรณ์ 1 สามารถรักษามาตรฐานสหกรณ์ตามเกณฑ์กรมส่งเสริม
สหกรณ์ได้ จำนวน 11 สหกรณ์ ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 8 สหกรณ์ สว่ นท่ีเหลืออีก 3 สหกรณ์ เปน็ สหกรณ์ต้ัง
ใหม่ไมเ่ กิน 2 ปี และเปน็ สหกรณ์ทีม่ ีการหยุดการดำเนินธรุ กิจ จงึ ไมส่ ามารถนำมาจัดมาตรฐานของกรมสง่ เสริม
สหกรณ์ได้ อย่างไรก็ดี ได้มีการแนะนำ ส่งเสริม เตรียมความพร้อมในการพัฒนาการบริหารกิจการสหกรณ์ให้
เป็นไปด้วยความเรยี บร้อยตอ่ ไป
การแนะนำ ส่งเสรมิ ด้านการดำเนนิ ธุรกิจ
สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ในพ้ืนท่ีอำเภอเมือง มีสหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ จำนวน 5
สหกรณ์และสหกรณ์ประเภทบริการ จำนวน 5 สหกรณ์ การดำเนินธุรกิจประกอบด้วย ธุรกิจสินเช่ือ ธุรกิจรับ
ฝากเงิน ธุรกิจบริการ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย จากผลการดำเนินงานของสหกรณ์ท้ัง 10 แห่ง สหกรณ์มี
กำไรสุทธิสามารถจดั สรรกำไรสุทธิเป็นไปตามขอ้ บังคับกำหนดได้ท้ังสิน้ แตเ่ น่ืองจากในปีทผ่ี า่ นมา สหกรณไ์ ด้รับ
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพของสมาชิก
ในบางสหกรณ์ อาจทำให้ยอดการชำระเงินคืนเงินกู้และค่าบริการของสมาชิกลดลงจากปกี ่อนเล็กน้อย อย่างไร
ก็ดี สหกรณ์ได้มีมาตรการให้ความช่วยเหลือสมาชิกด้านหน้ีสินและการปรับปรุงโครงสร้างหน้ีของสมาชิก อาทิ
เช่น การพักชำระต้นเงิน, การปรบั ลดอัตราดอกเบ้ีย, การปรับลดค่าบริการ ,การงดส่งทุนเรือนหุ้นตามข้อบังคับ
กำหนด และการมอบเงินช่วยเหลือสมาชิกเพ่อื เปน็ คา่ ใชจ้ ่ายในครวั เรอื น เป็นตน้
สหกรณ์ภาคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกร ในพน้ื ทอ่ี ำเภอเมือง มีสหกรณป์ ระเภทการเกษตร
จำนวน 12 สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 3 กลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย
ให้กับสมาชิกเป็นหลัก และธุรกิจอ่ืน ได้แก่ ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจแปรรูป ธุรกิจสินเชื่อ และธุรกิจเงินรับ
ฝาก กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 ไดเ้ ขา้ แนะนำ สง่ เสรมิ ชว่ ยเหลอื สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรภาคการเกษตร ในการ
จัดทำแผนพัฒนาธุรกิจ สำหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีการดำเนินธุรกิจไม่ต่อเนื่อง ได้ให้สหกรณ์
การเกษตรเพ่ือการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส กระบ่ี จำกัด เป็นจุดเชื่อมโยงเครือข่ายให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
นำสินค้าไปจำหน่ายให้กับสมาชิก ทำให้สมาชิกได้รับบรกิ ารจากสหกรณ์ เรียกความเชื่อม่ันในระบบสหกรณ์ได้
มากขน้ึ สำหรับสหกรณ์ท่ีมีการจัดต้ังใหมไ่ ม่เกิน 2 ปี ไดผ้ ลักดันให้สหกรณ์ดำเนินกิจการภายใต้แผนการดำเนิน
ธุรกิจ 3 ปี สหกรณ์การเกษตรที่มีผลการดำเนินงานขาดทุนสะสมหลายปี ได้แนะนำ ส่งเสริมให้มีการติดตาม
แผนงาน-งบประมาณ เปรยี บเทยี บกับแผนงานประจำปเี ปน็ ประจำทกุ เดือน
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 20
จนทำให้ผลการดำเนินกิจการของสหกรณ์ประจำปีน้ี มีกำไรสุทธิ สามารถนำกำไรที่ได้ไปหักชดเชยการขาดทุน
สะสมบางสว่ น ส่วนทเี่ หลอื นำไปจดั สรรเป็นปันผล เฉล่ียคนื ใหก้ ับสมาชิกได้
⚫ ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
1. สหกรณ์ขนาดเล็กและกลุ่มเกษตรกร พบปัญหาด้านการการควบคุมภายใน การบริหาร
จดั การธรุ กิจและไม่มีฝ่ายจัดการ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินการขาดความรู้ความสามารถในการบริหาร
จดั การและการบรหิ ารธรุ กจิ
2. การจัดทำเอกสารประกอบการ ลงบัญชี การบันทึกรายการบญั ชีขน้ั ตน้ และขั้นปลาย บัญชี
ย่อยและทะเบียนต่างๆ ขาดบุคลากรในการบันทึกบันชสี ่งผลซ่ึงผ้ทู ำบัญชียังบันทึกรายการบัญชีไม่เรียบร้อยไม่
เป็นปัจจบุ ัน
3. คณะกรรมการยังขาดความชำนาญในด้านการบริหารธุรกิจ และขาดการทบทวนความรู้
ความเข้าใจข้อบังคับ ระเบียบ อย่างละเอียดรอบคอบในการดำเนินงาน ส่วนในเรื่องบทบาท ภารกิจ หน้าที่
คณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณ์ มกี ารแบง่ แยกหน้าทขี่ องคณะกรรมการเปน็ ไปตามข้อบังคบั แตใ่ นทางปฏบิ ตั ิ
ส่วนใหญส่ หกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรดำเนินงานโดยกรรมการคนใดคนหนงึ่ เป็นผปู้ ฏบิ ัติเพียงผ้เู ดยี ว
4. สมาชิกในปัจจุบันขาดอุดมการณ์ ศรัทธา และความรู้ที่มีต่อระบบสหกรณ์ ส่งผลในด้าน
การมีส่วนรว่ มในการดำเนนิ ธรุ กจิ
5. จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับ
ผลกระทบ สมาชิกได้รับความร้อนจากการประกอบอาชีพ ส่งผลให้ธุรกิจสินเชื่อ และการจำหน่ายสินค้ามี
ปรมิ าณธรุ กิจทีล่ ดลงจากปีก่อน
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
1. คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ต้องได้รับการเสริมสร้างองค์ความรู้ให้สามารถบริหารงาน
สหกรณ์และการบรหิ ารธรุ กิจสหกรณ์ได้ทันต่อสถานการณ์ในปจั จบุ นั ที่เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็
2. ปรับปรงุ แกไ้ ขปญั หาด้าน กฎ ระเบียบ ที่ขาดความยดื หยนุ่ ในการดำเนินงานของสหกรณ์
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 21
⚫ สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณอ์ ิสลามบารอกะฮฺ จำกดั
ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
สหกรณ์อิสลามบารอกะฮฺ จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันท่ี 15 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556
ตลอดระยะเวลาของการดำเนินกิจการเป็นเวลา 8 ปี โดยสหกรณ์ได้ดำเนินธุรกิจรับฝากเงินและธุรกิจสินเชื่อ
ผลการดำเนนิ งาน 3 ปยี ้อนหลัง ต้ังแต่ปีบัญชสี ้ินสุด 31 ธันวาคม 2551 -2563 สหกรณม์ ีผลการดำเนินงาน
กำไรต่อเน่ือง แต่ด้วยการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อเศษฐกิจ
โดยรวม และยังสง่ ผลให้รายได้ของสมาชกิ สหกรณ์อสิ ลามบารอกะฮฺ จำกดั ลดลงด้วยเช่นกันสำหรับปีบัญชี 31
ธันวาคม 2563 เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกับคณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจัดการสหกรณ์ จึงได้
ดำเนินการตา่ ง ๆ เพอ่ื หาแนวทางในการช่วยเหลือสมาชกิ ของสหกรณ์ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์มีการจัดต้ังกลุ่มอาชีพข้ึนในสหกรณ์ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งใน
ด้านการประกอบอาชีพให้แก่สมาชิก บรรเทาปัญหาการว่างงาน ลดปัญหาการเคลื่อนย้ายแรงงานภาคการ
เกษตรกรรมไปสภู่ าคอ่ืน ๆ และสร้างความเขม้ แข็งให้ชุมชนในทอ้ งถนิ่
2. สหกรณ์มีการแกไ้ ขเพ่ิมเติมระเบียบและข้อบังคับของสหกรณ์ทั้งฉบับ เพือ่ ให้สอดคล้องกับ
กฎหมาย ประกาศ คำสง่ั ของนายทะเบยี นสหกรณ์ และการดำเนินธรุ กจิ ของสหกรณ์ในปัจจบุ นั
3. สหกรณ์มีการนำแผนปฏิบัติประจำปีมาจัดทำเป็นแผนปฏิบัติการรายไตรมาส และมีการ
ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานเปน็ ประจำทุกเดอื น
4. สหกรณ์มกี ารมอบถงุ ยังชพี ใหแ้ กส่ มาชกิ รวมถงึ ประชาชนในบริเวณใกล้เคียง เพ่ือชว่ ยเหลือ
ช่วยเหลือและบรรเทาความเดอื ดรอ้ นใรชว่ งทม่ี ีการระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
5. ลงพื้นที่ทำความเข้าเยี่ยมเยียนสมาชิก สอบถามความเป็นอยู่เพื่อสหกรณ์ได้มีการจัดทำ
โครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ใหส้ อดคล้องกับความต้องการของสมาชิก
6. เป็นท่ีปรึกษา แนะนำส่งเสริมสหกรณ์ในการจัดทำโครงการประกวดผลงานการขับเคลื่อน
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร ประจำปี พ.ศ.2564
จากการดำเนนิ การดังกล่าว ทำให้สหกรณ์อสิ ลามบารอกะฮฺ จำกัด ไดร้ ับคัดเลือกสหกรณ์และ
กลุ่ มเกษ ตรกรโครงการป ระกวด ผ ลงาน การขับ เคล่ื อน ป รัชญ าขอ งเศรษฐกิจพอเพี ยงใน ส ห กรณ์ แ ละกลุ่ ม
เกษตรกร ปี พ.ศ. 2564 ระดับจังหวัด โดยคัดเลือกจากสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีนำแนวคิดตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานได้อย่างโดดเด่น สามารถเป็นแบบอย่างให้สหกรณ์
และกลมุ่ เกษตรกรนำไปประยุกตใ์ ชก้ ับองค์กรได้
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 22
ภาพกิจกรรม การประชุมใหญ่สามัญประจำปีของสหกรณ์ การประชุมคณะกรรมการดำเนินการ
ประจำเดือนและการประชมุ กลมุ่ สมาชกิ
ปจั จยั แห่งความสำเรจ็ (เพ่ือเปน็ กรณศี ึกษาตวั อยา่ งทด่ี หี รือแนวทางในการสง่ เสริม)
1. คณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจัดการของสหกรณ์จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท
หน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง ไม่มีความขัดแย้งภายในสหกรณ์ และมีวิสัยทัศน์ต่อองค์กรเป็นไปในทิศทาง
เดยี วกัน ทำให้สหกรณ์สามารถเปน็ ท่ีพ่งึ ให้กบั มวลสมาชกิ ได้
2. สมาชิกของสหกรณ์ ในฐานะเจ้าของสหกรณ์ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในบทบาท สิทธิ และ
หนา้ ท่ขี องตน เพ่อื ชว่ ยกนั ดแู ล ปกปอ้ งองคก์ รให้มคี วามเข้มแขง็
3. เจา้ หน้าที่จากหน่วยงานราชการทม่ี หี นา้ ท่ี แนะนำ ส่งเสริม กำกับ และตรวจสอบการดำเนินกจิ การ
ของสหกรณ์ จะตอ้ งมคี วามรู้ ความเข้าใจในงานท่ีทำอยา่ งถอ่ งแท้ เปน็ ทปี่ รกึ ษาทด่ี ใี ห้กับสหกรณ์
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 23
อำเภอ เหนือคลอง
ประกอบด้วย สหกรณ์ 8แห่ง สมาชกิ 7,277คน สถาบัน 21 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 2แห่งสมาชิก 75 คน
สหกรณ์
1. ชุมนุมสหกรณ์การยางกระบี่ จำกัด สมาชิก 21 สหกรณ์
2. สหกรณ์การเกษตรบา้ นเกาะปู จำกดั สมาชิก 79 คน
3. สหกรณบ์ ริการรถยนตบ์ ริการธุรกจิ กระบ่ี จำกัด สมาชิก 62 คน
4. สหกรณอ์ สิ ลามตนั มยี ะฮ์ จำกัด สมาชิก 6,736 คน
5. สหกรณ์กองทนุ สวนยางบา้ นควนม่วง จำกัด สมาชกิ 41 คน
6. สหกรณก์ ารเกษตรบ้านท่ายาง จำกัด สมาชกิ 35 คน
7. สหกรณก์ ารเกษตรเหนือคลอง จำกดั สมาชกิ 77 คน
8 สหกรณก์ ารเกษตรเจริญพฒั นาหว้ ยยงู จำกัด สมาชกิ 247 คน
กล่มุ เกษตรกร
1. กลุ่มเกษตรกรทำนาคลองเขม้า สมาชกิ 36 คน
2. กลมุ่ เกษตรกรเลีย้ งสตั ว์ตำบลเหนอื คลอง สมาชกิ 39 คน
⚫ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสริม และแก้ไขปญั หาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
การแนะนำ สง่ เสริม ด้านการพฒั นาการบรหิ ารจดั การสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่อำเภอเหนือคลอง แยกเป็นสหกรณ์บริการ 2 แห่ง,
สหกรณ์การเกษตร 5 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 2 แห่ง กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 ได้เข้าแนะนำ ส่งเสริมให้
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทุกแห่ง ดำเนินกิจการภายใต้กฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์กำหนด
อย่างเคร่งครัด เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการ และเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำปีของสหกรณ์
และกลุ่มเกษตรกร ให้ความรแู้ ละทำความเข้าใจกับบุคลากรของสหกรณ์เกี่ยวกบั การบริหารจัดการงานสหกรณ์
เผยแพรอ่ ดุ มการณ์ หลกั การ วธิ ีการสหกรณใ์ ห้กับสมาชิกเขา้ ใหม่ มีการสอนแนะ และใหค้ ำปรึกษาเกี่ยวกับการ
จัดทำรายงานต่างๆ ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์สามารถป้องกันการเกิดข้อบกพร่องได้ และ
สำหรับสหกรณ์ที่มีข้อบกพร่อง ไดม้ ีการติดตาม แนะนำ ส่งเสรมิ ให้มกี ารแก้ไขข้อบกพร่องเป็นไปตามเป้าหมาย
ของการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ท้ังส้ิน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 สามารถรักษามาตรฐานสหกรณ์ตามเกณฑ์กรม
ส่งเสริมสหกรณ์ได้ จำนวน 2 สหกรณ์ ไม่ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน 4 สหกรณ์ และเปน็ สหกรณ์ท่ตี ้ังใหม่ไมเ่ กิน 2 ปี
จำนวน 2 แห่ง จึงไม่สามารถนำมาจัดมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ อย่างไรก็ดี ได้มีการแนะนำ ส่งเสริม
เตรียมความพร้อมในการพัฒนาการบริหารกิจการสหกรณ์ใหเ้ ป็นไปด้วยความเรียบร้อยตอ่ ไป
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 24
การแนะนำ สง่ เสรมิ ด้านการดำเนนิ ธุรกจิ
สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ในพ้ืนที่อำเภอเหนือคลอง มีสหกรณ์ประเภทบริการ จำนวน 2
สหกรณ์ การดำเนินธุรกิจประกอบด้วย ธุรกิจสินเชื่อ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจบริการ ธุรกิจจัดหาสินค้ามา
จำหน่าย จากผลการดำเนินงานของสหกรณ์ท้ัง 2 แห่ง สหกรณ์มีกำไรสุทธิสามารถจัดสรรกำไรสุทธเิ ป็นไปตาม
ข้อบังคับกำหนดได้ทั้งส้ิน แต่เน่ืองจากในปีที่ผ่านมา สหกรณ์ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรน่า 2019 ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพของสมาชิก ในบางสหกรณ์ อาจทำให้ยอดการชำระเงินคืน
เงินกู้ของสมาชิกลดลงจากปีก่อนเล็กน้อย อย่างไรก็ดี สหกรณ์ได้มีมาตรการให้ความช่วยเหลือสมาชิกด้าน
หน้สี ินและการปรับปรุงโครงสร้างหน้ขี องสมาชิก อาทิเช่น การพกั ชำระต้นเงนิ , การปรับลดอตั ราดอกเบย้ี , การ
ปรบั ลดค่าบรกิ าร และมอบเงนิ ช่วยเหลือสมาชิกเพอื่ เป็นคา่ ใช้จ่ายในครัวเรอื น เปน็ ตน้
สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรในพื้นท่ีอำเภอเหนือคลอง มีสหกรณ์ประเภท
การเกษตร จำนวน 6 สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 2 กลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามา
จำหน่ายใหก้ ับสมาชกิ เป็นหลกั และธุรกจิ อื่น ไดแ้ ก่ ธุรกิจรวบรวมผลผลติ ธุรกิจแปรรูป กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1
ได้เข้าแนะนำ ส่งเสริม ช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรภาคการเกษตร ในการจัดทำแผนฟื้นฟูกิจการ
สำหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรท่ีมีการดำเนินธุรกิจไม่ต่อเนื่อง ได้ให้สหกรณ์การเกษตรเพ่ือการตลาดลูกค้า
ธ.ก.ส กระบี่ จำกัด เป็นจุดเช่ือมโยงเครือข่ายให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร นำสินค้าไปจำหน่ายให้กับสมาชิก
ทำให้สมาชิกได้รับบริการจากสหกรณ์ เรียกความเชื่อม่ันในระบบสหกรณ์ได้มากขึ้น สำหรับสหกรณ์ที่มีการ
จัดตั้งใหม่ไม่เกิน 2 ปี ได้ผลักดันให้สหกรณ์ดำเนินกิจการภายใต้แผนการดำเนินธุรกิจ 3 ปี สหกรณ์การเกษตร
ที่มีผลการดำเนินงานขาดทุนสะสมหลายปี ได้แนะนำ ส่งเสริมให้มีการติดตามแผนงาน -งบประมาณ
เปรียบเทยี บกบั แผนงานประจำปีเป็นประจำทกุ เดอื น
⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร
1. ชมุ นุมสหกรณฯ์ ประสบปัญหาการทุจรติ และการขาดสภาพคลอ่ งอย่างรุนแรง ไม่มเี งินทุน
หมุนเวยี นในการดำเนินธุรกจิ ส่งผลใหข้ าดความเช่อื มน่ั จากสหกรณ์สมาชกิ
2. สหกรณ์ขนาดเล็กและกลุ่มเกษตรกร พบปัญหาด้านการการควบคุมภายใน การบริหาร
จดั การธุรกิจและไม่มีฝ่ายจัดการ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินการขาดความรู้ความสามารถในการบริหาร
จัดการและการบรหิ ารธรุ กจิ
3. การจัดทำเอกสารประกอบการ ลงบญั ชี การบันทึกรายการบัญชีขั้นตน้ และขน้ั ปลาย บัญชี
ยอ่ ยและทะเบียนต่างๆ ขาดบุคลากรในการบันทึกบันชสี ่งผลซ่ึงผูท้ ำบัญชียังบันทึกรายการบัญชีไม่เรียบร้อยไม่
เป็นปจั จุบัน
4.คณะกรรมการยังขาดความชำนาญในด้านการบริหารธุรกิจ และขาดการทบทวนความรู้
ความเข้าใจข้อบังคับ ระเบียบ อย่างละเอียดรอบคอบในการดำเนินงาน ส่วนในเรื่องบทบาท ภารกิจ หน้าที่
คณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณ์ มีการแบ่งแยกหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการเป็นไปตามข้อบงั คับแตใ่ นทางปฏบิ ัติ
สว่ นใหญส่ หกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรดำเนินงานโดยกรรมการคนใดคนหนึง่ เป็นผปู้ ฏิบตั ิเพียงผเู้ ดียว
5. สมาชิกในปัจจุบันขาดอุดมการณ์ ศรัทธา และความรู้ที่มีต่อระบบสหกรณ์ ส่งผลในด้าน
การมสี ่วนรว่ มในการดำเนนิ ธรุ กิจ
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 25
6. จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019ทำให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับ
ผลกระทบ สมาชิกได้รับความร้อนจากการประกอบอาชีพ ส่งผลให้ธุรกิจสินเชื่อ และการจำหน่ายสินค้ามี
ปรมิ าณธรุ กิจทีล่ ดลงจากปกี อ่ น
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
1. คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ต้องได้รับการเสริมสร้างองค์ความรู้ให้สามารถบริหารงาน
สหกรณแ์ ละการบรหิ ารธรุ กจิ สหกรณ์ได้ทันต่อสถานการณ์ในปัจจุบันทีเ่ ปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว
2. ปรับปรุง แกไ้ ขปัญหาดา้ นกฎ ระเบียบ ทขี่ าดความยืดหยนุ่ ในการดำเนนิ งานของสหกรณ์
3. คณะกรรมการดำเนินการและฝา่ ยจดั การ จะต้องตดิ ตามผลการแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งอยา่ งใกลช้ ดิ
⚫ สหกรณ์ /กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจ ของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร สหกรณ์การเกษตรเจริญพัฒนาห้วยยงู จำกดั
ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์การเกษตรเจริญพัฒนาห้วยยูง จำกัด ได้รับการจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.
2542 เม่ือวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2564เป็นสหกรณ์ท่ีจัดต้ังใหม่ไม่ถึง 1 ปี ซึ่งในปีบัญชีสิ้นสุด 30 กันยายน
2564 สหกรณ์มีผลกำไร 16,332.38 บาท โดยมาจากธุรกิจหลักของสหกรณ์ คือ การจัดหาสินค้ามา
จำหน่ายและธุรกิจรับฝากเงิน สหกรณ์ยังมีช่องทางการจำหน่ายสินค้าผ่านทางส่ือออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์
ฯลฯ สินค้าที่จำหน่ายจะมาจากกลุ่มอาชีพซึ่งมดี ว้ ยกัน 4 กลุ่ม คอื กลมุ่ อาชพี จกั สานจากวัสดธุ รรมชาติ กลมุ่ ผ้า
มัดย้อม กลุ่มผลิตภัณฑ์พืชผลทางการเกษตร และกลุ่มผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป แต่ก็มีปัญหาอุปสรรคในด้าน
ของคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่ทยี่ ังขาดความรคู้ วามเข้าใจในดา้ นสหกรณ์และการบริหารจัดการสหกรณ์ เช่น
ด้านบัญชี การจัดสรรและบริหารบุคลากรของสหกรณ์ เป็นต้น โดยเจ้าหน้าท่ีส่งเส ริมสหกรณ์ร่วมกับ
คณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจดั การสหกรณ์ ดำเนนิ การดังตอ่ ไปนี้
1. ใหค้ วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั สหกรณอ์ ดุ มการณ์หลักการวธิ กี ารสหกรณแ์ กบ่ ุคลากร
สหกรณ์ 3 ฝ่ายไดแ้ กส่ มาชกิ ฝ่ายจดั การ คณะกรรมการดำเนินงานของสหกรณ์
2. แนะนำส่งเสรมิ สหกรณ์ใหป้ ฏิบัติตามระเบียบขอ้ บังคบั กฎหมายสหกรณแ์ ละกฎหมายอื่นท่ี
เก่ียวข้องอย่างเคร่งครัดทำให้สหกรณ์ดำเนินงานเป็นไปตามกรอบวัตถุประสงค์และประสบความสำเร็จตาม
แผนงานท่ีกำหนดไว้
3. มีการแก้ไขเพิ่มเติมระเบยี บเพ่ือให้สอดคล้องกับกฎหมาย ประกาศ คำสั่งของนายทะเบียน
สหกรณ์ และการดำเนินธุรกจิ ของสหกรณใ์ นปจั จบุ ัน
4. กำหนดให้มีการติดตามผลการดำเนินกิจการเปรียบเทียบกับแผนงาน งบประมาณรายรับ-
รายจา่ ยทไ่ี ดร้ บั การอนุมัติจากทีป่ ระชุมใหญ่ฯ เป็นประจำทุกเดือน
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 26
ภาพกจิ กรรม การประชุมคณะกรรมการดำเนินการประจำเดือน การประชุมใหญส่ ามัญประจำปีของสหกรณ์
และการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์
ปจั จยั แห่งความสำเร็จ(เพ่ือเปน็ กรณศี ึกษาตัวอยา่ งท่ีดหี รอื แนวทางในการสง่ เสริม)
1. คณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจัดการของสหกรณ์จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับบทบาท
หน้าท่ีความรับผิดชอบของตนเอง ไม่มีความขัดแย้งภายในสหกรณ์ และมีวิสัยทัศน์ต่อองค์กรเป็นไปในทิศทาง
เดียวกนั ทำใหส้ หกรณ์สามารถเป็นทพี่ ่ึงใหก้ บั มวลสมาชกิ ได้
2. สมาชิกของสหกรณ์ ในฐานะเจ้าของสหกรณ์ จะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในบทบาท สิทธิ และ
หนา้ ท่ขี องตน เพือ่ ช่วยกันดูแล ปกปอ้ งองค์กรใหม้ คี วามเขม้ แข็ง
3. เจา้ หนา้ ท่จี ากหนว่ ยงานราชการทีม่ ีหนา้ ที่ แนะนำ สง่ เสริม กำกบั และตรวจสอบการดำเนนิ กิจการ
ของสหกรณ์ จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในงานท่ีทำอย่างถ่องแท้ เปน็ ท่ปี รึกษาทดี่ ีให้กบั สหกรณ์
4. สหกรณ์ได้จัดต้ังและดำเนินงานกลุ่มอาชีพ ซึ่งสหกรณ์ได้มีการกำหนดระเบียบข้ึนถือใช้ตาม
คำแนะนำของกรมส่งเสริมสหกรณ์ไปตามวัตถุประสงค์อย่างเคร่งครัด ทำให้เกิดประโยชน์แก่สมาชิกและ
สหกรณ์
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 27
อำเภอ เขาพนม
สหกรณ์ในความรบั ผิดชอบจำนวน 1 แห่ง คือ สหกรณก์ ารเกษตรปฏิรูปทด่ี นิ บ้านหนิ ลูกชา้ ง จำกดั สมาชกิ 65
คน
⚫ผลการเขา้ นะนำ ส่งเสรมิ และแก้ไขปัญหาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
การแนะนำ สง่ เสรมิ ด้านการแก้ไขปัญหาของสหกรณ์
ปัจจุบันสหกรณ์การเกษตรปฏิรูปท่ีดินบ้านหินลูกช้าง จำกัด หยุดดำเนินกิจการ เนื่องจาก
คณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจัดการไม่มีความพร้อมในการดำเนินธุรกิจ ประกอบกับสหกรณ์ยังมิได้แก้ไข
ข้อบกพร่องตามคำส่ังนายทะเบียนสหกรณ์ อีกซ่ึงสหกรณ์ไม่สามารถจัดทำงบการเงินได้เป็นเวลา 3 ปีบัญชี
ติดต่อกัน เจ้าหน้าท่ีส่งเสรมิ สหกรณ์ ได้เขา้ แนะนำ ติดตาม ให้คณะกรรมการดำเนินการเรียกประชุมใหญส่ ามัญ
ประจำปี เพอื่ เลือกต้งั คณะกรรมการชุดใหม่ พรอ้ มทง้ั ตดิ ตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์
แนะนำ ช่วยเหลอื ใหก้ ลุ่มเกษตรกรปดิ บัญชปี ระจำปแี ละประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี
ได้ภายใน 150 วนั นับต้ังแต่วันสิน้ ปีบญั ชี
แนะนำ สง่ เสริมใหส้ หกรณ์ดำเนนิ การให้เปน็ ไปตามคำแนะนำ คำส่ัง และประกาศนาย
ทะเบียนสหกรณ์ ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562 และกฎหมายอ่ืนที่
เก่ียวขอ้ ง
⚫ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร
1. คณะกรรมการไมใ่ หค้ วามสำคัญต่อการแกไ้ ขข้อบกพร่อง
2. ขาดเจ้าหน้าท่ใี นการจัดทำงบการเงิน
3.คณะกรรมการขาดความชำนาญในด้านการบริหารธุรกิจ และขาดการทบทวนความรู้ความ
เข้าใจข้อบังคับ ระเบียบ อย่างละเอียดรอบคอบในการดำเนินงาน ส่วนในเรื่องบทบาท ภารกิจ หน้าท่ี
คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์
4. สมาชิกในปัจจุบันขาดอุดมการณ์ ศรัทธา และความรู้ที่มีต่อระบบสหกรณ์ ส่งผลในด้าน
การมีส่วนรว่ มในการดำเนินธรุ กจิ
5. สมาชกิ กลมุ่ เกษตรกรมีหนีส้ ินค่อนข้างมากประกอบภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่ เศรษฐกิจ
รรายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 28
◼ งานสง่ เสริมและพฒั นาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรให้มีความเขม้ แขง็ ตามศักยภาพ
กล่มุ ส่งเสรมิ สหกรณ์ 2
อำเภอ คลองทอ่ ม
ประกอบด้วย สหกรณ์ 3 แห่ง สมาชกิ 1,391 คน กลุ่มเกษตรกร - แห่ง สมาชิก - คน
1. สหกรณก์ ารเกษตรคลองท่อม จำกดั จำนวนสมาชิก 969 ราย
2. สหกรณก์ องทนุ สวนยางบา้ นดินนา จำกัด จำนวนสมาชกิ 213 ราย
3. สหกรณ์กองทุนสวนยางคลองทอ่ มเหนือ จำกัด จำนวนสมาชิก 209 ราย
⚫ ผลการเข้าแนะนำ สง่ เสรมิ และแก้ไขปญั หาสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกร
อำเภอคลองท่อมมีพื้นที่ติดกับอำเภอเกาะลันตา มีสหกรณ์ในความรับผิดชอบ จำนวน 3 สหกรณ์
ประกอบด้วย สหกรณ์เกษตรคลองท่อม จำกัด สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านดินนา จำกัด และสหกรณ์กองทุน
สวนยางคลองท่อมเหนอื จำกดั สหกรณ์ท้งั 3 แหง่ ทำธรุ กิจรวบรวมปาลม์ น้ำมัน แปรรปู ยางแผ่นรมควัน แปร
รูปและจัดหาปุ๋ยมาจำหน่ายให้กับสมาชิก สหกรณ์ทั้ง 3 แห่งมีสมาชิกรวม 1,391 คน จากการเข้าแนะนำ
ส่งเสริมสหกรณ์ปี 2564 ที่ผ่านมา สหกรณ์กองทุนสวนยางท้ัง 2 แห่ง สมาชิกมีส่วนร่วมในการทำธุรกิจกับ
สหกรณม์ ากว่า รอ้ ยละ 80 โดยสหกรณ์สามารถรวบรวมนำ้ ยางสดจากสมาชกิ และแปรรปู เปน็ ยางแผ่นรมควัน
เป็นเงิน 94,459,421.00 บาท จัดหาปุ๋ยมาจำหน่ายเป็นเงิน 1,118,134.00 บาท และสามารถจัดเก็บ
หนี้ค้างจากสมาชิกได้เพิ่มขึ้น ส่งผลให้สหกรณ์มีผลประกอบการท่ีดี สามารถจัดสรรกำไรให้กับสมาชิกได้
อยา่ งไรก็ตามสหกรณ์การเกษตรคลองทอ่ ม จำกัด ซง่ึ เป็นสหกรณ์ระดับอำเภอยังประสบปัญหาการดำเนินธุรกิจ
ท่ีขาดทุนอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากสหกรณ์ทำธุรกิจรวบรวมปาล์มน้ำมันเป็นหลัก ปัญหาการแข่งขันราคาท่ี
สหกรณ์ไม่สามารถแข่งขันได้ สมาชิกเปลี่ยนไปขายปาล์มกับลานเทปาล์มเอกชน สหกรณ์รวบรวมผลผลิตได้
น้อย ไม่คุ้มทุนในการบรหิ ารจัดการ อย่างไรก็ตามสหกรณ์ก็ให้ความสำคัญในการลดต้นทุนการผลิตไปพร้อมกับ
การรวมรวบผลผลิตทางการเกษตร แม้ธุรกิจรวบรวมปาล์มจะได้รับผลกระทบแต่สหกรณ์สามารถจัดหาปุ๋ยมา
จำหน่ายให้กับสมาชิกได้ในราคาที่สมาชิกพอใจ อีกท้ังสหกรณ์สามารถจัดหาเงินทุนให้กับสมาชิกได้ในอัตรา
คา่ ตอบแทนทส่ี หกรณแ์ ละสมาชิกไดผ้ ลประโยชนซ์ งึ่ กนั และกัน
⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์ในพืน้ ท่ีอำเภอคลองทอ่ ม ปัญหาหลกั คือปญั หาหนีค้ า้ งของสมาชิก สมาชิกสว่ นใหญ่ไม่ยอม
ชำระหนี้ตามระยะเวลาท่ีกำหนด ส่งผลให้สหกรณ์แจ้งเตือนและฟ้องร้องสมาชิกในท่ีสุด อีกท้ังคณะกรรมการ
และเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ขาดองค์ความรู้และความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตน การปฏิบัติหน้าที่จึงเกิดการ
บกพรอ่ ง
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา
แนะนำคณะกรรมการและเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ให้ทราบและเข้าใจในบทบาทหนา้ ทีข่ องตน เพิ่มองค์
ความรู้ในการติดตามหน้ี ความสำคญั ของสหกรณ์และความสำคญั ของสมาชิก
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 29
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร สหกรณก์ องทุนสวนยางบา้ นดนิ นา จำกดั
สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านดินนา จำกัด ได้แนะนำส่งเสริมให้สมาชิกมีการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์
เพิ่มข้ึน ในระหว่างปีสหกรณ์ได้ดำเนินธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย (ปุ๋ย) จำนวน 662,545 บาท
ธุรกิจรวบรวม จำนวน 4,714,605 บาท และธุรกิจแปรรูป(ยางพารา) จำนวน 16,017,895.48
บาท แปรูปรูป(ปุ๋ย) จำนวน 2,761,060 บาท ซึ่งผลการดำเนินงานปีบัญชี 31 มีนาคม 2564
สหกรณ์มกี ำไร 1,449,547.99 บาท สมาชกิ มามีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกจิ 150 คน จากจำนวน
สมาชิกท้ังหมด 213 คน เกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์อยู่ในระดับ B การประเมินช้ันคุณภาพการควบคุม
ภายใน อยู่ในระดบั ดี และสหกรณ์มีการจ่ายเงินทุนสวัสดิการสมาชิกและสงั คม ช่วยเหลอื สมาชิกและ
สังคมในช่วงสถานการณ์โควิด-19 มอบถงุ ยงั ชพี และจำหน่ายปุ๋ยในราคาถกู กวา่ ทอ้ งตลาดและช่วยลด
ต้นทุนในการผลิต (ปุ๋ย)ให้แก่สมาชิก ช่วยเหลือสมาชิกที่เจ็บป่วย และในด้านสังคมมีการจ่ายเงิน
ช่วยเหลือมสั ยดิ วัด โรงเรยี น เป็นตน้
ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ
1. ให้ความรู้ความเข้าใจในการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ แก่บุคลากร
สหกรณ์ 3 ฝ่าย ไดแ้ กส่ มาชิก ฝา่ ยจดั การ คณะกรรมการดำเนินงานของสหกรณ์
2. แนะนำ สง่ เสริมสหกรณ์ใหป้ ฏิบตั ิตามระเบยี บ ข้อบังคับ กฎหมายสหกรณ์และกฎหมายอนื่ ที่
เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัดทำให้สหกรณ์ดำเนินงานเป็นไปตามกรอบวัตถุประสงค์ และประสบ
ความสำเร็จตามแผนงานทก่ี ำหนดไว้
3. ร่วมคิด ร่วมวางแผน รว่ มพัฒนากับสหกรณ์ โดยการประชุมร่วมกบั คณะกรรมการดำเนินการ
สหกรณ์ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ เพ่ือหาความต้องการสมาชิก สภาพปัญหาของ
สมาชิก โดยนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาให้แก่สมาชิกและ
แนวทางพัฒนาสหกรณใ์ ห้เขม้ แขง็
4. ดำเนินการร่วมกับกลุ่มงานวิชาการของจังหวัด ตามภารกิจของแต่ละกลุ่มงาน เพ่ือกำหนด
เป็นแนวทางในการส่งเสริมสหกรณ์ การแก้ไขปัญหาต่างๆ แล้วนำเสนอท่ีประชุม
คณะกรรมการดำเนินการสหกรณเ์ พ่อื พจิ ารณา ตดิ ตาม แก้ไขปัญหาต่อไป
5. สหกรณ์ได้เข้ารว่ มโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพ้ืนดิน ซึ่งสหกรณ์ได้
มีการกำหนดระเบียบขึ้นถือใช้ตามคำแนะนำของกรมส่งเสริมสหกรณ์และมีการจ่ายเป็นไป
ตามวตั ถปุ ระสงค์อย่างเคร่งครดั ทำให้เกิดประโยชน์แก่สมาชกิ และสหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 30
อำเภอ เกาะลันตา
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 4 แหง่ สมาชกิ 12,743 คน กลมุ่ เกษตรกร - แห่งสมาชกิ - คน
1. สหกรณอ์ สิ ลามษะกอฟะฮ จำกดั จำนวนสมาชกิ 12,187 ราย
2. สหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ยี นบ้านทา่ คลอง จำกดั จำนวนสมาชกิ 236 ราย
3. สหกรณบ์ ริการท่องเท่ียวเกาะลันตา จำกัด จำนวนสมาชิก 51 ราย
4. สหกรณ์กองทนุ สวนยางบา้ นคลองยาง จำกดั จำนวนสมาชิก 269 ราย
⚫ผลการเข้าแนะนำ สง่ เสรมิ และแกไ้ ขปญั หาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร
อำเภอเกาะลันตา มีสหกรณ์ จำนวน 4 สหกรณ์ ประกอบด้วย สหกรณ์ประเภทบริการ
สหกรณ์ประเภทเครดิตยูเนียน และสหกรณ์ประเภทการเกษตร อย่างไรก็ตามสหกรณ์ในอำเภอลันตา
ที่ดำเนินธุรกิจอยู่มีเพียงสหกรณ์อิสลามษะกอฟะฮ จำกัด (บริการ) และสหกรณ์เครดิตยูเนียนบ้านท่า
คลอง จำกัด แต่สหกรณ์กองทุนสวนยางบา้ งคลองยาง จำกัด และสหกรณ์บริการท่องเท่ียวเกาะลันตา
จำกัด ได้หยุดดำเนินธุรกิจ โดยเฉพาะ สหกรณ์บริการท่องเท่ียวเกาะลันตา จำกัด หยุดดำเนินธุรกิจ
เนื่องจากสหกรณ์สหกรณ์ทำธุรกิจบริการรถยนต์รับส่งนักท่องเท่ียวบนเกาะลันตา แต่ผลกระทบจาก
โรคระบาดโควิด 19 ทำให้สหกรณ์ต้องปิดกิจการ ดังน้ัน อำเภอเกาะลันตา จึงมีเพียงสหกรณ์อิสลาม
ษะกอฟะฮ จำกัดกบั สหกรณ์เครดติ ยูเนียนบ้านทา่ คลอง จำกัด ซึ่งสหกรณ์ทัง้ 2 แหง่ ทำธุรกิจสนิ เชื่อ
เป็นหลัก โดยมมี ูลคา่ สนิ เชือ่ รวม 86,541,562 บาท มีสมาชิก 12,423 คน ซึ่งมากกว่าร้อยละ 90
เป็นสมาชิกของสหกรณ์อิสลามษะกอฟะ จำกัด อย่างไรก็ตาม ได้แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์เล็งเห็น
ความสำคัญของสมาชิกให้มากและท่ัวถึง การช่วยเหลือสมาชิกในด้านเงินทุนให้อยู่ภายใต้กรอบ
ระเบียบของสหกรณ์ท่ีกำหนดถือใช้ ให้นำหลักการสหกรณ์ การช่วยเหลือซึ่งกันและกันมาใช้กับ
สมาชิกก่อนการนำกฎหมายมาบังคับ ซ่ึงในปีที่ผ่านมา สหกรณ์ได้ดำเนินการแก้ไขระเบียบต่างๆ ของ
สหกรณ์ เพอื่ ใหส้ อดคล้องกับการทำงานของสหกรณม์ ากขนึ้
⚫ ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
สหกรณ์ในพ้ืนที่ มีปัญหาหลักคือปัญหาหนี้ค้างของสมาชิก สมาชิกส่วนใหญ่ไม่ยอมชำระหนี้
ตามระยะเวลาท่ีกำหนด ส่งผลใหส้ หกรณ์ต้องดำเนินการตามระเบียบท่ีสหกรณ์กำหนดขึ้นถือ
ใช้ อีกทั้งคณะกรรมการและเจ้าหน้าท่ีสหกรณ์ขาดองค์ความรู้และความเข้าใจในบทบาท
หนา้ ทข่ี องตน การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีจงึ เกดิ การบกพร่องอยบู่ อ่ ยครงั้
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
แนะนำให้คณะกรรมการและเจา้ หนา้ ทส่ี หกรณ์ศึกษาและทำความเข้าใจในบทบาทหนา้ ที่ของ
ตนเองอยูเ่ สมอ เพ่มิ องค์ความร้ใู นการติดตามหนี้ ใหเ้ ห็นความสำคัญของสหกรณ์และความสำคัญของ
สมาชิกเป็นสำคญั
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 31
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์อิสลามษะกอฟะฮ จำกดั
สหกรณ์อิสลามษะกอฟะฮ จำกัด ได้แนะนำส่งเสริมให้สมาชิกมีการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์
เพิ่มขนึ้ ในระหวา่ งปสี หกรณ์ได้ดำเนินธรุ กิจสินเช่ือ จำนวน 86,082,055 บาท ธุรกจิ จัดหาสินค้ามา
จำหน่าย-ปมั้ นำ้ มันเชลล์ จำนวน 47,041,495.96 บาท ธุรกิจการบริการ จำนวน 684,310.60
บาท ซึ่งผลการดำเนินงานปีบัญชี 30 มิถุนายน 2564 สหกรณ์มีกำไร 7,648,561.04 บาท
สมาชิกมามีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจ 10,098 คน จากจำนวนสมาชิกท้ังหมด 12,187 คน
เกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์อยู่ในระดับ A และสหกรณ์มีการจ่ายเงินทุนสวัสดิการสมาชิกและสังคม
ชว่ ยเหลอื สมาชกิ และสงั คมในชว่ งสถานการณโ์ ควิด-19
ปจั จัยแห่งความสำเรจ็
1. ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจในการสหกรณ์ อดุ มการณ์ หลกั การ วิธกี ารสหกรณ์ แก่บุคลากร
สหกรณ์ 3 ฝา่ ย ไดแ้ ก่สมาชิก ฝา่ ยจัดการ คณะกรรมการดำเนินงานของสหกรณ์
2. แนะนำ ส่งเสริมสหกรณ์ใหป้ ฏิบัตติ ามระเบียบ ขอ้ บังคับ กฎหมายสหกรณ์และกฎหมายอนื่ ที่
เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัดทำให้สหกรณ์ดำเนินงานเป็นไปตามกรอบวัตถุประสงค์ และประสบ
ความสำเร็จตามแผนงานทีก่ ำหนดไว้
3. รว่ มคดิ รว่ มวางแผน รว่ มพฒั นากับสหกรณ์ โดยการประชุมรว่ มกับคณะกรรมการดำเนินการ
สหกรณ์ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ เพ่ือหาความต้องการสมาชิก สภาพปัญหาของสมาชิก
โดยนำข้อมูลท่ไี ด้มาวิเคราะห์เพ่ือหาแนวทางในการแก้ปัญหาให้แกส่ มาชิกและแนวทางพัฒนาสหกรณ์
ให้เข้มแข็ง
ภาพกจิ กรรม ประชุมใหญ่สามัญประจำปขี องสหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 32
◼ งานส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรใหม้ คี วามเข้มแขง็ ตามศกั ยภาพ
กลมุ่ สง่ เสรมิ สหกรณ์ 3
อำเภอ คลองท่อม
ประกอบด้วย สหกรณ์ 5 แหง่ สมาชกิ 867 คน กลุม่ เกษตรกร 1 แหง่ สมาชิก 46 คน
1. สหกรณ์ออมทรัพย์ ร.15 พนั . 1 จำกัด จำนวนสมาชกิ 261 ราย
2. สหกรณก์ ารเกษตรในเขตปฏิรูปท่ดี ินบา้ นทงุ่ ชันหาร จำกัด จำนวนสมาชกิ 75 ราย
3. สหกรณ์กองทุนสวนยางบ้านบางบอน จำกัด จำนวนสมาชกิ 364 ราย
4. สหกรณ์กองทุนสวนยางบา้ นหว้ ยพลูหนงั จำกดั จำนวนสมาชิก 94 ราย
5. สหกรณบ์ ้านทรายทองพฒั นา จำกดั จำนวนสมาชกิ 73 ราย
6. กลมุ่ เกษตรกรทำสวนคลองพนพฒั นา จำนวนสมาชกิ 46 ราย
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสรมิ และแกไ้ ขปญั หาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
1. แนะนำส่งเสริมใหส้ หกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรดำเนินงานใหผ้ า่ นเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ สหกรณ์
ทั้งหมด จำนวน 5 แหง่ ผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน จำนวน 2 แหง่ ไมผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 3 แห่ง
และกลุ่มเกษตรกรท้งั หมด จำนวน 1 แห่ง ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 1 แห่ง
2. แนะนำ ช่วยเหลอื ให้สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรปิดบัญชีประจำปีและประชุมใหญส่ ามญั ประจำปีได้
ภายใน 150 วันนบั ต้งั แตว่ ันสน้ิ ปีบัญชี
3. แนะนำ ส่งเสริม และพฒั นาความเข้มแข็งตามแผนพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ ซึ่งมสี หกรณ์
สามารถรกั ษาผลการจดั ระดบั ช้นั 2 จำนวน 5 แห่ง
4. แนะนำ ส่งเสรมิ ให้สหกรณด์ ำเนนิ การให้เปน็ ไปตามคำแนะนำ คำส่ัง และประกาศนายทะเบียน
สหกรณ์ ตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562 และกฎหมายอ่ืนที่
เกย่ี วข้อง
5. แนะนำ ส่งเสริม ดา้ นการฝกึ อบรมสมาชกิ ฝา่ ยจัดการ คณะกรรมการดำเนนิ งานของสหกรณ/์
กลุ่มเกษตรกร เพื่อให้เขา้ ใจหลักการ อุดมการณ์ วธิ ีการสหกรณ์ และ บทบาท หน้าท่ี ของตนเองมาก
ย่ิงขนึ้
6. สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรมกี ารแกไ้ ขระเบยี บ ขอ้ บังคบั ของสหกรณ์ ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์
ปจั จบุ นั และเปน็ ไปตามกฎหมายสหกรณ์
7. มีการตดิ ตามแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ ให้มลู คา่ ความเสียหายลดน้อยลงและป้องกันความ
เสียหายที่จะเกดิ ขนึ้
8. แนะนำ ส่งเสริม และช่วยเหลอื ในการแก้ไขปัญหาหน้คี ้างชำระของสหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 33
9. แนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์มีการนำเทคโนโลยีระบบนวัตกรรม Smart Member ระบบข้อมูล
บรกิ ารของสหกรณใ์ หแ้ กส่ มาชกิ
⚫ ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนินงานของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร
1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สว่ นใหญข่ าดทุนหมุนเวียนในการดำเนินธุรกิจ เนอื่ งจากไม่มีการ
ระดมทุนภายใน สมาชิกขาดความเชื่อมั่นในระบบสหกรณ์ ทำให้การระดมทุนในรูปของหุ้นและเงิน
ฝากออมทรพั ย์มนี ้อย ส่งผลให้สหกรณต์ อ้ งใชเ้ งนิ ทุนจากภายนอก ซ่ึงมอี ตั ราดอกเบ้ยี ค่อยขา้ งสงู
2. สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมสี ว่ นรว่ มในการทำธุรกจิ น้อย เนอ่ื งจากมีค่แู ข่งในการดำเนิน
ธรุ กจิ สูง และการให้บรกิ ารท่ยี ังไมห่ ลากหลาย
3. สมาชกิ สหกรณม์ ีหนีส้ นิ ค่อนขา้ งมากประกอบภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่ และขาดความเชือ่ มัน่
ศรัทธาในสหกรณ์ ไม่สามารถถอนหุ้นคืนได้ ส่งผลให้สมาชิกไม่ชำระหน้ีตามกำหนดสัญญา ก่อให้เกิด
ปญั หาหนีค้ ้างชำระจนนำไปสู่การต้ังคา่ เผ่ือหน้ีสงสัยจะสูญ
4. สหกรณ์ขาดธรรมาภิบาลและการควบคมุ ภายในทด่ี ี
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
1. สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร ควรจดั ให้มกี ารประชุมกลุ่มยอ่ ยของสมาชกิ เพือ่ สร้างความเขา้ ใจใน
บทบาทหน้าท่ีของสมาชิก การมีส่วนร่วม และความเป็นเจ้าของ เพ่ือสมาชิกจะได้เข้าใจระบบของ
สหกรณ์ เห็นถงึ ความสำคญั และประโยชน์ของการเป็นสมาชิกสหกรณ์
2. สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร จดั ทำฐานขอ้ มลู สมาชิก และขอ้ มลู ทางตลาดสินค้าเกษตรกรเพ่ือใช้ใน
การวางแผนการดำเนินธุรกิจด้านต่างๆของสหกรณ์ ตลอดจนบูรณาการข้อมูลร่วมกับหน่วยงานที่
เกย่ี วข้อง เพื่อนำฐานขอ้ มลู ทีท่ ันสมยั มาในการพฒั นาสหกรณ์
3. สหกรณ์ควรจัดทำแผนธุรกิจที่ครอบคลุมวงจรธุรกิจเพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิก
สหกรณ์ด้วยวิธีการสำรวจความคิดเห็นของสมาชิกสหกรณ์ และเสริมสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
ดำเนินธุรกิจใหแ้ ก่สมาชกิ อย่างต่อเนือ่ ง
4. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ควรพิจารณาใช้ความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกเป็นเกณฑ์ท่ี
สำคัญในการพิจารณาอนุมัติเงินกู้ มีการติดตามผลหลังจากการจ่ายเงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
และมีการจัดชั้นลูกหนี้ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการชำระหน้ีให้เป็นไปตามกำหนดสัญญา ส่วนปัญหาหนี้
คา้ งชำระ ควรมีการศึกษาวิเคราะหส์ ภาพปญั หา และกำหนดแนวทางในการแก้ไขปญั หาใหช้ ดั เจน
5. สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ควรนำหลกั ธรรมาภิบาลการควบคุมภายในทดี่ ีมาใช้ในสหกรณ์ โดย
คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ และสมาชิกมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในการบริหารจัดการ
สหกรณ์ ภายใตก้ ารกำกับ ดูแล ชว่ ยเหลือและตรวจสอบความถกู ตอ้ งของเจ้าหนา้ ทภ่ี าครัฐ
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณก์ องทนุ สวนยางบา้ นห้วยพลหู นัง จำกดั
สหกรณ์กองทนุ สวนยางห้วยพลูหนงั จำกดั ได้แนะนำสง่ เสริมใหส้ หกรณม์ ีการดำเนนิ ธรุ กิจกบั
สมาชกิ ในระหว่างปีสหกรณ์ไดด้ ำเนินธุรกิจจดั หาสินค้ามาจำหน่าย (ขา้ วสาร) จำนวน 108,000
บาท และธุรกจิ แปรรปู ปุ๋ย จำนวน 630,000 บาท ซง่ึ ผลการดำเนินงานปีบัญชี 31 มนี าคม 2564
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 34
สหกรณม์ กี ำไร 44,478.89 บาท โอนไปชดเชยขาดทนุ สะสม 1,648.99 บาท ปจั จบุ ันสหกรณไ์ ม่มี
ขาดทุนสะสมแล้ว และมีกำไรสุทธิคงเหลอื 42,829.92 บาท สมาชกิ มามีสว่ นรว่ มในการดำเนนิ
ธุรกจิ 92 คน จากจำนวนสมาชิกท้ังหมด 94 คน คดิ เป็นร้อยละ 97.87 ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน
สหกรณ์ การจดั ชัน้ สหกรณ์ อยู่ในระดับช้ัน 2 และสหกรณ์มีการจา่ ยเงนิ ทุนสวัสดิการสมาชกิ และ
สังคม ชว่ ยเหลอื สมาชกิ และสังคมในช่วงสถานการณ์โควิด-19 มกี ารขายสนิ คา้ (ข้าวสาร)ในราคาถูก
กวา่ ทอ้ งตลาดและช่วยลดต้นทนุ ในการผลิต (ปุย๋ )ใหแ้ ก่สมาชิก ชว่ ยเหลือสมาชกิ ทเี่ จ็บปว่ ย และใน
ดา้ นสงั คมมีการจ่ายเงนิ ชว่ ยเหลือมสั ยิด วัด โรงเรยี น เป็นต้น
ปจั จยั แหง่ ความสำเรจ็
1. ให้ความรู้ความเข้าใจในการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ แก่บุคลากร
สหกรณ์ 3 ฝ่ายไดแ้ กส่ มาชกิ ฝา่ ยจัดการ คณะกรรมการดำเนนิ งานของสหกรณ์
2. แนะนำ สง่ เสริมสหกรณใ์ ห้ปฏิบัติตามระเบียบ ขอ้ บังคับ กฎหมายสหกรณ์และกฎหมายอ่ืนท่ี
เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัดทำให้สหกรณ์ดำเนินงานเป็นไปตามกรอบวัตถุประสงค์ และประสบ
ความสำเร็จตามแผนงานทกี่ ำหนดไว้
3. รว่ มคิด รว่ มวางแผน รว่ มพฒั นากับสหกรณ์ โดยการประชุมร่วมกบั คณะกรรมการดำเนินการ
สหกรณ์ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ เพื่อหาความต้องการสมาชิก สภาพปัญหาของ
สมาชิก โดยนำข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์เพ่ือหาแนวทางในการแก้ปัญหาให้แก่สมาชิกและ
แนวทางพัฒนาสหกรณใ์ ห้เขม้ แขง็
4. ดำเนินการร่วมกับกลุ่มงานวิชาการของจังหวัด ตามภารกิจของแต่ละกลุ่มงาน เพื่อกำหนด
เป็นแนวทางในการส่งเสริมสหกรณ์ การแก้ไขปัญหาต่างๆ แล้วนำเสนอที่ประชุม
คณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณ์เพ่ือพิจารณา ตดิ ตาม แก้ไขปัญหาตอ่ ไป
5. สหกรณ์ได้เข้ารว่ มโครงการผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนพ้ืนดิน ซ่ึงสหกรณ์ได้
มีการกำหนดระเบียบข้ึนถือใช้ตามคำแนะนำของกรมส่งเสริมสหกรณ์และมีการจ่ายเป็นไป
ตามวตั ถุประสงค์อยา่ งเคร่งครัด ทำให้เกิดประโยชนแ์ กส่ มาชกิ และสหกรณ์
ภาพกิจกรรม การประชมุ ใหญ่สามญั ประจำปีของสหกรณ์