รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 35
อำเภอ ลำทบั
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 4 แหง่ สมาชิก 1,302 คน กลุ่มเกษตรกร 1 แห่งสมาชิก 45 คน
1. สหกรณ์กองทนุ สวนยางหนองปง จำกดั จำนวนสมาชิก 356 ราย
2. สหกรณก์ ารเกษตรลำทับ จำกัด จำนวนสมาชกิ 690 ราย
3. สหกรณก์ องทุนสวนยางพรุขกี้ าพัฒนา จำกัด จำนวนสมาชิก 146 ราย
4. สหกรณก์ องทนุ สวนยางอดุ มพัฒนา จำกดั จำนวนสมาชิก 110 ราย
5. กลมุ่ เกษตรกรทำสวนดนิ แดง จำนวนสมาชกิ 45 ราย
⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริม และแกไ้ ขปัญหาสหกรณ์และกล่มุ เกษตรกร
1. แนะนำสง่ เสรมิ ใหส้ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดำเนนิ งานให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์ สหกรณ์
ท้งั หมด จำนวน 4 แหง่ ไมผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 3 แหง่ ไมน่ ำมาจัดเนอื่ งจากหยุดดำเนนิ งาน
จำนวน 1 แหง่ และเป็นกลุ่มเกษตรกรทีจ่ ดทะเบยี นจดั ตัง้ ใหม่จำนวน 1 แหง่
2. แนะนำ ช่วยเหลือใหส้ หกรณ์/กลุ่มเกษตรกรปดิ บัญชีประจำปแี ละประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปไี ด้
ภายใน 150 วันนับตงั้ แต่วนั ส้ินปบี ญั ชี มีสหกรณจ์ ำนวน 1 แหง่ ไมส่ ามารถปดิ บัญชีได้แต่สามารถ
ประชุมไดภ้ ายใน 150 วัน (ประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปีแลว้ เมอ่ื วันท่ี 26 ตุลาคม 2564)
3. แนะนำ ส่งเสริม และพฒั นาความเข้มแข็งตามแผนพัฒนาศักยภาพสหกรณ์ ซ่ึงมสี หกรณ์
สามารถรกั ษาผลการจัดระดับช้ัน 2 จำนวน 3 แห่ง ระดบั ชัน้ 3 จำนวน 1 แหง่ เน่ืองจากหยุด
ดำเนินงาน
4. แนะนำ สง่ เสริมให้สหกรณด์ ำเนนิ การให้เป็นไปตามคำแนะนำ คำสง่ั และประกาศนายทะเบยี น
สหกรณ์ ตามพระราชบญั ญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2562 และกฎหมายอื่นท่ี
เกี่ยวข้อง
5. แนะนำ สง่ เสรมิ ดา้ นการฝึกอบรมสมาชิก ฝ่ายจดั การ คณะกรรมการดำเนินงานของสหกรณ/์
กลมุ่ เกษตรกร เพื่อให้เข้าใจหลักการ อุดมการณ์ วิธกี ารสหกรณ์ และ บทบาท หน้าที่ ของตนเองมาก
ยิ่งขน้ึ
6. สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรมกี ารแก้ไขระเบียบ ขอ้ บังคับของสหกรณ์ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์
ปัจจบุ ันและเปน็ ไปตามกฎหมายสหกรณ์
7. มีการตดิ ตามแก้ไขข้อบกพร่องของสหกรณ์ ใหม้ ูลค่าความเสียหายลดนอ้ ยลงและป้องกนั ความ
เสียหายท่ีจะเกดิ ขน้ึ
8. แนะนำ สง่ เสรมิ และช่วยเหลือในการแก้ไขปญั หาหน้ีค้างชำระของสหกรณ์
9. แนะนำ ส่งเสริมใหส้ หกรณ์มีการนำเทคโนโลยีระบบนวตั กรรม Smart Member ระบบข้อมูล
บรกิ ารของสหกรณ์ให้แกส่ มาชกิ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 36
⚫ ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร
1. สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร สว่ นใหญ่ขาดทุนหมุนเวียนในการดำเนนิ ธรุ กิจ เนอ่ื งจากไม่มกี าร
ระดมทนุ ภายใน สมาชิกขาดความเชอ่ื มั่นในระบบสหกรณ์ ทำใหก้ ารระดมทนุ ในรปู ของหุ้นและเงิน
ฝากออมทรัพยม์ ีน้อย สง่ ผลให้สหกรณต์ ้องใชเ้ งนิ ทนุ จากภายนอก ซึ่งมีอัตราดอกเบยี้ ค่อยขา้ งสูง
2. สมาชิกสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรมีส่วนรว่ มในการทำธรุ กิจน้อย เน่อื งจากมคี แู่ ข่งในการดำเนิน
ธุรกจิ สูง และการให้บริการที่ยังไม่หลากหลาย
3. สมาชกิ สหกรณม์ ีหนีส้ นิ ค่อนข้างมากประกอบภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ และขาดความเชื่อม่นั
ศรทั ธาในสหกรณ์ ไมส่ ามารถถอนห้นุ คนื ได้ สง่ ผลใหส้ มาชกิ ไม่ชำระหนี้ตามกำหนดสัญญา ก่อให้เกดิ
ปญั หาหนี้คา้ งชำระจนนำไปสู่การตัง้ คา่ เผื่อหนสี้ งสยั จะสญู
4. สหกรณ์ขาดธรรมาภิบาลและการควบคุมภายในท่ีดี
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา
1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ควรจดั ใหม้ กี ารประชุมกลุ่มย่อยของสมาชิก เพ่ือสร้างความเข้าใจใน
บทบาทหนา้ ท่ีของสมาชิก การมีสว่ นร่วม และความเปน็ เจ้าของ เพ่อื สมาชิกจะไดเ้ ข้าใจระบบของ
สหกรณ์ เหน็ ถึงความสำคญั และประโยชน์ของการเป็นสมาชิกสหกรณ์
2. สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร จัดทำฐานขอ้ มูลสมาชิก และข้อมลู ทางตลาดสินคา้ เกษตรกรเพ่ือใชใ้ น
การวางแผนการดำเนนิ ธุรกิจดา้ นต่างๆของสหกรณ์ ตลอดจนบรู ณาการข้อมลู ร่วมกบั หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง เพอื่ นำฐานข้อมูลที่ทันสมยั มาในการพัฒนาสหกรณ์
3. สหกรณ์ควรจดั ทำแผนธุรกจิ ท่คี รอบคลุมวงจรธรุ กิจเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของสมาชิก
สหกรณด์ ้วยวิธกี ารสำรวจความคดิ เหน็ ของสมาชิกสหกรณ์ และเสรมิ สรา้ งกระบวนการมีสว่ นร่วม
ดำเนินธรุ กจิ ให้แก่สมาชกิ อย่างตอ่ เนื่อง
4. สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร ควรพิจารณาใช้ความสามารถในการชำระหนีข้ องสมาชิกเป็นเกณฑ์ท่ี
สำคัญในการพจิ ารณาอนุมัตเิ งนิ กู้ มีการติดตามผลหลงั จากการจา่ ยเงนิ กู้ใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์
และมีการจดั ช้ันลกู หนี้ เพ่ือสร้างแรงจูงใจในการชำระหนีใ้ หเ้ ปน็ ไปตามกำหนดสัญญา สว่ นปญั หาหนี้
คา้ งชำระ ควรมีการศึกษาวเิ คราะห์สภาพปญั หา และกำหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาใหช้ ดั เจน
5. สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ควรนำหลกั ธรรมาภบิ าลการควบคุมภายในทดี่ ีมาใช้ในสหกรณ์ โดย
คณะกรรมการ ฝา่ ยจัดการ และสมาชิกมสี ่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็นในการบรหิ ารจดั การ
สหกรณ์ ภายใต้การกำกับ ดแู ล ชว่ ยเหลอื และตรวจสอบความถกู ต้องของเจ้าหนา้ ท่ีภาครัฐ
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะทอ้ นผลสำเรจ็ ของการปฏิบตั งิ านตามภารกจิ ของ สสจ./สสพ.
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร สหกรณ์กองทนุ สวนยางบา้ นบางบอน จำกัด
สหกรณก์ องทุนสวนยางบา้ นบางบอน จำกดั ไดแ้ นะนำส่งเสริมใหส้ หกรณ์มกี ารดำเนินธุรกจิ กบั
สมาชิก สหกรณ์ให้บริการในด้านธุรกิจแก่สมาชิก 3 ด้าน คือ ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย (ปุ๋ย)
ธุรกิจแปรรูป (ปุ๋ยผสม,ยางพารา) ธุรกิจรวบรวมผลิต (ปาล์มน้ำมัน) ซึ่งผลการดำเนินงานปีบัญชี 31
มีนาคม 2564 สหกรณ์ มีกำไร 1,886 ,766.18 บาท มีการจัดสรรเป็น เงินเฉล่ียคืน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 37
ร้อยละ 22.51 เงินปันผลร้อยละ 5.19 มีการจัดสวัสดิการด้านต่างๆให้แก่สมาชิกและสังคม และมี
การจ่ายทุนสวัสดิการให้แก่สมาชิกและใช้จ่ายทุนสาธารณประโยชน์เป็นประจำทุกปี สมาชิกมีส่วน
ร่วมในการดำเนินธุรกิจ 220 คน จากจำนวนสมาชิกทั้งหมด 364 คน คิดเป็นร้อยละ 60.43 ไม่
ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสหกรณ์เน่ืองจากสหกรณ์มีผลการดำเนนิ งานขาดทุนปี31 มีนาคม 2563 ระดับ
การจัดชน้ั สหกรณ์ อยู่ในระดับ ช้ัน 2 (การมีส่วนร่วมของสมาชิก ระดับ 2 เสถียรภาพทางการเงินอยู่
ในระดับ 4 การควบคุมภายในอยู่ในระดับ 3 ข้อบกพร่องอยู่ในระดับ 2 ) สหกรณ์มีผลการ
ดำเนนิ งานเนินดขี ้ึนจากปีกอ่ นๆ สหกรณ์มีข้อบกพรอ่ งแต่ได้รับการติดตามอย่างตอ่ เนือ่ งและได้รับการ
แก้ไขแล้ว สหกรณ์มีการพฒั นาการผลิตยางแผน่ รมควนั ตามมาตรฐาน GMP อย่างตอ่ เน่ือง และมกี าร
อบรมให้ความรู้แกส่ มาชิกต่อเนือ่ ง
ปัจจยั แหง่ ความสำเร็จ
1. ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจในการสหกรณ์ อุดมการณ์ หลักการ วธิ ีการสหกรณ์ แก่บุคลากร
สหกรณ์ 3 ฝ่าย ได้แก่สมาชิก ฝ่ายจัดการ คณะกรรมการดำเนนิ งานของสหกรณ์
2. แนะนำ ส่งเสรมิ สหกรณ์ให้ปฏิบตั ิตามระเบยี บ ขอ้ บังคบั กฎหมายสหกรณ์และกฎหมายอืน่ ที่
เก่ียวข้องอย่างเคร่งครัดทำให้สหกรณ์ดำเนินงานเป็นไปตามกรอบวัตถุประสงค์ และประสบ
ความสำเรจ็ ตามแผนงานทีก่ ำหนดไว้
3. รว่ มคิด ร่วมวางแผน ร่วมพัฒนากบั สหกรณ์ โดยการประชมุ รว่ มกบั คณะกรรมการดำเนนิ การ
สหกรณ์ ฝ่ายจัดการสหกรณ์ สมาชิกสหกรณ์ เพ่ือหาความต้องการสมาชิก สภาพปัญหาของสมาชิก
โดยนำขอ้ มลู ท่ีได้มาวิเคราะห์เพอ่ื หาแนวทางในการแกป้ ัญหาให้แก่สมาชิกและแนวทางพัฒนาสหกรณ์
ใหเ้ ข้มแข็ง
4. ดำเนินการร่วมกับกลมุ่ งานวิชาการของจังหวัด ตามภารกิจของแต่ละกลุม่ งาน เพื่อกำหนด
เป็นแนวทางในการส่งเสริมสหกรณ์ การแก้ไขปัญหาต่างๆ แล้วนำเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ
ดำเนนิ การสหกรณเ์ พือ่ พจิ ารณา ตดิ ตาม แก้ไขปญั หาต่อไป
5. คณะกรรมการ ฝ่ายจดั การ สมาชิก รูจ้ กั บทบาท หน้าท่ขี องตนเอง
ภาพกิจกรรม ประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปีของสหกรณ์/มีการติดตามการแก้ไขข้อบกพร่องอย่าง
ต่อเน่อื งและได้รับการแก้ไขแลว้
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 38
◼ งานสง่ เสริมและพฒั นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใหม้ ีความเข้มแขง็ ตามศักยภาพ
กล่มุ ส่งเสริมสหกรณ์ 4
อำเภอ อ่าวลึก
ประกอบด้วย สหกรณ์ 7 แห่ง สมาชกิ 2,501 คน กลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง สมาชกิ 190 คน
1. สหกรณก์ องทนุ สวนยางน้ำจานสามคั คี จำกัด สมาชิก 723 คน
2. สหกรณก์ องทุนสวนยางเขาใหญ่สามัคคี จำกัด สมาชิก 187 คน
3. สหกรณช์ าวสวนปาล์มนำ้ มนั รายย่อยกระบี่ จำกัด สมาชกิ 315 คน
4. สหกรณ์การเกษตรอา่ วลกึ จำกดั สมาชกิ 731 คน
5. สหกรณ์การเกษตรคลองยา จำกัด สมาชกิ 311 คน
6. สหกรณก์ ารเกษตรบ้านหนองหงษ์อา่ วลกึ จำกัด สมาชิก 201 คน
7. สหกรณ์การเกษตรบางเจริญโมเดล จำกดั สมาชิก 33 คน
กลมุ่ เกษตรกร จำนวน 1 แห่ง
1. กล่มุ เกษตรกรทำสวนแหลมสัก สมาชิก 190 คน
⚫ ผลการเข้าแนะนำ สง่ เสรมิ และแกไ้ ขปญั หาสหกรณแ์ ละกลุม่ เกษตรกร
การแนะนำ ส่งเสริม ด้านการพัฒนาการบรหิ ารจดั การสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่อำเภออ่าวลึก เป็นสหกรณ์การเกษตรทั้งหมด 7
แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 ได้เข้าแนะนำ ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกร ทกุ แห่งดำเนนิ กจิ การภายใต้กฎหมาย ขอ้ บังคับ และระเบียบของสหกรณก์ ำหนดอย่าง
เคร่งครัด เข้าร่วมประชุมกลุ่มสมาชิก ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ และเข้าร่วมประชุมใหญ่
สามัญประจำปีของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร มีการให้ความรู้ ทำความเข้าใจกับบุคลากร
ของสหกรณ์เกย่ี วกับการบริหารจัดการงานสหกรณ์ เผยแพร่อุดมการณ์ หลกั การ วธิ ีการสหกรณ์ให้กับ
สมาชิกเข้าใหม่ มีการสอนแนะ และให้คำปรึกษาเก่ียวกับการจัดทำรายงานต่างๆ ต่อนายทะเบียน
สหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์สามารถป้องกันการเกิด ข้อบกพร่องได้ สำหรับสหกรณ์ที่อยู่ในความ
รับผิดชอบกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 ไม่มีข้อบกพร่อง มีข้อสังเกต จากผู้สอบบัญชี และมีการติดตาม
แนะนำ ส่งเสริมให้มีการแก้ไขข้อสังเกตเป็นไปตามเป้าหมายของการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ท้ังส้ิน
กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 สามารถรักษามาตรฐานสหกรณ์ จำนวน 3 สหกรณ์ และส่วนท่ีเหลือเป็น
สหกรณ์ที่มีผลการดำเนินธุรกิจขาดทุนสหกรณ์ส่วนใหญ่ทำธุรกิจรวบรว มผลผลิตปาล์มน้ำมันทำให้มี
ต้นทุนค่าใช้จ่ายสูงประกอบกับราคาผลผลิตผันผวนตลอดเวลา ส่วนสหกรณ์ที่เหลือเป็นสหกรณ์จัดต้ัง
ใหม่ไม่ถึง 2 ปี จึงไม่สามารถนำมาจัดมาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ อย่างไรก็ดี ได้มีการ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 39
แนะนำ ส่งเสริม เตรียมความพร้อมในการพัฒนาการบริหารกิจการสหกรณ์ให้เป็นไปด้วยความ
เรยี บร้อยตอ่ ไป
การแนะนำ ส่งเสริม ด้านการดำเนินธรุ กจิ
สหกรณน์ อกภาคการเกษตร ในพื้นทอี่ ำเภออา่ วลึก ไมม่ สี หกรณ์นอกภาคการเกษตร
สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร ในพื้นท่ีอำเภออ่าวลึก มีสหกรณ์
ประเภทการเกษตร จำนวน 7 สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 กลุ่มเกษตรกร มีการดำเนิน
ธุรกิจธุรกิจรวบรวมผลผลิต เป็นหลัก และธุรกจิ อื่น ได้แก่ จัดหาสนิ ค้ามาจำหน่ายให้กับสมาชิก ธุรกิจ
แปรรูป ธุรกิจสินเช่ือ และธุรกิจเงินรับฝาก กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 ได้เข้าแนะนำ ส่งเสริม ช่วยเหลือ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรภาคการเกษตร ในการจัดทำแผนพัฒนาธุรกิจ สำหรับสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรที่มีการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตยางพารา ได้ให้สหกรณ์กองทุนสวนยางน้ำจานสามัคคี
จำกัด เปน็ จุดรวบรวมยางก้นถ้วย เพ่ือเป็นตลาดประมูลยางกน้ ถ้วย ทำให้สมาชิกสหกรณ์และสหกรณ์
ใกลเ้ คียง ทำให้สมาชกิ และสหกรณ์ที่เข้ารว่ มมีรายไดเ้ พมิ่ มากขนึ้ เรียกความเชื่อมน่ั ในระบบสหกรณ์
ไดม้ ากขึ้น สำหรับสหกรณ์การเกษตรทม่ี ีผลการดำเนนิ งานขาดทุนสะสมหลายปี ได้แนะนำ สง่ เสริมให้
มกี ารติดตามแผนงาน-งบประมาณ เปรียบเทยี บกับแผนงานประจำปีเปน็ ประจำทุกเดือน
จนทำให้ผลการดำเนนิ กิจการของสหกรณป์ ระจำปีนี้ มีกำไรสุทธิ สามารถนำกำไรท่ีได้ไปหักชดเชยการ
ขาดทนุ สะสมบางสว่ น ส่วนท่ีเหลอื นำไปจดั สรรเปน็ ปนั ผล เฉลยี่ คืนใหก้ บั สมาชิกได้
⚫ ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
1. สหกรณ์ขนาดเล็กและกลุ่มเกษตรกร พบปัญหาด้านการการควบคุมภายใน การ
บริหารจัดการธุรกิจและไม่มีฝ่ายจัดการ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินการขาดความรู้
ความสามารถในการบรหิ ารจัดการและการบรหิ ารธรุ กิจ
3. ชุมนุมสหกรณ์ฯ ประสบปัญหาการทุจริต และการขาดสภาพคล่องอย่างรุนแรง
ไม่มเี งนิ ทุนหมนุ เวียนในการดำเนินธรุ กิจ ส่งผลใหข้ าดความเชือ่ มัน่ จากสหกรณส์ มาชกิ
4. การจัดทำเอกสารประกอบการ ลงบัญชี การบันทึกรายการบัญชีขั้นต้นและขั้น
ปลาย บัญชีย่อยและทะเบียนต่างๆ ขาดบุคลากรในการบันทึกบัญชีส่งผลซึ่งผู้ทำบัญชียังบันทึก
รายการบัญชีไม่เรยี บร้อย ไม่เป็นปัจจุบัน
5. คณะกรรมการยังขาดความชำนาญในด้านการบรหิ ารธุรกิจ และขาดการทบทวน
ความรู้ความเข้าใจข้อบังคับ ระเบียบ อย่างละเอียดรอบคอบในการดำเนินงาน ส่วนในเรื่องบทบาท
ภารกิจ หน้าท่ีคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ มีการแบ่งแยกหน้าที่ของคณะกรรมการเป็นไปตาม
ข้อบังคับ แต่ในทางปฏิบัติส่วนใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดำเนินงานโดยกรรมการคนใดคนหนึ่งเป็น
ผปู้ ฏบิ ตั เิ พยี งผู้เดียว
6. สมาชิกในปัจจุบันขาดอุดมการณ์ ศรัทธา และความรทู้ ี่มีต่อระบบสหกรณ์ ส่งผล
ในดา้ นการมสี ่วนร่วมในการดำเนนิ ธุรกจิ
7. จากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรได้รับผลกระทบ สมาชิกได้รับความร้อนจากการประกอบอาชีพ ส่งผลให้ธุรกิจสินเชื่อ และ
การจำหนา่ ยสนิ คา้ มปี รมิ าณธุรกจิ ที่ลดลงจากปกี ่อน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 40
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปัญหา
1. คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ต้องได้รับการเสริมสร้างองค์ความรู้ให้สามารถ
บรหิ ารงานสหกรณแ์ ละการบริหารธรุ กจิ สหกรณ์ไดท้ นั ตอ่ สถานการณ์ในปจั จบุ นั ทเ่ี ปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็
2. ปรับปรงุ แก้ไขปญั หาดา้ น กฎ ระเบยี บ ท่ขี าดความยดื หยนุ่ ในการดำเนินงานของสหกรณ์
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์กองทุนสวนยางน้ำจานสามัคคี จำกัด
ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร
สหกรณ์กองทุนสวนยางน้ำจานสามัคคี จำกัด จดทะเบียนเม่ือวันท่ี 28 กรกฎาคม
2538 ตลอดระยะเวลาของการดำเนินกิจการเป็นเวลา 26 ปี สหกรณฯ์ ดำเนนิ ธรุ กิจรวบรวมผลติ ผล
ทางการเกษตรเป็นหลัก, มีธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย, ธุรกิจแปรรูป และธุรกิจรับฝากเงิน ผลการ
ดำเนินงาน 5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปีบัญชีส้ินสุด 31 มีนาคม 2560-2564 สหกรณ์มีผลกำไร
จาการดำเนินธุรกิจ สำหรับในปีบัญชีส้ินสุด 31 มีนาคม 2564 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกับ
คณะกรรมการดำเนนิ การและฝ่ายจัดการสหกรณ์ ดำเนินการดังตอ่ ไปนี้
1. เป็นท่ีปรกึ ษา แนะนำส่งเสรมิ และรว่ มกนั จัดทำแผนพฒั นาสหกรณ์
2. มีการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบและข้อบังคับของสหกรณ์ท้ังฉบับ เพ่ือให้สอดคล้อง
กบั กฎหมาย ประกาศ คำส่งั ของนายทะเบียนสหกรณ์ และการดำเนินธุรกจิ ของสหกรณ์ในปจั จุบัน
3. กำหนดให้มีการติดตามผลการดำเนินกิจการเปรียบเทียบกับแผนงาน
งบประมาณ รายรบั -รายจ่ายทไี่ ดร้ บั การอนุมัติจากท่ีประชมุ ใหญฯ่ เปน็ ประจำทกุ เดือน
4. ทบทวนแผนงานการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต
พร้อมทั้งกำหนดมาตรการการกระจายความเสยี่ งในการนำผลติ ผลของสมาชิกไปจำหน่าย
5. ลงพ้นื ทท่ี ำความเข้าใจกบั สมาชกิ ในทีป่ ระชมุ กลุ่มสมาชิก
6. ลดค่าใช้จ่ายท่ไี ม่จำเปน็
จากการดำเนินการดังกล่าว ส่งผลให้ปีบัญชีสิ้นสุด 31 มีนาคม 2564 สหกรณ์มี
กำไรสทุ ธิ 612,190.24 บาท นำกำไรที่ได้ไปจัดสรรเป็นเงินปันผลและเฉลี่ยคืนให้กบั สมาชิกได้ ทำ
ให้สามารถเรียกความเช่ือม่นั ใหก้ ับสมาชิกได้
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 41
ตารางแสดงผลการดำเนินกจิ การของสหกรณ์ 5 ปียอ้ นหลงั
ปีบัญชี ผลการดำเนนิ สาเหตุของการมกี ำไร/ขาดทุนสทุ ธิ
สน้ิ สุด กิจการกำไร/
ขาดทุนสทุ ธิ เนือ่ งจากสหกรณม์ กี ารดำเนินธรุ กจิ ท่ี ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของสมาชกิ
31 มี.ค. 3,265,072.17 และมคี คู่ า้ ในการจำหนา่ ยผลติ ภัณฑ์ของสหกรณห์ ลายแห่ง สหกรณม์ ี
60 ทางเลอื กทจี่ ะจำหน่ายผลติ ภณั ฑ์ให้กับคคู่ ้าท่ีใหร้ าคาสูง และสหกรณ์มกี าร
2,824,174.52 คำนวณตน้ ทนุ การผลิตและการจำหนา่ ยเป็นประจำ
31 ม.ี ค.
61
ปีบัญชี ผลการดำเนนิ สาเหตขุ องการมีกำไร/ขาดทุนสุทธิ
สิ้นสดุ กิจการกำไร/
ขาดทุนสุทธิ ขาดทนุ เน่ืองจากสหกรณ์ ได้ไปถือหุ้นของชมุ นุมสหกรณช์ าวสวนปาล์มน้ำมัน
31 มี.ค. กระบี่จำกดั ซง่ึ ผ้สู อบบญั ชไี ด้ คดิ เปน็ คา่ เผอ่ื การปรับมลู ค่าหุ้นเตม็ จำนวน
62 (6,135,224.91) 6,437,000 บาท
31 ม.ี ค. 1,306,694.36 เน่ืองจากสหกรณ์มกี ารดำเนินธุรกจิ ท่ี ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของสมาชกิ
63 และมคี คู่ า้ ในการจำหนา่ ยผลิตภณั ฑข์ องสหกรณห์ ลายแหง่ สหกรณม์ ี
ทางเลือกท่จี ะจำหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ใหก้ ับค่คู ้าทีใ่ ห้ราคาสงู และสหกรณ์มีการ
คำนวณต้นทนุ การผลติ และการจำหนา่ ยเป็นประจำ
31 ม.ี ค.64 612,190.24 เนอื่ งจากยอดขายปาลม์ น้ำมันและต้นทุนขาย งบกำไรขาดทนุ แสดงยอดขาย/
บริการ จำนวน 214,260,501.74 บาท
ในจำนวนน้ีรวมยอดขายปาล์มนำ้ มัน 185,613,106.05 บาท คดิ เป็นร้อย
ละ 86.63 ของยอดขาย/บรกิ ารและแสดงต้นทนุ ขาย จำนวน
209,369,664.95 บาท ในจำนวนน้รี วมต้นทนุ ขายปาลม์ นำ้ มนั
183,885,367.00 บาท คดิ เปน็ ร้อยละ 87.83 ของต้นทุนขายการ
รวบรวมผลผลติ ปาลม์ นำ้ มนั เป็นธุรกจิ หลกั ของสหกรณส์ หกรณม์ กี ารดำเนิน
ธรุ กจิ ทตี่ อบสนองตอ่ ความต้องการของสมาชิก
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 42
ทัง้ น้ี จากการดำเนินกิจการที่ได้จากการจัดทำแผนพัฒนาสหกรณ์ ซง่ึ ได้รับความร่วมมือจาก
บุคลากรของสหกรณ์เป็นอย่างดีส่งผลให้สหกรณ์กองทุนสวนยางน้ำจานสามัคคี จำกัด สามารถรกั ษา
ระดบั มาตรฐานของกรมสง่ เสริมสหกรณไ์ ดใ้ น ระดับดีเลิศ (A) คะแนน 98.45
รวมภาพกิจกรรม การประชุมใหญ่สามัญประจำปีของสหกรณ์ การประชุมคณะกรรมการ
ดำเนนิ การประจำเดือน แนะนำ ส่งเสริม กำกบั ดแู ล สหกรณ์ และการประชุมกลมุ่ สมาชกิ
ปัจจัยแหง่ ความสำเรจ็ (เพ่อื เป็นกรณศี กึ ษาตวั อยา่ งที่ดีหรอื แนวทางในการส่งเสริม)
1. คณะกรรมการดำเนินการและฝา่ ยจดั การของสหกรณ์จะต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ
บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง ไมม่ ีความขัดแย้งภายในสหกรณ์ และมีวิสยั ทัศน์ต่อองค์กร
เป็นไปในทิศทางเดยี วกนั ทำใหส้ หกรณส์ ามารถเป็นท่ีพึ่งให้กับมวลสมาชิกได้
2. สมาชิกของสหกรณ์ ในฐานะเจ้าของสหกรณ์ จะต้องมีความรคู้ วามเข้าใจ ในบทบาท สิทธิ
และหนา้ ทข่ี องตน เพ่ือชว่ ยกนั ดแู ล ปกป้ององคก์ รใหม้ ีความเขม้ แขง็
3. เจ้าหน้าท่ีจากหน่วยงานราชการท่ีมีหน้าที่ แนะนำ ส่งเสริม กำกับ และตรวจสอบการ
ดำเนินกิจการของสหกรณ์ จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในงานที่ทำอย่างถ่องแท้ เป็นท่ีปรึกษาที่ดี
ใหก้ บั สหกรณ์
อำเภอ ปลายพระยา
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 4 แห่ง สมาชิก 1,149 คน และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง สมาชิก 94 คน
สหกรณ์ จำนวน 4 แห่ง
1. สหกรณก์ องทนุ สวนยางปากนำ้ จำกัด สมาชิก 208 คน
2. สหกรณก์ องทนุ สวนยางบ้านชอ่ งแบก จำกัด สมาชกิ 211 คน
3. สหกรณ์การเกษตรปลายพระยา จำกดั สมาชกิ 582 คน
4. สหกรณ์เคหะสถานบา้ นมั่นคงเทศบาลตำบลปลายพระยา จำกัด สมาชิก 54 คน
กล่มุ เกษตรกร จำนวน 1 แห่ง
1. กล่มุ เกษตรกรทำสวนคีรีวง (ปลายพระยา) สมาชิก 94 คน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 43
⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสรมิ และแก้ไขปัญหาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
การแนะนำ สง่ เสริม ดา้ นการพฒั นาการบรหิ ารจดั การสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นท่ีอำเภอปลายพระยา แยกเป็นสหกรณ์บริการ 1
แห่ง, สหกรณ์การเกษตร 3 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 ได้เข้าแนะนำ
ส่งเสริมให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทุกแห่ง ดำเนินกิจการภายใต้กฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบ
ของสหกรณ์กำหนดอยา่ งเครง่ ครัด เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการ และเข้าร่วมประชุมใหญ่
สามัญประจำปีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้และทำความเข้าใจกับบุคลากรของสหกรณ์
เก่ียวกับการบริหารจัดการงานสหกรณ์ เผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ให้กับสมาชิกเข้า
ใหม่ มีการสอนแนะ และใหค้ ำปรึกษาเกี่ยวกับการจัดทำรายงานตา่ งๆ ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ส่งผล
ให้สหกรณ์สามารถป้องกันการเกิดข้อบกพร่องได้ และสหกรณ์ไม่มีข้อบกพร่อง แต่มีข้อสังเกต
ของผู้สอบบัญชีและได้มีการติดตาม แนะนำ ส่งเสริมให้มีการแก้ไขข้อสังเกตเป็นไปตามเป้าหมายของ
การแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ท้ังส้ิน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 ไม่สามารถผลักดันมาตรฐานสหกรณ์ตาม
เกณฑ์กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ จำนวน 4 แห่ง เนื่องจากเป็นสหกรณ์ท่ีมีผลการดำเนินธุรกิจขาดทุน
สหกรณ์ส่วนใหญ่ทำธุรกิจรวบรวมผลผลิตปาล์มน้ำมันทำให้มีต้นทุนค่าใช้จ่ายสูงประกอบกับราคา
ผลผลติ ผนั ผวนตลอดเวลา
การแนะนำ สง่ เสรมิ ดา้ นการดำเนินธรุ กิจ
สหกรณ์นอกภาคการเกษตร ในพื้นท่ีอำเภอปลายพระยา มีสหกรณ์ประเภทบริการ
จำนวน 1 สหกรณ์ การดำเนินธุรกิจการให้บริการจัดหาท่ีอยู่อาศัยให้กับสมาชิก จากผลการ
ดำเนินงานของสหกรณ์มีกำไรสุทธิสามารถจัดสรรกำไรสุทธิเป็นไปตามข้อบังคับกำหนดได้ทั้งส้ิน แต่
เนื่องจากในปีที่ผ่านมา สหกรณ์ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
ส่งผลกระทบต่อการประกอบอาชีพของสมาชิก ในบางสหกรณ์ อาจทำให้ยอดการชำระเงินคืนเงินกู้
ของสมาชิกลดลงจากปีก่อนเล็กน้อย อย่างไรก็ดี สหกรณ์ได้มีมาตรการให้ความช่วยเหลือสมาชิกด้าน
หนี้สินและการปรับปรุงโครงสร้างหน้ีของสมาชิก อาทิเช่น การพักชำระต้นเงิน, การปรับลดอัตรา
ดอกเบยี้ , การปรบั ลดค่าบริการ และมอบเงนิ ช่วยเหลือสมาชกิ เพ่อื เป็นคา่ ใช้จา่ ยในครวั เรือน เปน็ ตน้
สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร ในพื้นท่ีอำเภอปลายพระยา มีสหกรณ์
ประเภทการเกษตร จำนวน 3 สหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 กลุ่มเกษตรกร มีการดำเนิน
ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่ายให้กับสมาชิกเป็นหลัก และธุรกิจอื่น ได้แก่ ธุรกิจรวบรวมผลผลิต ธุรกิจ
แปรรูป กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 ได้เข้าแนะนำ ส่งเสริม ช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรภาค
การเกษตร ในการจัดทำแผนพัฒนาธุรกิจ สำหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีการดำเนินธุรกิจ
รวบรวมผลผลิตยางพารา ได้ให้สหกรณ์กองทุนสวนยางน้ำจานสามัคคี จำกัด เป็นจุดรวบรวมยางก้น
ถ้วย เพื่อเป็นตลาดประมูลยางก้นถ้วย ทำให้สมาชิกสหกรณ์และสหกรณ์ใกล้เคียง ทำให้สมาชิกและ
สหกรณ์ท่ีเข้าร่วมมีรายได้เพิ่มมากข้ึน เรียกความเชื่อม่ันในระบบสหกรณ์ได้มากขึ้น สำหรับสหกรณ์
การเกษตรท่ีมีผลการดำเนินงานขาดทุนสะสมหลายปี ได้แนะนำ ส่งเสริมให้มีการติดตามแผนงาน-
งบประมาณ เปรียบเทียบกับแผนงานประจำปีเป็นประจำทุกเดือน จนทำให้ผลการดำเนินกิจการของ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 44
สหกรณ์ประจำปีน้ี มีกำไรสุทธิ สามารถนำกำไรท่ีได้ไปหักชดเชยการขาดทุนสะสมบางส่วน ส่วนท่ี
เหลือนำไปจดั สรรเปน็ ปันผล เฉล่ียคนื ให้กับสมาชิกได้
⚫ ปญั หา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
1. สหกรณ์ขนาดเล็กและกลุ่มเกษตรกร พบปัญหาด้านการการควบคุมภายใน การ
บริหารจัดการธุรกิจและไม่มีฝ่ายจัดการ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินการขาดความรู้
ความสามารถในการบริหารจดั การและการบรหิ ารธุรกิจ
2. การจัดทำเอกสารประกอบการ ลงบัญชี การบันทึกรายการบัญชีข้ันต้นและขั้น
ปลาย บัญชีย่อยและทะเบยี นต่างๆ ขาดบุคลากรในการบันทึกบันชสี ่งผลซง่ึ ผทู้ ำบัญชยี ังบนั ทึกรายการ
บัญชไี มเ่ รยี บร้อยไม่เปน็ ปจั จบุ ัน
3. คณะกรรมการยังขาดความชำนาญในด้านการบริหารธุรกิจ และขาดการทบทวน
ความรู้ความเข้าใจข้อบังคับ ระเบียบ อย่างละเอียดรอบคอบในการดำเนินงาน ส่วนในเรื่องบทบาท
ภารกิจ หน้าที่คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ มีการแบ่งแยกหน้าที่ของคณะกรรมการเป็นไปตาม
ข้อบังคับ แต่ในทางปฏิบัติส่วนใหญ่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรดำเนินงานโดยกรรมการคนใดคนหน่ึงเป็น
ผู้ปฏบิ ัติเพยี งผู้เดยี ว
4. สมาชิกในปัจจุบันขาดอุดมการณ์ ศรัทธา และความร้ทู ี่มีต่อระบบสหกรณ์ ส่งผล
ในด้านการมสี ่วนร่วมในการดำเนินธุรกจิ
5. จากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรได้รับผลกระทบ สมาชิกได้รับความร้อนจากการประกอบอาชีพ ส่งผลให้ธุรกิจสินเช่ือ และ
การจำหนา่ ยสนิ คา้ มีปริมาณธุรกจิ ทีล่ ดลงจากปีกอ่ น
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา
1. คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ต้องได้รับการเสริมสร้างองค์ความรู้ให้สามารถ
บริหารงานสหกรณแ์ ละการบรหิ ารธรุ กิจสหกรณ์ได้ทนั ตอ่ สถานการณใ์ นปจั จุบันทีเ่ ปลี่ยนแปลงอย่างรวดเรว็
2. ปรบั ปรุง แก้ไขปญั หาดา้ นกฎ ระเบียบ ท่ขี าดความยดื หยุ่นในการดำเนินงานของสหกรณ์
3. คณะกรรมการดำเนินการและฝ่ายจดั การ จะต้องตดิ ตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องอยา่ งใกลช้ ดิ
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์กองทนุ สวนยางปากนำ้ จำกัด
ผลงาน/ความสำเร็จของสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร
สหกรณ์กองทุนสวนยางปากน้ำ จำกัด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2537
ตลอดระยะเวลาของการดำเนินกิจการเป็นเวลา 27 ปี สหกรณ์ฯ ดำเนินธุรกิจรวบรวมผลิตผลเป็น
หลัก, มีธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย, ธุรกิจแปรรูป และธุรกิจรบั ฝากเงิน ผลการดำเนินงาน 5
ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปีบัญชีสน้ิ สุด 31 มีนาคม 2560-2564 สหกรณ์ดำเนินธรุ กิจขาดทุน สำหรับในปี
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 45
บัญชีสิ้นสดุ 31 มนี าคม 2564 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกับคณะกรรมการดำเนนิ การและฝ่าย
จดั การสหกรณ์ ดำเนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี
1. เป็นท่ปี รึกษา แนะนำสง่ เสรมิ และร่วมกันจัดทำแผนพฒั นาสหกรณ์
2. มีการแก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบและข้อบังคับของสหกรณ์ทั้งฉบับ เพื่อให้สอดคล้อง
กับกฎหมาย ประกาศ คำส่ังของนายทะเบยี นสหกรณ์ และการดำเนินธุรกจิ ของสหกรณ์ในปัจจุบนั
3. กำหนดให้มีการติดตามผลการดำเนินกิจการเปรียบเทียบกับแผนงาน
งบประมาณราย รบั -รายจ่ายทไี่ ด้รบั การอนุมัติจากทป่ี ระชุมใหญ่ฯ เปน็ ประจำทุกเดอื น
4. ทบทวนแผนงานการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับช่วงฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต
พรอ้ มทง้ั กำหนดมาตรการการกระจายความเสี่ยงในการนำผลติ ผลของสมาชกิ ไปจำหนา่ ย
5. ลงพืน้ ทท่ี ำความเข้าใจกบั สมาชกิ ในทป่ี ระชมุ กลุ่มสมาชกิ
6. ลดค่าใช้จ่ายทีไ่ ม่จำเป็น
จากการดำเนินการดังกล่าว ส่งผลให้ปีบัญชสี ้นิ สุด 31 มนี าคม 2564 สหกรณ์มผี ล
ประกอบการขาดทนุ
ตารางแสดงผลการดำเนนิ กิจการของสหกรณ์ 5 ปยี อ้ นหลัง
ปบี ัญชีส้นิ สดุ ผลการดำเนนิ กิจการกำไร/ขาดทนุ สาเหตุของการมกี ำไร/ขาดทุนสทุ ธิ
31 ม.ี ค. 60 สทุ ธิ
กำไรจากธรุ กจิ จดั หาสนิ ค้ามา
393,430.19 จำหน่าย กำไรจากธรุ กจิ แปรรูปนำ้
ยางสดเป็นยางแผนดบิ และธรุ กจิ
แปรรูปปุ๋ยผสมโดยสมาชกิ มีส่วน
ร่วมในการทำธุรกจิ เพม่ิ ขนึ้
31 ม.ี ค. 61 (1,467,348.02) เนอื่ งสหกรณ์มตี ้นทนุ ในการผลิตสงู
แตผ่ ลผลติ มีจำนวนลดลง ทำใหก้ าร
ดำเนินธุรกิจไม่คุ้มกับตน้ ทุนการผลิต
31 ม.ี ค. 62 233,721.81 กำไรจากธรุ กิจจัดหาสินค้ามา
31 มี.ค. 63 100,109.50 จำหน่าย กำไรจากธรุ กจิ แปรรูปนำ้
ยางสดเป็นยางแผนดิบ และธุรกิจ
แปรรปู ปยุ๋ ผสมโดยสมาชิกมีส่วน
รว่ มในการทำธุรกิจเพม่ิ ข้ึน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 46
31 ม.ี ค.64 (1,364,628.98) เนอ่ื งจากการผนั ผวนของราคา
ผลผลิตและต้นทนุ การผลติ เพิ่มขึ้น
จากคา่ แรง ราคานำ้ มนั เช้ือเพลงิ ซ่ึง
เปน็ ปัจจยั หลกั การขนส่งสินคา้
และการแปรรปู ผลผลิต ส่งผล
กระทบโดยตรงต่อตน้ ทุนการผลติ
เปน็ เหตุใหส้ หกรณข์ าดทนุ
ทั้งน้ี จากการดำเนินกิจการท่ีได้จากการจัดทำแผนพัฒนาสหกรณ์ ซ่ึงได้รับความร่วมมือจาก
บุคลากรของสหกรณ์เป็นอย่างดีส่งผลให้สหกรณ์กองทุนสวนยางปากน้ำ จำกัด สามารถรักษาระดับ
มาตรฐานของ กรมส่งเสริมสหกรณไ์ ด้ใน ระดบั ดี (C) คะแนน 79.5
รวมภาพกิจกรรม การประชุมคณะกรรมการดำเนินการประจำเดือน การประชุมใหญ่สามัญประจำปี
ของสหกรณ์ และการดำเนนิ ธุรกิจของสหกรณ์
ปัจจยั แหง่ ความสำเร็จ (เพ่อื เป็นกรณศี กึ ษาตัวอย่างท่ีดีหรอื แนวทางในการส่งเสรมิ )
1. คณะกรรมการดำเนินการและฝา่ ยจัดการของสหกรณ์จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับ
บทบาท หน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง ไม่มีความขัดแย้งภายในสหกรณ์ และมีวิสัยทัศน์ต่อองค์กร
เป็นไปในทศิ ทางเดยี วกนั ทำให้สหกรณส์ ามารถเป็นทพี่ ง่ึ ให้กับมวลสมาชิกได้
2. สมาชิกของสหกรณ์ ในฐานะเจ้าของสหกรณ์ จะต้องมีความรคู้ วามเข้าใจ ในบทบาท สทิ ธิ
และหน้าทีข่ องตน เพอื่ ชว่ ยกนั ดแู ล ปกป้ององคก์ รใหม้ คี วามเขม้ แข็ง
3. เจา้ หน้าที่จากหน่วยงานราชการที่มีหน้าท่ี แนะนำ สง่ เสรมิ กำกบั และตรวจสอบการ
ดำเนินกิจการของสหกรณ์ จะตอ้ งมีความรู้ ความเข้าใจในงานท่ีทำอย่างถ่องแท้ เปน็ ทปี่ รึกษาท่ีดี
ให้กบั สหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 47
อำเภอ เขาพนม
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ 3 แหง่ สมาชิก 264 คน กลุม่ เกษตรกร 1 แห่ง สมาชิก 34 คน
สหกรณ์ จำนวน 3 แห่ง
1. สหกรณ์กองทุนสวนยางตำบลหนา้ เขา จำกดั สมาชิก 93 คน
2. สหกรณก์ องทุนสวนยางตำบลพรุเตียว จำกดั สมาชกิ 50 คน
3. สหกรณก์ ารเกษตรเมืองใหม่เขาพนม จำกัด สมาชกิ 121 คน
กลุม่ เกษตรกร จำนวน 1 แห่ง
1. กลมุ่ เกษตรกรทำสวนเขาดิน สมาชิก 34 คน
⚫ ผลการเข้าแนะนำ ส่งเสริม และแกไ้ ขปญั หาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
การแนะนำ สง่ เสรมิ ด้านการพฒั นาการบริหารจดั การสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ในพื้นที่อำเภอเขาพนม เป็นสหกรณ์การเกษตร จำนวน
3 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร 1 แห่ง กลุ่มสง่ เสริมสหกรณ์ 4 ไดเ้ ข้าแนะนำ สง่ เสริมให้สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรทุกแห่ง ดำเนินกิจการภายใต้กฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบของสหกรณ์กำหนดอย่าง
เคร่งครัด เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการ และเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญประจำปีของ
สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้ความรู้และทำความเข้าใจกับบุคลากรของสหกรณ์เกี่ยวกับการบริหาร
จดั การงานสหกรณ์ เผยแพร่อุดมการณ์ หลักการ วิธีการสหกรณ์ให้กับสมาชิกเข้าใหม่ มีการสอนแนะ
และให้คำปรึกษาเก่ียวกับการจัดทำรายงานต่างๆ ต่อนายทะเบียนสหกรณ์ ส่งผลให้สหกรณ์สามารถ
ป้องกันการเกิดข้อบกพร่องได้ และสำหรับสหกรณ์ที่มีข้อสังเกต ของผู้สอบบัญชี ได้มีการติดตาม
แนะนำ ส่งเสริมให้มีการแก้ไขข้อสังเกตเป็นไปตามเป้าหมายของการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ทั้งส้ิน
กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 ไม่สามารถผลักดันมาตรฐานสหกรณ์ตามเกณฑ์กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้ ท้ัง 3
สหกรณ์ เนื่องจากในปีที่ผ่านมา เป็นสหกรณ์ที่หยุดดำเนินการและเป็นสหกรณ์ที่จัดตั้งไม่เกิน 2 ปี จึง
ไม่สามารถนำมาจดั มาตรฐานของกรมสง่ เสริมสหกรณ์ได้
การแนะนำ สง่ เสรมิ ด้านการดำเนินธรุ กจิ
สหกรณน์ อกภาคการเกษตร ในพื้นท่ีอำเภอเขาพนม ไมม่ ีสหกรณ์นอกภาคการเกษตร
สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร ในพ้ืนท่ีอำเภอเขาพนม มีสหกรณ์
ประเภทการเกษตร จำนวน 3 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 1 กลุ่มเกษตรกร มีการดำเนินธุรกิจ
ธุรกิจรวบรวมผลผลิต เป็นหลัก และธุรกิจอื่น ได้แก่ ธุรกิจแปรรูป กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 4 ได้เข้า
แนะนำ ส่งเสริม ช่วยเหลือสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรภาคการเกษตร ในการจัดทำแผนพัฒนาธุรกิจ
สำหรับสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีการดำเนินธุรกิจรวบรวมผลผลิตยางพารา ได้ให้สหกรณ์กองทุน
สวนยางน้ำจานสามัคคี จำกัด เป็นจุดรวบรวมยางก้นถ้วย เพื่อเป็นตลาดประมูลยางก้นถ้วย ทำให้
สมาชิกสหกรณ์และสหกรณ์ใกล้เคียง ทำให้สมาชิกและสหกรณ์ที่เข้าร่วมมีรายได้เพ่ิมมากข้ึน เรียก
ความเชือ่ มน่ั ในระบบสหกรณ์ได้มากข้ึน สำหรับสหกรณ์การเกษตรที่มีผลการดำเนินงานขาดทนุ สะสม
หลายปี ได้แนะนำ ส่งเสริมให้มีการติดตามแผนงาน-งบประมาณ เปรียบเทียบกับแผนงานประจำปี
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 48
เป็นประจำทุกเดือน จนทำใหผ้ ลการดำเนินกจิ การของสหกรณ์ประจำปีนี้ มกี ำไรสุทธิ สามารถนำกำไร
ทไ่ี ด้ไปหักชดเชยการขาดทนุ สะสมบางสว่ น สว่ นที่เหลอื นำไปจัดสรรเปน็ ปนั ผล เฉลยี่ คนื ใหก้ บั สมาชิกได้
⚫ ปัญหา/อปุ สรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
1. สหกรณ์ขนาดเล็กและกลุ่มเกษตรกร พบปัญหาด้านการการควบคุมภายใน การ
บริหารจัดการธุรกิจและไม่มีฝ่ายจัดการ ประกอบกับคณะกรรมการดำเนินการขาดความรู้
ความสามารถในการบริหารจัดการและการบรหิ ารธรุ กิจ
2. การจัดทำเอกสารประกอบการ ลงบัญชี การบันทึกรายการบัญชีข้ันต้นและขั้น
ปลาย บัญชียอ่ ยและทะเบยี นต่างๆ ขาดบคุ ลากรในการบันทกึ บนั ชสี ่งผลซงึ่ ผู้ทำบญั ชยี งั บันทึกรายการ
บญั ชไี มเ่ รยี บรอ้ ยไม่เป็นปัจจุบัน
3. คณะกรรมการยังขาดความชำนาญในด้านการบรหิ ารธุรกิจ และขาดการทบทวน
ความรู้ความเข้าใจข้อบังคับ ระเบียบ อย่างละเอียดรอบคอบในการดำเนินงาน ส่วนในเร่ืองบทบาท
ภารกิจ หน้าท่ีคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ มีการแบ่งแยกหน้าท่ีของคณะกรรมการเป็นไปตาม
ขอ้ บังคับ แต่ในทางปฏิบัติส่วนใหญ่สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรดำเนินงานโดยกรรมการคนใดคนหน่ึงเป็น
ผูป้ ฏิบตั ิเพยี งผเู้ ดยี ว
4. สมาชิกในปัจจุบันขาดอุดมการณ์ ศรัทธา และความร้ทู ่ีมีต่อระบบสหกรณ์ ส่งผล
ในดา้ นการมีสว่ นร่วมในการดำเนินธุรกิจ
5. จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ทำให้สหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรได้รับผลกระทบ สมาชิกได้รับความร้อนจากการประกอบอาชีพ ส่งผลให้ธุรกิจสินเชื่อ และ
การจำหนา่ ยสินค้ามปี ริมาณธรุ กิจที่ลดลงจากปีกอ่ น
6. ขาดเจ้าหนา้ ทใี่ นการจดั ทำงบการเงิน
7. สมาชกิ ในปัจจุบันขาดอุดมการณ์ ศรัทธา และความรู้ที่มีต่อระบบสหกรณ์ ส่งผล
ในด้านการมสี ว่ นรว่ มในการดำเนินธุรกิจ
⚫ ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปญั หา
1. คณะกรรมการและฝ่ายจัดการท่ีเกี่ยวข้อง ต้องร่วมกันแก้ไขข้อบกพร่องของ
สหกรณต์ ามวิธกี ารและระยะเวลาท่นี ายทะเบียนสหกรณก์ ำหนด
2. คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ ต้องได้รับการเสริมสร้างองค์ความรู้ให้สามารถ
บรหิ ารงานสหกรณ์และการบรหิ ารธรุ กิจสหกรณ์ได้ทันตอ่ สถานการณ์ในปัจจุบนั ทเี่ ปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรท่ีสะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
-ไม่ม-ี
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 49
◼ งานส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรให้มีความเขม้ แขง็ ตามศกั ยภาพ
นิคมสหกรณ์คลองทอ่ ม
อำเภอ คลองทอ่ ม
ประกอบด้วย สหกรณ์ 2 แหง่ คอื 1. สหกรณ์นิคมคลองทอ่ ม จำกัด 2. สหกรณน์ คิ มคลองทอ่ มสอง
จำกัดสมาชิกมีทง้ั หมดจำนวน 3,893 คน กลมุ่ เกษตรกร …-… แห่งสมาชิก …-….. คน
⚫ผลการเข้าแนะนำ สง่ เสริม และแกไ้ ขปัญหาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
- สหกรณ์ไดร้ ายงานการแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง ใหน้ ายทะเบยี นสหกรณท์ ราบเปน็ ประจำทุกเดือน
- สหกรณ์มีการติดตาม เร่งรัดการชำระหน้ีของลูกหนี้ที่ค้างชำระ และรายงานผลการติดตาม การ
ชำระหน้ี ในท่ีประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเป็นประจำทุกเดือน และมีการจัดทำแผนงานเพ่ือติดตาม
และเรง่ รัดการชำระหนี้
- สหกรณ์ปฏิบตั ิตาม พรบ.สหกรณ์ ขอ้ บังคบั ระเบียบ ประกาศ ตามทน่ี ายทะเบยี นสหกรณก์ ำหนด มี
การควบคุมภายใน และแก้ไขจุดออ่ นต่าง ๆ เพื่อป้องกันไมใ่ ห้เกดิ ขอ้ บกพร่อง
- สหกรณ์มีการปรับลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเพื่อลดต้นทุนในการดำเนินธุรกิจ มีการศึกษาและ
วิเคราะห์ข้อมูลของธุรกิจแต่ละประเภท เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารงาน และการให้บริการแก่
สมาชกิ เพือ่ ใหส้ หกรณม์ ีผลการดำเนนิ งานทีด่ ขี ึ้น (มีกำไรสทุ ธ)ิ
- การพฒั นาธรุ กจิ ของสหกรณ์ สหกรณ์ไดเ้ ข้าร่วมเปน็ เครือขา่ ยเชอื่ มโยงร่วมกบั สหกรณ์อื่น ๆ
- สหกรณ์มีการแก้ไขขอ้ สังเกตท่ตี รวจพบจากการสอบบัญชี มีการกำหนดระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติ
ข้นึ ถอื ใช้ ให้สอดคล้องกบั การดำเนนิ งานของสหกรณ์
⚫ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกร
- สมาชิกไม่ให้ความร่วมมือในการทำธุรกิจกับสหกรณ์ จากการเข้าแนะนำส่งเสริมสหกรณ์พบว่า
สมาชิกมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจกับสหกรณ์เพ่ิมขึ้น แต่ก็ยังไม่ถึงเกณฑ์ท่ีกรมส่งเสริมได้กำหนดไว้
สาเหตเุ น่ืองมาจากสมาชกิ ขาดความเชือ่ ถอื และศรัทธาในตวั สหกรณ์
- สหกรณ์ขาดทุนในการดำเนินงาน มีการขาดทุนสะสมจนเกินทุนเรือนหุ้น สหกรณ์มีรายได้ไม่
เพียงพอกับรายจ่าย มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานสูง เน่ืองจากมีการแข่งขันในด้านการทำธุรกิจกับ
บุคคลภายนอก
- ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด 19 ส่งผลให้ไม่สามารถลงพ้ืนที่เพ่ือประชุมกลุ่ม
สมาชกิ สหกรณ์ และในการประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปีสมาชิกเขา้ ร่วมประชมุ มีจำนวยน้อยกว่าทุกปี
- สมาชิกบางส่วนเข้ามาเพื่อต้องการการได้รับอนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในท่ีดินของนิคมสหกรณ์
หรอื ไดห้ นังสือแสดงการทำประโยชน์ แต่ไมไ่ ดต้ ้องการมีส่วนรว่ มในการดำเนนิ ธรุ กิจกบั สหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 50
จึงเกิดปญั หาสมาชิกเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กรมส่งเสริมสหกรณ์
กำหนด
- สหกรณไ์ ม่มีเงนิ ทนุ หมุนเวยี นในการดำเนินธรุ กจิ เนอื่ งจากขาดสภาพคลอ่ งทางการเงิน
⚫ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา
- แนะนำให้สหกรณ์ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น และรายงานให้นายทะเบียนทราบเป็น
ประจำทุกเดือน - สร้างความเชื่อมั่นและศรัทธาให้เกิดกับสมาชิก โดยการจัดประชุมกลุ่ม เข้าพบปะ
สมาชิกเพื่อสอบถามความต้องการเกี่ยวกับการทำธุรกิจกับสหกรณ์ ประชาสัมพันธ์โครงการต่างๆ ที่
สหกรณ์ได้รับจากภาครัฐ และการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ ประโยชน์ที่สมาชิกได้รับเมื่อเข้ามาเป็น
สมาชิกสหกรณ์ ให้สมาชิกได้รับทราบผ่านช่องทางต่างๆ ที่หลากหลาย เช่น การประชุมกลุ่ม ติด
ประกาศท่ีบอร์ดประชาสมั พันธ์ของสหกรณ์ และของหม่บู ้าน หอกระจายข่าวของหมู่บา้ น Facebook
สหกรณ์
- ในธุรกิจที่สหกรณ์ประสบภาวะขาดทุน แนะนำให้คณะกรรมการดำเนินงาน ทบทวนและวิเคราะห์
ผลกระทบจากการดำเนินธรุ กิจ เพอื่ ให้ผลการดำเนนิ งานในธุรกิจนนั้ ดีขน้ึ
- สำรวจความต้องการของสมาชิกเป็นหลกั ในการทำธุรกจิ เพอ่ื สร้างการมีส่วนร่วม
- ปรับปรุงระบบการควบคุมภายในเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริตอันเป็นสาเหตุหลักท่ีทำให้สมาชิก
ขาดความเชอื่ ถอื และศรทั ธาสหกรณ์
⚫ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่สะท้อนผลสำเร็จของการปฏิบัติงานตามภารกิจของ สสจ./สสพ.
ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร สหกรณ์นิคมคลองท่อม จำกัด
ผลงาน/ความสำเรจ็ ของสหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกร
ในปี 2564 สหกรณ์นิคมคลองท่อม จำกัด มีผลการประเมินคุณภาพการควบคุม
ภายใน อยู่ในระดับดีสหกรณ์ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์ ผลการจัดระดับช้ัน
สหกรณ์ประจำปี อยู่ในระดับชั้น 2 ผลการดำเนินงานประจำปีส้ินสุด 31 มีนาคม 2564 สหกรณ์มี
กำไรสุทธิ จำนวน 585,037.78 บาท ส่งผลให้ขาดทุนสะสมลดลง คงเหลือ 19,785,388.64
บาท สหกรณ์มีการเร่งรัดติดตามหน้ีสินจากสมาชิก โดยดำเนินการตามแผนที่ได้วางไว้ สมาชกิ เข้าร่วม
ประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปี 2564 ครบองคป์ ระชมุ แม้จะอยู่ในชว่ งสถานการณโ์ ควิด
ปจั จยั แหง่ ความสำเร็จ (เพ่ือเปน็ กรณีศึกษาตัวอย่างท่ีดีหรอื แนวทางในการสง่ เสริม)
นคิ มสหกรณค์ ลองท่อม ซง่ึ มีภารกจิ และบทบาทหนา้ ที่ในการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์
ในพื้นที่รับผิดชอบ โดยการแนะนำส่งเสริมสหกรณ์ให้ดำเนินธุรกิจและบริหารงานภายใต้กฎหมาย
ข้อบังคับ ระเบียบของสหกรณ์ คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ รวมทั้งกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง
เผยแพร่ให้ความรู้เกยี่ วกับอุดมการณ์ หลักการและวธิ ีการสหกรณใ์ ห้แก่บุคคลท้ังสามฝ่ายของสหกรณ์
ปลูกจิตสำนึกด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินธุรกิจของสหกรณ์ให้กับสมาชิก พร้อมทั้งส่งเสริมและ
พัฒนาสหกรณ์ตามแผนงานและโครงการต่างๆ เช่น โครงการขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ในสถาบัน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 51
เกษตรกรในพื้นที่นิคมสหกรณ์ โครงการตลาดสินค้าเกษตร โครงการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในเขตนิคมสหกรณ์ เพ่ือให้สมาชิกสหกรณ์ได้มีส่วนร่วมตามโครงการต่างๆ และสามารถนำ
ความรู้ไปปรบั ใช้ในการประกอบอาชีพได้อยา่ งเป็นรปู ธรรม
◼ งานส่งเสริมและพฒั นาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใหม้ คี วามเข้มแขง็ ตามศกั ยภาพ
นคิ มสหกรณ์อ่าวลึก
อำเภอ อ่าวลึก
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ ๑ แห่ง คือ ชุมนุมสหกรณ์ชาวสวนปาล์มน้ำมันกระบี่ จำกัด
สหกรณส์ มาชิก ๑๓ สหกรณ์ สหกรณ์เครือขา่ ย ๓๗ สหกรณ์
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ ส่งเสริม และแกไ้ ขปญั หาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
๑. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ เพ่ือแนะนำให้ชุมนุมสหกรณ์ชาวสวน
ปาล์มน้ำมันกระบี่ จำกดั ปฏบิ ัติตามกฎหมาย ข้อบังคบั และระเบยี บของชุมนมุ ฯ
๒. แนะนำให้ชุมนุมฯ ดำเนินการประชุมใหญ่สามัญ เน่ืองจากคณะกรรมการดำเนินการ
ชว่ั คราวท่ีได้รับการแต่งตั้งจากนายทะเบียนสหกรณ์พ้นจากตำแหน่ง โดยแนะนำการประชุมให้เปน็ ไป
ตามกฎหมายและข้อบงั คับ
๓. แนะนำให้ชุมนุมฯ แก้ไขขอ้ บังคับให้สอดคล้องกับการดำเนนิ งาน
๔. แนะนำให้ชุมนุมฯ พิจารณาถือใช้ระเบียบและแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบของสหกรณ์ให้
สอดคล้องกับการดำเนินงาน
๕. ไดแ้ นะนำการควบคมุ ภายในองค์กร ดังน้ี
- การดำเนนิ การตา่ งๆ ของชมุ นมุ ฯ เมือ่ มรี ะเบยี บท่เี ก่ยี วข้องกับสว่ นงานใด ใหส้ ำเนาให้
ผเู้ ก่ียวข้องถอื ปฏิบัติ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 52
- ระเบยี บวา่ ดว้ ยเจ้าหนา้ ทีแ่ ละลกู จ้าง ควรปิดประกาศให้เจ้าหนา้ ที่และลูกจา้ งทราบ
- การตรวจนบั เงนิ สด คณะกรรมการดำเนนิ การและผตู้ รวจสอบกิจการสามารถตรวจนับได้
โดยไมต่ ้องแจ้งล่วงหนา้
- ฝ่ายจัดการมกี ารวิเคราะห์ข้อมลู จากงบการเงินให้คณะกรรมการดำเนินการใช้ข้อมลู นี้
ในการบรหิ ารจดั การ (ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ เม่อื วันที่ 21 ตลุ าคม 2564)
⚫ ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร
๑. ชมุ นมุ ฯ ขาดเงินทุนหมนุ เวียนในการดำเนินธุรกิจ มผี ลการดำเนนิ งานขาดทนุ
๒. ชุมนุมฯ ได้ดำเนินการทำสัญญาจะซื้อจะขายโรงงานสาขาคลองท่อมให้แก่บริษัท กระบี่
วเิ ศษปาล์มน้ำมัน จำกัด จำนวน 320,000,000.00 บาท (สามร้อยยี่สิบล้านบาทถ้วน) แต่ชุมนุมฯ
ทำสญั ญาจะซอื้ จะขายให้บริษัทผอ่ นชำระหน้ี ๑๒ ปี
๓. ชุมนุมฯ มีหน้ีค้างสหกรณ์สมาชิก และบริษัท จำนวนมาก และมีเจ้าหน้ีบางรายฟ้องร้อง
ดำเนนิ คดี
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา
๑. ลดค่าใช้จา่ ยในการดำเนินงานและควบคุมคา่ ใชจ้ ่ายใหเ้ ป็นไปตามแผนงบประมาณประจำปี
๒. สหกรณ์สมาชกิ สง่ ผลผลิตเข้าชุมนุมฯ ไมเ่ ต็มท่ี ชุมนมุ ฯ ควรสรา้ งความเชื่อมั่นให้แกส่ หกรณส์ มาชิก
๓. ใหช้ ุมนมุ ฯ ดำเนินการตามแผนปรับปรงุ การดำเนินงานอยา่ งเคร่งครัด
๔. ชุมนุมฯ มีการเจรจาหน้กี บั เจ้าหนี้ และควรดำเนนิ การตามแผนงานที่เจรจากบั เจ้าหน้ี
๕. ชุมนุมฯ ควรทบทวนสัญญาจะซื้อจะขาย โดยให้คู่สัญญาชำระเงินค่าขายทรัพย์สินให้กับ
ชมุ นุมฯ เพอื่ จะนำเงินมาใชห้ มนุ เวียนในการดำเนินธรุ กิจ
อำเภอ ปลายพระยา
ประกอบดว้ ย สหกรณ์ ๓ แหง่ สมาชกิ ๘,๖๐๓ คน
⚫ ผลการเขา้ แนะนำ สง่ เสริม และแกไ้ ขปญั หาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกร
๑. เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการฯ เพ่ือแนะนำให้สหกรณ์ปฏิบัติตามข้อบังคับ
ระเบียบสหกรณแ์ ละกฎหมายที่เกีย่ วขอ้ ง
๒. แนะนำสง่ เสริมให้สหกรณแ์ ก้ไขปรบั ปรุงข้อสังเกตให้เสรจ็ สิน้ โดยเรว็
๓. แนะนำส่งเสริมให้สหกรณ์สามารถปิดบัญชีและประชุมใหญ่ประจำปีได้ภายใน ๑๕๐ วัน
แต่เน่ืองจากมาตรการป้องกันโรคตามท่ีทางราชการกำหนดเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด - 19
ทำใหไ้ ม่สามารถประชมุ ใหญ่ไดภ้ ายใน 150 วนั นับแต่วันสิน้ ปที างบัญชี
๔. แนะนำให้สหกรณ์ควบคมุ ค่าใชจ้ า่ ยใหเ้ ป็นไปตามแผนงานประจำปีท่ีกำหนดไว้
๕. แนะนำสง่ เสริมใหส้ หกรณแ์ ก้ไขปญั หาหนคี้ ้างชำระ
๖. ดำเนินการเขา้ แนะนำ สง่ เสริมสหกรณน์ ิคมในพ้นื ท่ีโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 53
⚫ ปญั หา/อุปสรรคในการดำเนนิ งานของสหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร
๑. สหกรณป์ ระสบปญั หาขาดทนุ และขาดสภาพคลอ่ งทางการเงิน
๒. จากผลการดำเนินงานขาดทุนส่งผลให้สมาชิกขาดความเช่ือม่ันต่อสหกรณ์และการมีส่วน
รว่ มกบั สหกรณล์ ดนอ้ ยลง
๓. สหกรณ์ประสบปัญหาช่องทางการตลาดในการจำหนา่ ยผลผลิตของสหกรณ์
๔. สมาชิกสหกรณ์บางส่วนมีหนี้สินกับสหกรณ์ ไม่สามารถชำระหน้ีได้ตามกำหนดสัญญา
กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาหนค้ี ้างชำระทำใหม้ กี ารตั้งค่าเผอ่ื หน้สี งสัยจะสญู
⚫ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ขปัญหา
๑. สหกรณค์ วรมกี ารควบคมุ ค่าใชจ้ า่ ยให้เป็นไปตามแผนงานประจำปี
๒. สหกรณ์ควรสร้างความเช่ือมั่นและสำรวจความต้องการของสมาชิกเพ่ือให้สมาชิกมีส่วน
ร่วมในการทำธุรกจิ กบั สหกรณ์
๓. สหกรณ์ควรจัดหาช่องทางการตลาดเพื่อรองรับผลผลิตของสหกรณ์และสมาชิกเพื่อเป็น
การสร้างรายได้เพ่ิมใหแ้ กส่ หกรณ์และสมาชกิ
๔. สหกรณ์ควรจัดหาแนวทางแกไ้ ขปัญหาหนีค้ ้างชำระเพอ่ื ให้สหกรณ์มผี ลการดำเนินท่ีดีข้ึน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 54
แผนงานพนื้ ฐานด้านการสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั
◼ การออกหนังสือรบั รองการทำประโยชนใ์ นทีด่ ินพื้นท่นี ิคมสหกรณ์อ่าวลึก
1. วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ :
วัตถปุ ระสงค์
1) เพื่อออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ (กสน.3) การออกหนังสือแสดงการท ำ
ประโยชน์ (กสน.5) และการสำรวจวงรอบ – รายแปลงพื้นที่จัดรูปที่ดินท่ียังไม่ได้ขึ้นรูปแผนที่ในท่ีดิน
ของนิคมสหกรณ์ให้แลว้ เสร็จ
2) อำนวยความสะดวกสมาชิกนิคมสหกรณ์เป้าหมายในการออกหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ในทีด่ ินพนื้ ที่นคิ มสหกรณ์ รวมท้ังดำเนนิ งานเกี่ยวกับการจัดที่ดนิ นิคมสหกรณว์ ่าด้วยการจัด
ทด่ี นิ เพือ่ การครองชพี และกฎหมายอนื่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
กลุ่มเปา้ หมาย
สมาชิกท่ีอยู่ในพ้ืนทนี่ คิ มสหกรณอ์ า่ วลกึ จงั หวัดกระบี่
พน้ื ทด่ี ำเนินงานโครงการ
เขตท่ดี ินในพื้นทน่ี ิคมสหกรณ์อ่าวลกึ จงั หวัดกระบี่
2. ผลการดำเนนิ งาน : (สรุปกจิ กรรมทดี่ ำเนินงานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนนิ งานโครงการ)
ดำเนินการออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ (กสน.3) การออกหนังสือแสดงการทำ
ประโยชน์ (กสน.5) และการสำรวจวงรอบ – รายแปลงพื้นท่ีจัดรูปที่ดินท่ียังไม่ได้ข้ึนรูปแผนท่ีในท่ีดิน
ของนคิ มสหกรณต์ ามเงอื่ นไขและระเบยี บที่เกยี่ วข้อง
3. ผลลัพธ์ : (ระบุทัง้ ผลลัพธเ์ ชิงปริมาณ และเชิงคณุ ภาพ)
ผลลัพธเ์ ชิงปริมาณ
1) ดำเนินการออกหนังสืออนุญาตใหเ้ ข้าทำประโยชน์ (กสน.3) ปงี บประมาณ 2564 ตาม
แผนงาน 500 ไร่ ดำเนนิ การออกจริง 531 ไร่ คดิ เปน็ 106.20%
2) ดำเนนิ การออกหนงั สือแสดงการทำประโยชน์ (กสน.5) ปีงบประมาณ 2564 ตาม
แผนงาน 800 ไร่ ดำเนินการออกจริง 869 ไร่ คิดเป็น 108.63%
3) ดำเนินการสำรวจวงรอบ – รายแปลงพืน้ ทจ่ี ัดรปู ทดี่ ินท่ียงั ไม่ไดข้ น้ึ รปู แผนทใี่ นที่ดินของ
นคิ มสหกรณ์ ปงี บประมาณ 2564 ตามแผนงาน 1770 ไร่ ดำเนนิ การออกจริง 1945 ไร่
คดิ เปน็ 109.89%
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 55
ผลลพั ธเ์ ชิงคุณภาพ
ออกหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ (กสน.3) การออกหนังสือแสดงการทำประโยชน์
(กสน.5) และการสำรวจวงรอบ – รายแปลงพ้ืนท่ีจัดรูปที่ดินที่ยังไม่ได้ข้ึนรูปแผนท่ีในที่ดินของนิคม
สหกรณ์ตามเง่ือนไขและระเบยี บทเี่ ก่ยี วข้อง ไดต้ ามแผนงาน
4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข
……………-……………………………………………………………………………………………..……….........…………………
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ
สมาชกิ นคิ มสหกรณ์อา่ วลกึ ย่ืนคำขอออกหนงั สือรับรองการทำประโยชน์ในทด่ี นิ ของนิคมสหกรณ์
◼ การออกหนังสอื รบั รองการทำประโยชนใ์ นท่ดี นิ พื้นท่ีนคิ มสหกรณ์คลองท่อม
1. วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย/พ้ืนท่ีดำเนนิ งานโครงการ
วตั ถปุ ระสงค์ : เพื่อจดั สรรท่ดี ินทำกนิ ให้แก่สมาชกิ สหกรณ์นคิ มในการประกอบอาชีพการเกษตร
เปา้ หมาย : 1. ออกหนงั สืออนุญาตให้เขา้ ทำประโยชนใ์ นที่ดิน (กสน.3) จำนวน 200 ไร่
2. ออกหนังสอื แสดงการทำประโยชน์ (กสน.5) จำนวน 300 ไร่
3. การสำรวจวงรอบ – รายแปลงพื้นทจี่ ัดรูปทดี่ นิ ท่ยี ังไม่ไดข้ ้นึ รูปแผนที่
จำนวน 200 ไร่
พ้นื ทด่ี ำเนินโครงการ : นคิ มสหกรณ์คลองทอ่ ม ตำบลเพหลา อำเภอคลองท่อม จงั หวดั กระบ่ี
2. ผลการดำเนนิ งาน : (สรุปกิจกรรมทดี่ ำเนนิ งานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ)
- ประสานงาน แนะนำ ส่งเสริมและอำนวยความสะดวกสมาชกิ นคิ มสหกรณ์เป้าหมายในการ
ออกหนงั สือรับรองการทำประโยชนใ์ นทด่ี ินพื้นท่นี ิคมสหกรณ์ รวมทง้ั ดำเนนิ งานเก่ียวกับการจดั ท่ีดิน
นิคมสหกรณว์ ่าดว้ ยการจัดทดี่ ินเพอ่ื การครองชพี และกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง
- จดั ทำฐานขอ้ มูลสมาชิกนิคมสหกรณ์ โดยแยกเป็นรายคน/รายสหกรณ์
- ตรวจสอบหลกั ฐานและพืน้ ทเี่ ขา้ ทำประโยชน์ในทีด่ นิ ให้ถูกตอ้ งตามเง่ือนไข เพื่อออกหนังสอื
รับรองการทำประโยชน์ในทด่ี ินพื้นทีน่ ิคมสหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 56
- ประมวลผลข้อมูลสมาชกิ นิคมสหกรณ์ ติดตามผลการดำเนินงาน ตรวจสอบการเบกิ จ่าย
งบประมาณและสรปุ ผลการดำเนนิ งานใหส้ อดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์
- รายงานผลการดำเนนิ งานตามขั้นตอน
- จดั ทำแผนปฏิบัติงาน เพ่ือติดตามและแก้ไขปัญหาการจดั ท่ดี ิน การออกหนังสอื อนญุ าตให้เข้า
ทำประโยชน์ฯ (กสน.3) การออกหนงั สือแสดงการทำประโยชน์ (กสน.5) และการสำรวจวงรอบ-รายแปลง
พ้ืนที่จดั รูปที่ดนิ ท่ยี งั ไม่ได้ขึน้ รูปแผนทใ่ี นที่ดนิ ของนิคมสหกรณ์ใหแ้ ลว้ เสร็จ
3. ผลลพั ธ์ : (ระบุทัง้ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลพั ธเ์ ชิงปริมาณ
- ออกหนังสอื อนญุ าตให้เขา้ ทำประโยชนใ์ นท่ดี ิน (กสน.3) จำนวน 40-1-67 ไร่ 9 ราย 9 แปลง
- ออกหนังสือแสดงการทำประโยชน์ (กสน.5) จำนวน 381-0-93 ไร่ 40 ราย 54 แปลง
- ทำการสำรวจวงรอบ – รายแปลงพืน้ ที่จัดรูปที่ดินทีย่ ังไม่ไดข้ นึ้ รปู แผนท่ี จำนวน 202 ไร่
ผลลพั ธ์เชิงคุณภาพ
- สมาชิกนิคมสหกรณ์คลองท่อมมีทด่ี นิ ทำกินในการประกอบอาชีพการเกษตร
4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
- กรณีสมาชิกท่ีได้รับหนังสือแสดงการทำประโยชน์ (กสน.5) ถึงแก่กรรม ทายาท/ผู้จัดการมรดก
ไมส่ ามารถนำ กสน. 5 ฉบบั น้ไี ปขึ้นเปน็ โฉนดท่ีดินได้ (รอกรมพจิ ารณา)
- สมาชิกนิคมสหกรณ์ไมใ่ สใ่ จที่จะมาทำเอกสาร (กสน.3) (กสน.5) เจ้าหน้าท่ีได้ดำเนินการโทร
ติดตามสมาชกิ ให้เข้ามายื่นเอกสาร เพื่อทำ กสน.3 และ กสน.5 ท่ีนิคมสหกรณค์ ลองท่อม
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ
ออกพืน้ ท่เี พ่ือช้ีระวงั แนวเขตทด่ี นิ ร่วมกับเจา้ พนักงานที่ดนิ จงั หวดั กระบี่
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 57
◼ ชื่องาน/โครงการ เพม่ิ ศกั ยภาพการบรหิ ารจัดการสหกรณ์เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วย
การปอ้ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และกฎหมายวา่ ด้วยการป้องกนั และ
ปราบปรามการสนับสนนุ ทางการเงินแกก่ ารกอ่ การรา้ ยและการแพร่ขยายอาวุธทม่ี ี
อานุภาพทำลายลา้ งสงู แก่สหกรณ์ ผา่ นระบบออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม Zoom Meeting
1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พ้ืนทดี่ ำเนนิ งานโครงการ :
1. เพือ่ ใหเ้ จ้าหนา้ ทีส่ หกรณ์ และเจา้ หน้าท่ีกรมสง่ เสรมิ สหกรณม์ คี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับ
กฎหมายวา่ ดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ ฯ รวมทั้งการดำเนินการของสหกรณ์ท่มี ีความ
เก่ียวข้องกับกฎหมายว่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ ฯ และสหกรณ์ได้มีการกำหนด
นโยบายดา้ นการป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงินการกำหนดผรู้ ับผดิ ชอบโดยตรง
2. เพือ่ ให้สหกรณไ์ ด้มกี ารนำขอ้ มูลการดำเนินการเกีย่ วกับการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
มาใช้ให้เป็นประโยชนใ์ นการดำเนนิ งานของสหกรณ์
2. ผลการดำเนนิ งาน : (สรุปกิจกรรมท่ดี ำเนนิ งานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนนิ งานโครงการ)
เจา้ หน้าทส่ี หกรณแ์ ละเจา้ หน้าท่กี รมส่งเสรมิ สหกรณ์ มีความร้คู วามเข้าใจในการดำเนนิ การตาม
กฎหมายว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปรามการฟอกเงินฯ รวมทงั้ เข้าใจนโยบายและระเบยี บวิธปี ฏบิ ตั ิ
ดา้ นการปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงินอยา่ งถูกต้อง
3. ผลลพั ธ์ : (ระบุท้งั ผลลัพธ์เชงิ ปรมิ าณ และเชิงคณุ ภาพ)
ผลลัพธ์เชิงปรมิ าณ
สหกรณ์ จำนวน 4 แหง่ คอื สหกรณษ์ ะกอฟะฮอิสลาม จำกัด, สหกรณ์ออมทรัพย์ครูกระบ่ี จำกัด,
สหกรณ์ออมทรัพย์ ร 15 พัน 1 จำกดั , สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขกระบ่ี จำกัด
ผลลัพธเ์ ชิงคณุ ภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถจัดการให้ลูกค้า (สมาชิกสหกรณ์) แสดงตน ตรวจสอบข้อเท็จจริง
เกย่ี วกับลกู ค้า และรายงานธุรกรรมไดอ้ ย่างถกู ต้อง
4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข
บางคนยงั ไมเ่ ข้าใจการอบรมผา่ นระบบ Zoom meeting แนวทางการแกไ้ ข มีคู่มือการอบรมด้วย
โปรแกรม Zoom meeting
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 58
◼ ช่ืองาน/โครงการ ประชมุ ซักซ้อมการตรวจการสหกรณ์ จงั หวดั กระบ่ี ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564
1. วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย/พ้ืนทดี่ ำเนินงานโครงการ :
เพอื่ ให้ผตู้ รวจการสหกรณ์ และผูช้ ่วยผู้ตรวจการสหกรณ์ ในสงั กดั สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดกระบ่ี
มีความรคู้ วามเข้าใจในการตรวจการสหกรณ์ แผนการปฏบิ ัตงิ าน กำกบั ดูแลและคมุ้ ครองระบบ
สหกรณ์ และมีแนวทางในการตรวจสอบกจิ การและฐานะการเงินของสหกรณ์
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกจิ กรรมทีด่ ำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ)
ผตู้ รวจการสหกรณ์ ผูข้ ่วยคณะผู้ตรวจการสหกรณ์ มีความรู้ ความเขา้ ใจในระบบการตรวจการ
สหกรณ์ ระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณ์ว่าด้วยผตู้ รวจการสหกรณ์ พ.ศ.2559 และแนวทางในการ
ตรวจสอบการดำเนนิ งานและฐานะการเงินของสหกรณ์
3. ผลลัพธ์ : (ระบุท้งั ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ และเชิงคณุ ภาพ)
ผลลัพธเ์ ชิงปริมาณ
ผู้ตรวจการสหกรณเ์ ขา้ ตรวจสอบกจิ การและฐานะการเงินของสหกรณ์ จำนวน 64 สหกรณ์
ผลลพั ธเ์ ชิงคุณภาพ
ผู้เข้าร่วมประชุม เข้าใจระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วยผู้ตรวจการสหกรณ์ พ.ศ.2559 และ
สามารถเขียนรายงานการตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินของสหกรณ์ได้อย่างครบถ้วน
4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
1. สหกรณ์ไม่ให้ความร่วมมือกับผู้ตรวจการสหกรณ์เท่าที่ควรในการเข้าตรวจสอบกิจการและ
ฐานะการเงินของสหกรณ์
2. สหกรณ์ท่ีหยุดดำเนินธุรกิจส่วนใหญ่ปิดสำนักงาน ทำให้ผู้ตรวจการสหกรณ์ไม่ได้รับความ
สะดวกในการเขา้ ตรวจการ ซงึ่ ผ้ตู รวจการสหกรณ์ต้องติดต่อหลายครงั้ ในการเขา้ ตรวจ
5. ภาพถา่ ยแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 59
◼ ชอื่ งาน/โครงการ ฝึกอบรม หลกั สตู ร “ผู้ชำระบัญชสี หกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรขน้ั
พื้นฐาน”
1. วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย/พื้นท่ีดำเนนิ งานโครงการ :
1. เพื่อใหผ้ ชู้ ำระบัญชี มีความรู้ ความเขา้ ใจในหลักการ ขั้นตอนวิธปี ฏบิ ัติในการชำระบัญชี
กฎหมายสหกรณ์ ระเบียบ คำแนะนำของนายทะเบยี นสหกรณ์ และสามารถดำเนนิ การจัดทำงบ
การเงิน ณ วันเลิก ตามมาตรา 80 แหง่ พระราชบัญญตั สิ หกรณ์ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2562 ได้อยา่ ง
ถูกต้องครบถ้วน
2. เพ่ือใหผ้ ชู้ ำระบัญชี สามารถแลกเปล่ียนเรยี นรปู้ ระสบการณแ์ ละนำไปปฏิบตั ชิ ำระบัญชีได้
ถกู ต้องและรวดเรว็
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมทดี่ ำเนินงานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนนิ งานโครงการ)
1. ผ้เู ข้ารับการอบรมนำความรู้และทักษะไปปฏัตงิ านชำระบญั ชไี ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเสร็จ
สน้ิ โดยเรว็
2. ผู้เข้ารบั การอบรมสามารถถา่ ยทอดความร้ทู ี่ได้รับให้กบั ผู้ชำระบัญชซี ึ่งอยใู่ นจังหวัดเดยี วกัน
เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทางการชำระบัญชสี หกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรอน่ื ต่อไป
3. จำนวนสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรทีช่ ำระบญั ชอี ยู่ระหว่างขั้นตอนท่ี 1 – 4 สามารถยกระดบั
ขน้ึ เป็นขนั้ ตอนท่ี 5 รอ้ ยละ 100 ของจำนวนสหกรณ์ทั้งหมดท่อี ยู่ระหว่างชำระบญั ชี
3. ผลลัพธ์ : (ระบุท้งั ผลลัพธ์เชิงปรมิ าณ และเชิงคณุ ภาพ)
ผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ
ผชู้ ำระบัญชีสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั กระบเ่ี ข้ารับการอบรม 1 คน
ผลลัพธ์เชิงคณุ ภาพ
ผู้ชำระบัญชี สามารถปฏิบัติตามขั้นตอนวิธีในการชำระบัญชี และสามารถดำเนินการจัดทำงบ
การเงิน ณ วันเลิก ตามมาตรา 80 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2562 ได้อย่าง
ถูกตอ้ งครบถว้ น
4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข
สหกรณ์เลิกมาเป็นเวลานานและเปล่ียนผู้ชำระบัญชีมาหลายคน ทำให้การชำระบัญชีมีความ
ยุง่ ยาก และเกดิ ความล่าช้า
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 60
◼ ชือ่ งาน/โครงการ พัฒนาผูต้ รวจการสหกรณ์ หลกั สูตร “ผู้ตรวจการสหกรณ์
ระดบั พื้นฐาน” รุ่นท่ี 1-3 ผ่านระบบสือ่ สารทางไกล (ระบบ Zoom)
1. วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย/พื้นทดี่ ำเนินงานโครงการ :
1. เพือ่ ให้ผูเ้ ขา้ อบรมได้พัฒนาองค์ความรู้ เพ่ิมทักษะและประสบการณ์แก่ผ้ตู รวจการสหกรณ์ได้
ตามแนวทางท่ีนายทะเบียนสหกรณ์กำหนด
2. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้าอบรมท่ที ำหนา้ ทีผ่ ตู้ รวจการสหกรณ์สามารถปฏบิ ัตงิ านตรวจการสหกรณ์ได้ตาม
แนวทางท่นี ายทะเบยี นสหกรณ์กำหนด
2. ผลการดำเนนิ งาน : (สรุปกจิ กรรมทด่ี ำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนนิ งานโครงการ)
1. ผ้ตู รวจการสหกรณส์ ามารถดำเนินการตรวจสอบสหกรณ์ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเป็นไปใน
ทิศทางเดียวกัน
2. ผู้ตรวจการสหกรณส์ ามารถเขียนรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมให้ความเหน็ /ข้อเสนอแนะต่อ
นายทะเบียนสหกรณ์ เพ่ือพิจารณาสั่งการตามอำนาจหน้าทไี่ ด้อย่างถูกต้อง
3. ผลลัพธ์ : (ระบุทงั้ ผลลัพธ์เชิงปรมิ าณ และเชิงคณุ ภาพ)
ผลลพั ธเ์ ชิงปริมาณ
ผตู้ รวจการสหกรณเ์ ข้ารบั การอบรม จำนวน 2 คน
ผลลพั ธ์เชิงคณุ ภาพ
ผูต้ รวจการสหกรณ์สามารถเขยี นรายงานผลการตรวจสอบ พร้อมให้ความเหน็ /ข้อเสนอแนะตอ่
นายทะเบยี นสหกรณ์ เพ่ือพิจารณาสั่งการตามอำนาจหน้าทไี่ ด้อยา่ งถูกต้อง
4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข
1. สหกรณ์ไม่ให้ความร่วมมือกับผู้ตรวจการสหกรณ์เท่าที่ควรในการเข้าตรวจสอบกิจการและ
ฐานะการเงนิ ของสหกรณ์ พรอ้ มท้ังขาดประสบการณ์
2. สหกรณ์ที่หยุดดำเนินธุรกิจส่วนใหญ่ปิดสำนักงาน ทำให้ผู้ตรวจการสหกรณ์ไม่ได้รับความ
สะดวกในการเข้าตรวจการ ซงึ่ ผู้ตรวจการสหกรณต์ ้องติดตอ่ หลายคร้ังในการเข้าตรวจ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 61
◼ ช่อื งาน/โครงการ ฝึกอบรมผา่ นระบบออนไลน์ หลกั สูตร “พฒั นาศักยภาพใหแ้ ก่
ข้าราชการแสละพนกั งานราชการ ในตำแหน่งนิตกิ ร” ด้วยระบบ Zoom Meeting
1. วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย/พื้นทีด่ ำเนินงานโครงการ :
ให้ความรูด้ า้ นกฎหมายวา่ ดว้ ยสหกรณ์ กฎหมายว่าด้วยกลุม่ เกษตรกร กฎหมายปกครอง
พระราชบัญญตั ิข้อมลู ข่าวสารของราชการ แก่ข้าราชการและพนักงานราชการในตำแหน่งนิตกิ ร สังกัด
สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั เพ่อื สามารถนำความรู้ ความเขา้ ใจ ไปปฏิบตั ิงานให้เปน็ ไปตามภารกจิ ของ
กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และประสิทธิผล
2. ผลการดำเนนิ งาน : (สรุปกจิ กรรมทดี่ ำเนินงานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนนิ งานโครงการ)
ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมที่เป็นขา้ ราชการและพนักงานราชการ ตำแหน่งงนติ ิกร ได้มีความรู้และเข้าใจ
กฎหมายวา่ ด้วยสหกรณ์ กฎหมายปกครองและสามารถนำไปปฏิบตั งิ านช่วยเหลอื งานในสำนักงาน
สหกรณจ์ ังหวัดไดต้ ามวัตถุประสงค์ท่ีกำหนดตำแหนง่ ให้ นอกจากนยี้ งั เปน็ การพัฒนากระบวนการ
เรยี นรูเ้ พิ่มขดี ความสามารถในการสง่ เสริมและกำกับดแู ลใหเ้ ป็นไปตามภารกจิ ของกรมส่งเสริม
สหกรณ์
3. ผลลัพธ์ : (ระบุทัง้ ผลลัพธเ์ ชงิ ปรมิ าณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลัพธเ์ ชิงปรมิ าณ
ข้าราชการและพนักงานราชการในตำแหน่งนติ ิกร สงั กัดสำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่ จำนวน 2 คน
ผลลพั ธเ์ ชิงคณุ ภาพ
ผ้เู ขา้ รบั การอบรมสามารถนำความรู้ ไปใช้ในการส่งเสริม และกำกบั ดูแลให้เปน็ ไปตามภารกจิ ของ
กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์
4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแกไ้ ข
ระบบสัญญาณอินเตอร์เน็ตขาหายเป็นระยะ ทำให้การอบรมไม่ต่อเนื่อง ระบบในการสอบถามไม่
สามารถตอบไดค้ รบถ้วนทกุ คน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 62
◼ ชอ่ื งาน/โครงการ ฝกึ อบรม หลกั สตู ร “ผู้ชำระบญั ชสี หกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรข้นั
ปลาย” ผ่านระบบสอื่ สารทางไกล (ระบบ Zoom)
1. วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย/พ้ืนท่ีดำเนนิ งานโครงการ :
1. เพอ่ื เสริมสร้างความรู้ ความเขา้ ใจ กฎหมายสหกรณ์วา่ ด้วยการชำระบญั ชี ระเบยี บ คำแนะนำ
ของนายทะเบียนสหกรณ์ท่ีเกี่ยวกับการชำระบญั ชใี นส่วนที่เก่ยี วขอ้ งกบั การจัดการทรัพย์สนิ และ
หนสี้ ิน
2. เพอ่ื เสรมิ สร้างความรู้ความเขา้ ใจ กฎหมายวา้ ด้วยหนี้ การจัดการหนี้กองทนุ ของกรมสง่ เสริม
สหกรณ์ กรณีการชำระบัญชี
3. เพอ่ื แลกเปล่ียนเรยี นรู้ รวบรวมปญั หา การแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะ เพือ่ พัฒนางานการ
ชำระบญั ชี
2. ผลการดำเนนิ งาน : (สรุปกจิ กรรมท่ีดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ)
1. ผูเ้ ข้ารบั การอบรมนำความรู้และทักษะไปปฏิบัตงิ านชำระบัญชีได้อย่างมีประสิทธิภาพเสร็จสน้ิ
โดยเร็ว
2. ผู้เขา้ รบั การอบรมสามารถถา่ ยทอดความรู้ที่ไดใ้ ห้กับผู้ชำระบญั ชีซ่ึงอยู่ในจงั หวดั เดียวกันใชเ้ ป็น
แนวทางการชำระบญั ชสี หกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรอน่ื ตอ่ ไป
3. จำนวนสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรท่ีอย่รู ะหวา่ งชำระบัญชีสามารถถอนช่ือได้ ร้อยละ 25 ของ
จำนวนสหกรณ์ทอี่ ยู่ระหวา่ งชำระบัญชที ั้งหมด
3. ผลลัพธ์ : (ระบุท้ังผลลพั ธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ
ผเู้ ข้ารับการอบรมมีผลคะแนนการทดสอบไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 60
ผลลพั ธเ์ ชิงคุณภาพ
ผเู้ ขา้ รับการอบรมมีความรู้เพ่ิมขึ้น
4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข
มีการขาดของสัญญาณ ทำให้การอบรมไม่ตอ่ เนื่อง
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 63
◼ ช่ืองาน/โครงการ จัดประชมุ คณะทำงานระดบั จังหวดั แก้ไขปญั หาการดำเนนิ งาน
ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรทม่ี ีขอ้ บกพรอ่ ง (จกบ.)
1. วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย/พ้ืนทด่ี ำเนินงานโครงการ :
สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรทีม่ ขี ้อบกพรอ่ งได้รับการแก้ไขและมขี ้อบกพร่องลดลง
2. ผลการดำเนนิ งาน : (สรุปกิจกรรมทดี่ ำเนินงานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนินงานโครงการ)
ร่วมกนั พจิ ารณากำหนดแนวทางการแกไ้ ขปญั หาข้อบกพร่อง/ข้อรอ้ งเรยี นเกย่ี วกบั การดำเนนิ งาน
ของสหกรณแ์ ละกล่มุ เกษตรกรในจงั หวัดกระบ่ี พรอ้ มทั้งมีการติดตามผลการแก้ไขข้อบกพร่องและข้อ
รอ้ งเรียนต่าง ๆ ให้ไดข้ ้อยุติ ซึ่งจะจดั ประชุมไตรมาสละ 1 คร้งั
3. ผลลพั ธ์ : (ระบุท้งั ผลลพั ธเ์ ชิงปริมาณ และเชิงคณุ ภาพ)
ผลลพั ธเ์ ชิงปริมาณ
ข้อบกพร่องเดิมของสหกรณ์ จำนวน 11 แห่ง คงเหลือ จำนวน 10 แห่ง
ผลลัพธเ์ ชิงคณุ ภาพ
การจัดประชุมคณะทำงานระดับจงั หวัดแก้ไขปัญหาในการดำเนนิ งานสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่
มีข้อบกพร่อง ส่งผลให้หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ได้ร่วมกันพิจารณาเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขข้อบกพรอ่ งของสหกรณ์และข้อร้องเรียนต่าง ๆ ในการ
ดำเนินงานของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เกิดข้อยุติ และมีการติดตามผลอย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้
สหกรณ์ท่ีมีข้อบกพร่องในจังหวัดกระบี่ได้รับการแก้ไข ทำให้ข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่ม
เกษตรกรในจงั หวดั กระบี่ลดน้อยลง
4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข
การแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ไม่สามารถแก้ไขให้เสร็จสิ้นภายใน
ระยะเวลาอันสั้นได้ เน่ืองจากระยะเวลาในการแก้ไขให้แล้วเสร็จน้ัน ขึ้นอยู่กับข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นใน
สหกรณ์แต่ละแห่งว่ามีมูลค่าความเสียหายมากน้อยเพียงใด พร้อมทั้งการบริหารงานของ
คณะกรรมการดำเนนิ การของสหกรณ์แตล่ ะแห่งด้วย
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนนิ กจิ กรรมของงาน/โครงการ
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 64
◼ ชือ่ งาน/โครงการพฒั นาศักยภาพสหกรณน์ อกภาคการเกษตรสูค่ วามเข้มแข็ง
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2564
1. วัตถุประสงค์/เปา้ หมาย/พ้ืนทด่ี ำเนนิ งานโครงการ :
สหกรณ์ออมทรัพย์พนักงานกระบี่รสี อร์ท จำกดั ประกอบด้วย ทีมปิดบัญชีสหกรณ์
และทีมปฏิบัติงานจัดทำบญั ชี จำนวน 10 คน
1.1 เพื่อพฒั นาศักยภาพผจู้ ัดทำบญั ชขี องสหกรณ์นอกภาคการเกษตรใหส้ ามารถจดั ทำบัญชี
และงบการเงนิ ได้
1.2 เพอ่ื ใหส้ หกรณ์นอกภาคการเกษตรสามารถจดั ทำบัญชีและงบการเงินให้เป็นปจั จบุ ัน
และปดิ บญั ชีได้ตามกฎหมายกำหนด
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ)
2.1 ประชุมชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงานโครงการพัฒนาศักยภาพสหกรณ์นอกภาค
การเกษตรสู่ความเข้มแข็งประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ร่วมกับสหกรณ์ สำนักงานตรวจบัญชี
สหกรณ์ เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมสหกรณ์ และกลุ่มงานวิชาการท่ีรับผิดชอบ จำนวน 2 ครั้ง
คร้ังท่ี 1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนปิดบัญชีสหกรณ์ กำหนดแนวทางการ
แก้ไขปัญหาการปิดบัญชีสหกรณ์ และจัดแผนปฏิบัติการ (Action plan) เพ่ือนำไปสู่การปฏิบัติ
กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมประชุมฯ ประกอบด้วย ทีมปิดบัญชีสหกรณ์ประจำจังหวัด ทีมปฏิบัติงาน
จัดทำบญั ชสี หกรณ์ และหน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้อง เช่น สำนักงานตรวจบญั ชีสหกรณ์ประจำจงั หวัด เป็นตน้
คร้งั ท่ี 2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปผลและถอดบทเรียนผลการดำเนินโครงการฯ
ทีมปิดบัญชีสหกรณ์ประจำจังหวดั และทีมปฏิบัติงานจัดทำบัญชีสหกรณ์ นำเสนอผลการดำเนินงาน/
ปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นและร่วมกันพิจารณาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขให้บรรลุวัตถุประสงค์ของ
โครงการฯ สรปุ ผลและถอดบทเรียน เพ่ือใหผ้ สู้ นใจสามารถนำไปปรบั ใช้
2.2. ทีมปิดบัญชีสหกรณ์เข้าปฏิบัติงานตามแผน แนะนำส่งเสริมช่วยเหลือการปิดบัญชี
สำหรับปีบญั ชี สนิ้ สุด 31 ธ.ค. 61,62 และ 63
3. ผลลัพธ์ : (ระบุทง้ั ผลลัพธเ์ ชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ
- สหกรณส์ ามารถปดิ บัญชีสำหรับปบี ัญชสี ิ้นสุดวันที่ 31 ธ.ค.61,62 และ 63 ได้
ผลลพั ธเ์ ชิงคณุ ภาพ
- สหกรณ์ออมทรัพยพ์ นักงานกระบ่รี ีสอร์ท จำกดั สามารถสรา้ งความเข้มแขง็ ในการ
จัดทำบัญชีและงบการเงินได้
- สหกรณอ์ อมทรัพย์พนักงานกระบร่ี ีสอรท์ จำกัด สามารถปิดบัญชีไดต้ ามกฎหมายกำหนด
- เจา้ หน้าทบ่ี ญั ชหี รอื กรรมการท่ไี ด้รบั มอบหมาย มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั ทำ
งบการเงินเพิม่ ขึ้น
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 65
4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข
1. เจา้ หน้าท่ีและคณะกรรมการดำเนนิ งาน ไม่มเี วลาเพยี งพอ ในการดำเนินการจดั ทำบัญชี
2. ตำแหนง่ เจา้ หนา้ ทีบ่ ญั ชีของสหกรณ์ ลาออกจากสถานประกอบทีส่ หกรณส์ ังกัดบ่อย ๆ
ทำให้สหกรณ์ตอ้ งจดั จ้างเจ้าหนา้ ทบ่ี ัญชีคนใหม่อยูเ่ ปน็ ประจำ
3. เห็นควรจัดจ้างบุคคลภายนอก มาเปน็ เจา้ หนา้ ทบ่ี ญั ชีสหกรณ์โดยใหม้ ีการจัดทำสัญญา
จ้างใหถ้ ูกต้อง เปน็ ไปตามกฎหมายแรงงานกำหนด
4. เห็นควรสหกรณ์มอบหมายคณะกรรมการควบคุมดแู ลการดำเนนิ กจิ การของสหกรณ์ใน
ฝา่ ยต่าง ๆ ให้ชดั เจน
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ
รปู ภาพกจิ กรรมประกอบ
โครงการพฒั นาศักยภาพสหกรณ์นอกภาคการเกษตรสู่ความเข้มแขง็
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 สหกรณ์ออมทรัพย์พนกั งานกระบี่รีสอร์ท จำกัด
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 66
◼การจดั ตงั้ สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
1. การดำเนินการจัดต้งั สหกรณ์/กล่มุ เกษตรกร:(บรรยายกิจกรรม/ขน้ั ตอนการดำเนินงานจดั ตง้ั
สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกรที่หนว่ ยงานไดด้ ำเนนิ การพอสงั เขป)
ขัน้ ตอนที่ 1 เตรียมการเบื้องตน้ ประเมนิ ความพร้อมความเหมาะสมในการจดั ต้งั สหกรณ์
ขั้นตอนที่ 2 ฝกึ อบรมให้ความรเู้ กี่ยวกับการสหกรณ์ ไม่นอ้ ยกวา่ 6 ชวั่ โมง
ข้ันตอนท่ี 3 จัดประชุมผู้ซ่ึงประสงค์จะเป็นสมาชิกสหกรณ์ เพ่ือพิจารณากำหนดช่ือสหกรณ์ที่
จะขอจัดตั้งอย่างน้อย 3 ช่ือ เรียงลำดับตามความต้องการ และคัดเลือกบุคคลในที่ประชุม เป็นคณะ
ผู้จัดตั้งสหกรณ์ จำนวนไม่น้อยกว่า 10 คน เป็นผู้แทนเพ่ือดำเนินการขอจดทะเบียนสหกรณ์ แล้วให้
คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์เลือกในระหว่างกันเอง เป็นประธาน รองประธาน เลขานุการ และเหรัญญิก
ให้ท่ีประชุมเสนอความคิดเห็นเก่ียวกับการกำหนดวัตถุประสงค์ ประเภทของสหกรณ์ กำหนดแผน
ดำเนินการเกี่ยวกับธุรกิจหรือกิจกรรมของสหกรณ์ และร่างข้อบังคับ (เฉพาะส่วนที่สำคัญ) เพื่อให้
คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ใช้ประกอบการพิจารณาต่อไป คณะผู้จัดต้ังดำเนินการยื่นเรื่องขอจองช่ือสหกรณ์
ตอ่ สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั เพื่อดำเนินการจองชื่อสหกรณ์
ข้ันตอนท่ี 4 ประชุมคณะผู้จัดต้ังสหกรณ์ เพ่ือพิจารณาเลือกประเภทสหกรณ์ และกำหนด
วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ท่ีจะจัดต้ัง จัดทำแผนดำเนินการเก่ียวกับธุรกิจหรือกิจกรรมของสหกรณ์
จัดทำบัญชีรายชื่อผู้ซ่ึงประสงค์จะเป็นสมาชิกสหกรณ์ตามใบสมัครที่รวบรวมได้ พร้อมท้ังกำหนด
รปู แบบการจัดทำทะเบยี นสมาชกิ และทะเบยี นหนุ้ จดั ทำร่างข้อบงั คับสหกรณ์
ขนั้ ตอนท่ี 5 ประชุมผูซ้ ึ่งจะเปน็ สมาชกิ เพื่อพิจารณารับทราบชือ่ การกำหนดประเภท และวตั ถุ
ประสงค์ของสหกรณ์ แผนดำเนินการเกยี่ วกบั ธรุ กจิ หรือกิจกรรมของสหกรณ์ รา่ งข้อบังคบั ของสหกรณ์
ทคี่ ณะผู้จัดตงั้ สหกรณเ์ สนอ
ขน้ั ตอนท่ี 6 คณะผู้จัดต้ังสหกรณย์ ่นื คำขอจดทะเบยี นสหกรณ์ พร้อมเอกสารประกอบทส่ี ำนกั งาน
สหกรณจ์ ังหวดั
2. รายช่ือสหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรทด่ี ำเนินการจดั ตง้ั ใหมใ่ นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564: (ใส่รายช่ือ
สหกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรทด่ี ำเนินการจัดตงั้ ใหม่ โดยระบุวันทจ่ี ดั ต้งั ดว้ ย)
1) สหกรณก์ ารเกษตรเจริญพฒั นาห้วยยูง จำกดั วนั ท่ีรบั จดทะเบยี น 17 กุมภาพนั ธ์ 2564
2) สหกรณ์การเกษตรกระบีน่ ้อยพฒั นา จำกดั วันท่ีรับจดทะเบียน 25 มนี าคม 2564
3) สหกรณ์การเกษตรเมอื งใหมเ่ ขาพนม จำกัด วนั ที่รับจดทะเบยี น 30 มีนาคม 2564
4) สหกรณ์การเกษตรบางเจริญโมเดล จำกดั วนั ทรี่ ับจดทะเบยี น 9 เมษายน 2564
5) กลุ่มเกษตรกรทำสวนตำบลดินแดง วนั ทร่ี บั จดทะเบยี น 26 มีนาคม 2564
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 67
3. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรม
จดั ประชมุ เพอื่ พจิ ารณารบั ทราบชื่อ การกำหนดประเภท และวัตถุ ประสงคข์ องสหกรณ์ แผนดำเนินการเกยี่ วกบั
ธุรกจิ หรอื กิจกรรมของสหกรณ์ ร่างข้อบงั คับของสหกรณเ์ ตรียมความพรอ้ ม และอบรมใหค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั สหกรณ์
2จ)ดั ปสระหชกมุ รณ3 คก์ รางั้รเกพษ่อื ตพริจเามรอื ณงาใหรบัมเ่ทขราาพบนชมอื่ จกำากรัดกำหนดประเภท และวตั ถุ ประสงค์ของสหกรณ์
แผนดำเนนิ การเก่ียวกบั ธรุ กิจหรือกิจกรรมของสหกรณ์ รา่ งขอ้ บงั คบั ของสหกรณ์
จดั ประชมุ เพอ่ื พิจารณารับทราบช่อื การกำหนดประเภท และวตั ถุ ประสงค์ของสหกรณ์ แผนดำเนินการ
เก่ยี วกับธุรกจิ หรอื กิจกรรมของสหกรณ์ รา่ งข้อบังคับของสหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 68
◼การชำระบัญชีสหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. การดำเนนิ การชำระบญั ชีสหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร:(บรรยายกจิ กรรม/ขัน้ ตอนการดำเนินงานชำระ
บัญชสี หกรณ์/กลมุ่ เกษตรกรท่หี นว่ ยงานได้ดำเนนิ การพอสังเขป)
แนวทางการปฏิบตั กิ ารดำเนนิ การชำระบญั ชีหลังจากเลกิ สหกรณ์หรอื กลุ่มเกษตรกร ดังน้ี
1. ขั้นตอนที่ 1 ประกาศ เผยแพร่การเลิก ผู้ชำระบัญชีจัดทำประกาศผู้ชำระบัญชี
เพื่อแจ้งเจ้าหน้ีย่ืนคำทวงหน้ี หรือประสงค์ติดต่อกับสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร โดยติดไว้ที่ทำการของ
สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร หรือติดประกาศในที่เปิดเผยให้สาธารณะชนได้รับทราบ เช่น ท่ีวา่ การอำเภอ
องค์การบริหารส่วนตำบล ส่วนราชการภายในท้องถ่ิน สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ฯลฯ ในกรณี
ทส่ี หกรณ์/กลุ่มเกษตรกรมที รพั ย์สินเปน็ เงนิ ให้จัดทำประกาศประชาสัมพันธท์ างสถานีวทิ ยุ อยา่ งนอ้ ย
2 วัน ตดิ ตอ่ กัน
2. ขั้นตอนท่ี 2 รับมอบทรัพย์สินและจัดทำงบการเงิน ม.80 ผู้ชำระบัญชีจัดทำ
หนังสือแจ้งสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร(คณะกรรมการ/เจา้ หน้าที่ และผู้ที่เกี่ยวข้อง) และจัดทำบันทึกการ
รบั มอบทรัพยส์ ินไว้เป็นหลักฐาน ได้แก่ เงินสด เงินฝากธนาคาร ทะเบียนลูกหนี้/เจ้าหน้ี/ทุนเรือนหุ้น/
วัสดุอุปกรณ์ เอกสารทางการเงินและบัญชี ฯลฯ และจัดทำงบการเงิน ณ วันเลิก โดยใชข้ ้อมูลจากงบ
การเงนิ ทผี่ สู้ อบบัญชีใหค้ วามเหน็ ปีล่าสุด เปน็ ขอ้ มลู ตัง้ ตน้ ในการจัดทำงบการเงิน
3. ขั้นตอนท่ี 3 ส่งงบการเงินให้ผู้สอบบัญชี ผู้ชำระบัญชีจัดทำงบการเงิน ณ วัน
เลิก เสนอให้ผู้สอบบัญชีรับรอง ซ่ึงงบการเงินประกอบด้วย กระดาษทำการงบการเงิน ซ่ึงงบการเงิน
ประกอบดว้ ย กระดาษทำการงบการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน รายละเอียดประกอบ
งบการเงิน ส่งให้ผู้สอบบญั ชเี พ่อื รับรองงบการเงิน
4. ขั้นตอนท่ี 4 ผู้สอบบัญชีรับรองงบการเงิน มาตรา 80 ผู้สอบบัญชีตรวจสอบ
และรบั รองงบการเงิน
5. ข้ันตอนที่ 5 อนุมัติงบการเงินท่ีประชุมใหญ่/นายทะเบียนสหกรณ์ ผู้ชำระ
บัญชีเสนองบการเงินต่อทป่ี ระชุมใหญ่เพื่อพิจารณาอนุมัตงิ บการเงิน หากไม่สามารถเรียกประชุมใหญ่
เพ่ือพิจารณาอนมุ ตั งิ บการเงนิ ได้ ใหน้ ำเสนอนายทะเบียนสหกรณ์ เพือ่ อนมุ ัติงบการเงนิ
6 ขั้นตอนที่ 6 ดำเนินการจัดการทรัพย์สิน ผู้ชำระบัญชีจัดการทรัพย์สินและ
หนสี้ นิ ของสหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร โดยจา่ ยตามมาตรา 86 ดังน้ี
6.1 จา่ ยคนื คา่ หุ้นใหแ้ กส่ มาชิกไมเ่ กินมลู คา่ หุ้นทช่ี ำระแลว้
6.2 จ่ายเป็นเงินปันผลตามหุ้นที่ชำระแล้ว แต่ต้องไม่เกินอัตราที่นายทะเบียน
กำหนดตามความเห็นชอบของคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติสำหรับสหกรณ์แต่ละ
ประเภท
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 69
6.3 จ่ายเป็นเงนิ เฉล่ียคืนให้แกส่ มาชกิ ตามสว่ นธรุ กิจที่สมาชิกได้ทำไว้กบั สหกรณ์
ในระหว่างปีตาทก่ี ำหนดไว้ในข้อบังคบั
ถ้ามีทรัพย์สินเหลืออยู่อีก ให้ผู้ชำระบัญชีโอนให้แก่สหกรณ์อ่ืน หรือสันนิบาต
สหกรณ์แห่งประเทศไทยตามมติของที่ประชุมใหญ่ หรือด้วยความเห็นชอบของนายทะเบียนสหกรณ์
ในกรณีทไี่ มอ่ าจเรยี กประชมุ ใหญไ่ ด้ ภายใน 3 เดอื น นับแตช่ ำระบัญชเี สร็จ
7. ขน้ั ตอนท่ี 7 สง่ รายงานการชำระบัญชี มาตรา 87 ผชู้ ำระบัญชจี ดั ทำรายงาน
การชำระบัญชี พร้อมเอกสารประกอบ บญั ชีรบั – จา่ ย บญั ชเี งินฝากธนาคาร บัญชีทนุ เรือนห้นุ
บญั ชีลูกหนี/้ เจ้าหน้ี บญั ชเี ลกิ กจิ การต้ังแตเ่ รม่ิ ต้นการชำระบัญชจี นถึงวนั ทีช่ ำระบัญชเี สร็จสน้ิ และ
เสนอรายงานใหผ้ ูส้ อบบัญชตี รวจสอบ
8. ขั้นตอนท่ี 8 ผู้สอบบัญชีรับรอง มาตรา 87 ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรอง
งบ ตามมาตรา 87
9. ข้ันตอนที่ 9 ถอนช่ือ เสนอรายงานการชำระบญั ชีต่อนายทะเบยี นสหกรณ์เพื่อ
พิจาณาถอนชอื่ ออกจากทะเบียน
10. ข้ันตอนที่ 10 ส่งมอบบรรดาสมุด ผู้ชำระบัญชีสง่ มอบบรรดาเอกสาร สมดุ
บัญชี และเอกสารของสหกรณท์ ช่ี ำระบัญชีเสรจ็ แก่นายทะเบียนสหกรณ์/นายทะเบยี นกลมุ่ เกษตรกร
ประจำจงั หวดั กระบี่
2. รายชอื่ สหกรณ/์ กลุ่มเกษตรกรที่อยรู่ ะหวา่ งการชำระบัญชี ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564 :
สหกรณ์/กลุม่ เกษตรกร ขัน้ ตอนการชำระบญั ชี ความก้าวหนา้ /ข้ันตอน
ณ วันที่ 1 ต.ค. 2563 ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564
สหกรณ์ ขั้นตอนท่ี 3 ส่งงบการเงินให้ผสู้ อบ
บัญชี มาตรา 80
1. ร้านสหกรณส์ าธารณสุขกระบ่ี จำกัด ขนั้ ตอนท่ี 3 ส่งงบการเงนิ ให้ผสู้ อบ
บญั ชี มาตรา 80 ข้ันตอนท่ี 3 สง่ งบการเงินให้ผสู้ อบ
บญั ชี มาตรา 80
2. สหกรณ์กองทนุ สวนยางกระบนี่ อ้ ย ขัน้ ตอนท่ี 3 ส่งงบการเงินใหผ้ สู้ อบ
จำกดั บญั ชี มาตรา 80 ขน้ั ตอนที่ 3 สง่ งบการเงนิ ให้ผสู้ อบ
3. สหกรณก์ องทุนสวนยางหนองกก ข้ันตอนที่ 3 สง่ งบการเงินให้ผสู้ อบ บญั ชี มาตรา 80
จำกดั บญั ชี มาตรา 80
4. สหกรณ์กองทุนสวนยางบา้ นหว้ ยคราม ขัน้ ตอนที่ 5 อนมุ ตั ิงบการเงนิ ที่ ข้ันตอนที่ 5 อนุมตั งิ บการเงินที่
จำกดั ประชุมใหญ/่ นทส. ประชมุ ใหญ/่ นทส.
5. สหกรณก์ องทนุ สวนยางลนั ตา จำกัด ขั้นตอนที่ 3 ส่งงบการเงินให้ผสู้ อบ
ขัน้ ตอนท่ี 3 สง่ งบการเงินใหผ้ สู้ อบ
บญั ชี มาตรา 80 บัญชี มาตรา 80
6. สหกรณก์ ารเกษตรบา้ นแหลมกรวด ขัน้ ตอนท่ี 4 ผู้สอบบญั ชรี ับรองงบ ถอนช่ือ
จำกัด การเงิน มาตรา 80
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 70
สหกรณ/์ กลุม่ เกษตรกร ขั้นตอนการชำระบัญชี ความกา้ วหนา้ /ขั้นตอน
ณ วนั ที่ 1 ต.ค. 2563 ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564
7. สหกรณ์การเกษตรศภุ นมิ ิตลำทับ
จำกัด ขั้นตอนที่ 3 สง่ งบการเงินให้ผสู้ อบ ข้ันตอนที่ 3 สง่ งบการเงินใหผ้ สู้ อบ
8. สหกรณเ์ ครดิตยเู น่ียนเกาะพพี ี จำกัด บัญชี มาตรา 80 บัญชี มาตรา 80
ขน้ั ตอนที่ 4 ผู้สอบบญั ชรี บั รองงบ
9. สหกรณ์ประมงกระบี่ จำกัด ขน้ั ตอนที่ 3 ส่งงบการเงนิ ใหผ้ สู้ อบ การเงนิ มาตรา 80
บัญชี มาตรา 80 ข้นั ตอนที่ 3 สง่ งบการเงินใหผ้ สู้ อบ
10. สหกรณป์ ระมงชายฝงั่ เมืองกระบ่ี บัญชี มาตรา 80
จำกดั ขน้ั ตอนท่ี 3 สง่ งบการเงินใหผ้ สู้ อบ ขั้นตอนท่ี 7 ส่งรายงานการชำระบัญชี
11. สหกรณป์ ระมงทะเลชายฝ่ังพนื้ บา้ น บัญชี มาตรา 80 มาตรา 87
อา่ วลกึ จำกัด
12. สหกรณเ์ รอื เร็วบรกิ ารนำเทย่ี วเกาะพี ขนั้ ตอนท่ี 5 อนุมตั ิงบการเงินท่ี ถอนชอ่ื
พี 2005 จำกดั ประชุมใหญ/่ นทส.
13. สหกรณ์การเกษตรเขาพนม จำกดั ขัน้ ตอนท่ี 5 อนมุ ตั ิงบการเงินที่
ขน้ั ตอนท่ี 5 อนมุ ัตงิ บการเงินที่ ประชมุ ใหญ/่ นทส.
14. ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรกระบ่ี ประชมุ ใหญ/่ นทส. ขน้ั ตอนที่ 5 อนุมัติงบการเงนิ ที่
จำกดั ประชมุ ใหญ/่ นทส.
15. สหกรณ์กองทุนสวนยางบา้ นคลอง ขนั้ ตอนที่ 5 อนุมตั ิงบการเงินที่ ขนั้ ตอนที่ 3 ส่งงบการเงินใหผ้ สู้ อบ
ปญั ญา จำกดั ประชุมใหญ/่ นทส. บญั ชี มาตรา 80
16. สหกรณบ์ ริการเครือข่ายชมุ ชนเชงิ ขน้ั ตอนท่ี 4 ผ้สู อบบญั ชีรับรองงบ
นิเวศอ่าวลกึ จำกัด ขน้ั ตอนท่ี 5 อนมุ ัติงบการเงินท่ี การเงนิ มาตรา 80
ยังตอ้ งตดิ ตามใหจ้ บขน้ั ตอน ประชมุ ใหญ/่ นทส. ข้นั ตอนท่ี 2 รับมอบทรพั ยส์ นิ และ
จัดทำงบการเงิน ม.80
ขั้นตอนท่ี 3 ส่งงบการเงินใหผ้ สู้ อบ
บญั ชี มาตรา 80
ขัน้ ตอนท่ี 3 ส่งงบการเงินให้ผสู้ อบ
บญั ชี มาตรา 80
ขน้ั ตอนที่ 1 ประกาศ เผยแพร่ การ
เลิก ผู้ชำระบญั ชี
1. สหกรณ์การเกษตรเกาะลนั ตา จำกดั ถอนชื่อ
2. สหกรณป์ ระมงเกาะลันตา จำกดั อยรู่ ะหว่างการยน่ื ตดั หนี้สญู จากกระทรวง
กล่มุ เกษตรกร
1. กลมุ่ เกษตรกรเล้ยี งสตั วด์ ินอดุ ม ขน้ั ตอนที่ 3 ส่งงบการเงนิ ให้ผสู้ อบ ขนั้ ตอนท่ี 3 ส่งงบการเงนิ ใหผ้ สู้ อบ
2. กลมุ่ เกษตรกรทำสวนคลองทอ่ มใต้ บัญชี มาตรา 80 บัญชี มาตรา 80
3. กลุ่มเกษตรกรทำนาพรุดนิ นา
4. กล่มุ เกษตรกรทำสวนเกาะกลาง ขั้นตอนที่ 3 สง่ งบการเงินให้ผสู้ อบ ขน้ั ตอนท่ี 3 สง่ งบการเงนิ ให้ผสู้ อบ
บัญชี มาตรา 80 บญั ชี มาตรา 80
ขน้ั ตอนที่ 3 ส่งงบการเงนิ ให้ผสู้ อบ ขัน้ ตอนที่ 3 สง่ งบการเงินใหผ้ สู้ อบ
บญั ชี มาตรา 80 บญั ชี มาตรา 80
ขั้นตอนที่ 7 ส่งรายงานการชำระ ถอนชอ่ื
บัญชี มาตรา 87
5. กล่มุ เกษตรกรทำสวนคลองท่อมเหนือ ข้ันตอนท่ี 3 ส่งงบการเงนิ ใหผ้ สู้ อบ ขั้นตอนที่ 4 ผู้สอบบญั ชรี บั รองงบ
บญั ชี มาตรา 80 การเงนิ มาตรา 80
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 71
3. รายช่อื สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรทส่ี ามารถถอนช่ือได้ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564:
สหกรณ/์ กล่มุ เกษตรกร วันที่ถอนชื่อ
1. สหกรณก์ ารเกษตรเกาะลนั ตา จำกัด 4 กมุ ภาพันธ์ 2564
2. สหกรณป์ ระมงชายฝัง่ พื้นบ้านอา่ วลึก จำกัด 5 มนี าคม 2564
3. สหกรณก์ ารเกษตรบ้านแหลมกรวด จำกดั 4 สิงหาคม 2564
4. กล่มุ เกษตรกรทำสวนเกาะกลาง 4 สิงหาคม 2564
4. ภาพถ่ายแสดงการดำเนนิ กจิ กรรม
การชำระบญั ชสี หกรณ/์ กลุ่มเกษตรกร ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ผ้ชู ำระบัญชีนำเสนองบการเงนิ ต่อท่ปี ระชมุ ใหญ่เพ่ือพิจารณาอนมุ ตั ิงบการเงิน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 72
◼ โครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกจิ ร้านค้าสหกรณ์
ในรปู แบบซูเปอรม์ าเก็ตสหกรณ์
1. วัตถปุ ระสงค์/เปา้ หมาย/พ้ืนท่ดี ำเนนิ งานโครงการ :
1.1 สง่ เสริมและพัฒนาการดำเนนิ ธรุ กจิ ร้านค้าสหกรณ์
1.2 สง่ เสรมิ ความร่วมมือและเชือ่ มโยงธรุ กิจระหว่างสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกรผูผ้ ลิตและร้านคา้
สหกรณ์
1.3 ขยายโอกาสทางการตลาดสนิ ค้าสหกรณ์ผา่ น ซูเปอร์มาเกต็ สหกรณ์
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกจิ กรรมทดี่ ำเนินงานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนินงานโครงการ)
สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดกระบีด่ ำเนนิ การจัดประชุมโครงการส่งเสรมิ การดำเนินธรุ กิจร้านค้า
สหกรณ์ในรูปแบบซุปเปอร์มาเก็ตสหกรณ์ให้กับสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการ ประกอบด้วย สหกรณ์
กองทุนสวนยางเขาใหญ่สามัคคี จำกัด สหกรณ์ทับปริกาการเกษตรสหกิจ จำกัด และสหกรณ์
การเกษตรเพือ่ การตลาดลกู ค้า ธ.ก.ส. กระบี่ จำกดั
3. ผลลพั ธ์ : (ระบุท้ังผลลพั ธ์เชงิ ปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลพั ธ์เชิงปริมาณ
สหกรณก์ ารเกษตรเพอื่ การตลาดลกู ค้า ธ.ก.ส. กระบี่ จำกัด มียอดจำหนา่ ย 1,598,515 บาท
สหกรณ์ทับปริกาการเกษตรสหกิจ จำกดั มยี อดจำหน่าย 309,540 บาท
สหกรณก์ องทนุ สวนยางเขาใหญส่ ามัคคี จำกดั มยี อดจำหน่าย 99,523 บาท
ผลลพั ธเ์ ชิงคุณภาพ
หลังจากที่สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่ได้จัดโครงการส่งเสริมการดำเนินธุรกิจร้านค้า
สหกรณ์ในรูปแบบซูเปอร์มาเก็ตสหกรณ์ให้กับสหกรณ์ท่ีเข้าร่วมโครงการ กลุ่มอาชีพผู้ผลิตสินค้า
รวมทั้งเกษตรกร ให้ได้มีโอกาสเข้ามาพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิด ในการพัฒนาให้ร้านค้าสหกรณ์ได้
เป็นจุดจำหน่ายสินค้าเกษตรคุณภาพเพื่อการบริโภคจากขบวนการสหกรณ์สู่สมาชิก และผู้บริโภค
ตามแนวคดิ สดจากฟาร์มถงึ มือคณุ
4. ปญั หา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข
สหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการซูเปอร์มาเก็ตสหกรณ์ ยังไม่พร้อมทำจะดำเนินงานตามรูปแบบท่ี
กรมส่งเสริมสหกรณ์กำหนด เน่ืองจากสหกรณ์ที่เข้าร่วมโครงการมีข้อจำกัดในเรื่องเงินทุนในการจัด
ร้านให้ทนั สมัย และการจดั หาสนิ ค้ามาจำหนา่ ย
จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในจังหวดั กระบี่ ทำให้ไมส่ ามารถลงพ้ืนทีไ่ ป
ยังสหกรณ์เป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการฯได้ ทางสำนักได้ใช้วิธีการให้ความรู้ผ่านระบบ Zoom และ
ติดตอ่ ประสานงานผ่านแอปพรเิ คช่นั
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 73
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ท่ีสามารถส่ือสาร เผยแพร่ หรือแสดง
ผลการดำเนินกิจกรรมได้ชัดเจน และสามารถนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณะได้ (พร้อมคำอธิบายประกอบไว้
ดา้ นล่างของภาพ)
1. โครงการประชมุ เชิงปฏิบัตกิ ารขบั เคล่อื นซูเปอรม์ าเกต็ สหกรณด์ ้วยกระบวนการคดิ เชิงออกแบบ
ผา่ นระบบ Zoom
2.จดั ประชมุ เชอื่ มโยงเครือข่ายและพฒั นาศักยภาพการดำเนนิ ธุรกจิ ซูเปอรม์ าเกต็ สหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 74
แผนงานยทุ ธศาสตร์การเกษตรสรา้ งมลู คา่
◼โครงการพฒั นาเกษตรปลอดภยั ในพื้นทีน่ คิ มสหกรณ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
นคิ มสหกรณค์ ลองทอ่ ม
1. วตั ถุประสงค์/เป้าหมาย/พื้นที่ดำเนินงานโครงการ
วัตถปุ ระสงค์
- เพื่อให้สมาชกิ ผู้เขา้ รบั การอบรมมคี วามรู้ในเรื่องการใชช้ ุดตรวจสอบดินได้อย่างถูกต้อง
- เพือ่ ใหส้ มาชกิ ผู้เข้ารบั การอบรมมีความรู้ด้านการลดต้นทุนการผลติ ใส่ปุ๋ยตามความ
ต้องการของพืช ผลผลิตมีคณุ ภาพตามความต้องการของตลาด
- เพือ่ ส่งเสรมิ ใหส้ มาชิกมีการถา่ ยทอดองค์ความรู้ ซ่ึงก่อให้เกดิ การเรียนรโู้ ดยธรรมชาติมีกี
ชว่ ยเหลอื ซ่งึ กันและกนั ตามหลักการสหกรณ์
เป้าหมาย
- สมาชกิ สหกรณน์ คิ มคลองท่อม จำกัด จำนวน 65 ราย
พน้ื ทดี่ ำเนนิ งานโครงการ
- อำเภอคลองท่อม จังหวดั กระบ่ี
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมท่ดี ำเนินงานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนินงานโครงการ)
นคิ มสหกรณ์คลองท่อม ไดร้ ว่ มกับสหกรณน์ ิคมคลองทอ่ ม จำกดั คัดเลอื กสมาชิกสหกรณท์ ีม่ ี
ความสนใจในการอบรมวเิ คราะหด์ นิ และปรบั ปรุงดิน จำนวน 65 ราย เพอ่ื เข้าร่วมโครงการฯ โดยได้
เชญิ วิทยากรจากสำนักงานพัฒนาทีด่ ินกระบ่ี มาให้ความร้เู กี่ยวกับการปรับปรุงดนิ โดยวธิ ธี รรมชาติ
ขั้นตอนการวเิ คราะห์ดินโดยใชช้ ดุ ตรวจสอบดนิ แบบง่าย และการฝึกอ่านค่าประมวลผลการวเิ คราะห์
ดนิ ซึ่งสมาชกิ ทเ่ี ข้าโครงการอบรม ได้ฝกึ ปฏบิ ัติการตรวจวเิ คราะห์ดิน และสามารถอา่ นค่าจากผล
วเิ คราะห์ดนิ ได้อยา่ งถูกต้อง
3.ผลลัพธ์ : (ระบุท้ังผลลัพธ์เชงิ ปริมาณ และเชงิ คณุ ภาพ)
ผลลพั ธ์เชงิ ปริมาณ
- ผ้เู ข้ารับการอบรม จำนวน 65 ราย คดิ เป็น 100%
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ
- ผู้เข้ารบั การอบรมมีความรู้ในเรือ่ งการใช้ชุดตรวจสอบดินไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
- สามารถใสป่ ุ๋ยได้ตรงตามกับความตอ้ งการของพชื ลดต้นทุนการผลิต รายไดส้ ูงกวา่ รายจ่าย
- ถ่ายทอดองค์ความรู้ มีการชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกันตามหลกั การสหกรณ์
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 75
4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข
จากการตรวจสอบคุณภาพดินของผู้เข้ารับการอบรมพบว่า คุณภาพดินท่ีได้ คุณภาพสูง 21
ราย ปานกลาง 15 ราย ต่ำ 29 ราย เนื่องจากการเก็บดินที่ไม่ถูกต้อง จึงแนะนำให้สมาชิกเก็บดินให้
ถูกต้องตามคำแนะนำของสำนักงานพัฒนาที่ดินกระบี่ และแนะนำให้สมาชิกปรับปรุงดินโดยใช้วัสดุ
เหลอื ใช้ทางการเกษตร เช่น ปยุ๋ คอก ปุ๋ยหมัก จลุ นิ ทรยี ์ เพ่อื ปรับปรุงดนิ ให้เหมาะสมกับพืชที่ปลูก
5. ภาพกจิ กรรมโครงการ
3
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 76
◼ โครงการพฒั นาเกษตรปลอดภยั ในพ้นื ที่นิคมสหกรณ์ ปงี บประมาณ 2564
นิคมสหกรณอ์ ่าวลึก
1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พ้ืนท่ดี ำเนนิ งานโครงการ :
วตั ถุประสงค์
1) เพ่อื ถา่ ยทอดความร้ดู า้ นการลดตน้ ทุนการผลติ ให้กบั เกษตรกร
2) เพ่ือให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมสามารถใช้ชดุ ตรวจสอบดนิ ได้อยา่ งถูกต้อง
3) เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมฝึกอบรมรู้ความหมายจากการวิเคราะห์เพ่ือใช้ประโยชน์สำหรับการ
ประเมนิ ใสป่ ุ๋ยในการปลูกพืช
กลุม่ เป้าหมาย
รุ่นท่ี 1 เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์นคิ มปลายพระยา จำกดั จำนวน 65 คน และเจา้ หน้าที่
ทีเ่ กยี่ วข้องจำนวน 5 คน
รนุ่ ท่ี 2 เกษตรกรสมาชิกสหกรณน์ คิ มปากนำ้ จำกัด จำนวน 65 คน และเจ้าหน้าท่ี
ทเี่ ก่ยี วข้องจำนวน 5 คน
ผู้เข้ารว่ มโครงการฯ รนุ่ ที่ 1 และรุ่นท่ี 2 จำนวนรวมทัง้ สิน้ 140 คน
พนื้ ทด่ี ำเนินงานโครงการ
รนุ่ ที่ 1 ณ หอ้ งประชมุ สหกรณน์ ิคมปลายพระยา จำกัด
รนุ่ ท่ี 2 ณ หอ้ งประชมุ สหกรณ์นิคมปากนำ้ จำกดั
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมท่ีดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ)
ด้วยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้จัดสรรงบประมาณให้สำนักงาน
สหกรณ์จังหวัดกระบี่ งบดำเนินงานโครงการพัฒนาเกษตรปลอดภยั ในพื้นท่ีนคิ มสหกรณอ์ ่าวลึก โดยมี
การจัดอบรมหลักสูตรวิเคราะห์ดินและปรับปรุงดิน เพ่ือให้เกษตรกรสมาชิกนำความรู้ท่ีได้จากการ
อบรมไปตรวจวิเคราะหด์ ินและปรับปรุงดิน จัดการปญั หาความเป็นกรดของดนิ และการขาดสมดลุ ของ
ธาตุอาหารพืชในดินรวมถึงการเปล่ียนแปลงอัตราการใส่ปุ๋ยต่อต้นพืช ช่วยลดต้นทุนและเพ่ิมผลผลิต
ให้แก่เกษตรกร อีกทั้งเกษตรกรสมาชิกมีแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัยไว้บริโภคในครอบครัวและ
สนับสนุนใหม้ กี ารเกษตรกรรมแบบเกษตรอนิ ทรยี ์
นิคมสหกรณ์อ่าวลึก สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบี่ จึงได้จัดทำโครงการอบรมหลักสูตร
วิเคราะห์ดินและปรับปรุงดิน เพื่อให้สมาชิกของสหกรณ์ท่ีเข้าร่วมโครงการมีความย่ังยืนในการผลิต
ผลผลิตท่ีได้มีคุณภาพและมีผลผลิตท่ีต่อเนื่องตลอดท้ังปี รวมทั้งสนับสนุนให้มีการรวบรวมผลผลิตไป
จำหน่าย ในรูปแบบของการรวมกลุ่ม เพ่ือลดต้นทุนและเพ่ิมผลผลิตให้แก่เกษตรกร อีกทั้งเกษตรกร
สมาชิกมแี หล่งผลิตอาหารทีป่ ลอดภัยไวบ้ ริโภคในครอบครวั
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 77
3. ผลลพั ธ์ : (ระบุทง้ั ผลลัพธเ์ ชงิ ปรมิ าณ และเชงิ คณุ ภาพ)
ผลลัพธ์เชิงปริมาณ
มผี เู้ ข้ารบั การอบรมหลักสตู รวิเคราะห์ดินและปรับปรุงดินในเขตพนื้ ทน่ี ิคมสหกรณ์อ่าวลึก
สมาชิกสหกรณ์นคิ มปากน้ำ จำกัด จำนวน 65 ราย และสมาชิกสหกรณ์นิคมปลายพระยา จำกัด
จำนวน 65 ราย รวมทงั้ สิน้ 130 ราย
ผลลพั ธ์เชงิ คณุ ภาพ
1) เกษตรกรสามารถใช้ชุดตรวจสอบดินอย่างง่ายในการตรวจวัดคุณภาพดินของตนเองได้
2) เกษตรกรสามารถนำคา่ ดนิ ทต่ี รวจสอบได้ ไปปรับปรุงบำรงุ ดนิ ให้ดีขน้ึ เพือ่ ใหเ้ หมาะสมกับ
การทำเกษตร
3) เกษตรกรสามารถหาวธิ บี ำรงุ ดนิ ใหเ้ หมาะสมกับพืน้ ท่ีเกษตรกรรมของตนเอง
4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนนิ งาน
เน่ืองจากชุดตรวจสอบดินมีแค่ 1 ชุด จึงทำให้ตรวจได้แค่ค่ากรด-เบส แต่ตรวจค่า N P K
ของเกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมอบรมได้แค่บางส่วน เน่ืองจากต้องใช้เวลาในการตรวจต่อ 1 ตัวอย่าง
ดิน คอ่ นขา้ งนาน และตรวจไดพ้ รอ้ มกันคร้ังละ 4 ตวั อย่าง จงึ ทำใหม้ ีเวลาไม่เพยี งพอ
แนวทางแกไ้ ข
ควรเพ่ิมชุดตรวจสอบดินเพื่อให้เกษตรกรสมาชิกที่เข้าร่วมอบรมได้ทดสอบดินได้ครบถ้วน
หรือลดจำนวนการเข้าอบรมของเกษตรกรสมาชิกแต่ละรุ่นลงเพ่ือให้สามารถเข้าร่วมการ ทดสอบดิน
อย่างครบถ้วน
5. ภาพถา่ ยแสดงการดำเนนิ กจิ กรรมของงาน/โครงการ
โครงการอบรมเกษตรกรตามโครงการพัฒนาเกษตรปลอดภยั ในพืน้ ทนี่ ิคมสหกรณ์
(อบรมหลักสูตรวิเคราะหด์ นิ และปรับปรงุ ดิน) ณ ห้องประชมุ สหกรณน์ ิคมปลายพระยา จำกัด
โครงการอบรมเกษตรกรตามโครงการพฒั นาเกษตรปลอดภยั ในพ้นื ท่นี คิ มสหกรณ์
(อบรมหลักสูตรวเิ คราะห์ดินและปรบั ปรุงดนิ ) ณ ห้องประชุมสหกรณน์ คิ มปากนำ้ จำกดั
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 78
แผนงานยุทธศาสตร์เรมิ สรา้ งพลังทางสงั คม
◼โครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนทใ่ี นพระราชานุเคราะหส์ มเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั
มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ปี 2564
1. วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย/พ้นื ทีด่ ำเนินงานโครงการ
วัตถุประสงค์
1) เพื่อร่วมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ และร่วมแสดงความจงรักภักดีในสมเด็จ
พระเจา้ อยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร
2) เพ่ือให้เกษตรกรที่มีปัญหาด้านสหกรณ์ สามารถเข้าถึงการบริการคลินิกเกษตรเคล่ือนท่ี
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้ได้รับการแก้ไขปัญหาในคราวเดียวกัน และเผยแพร่
ระบบสหกรณ์ให้กบั นกั เรียน
เป้าหมาย : ประชาชนท่ัวไปและนักเรยี นในพน้ื ทจ่ี ังหวดั กระบ่ี
พ้ืนท่ีดำเนินงานโครงการ : สถานที่ขน้ึ อยู่กับกำหนดการของสำนกั งานเกษตรจังหวดั กระบ่ี ซง่ึ
ได้กำหนดจัด 4 ครงั้ 4 อำเภอ แต่ไม่สามารถเปน็ ไปตามแผนได้เนื่องจากเกิดสถานการณ์โรค
ระบาด covid 19 ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้ดำเนินการจดั ดังน้ี
ครั้งที่ 1 เดือน ธันวาคม 2563 อำเภอเกาะลนั ตา
คร้ังท่ี 2 เดือน กันยายน 2564 อำเภอเมือง
คร้ังท่ี 3 เดือน กันยายน 2564 อำเภอเมือง
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกจิ กรรมท่ีดำเนนิ งานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนนิ งานโครงการ)
- จัดกิจกรรมคลินิกสหกรณ์ การดำเนินงานด้านสหกรณ์ ระเบียบปฏิบัติต่าง ๆ จัดให้
คำปรึกษา คำแนะนำด้านสหกรณ์ ให้ความรู้เกี่ยวกับการสหกรณ์ นิทรรศการเผยแพร่การดำเนินงาน
ส่งเสริมการสหกรณ์ กิจกรรมถาม-ตอบการเรียนรู้การสหกรณ์ในโรงเรียน สำหรับนักเรียนท่ีเข้าร่วม
กิจกรรมโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ และกิจกรรมเสริม เช่น แจกปัจจัยทางการเกษตร ปุ๋ย
อินทรยี ์ และแจกอุปกรณก์ ารเรียนแกเ่ ดก็ ๆ
- ให้รายงานผลการใหบ้ ริการ ส่งให้กรมสง่ เสริมสหกรณ์ทราบ
3. ผลลัพธ์ :(ระบทุ ัง้ ผลลพั ธ์เชงิ ปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลพั ธเ์ ชงิ ปริมาณ
ประชาชนท่ัวไปและนักเรียนเขา้ มารับบรกิ ารขอคำแนะนำการรวมกล่มุ รบั ความรูเ้ กย่ี วกับ
สหกรณ์ พร้อมทงั้ รบั ของสมนาคุณในคลินกิ สหกรณ์ โดยมีผู้เขา้ ร่วมในครงั้ ที่ 1 จำนวน 90 ราย ครงั้ ท่ี
2 จำนวน 40 ราย และครง้ั ที่ 3 จำนวน 20 ราย
ผลลพั ธเ์ ชิงคณุ ภาพ
ประชาชนท่ัวไปและนักเรียนในพ้ืนท่ีจังหวัดกระบ่ีได้รับบริการทางวิชาการด้านการสหกรณ์
และคำแนะนำในการแก้ไขปัญหารวดเร็วทันเวลา เป็นท่ียอมรับและเกิดความเช่ือมั่นในการให้บริการ
ของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดกระบ่ี
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 79
4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
ไมส่ ามารถเปน็ ไปตามแผนได้เน่ืองจากเกิดสถานการณ์โรคระบาด covid 19
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ที่สามารถสื่อสาร เผยแพร่ หรือแสดง
ผลการดำเนนิ กจิ กรรมได้ชัดเจน และสามารถนำไปเผยแพรต่ ่อสาธารณะได้
กจิ กรรมคลนิ กิ เกษตรเคล่อื นท่ี ครงั้ ท่ี 1 เม่ือวนั ท่ี 17 ธนั วาคม 2563
ณ โรงเรยี นบา้ นพระแอะ หมู่ 2 ตาบลศาลาด่าน อาเภอเกาะลนั ตา จงั หวดั กระบ่ี
กิจกรรมคลินกิ เกษตรเคลื่อนท่ี ครงั้ ท่ี 2 เม่ือวนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2564
ณ สานกั งานเกษตรอาเภอเมอื ง ตาบลกระบี่ใหญ่ อาเภอเมอื ง จงั หวดั กระบี่
กิจกรรมคลนิ ิกเกษตรเคล่ือนท่ี ครงั้ ท่ี 3 เม่ือวนั ท่ี 6 กนั ยายน 2564
ณ สานกั งานเกษตรอาเภอเมอื ง ตาบลกระบใี่ หญ่ อาเภอเมอื ง จงั หวดั กระบ่ี
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 80
◼ โครงการสง่ เสรมิ กจิ กรรมสหกรณน์ กั เรียนตามพระราชดำริสมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจา้
กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พนื้ ท่ีดำเนินงานโครงการ
วัตถุประสงค์ : โรงเรียนในพื้นที่โครงการฯ ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ด้านการสหกรณ์ และ
จำนวนนักเรียนในโครงการผา่ นเกณฑ์การประเมินความรู้การสหกรณ์โดยใช้ข้อสอบกลาง ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 70 และเพ่ือให้นักเรียนและผู้ปกครองได้ร่วมกันทำกิจกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทักษะ
ประสบการณซ์ ึ่งกันและกนั เพ่ือขยายผลการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณน์ ักเรียนไปส่ผู ้ปู กครองและชุมชน
เปา้ หมาย : ศนู ยก์ ารเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบา้ นแผน่ ดินเสมอ อำเภอคลองท่อม จังหวัด
กระบี่ 1 แหง่
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมท่ดี ำเนนิ งานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนินงานโครงการ)
1. ประสานงานกับหนว่ ยงานท่เี กย่ี วข้อง เพื่อส่งเสริมการดำเนนิ โครงการสง่ เสริมกจิ กรรม
สหกรณน์ กั เรียนในโรงเรียนภายใต้โครงการพฒั นาเด็กและเยาวชนในถ่นิ ทรุ กันดาร
2. ประชมุ หารอื กบั ผู้บริหาร ฝ่ายวชิ าการ และครผู ู้รบั ผดิ ชอบกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน เพื่อ
ชแี้ จงและวางแผนการส่งเสริมกิจกรรมสหกรณน์ ักเรียนในโรงเรยี น
3. แนะนำ สง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั การเรยี นรูเ้ รื่องการสหกรณ์ในภาคทฤษฎโี ดยจดั ให้มี
"การจดั การเรยี นรู้วิชาการสหกรณ์ในภาคทฤษฎ"ี ตามชว่ งชั้นเรยี นประถมศึกษาที่ 3-6 และ/หรอื
มธั ยมศึกษาปีที่ 1-3 ปลี ะไม่นอ้ ยกวา่ 2 ครง้ั ต่อโรงเรยี น
4. จัดกิจกรรมทศั นศกึ ษาเพื่อเสรมิ สร้างประสบการณด์ า้ นการสหกรณ์แก่นักเรยี นท่เี ป็น
คณะกรรมการสหกรณน์ ักเรียน สมาชกิ สหกรณ์
5. ประเมนิ ผลการเรยี นเดก็ นักเรยี น ประถม 6 ตามแนวทางการประเมินในคู่มอื การสง่ เสริม
กจิ กรรมนักเรียนฯ
6. กิจกรรมการจดั ประชมุ ใหญส่ ามัญประจำปีทุกส้ินปีการศึกษา
7. กจิ กรรมการประกวดการออม หรือกจิ กรรมอื่นๆ
8. โครงการส่งเสรมิ การเชอ่ื มโยงกิจกรรมสหกรณ์นักเรยี นสู่ผู้ปกครองและชมุ ชน จัดประชมุ
ครูผู้รบั ผดิ ชอบกิจกรรมสหกรณน์ กั เรยี นและผปู้ กครอง โดยดำเนินการจดั กิจกรรม ปลูกผักสวนครัว
และการบันทึกกิจกรรม
9. รายงานผลการดำเนนิ โครงการตามแบบรายงาน กคร.
3.ผลลพั ธ์ :(ระบุทั้งผลลพั ธเ์ ชงิ ปริมาณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลัพธ์เชิงปริมาณ
- กิจกรรมทัศนศึกษา มนี ักเรียนที่เปน็ คณะกรรมการกิจกรรมสหกรณ์นกั เรยี น ครแู ละผู้
สังเกตการณ์ เข้ารว่ มโครงการจำนวน 20 คน
- โครงการสง่ เสริมการเชื่อมโยงกิจกรรมสหกรณน์ กั เรยี นสู่ผู้ปกครองและชุมชน มนี ักเรยี น
และผู้ปกครองเข้าร่วม 20 คน
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 81
- กิจกรรมประกวดการออม มนี ักเรยี นเขา้ ร่วม 30 คน ได้รับรางวัลการออมสงู สดุ 5 คน
- ประเมินผลการเรยี นเด็กนักเรียน ประถม 6 มีนักเรียนทำแบบทดสอบผ่านเกณฑ์การ
ประเมินทุกคน
ผลลพั ธ์เชิงคณุ ภาพ
นั ก เรี ย น ท่ี เข้ า ร่ ว ม โ ค ร ง ก า ร พ ร้ อ ม ผู้ ป ก ค ร อ ง ได้ แ ล ก เป ล่ี ย น เรี ย น รู้ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร
ในทำงานซ่ึงกันและกัน สามารถนำความรู้ท่ีได้จากการทำงานร่วมกัน และเกิดความสัมพันธ์ที่ดี
ในครอบครัวและชุมชน มีกิจกรรมร่วมกันโดยนำหลักสหกรณ์มาใช้ และเกิดทักษะในด้านการบันทึก
บัญชี การเสนอความคิดเห็นร่วมกันจากการทำกิจกรรม ผู้ปกครองและชุมชนได้รู้และเข้าใจการ
สง่ เสรมิ กิจกรรมสหกรณ์นกั เรยี นมากยง่ิ ขึน้
4. ปญั หา/อปุ สรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไข
-
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนนิ กิจกรรมของงาน/โครงการ
กจิ กรรมทัศนศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างประสบการณด์ า้ นการสหกรณแ์ ก่นักเรยี น (New normal)
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 82
◼ โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่
1. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย/พ้ืนที่ดำเนนิ งานโครงการ
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื รำลึกในพระมหากรุณาธิคณุ อันหาท่สี ุดมิไดข้ องพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
2. เพ่ือสนบั สนนุ ให้เกษตรกรที่เข้ารว่ มโครงการฯ มีความรู้ความเขา้ ใจในการปฏบิ ตั ติ าม
ระบบเกษตรทฤษฎีใหม่ และสามารถนำไปปรับใช้เพื่อการประกอบอาชีพได้อยา่ งมั่นคงและยง่ั ยนื
3. เพื่อสนับสนนุ ให้เกษตรกรท่ีเข้ารว่ มโครงการฯ มีศักยภาพในการดำเนินกิจกรรมทาง
การเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ขั้นท่ี 1 และสามารถพฒั นาไปสขู่ ัน้ ท่ี 2 และข้นั ท่ี 3 ได้ต่อไป
เป้าหมาย
เกษตรกรในโครงการ 5 ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง ปี
2560 – 2562 จำนวน 36 ราย
พนื้ ท่ีดำเนนิ การ
พนื้ ท่ีอำเภออา่ วลกึ และอำเภอปลายพระยา จงั หวดั กระบี่
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเร็จจากการดำเนนิ งานโครงการ)
1. ติดตามตรวจเยี่ยมเกษตรกรในโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง
ผลสำเร็จ : ตดิ ตามตรวจเย่ียมเกษตรกรในโครงการ 5 ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎใี หม่
ถวายในหลวง ปี 2560 – 2562 ครบทั้ง 36 ราย
2. แนะนำสง่ เสริมเกษตรกรท่ีไดร้ บั การคัดเลอื กเป็นจดุ เรยี นรใู้ ห้สามารถดำเนนิ กจิ กรรมได้
ตามวตั ถปุ ระสงค์
ผลสำเร็จ คือ เกษตรกรท่ีได้รับการคัดเลือกเปน็ จุดเรยี นรู้สามารถดำเนนิ กจิ กรรมทาง
การเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่
3. บันทึกขอ้ มลู เกษตรกรเปา้ หมายในระบบฐานข้อมูล 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่
ถวายในหลวง ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ผลสำเรจ็ : บนั ทกึ ข้อมูลเกษตรกรเปา้ หมายในระบบฐานข้อมลู 5 ประสาน สืบสาน
เกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ อย่างถกู ต้อง ครบถว้ น เปน็
ปจั จบุ นั ทั้ง 36 ราย
3.ผลลัพธ์ :(ระบุท้งั ผลลัพธเ์ ชิงปรมิ าณ และเชิงคุณภาพ)
ผลลพั ธเ์ ชงิ ปริมาณ
1. ผลการประเมนิ เกษตรกร ปี 2560 อยู่ใน กลุ่ม A คอื สามารถพฒั นาตนเองส่เู กษตรทฤษฎี
ใหม่ ขั้นท่ี 1 จำนวน 6 ราย และกลุม่ B คอื เกษตรกรทเ่ี กือบจะไปสเู่ กษตรทฤษฎใี หม่ ข้ันที่ 1 จำนวน
6 ราย
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 83
2. ผลการประเมินเกษตรกร ปี 2561 อยู่ใน กลุ่ม A คอื สามารถพัฒนาตนเองสูเ่ กษตรทฤษฎี
ใหม่ ขนั้ ที่ 1 จำนวน 4 ราย และกลมุ่ B คอื เกษตรกรท่เี กือบจะไปสเู่ กษตรทฤษฎีใหม่ ข้ันท่ี 1 จำนวน
8 ราย
3. ผลการประเมินเกษตรกร ปี 2562 อยู่ใน กลมุ่ A คอื สามารถพฒั นาตนเองส่เู กษตรทฤษฎี
ใหม่ ข้ันท่ี 1 จำนวน 6 ราย และกลุ่ม B คือ เกษตรกรที่เกือบจะไปสู่เกษตรทฤษฎใี หม่ ขั้นท่ี 1 จำนวน
6 ราย
ผลลัพธเ์ ชิงคุณภาพ
เกษตรกรทเ่ี ข้ารว่ มโครงการฯ มีความรูค้ วามเขา้ ใจในการทำการเกษตรตามแนวเกษตรทฤษฎี
ใหม่ และสามารถนำไปปรับใช้เพื่อการประกอบอาชีพได้
4. ปัญหา/อปุ สรรค ในการดำเนนิ งาน และแนวทางแก้ไข
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทำให้ไม่
สามารถลงพน้ื ทไ่ี ดใ้ นบางชว่ ง
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกิจกรรมของงาน/โครงการ ท่ีสามารถส่ือสาร เผยแพร่ หรือแสดง
ผลการดำเนินกิจกรรมได้ชัดเจน และสามารถนำไปเผยแพร่ต่อสาธารณะได้ (พร้อมคำอธิบายประกอบไว้
ด้านล่างของภาพ)
ติดตามตรวจเยยี่ มเกษตรกรในโครงการ 5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎใี หม่ ถวายในหลวง
แนะนำส่งเสรมิ เกษตรกรท่ไี ด้รับการคัดเลือกเป็นจดุ เรียนรู้
รายงานประจำปี 2564(Annual Report) | 84
◼ โครงการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพืชอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี (นคิ มสหกรณอ์ า่ วลกึ )
1. วตั ถปุ ระสงค์/เป้าหมาย/พ้ืนท่ีดำเนินงานโครงการ :
วตั ถุประสงค์
เพ่ือเพม่ิ ความอุดมสมบรู ณ์ในระบบนิเวศอย่างยงั่ ยนื ในแปลงอนรุ กั ษ์พันธกุ รรมพืชอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริฯ นิคมสหกรณ์อ่าวลกึ จงั หวดั กระบี่
กลุ่มเปา้ หมาย
สมาชกิ สหกรณน์ คิ มในพ้ืนที่นิคมสหกรณ์อ่าวลึก และบุคลากรนิคมสหกรณ์อา่ วลกึ สำนักงาน
สหกรณ์จงั หวดั กระบี่
พื้นท่ีดำเนินงานโครงการ
แปลงอนรุ ักษพ์ นั ธุกรรมพชื ฯ นคิ มสหกรณ์อ่าวลึก อำเภอปลายพระยา จังหวดั กระบ่ี
2. ผลการดำเนินงาน : (สรุปกิจกรรมที่ดำเนินงานและระบุผลสำเรจ็ จากการดำเนนิ งานโครงการ)
นคิ มสหกรณ์อ่าวลึก ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมพัฒนาแปลงอนุรักษ์พันธกุ รรมพืชอนั เน่ืองมาจาก
พระราชดำริฯ โดยได้ให้บุคลากรนิคมสหกรณ์อ่าวลึก ร่วมกันตัดหญ้า ถางหญ้า ตัดแต่งกิ่ง ในพ้ืนที่
แปลงอนรุ ักษ์พนั ธุกรรมพชื ฯ นิคมสหกรณอ์ ่าวลึก อำเภอปลายพระยา จังหวดั กระบ่ี
3. ผลลพั ธ์ : (ระบุทั้งผลลพั ธ์เชิงปรมิ าณ และเชงิ คุณภาพ)
ผลลพั ธเ์ ชิงปริมาณ
ต้นไม้ในแปลงอนุรักษ์พันธกุ รรมพืชฯ เทา่ เดิม
ผลลพั ธเ์ ชิงคุณภาพ
ความสมบรู ณข์ องระบบนเิ วศในแปลงอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ เพมิ่ ขนึ้
4. ปัญหา/อุปสรรค ในการดำเนินงาน และแนวทางแกไ้ ข
…………-…………………………………………………………………………………………………..…………………………
5. ภาพถ่ายแสดงการดำเนินกจิ กรรมของงาน/โครงการ
กิจกรรมพัฒนาการแปลงอนรุ ักษ์พันธุกรรมพืชฯ นิคมสหกรณ์อ่าวลึก จังหวัดกระบี่