The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือศรียานุสรณ์ E-Book

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siyanuson, 2021-05-05 03:27:46

คู่มือศรียานุสรณ์ E-Book

คู่มือศรียานุสรณ์ E-Book

คาํ แนะนําสําหรบั ผูปกครอง

SS

1. ศึกษาระเบยี บตาง ๆ ของโรงเรียน เพอ่ื ความเขาใจอนั ดีระหวา งบา นกับโรงเรยี น
2. เมอื่ ไปขอพบนกั เรียน หรอื ตดิ ตอกบั ทางโรงเรียน ควรรวู า นกั เรยี นอยูช้นั /หองใด, ช่อื ครูทป่ี รึกษา และ

นําหลกั ฐานแสดงตนของผูปกครองไปดวย
3. ควบคมุ การมาเรยี นและการกลับบานของนักเรียน
4. ดูแลการเรียนของนกั เรยี นใหทาํ การบาน งาน และอา นหนงั สือ เพอ่ื เพิ่มความรูใหมากขน้ึ
5. ดแู ลการแตง กายของนกั เรยี นใหถูกตอ งตามระเบยี บขอบังคบั ของโรงเรียน
6. ถา นักเรยี นขออนญุ าตไปรว มกิจกรรมของโรงเรียน ควรตรวจดูหนังสอื ขออนญุ าตจากโรงเรียนพรอมตรา

ประทบั สแี ดงทกุ คร้ังและลงชื่อรบั ทราบแลวสง คืนทางโรงเรยี น เพอื่ ทา นจะไดทราบรายละเอียด
7. ควบคมุ การเท่ียวเตรข องนกั เรยี น อยา ใหเทย่ี วจนดกึ หรือบอ ยเกนิ ไป
8. ไมค วรพานกั เรียนของทานไปเทย่ี วพกั ผอ นในสถานที่ไมเหมาะสม
9. เอาใจใสด แู ลการคบเพอ่ื น ใหถ ูกตอ งเหมาะสมตามจารตี ประเพณแี ละศลี ธรรมอนั ดี
10. ควรอบรมสง่ั สอนนกั เรยี นของทา นอยูเสมอ ๆ เพราะนักเรยี นจะเปนคนดีมีอนาคต ตองอาศยั ความรว มมอื

ระหวา งบา นกับโรงเรียน
11. ควรดูแลเอาใจใสผ ลการเรียนของนกั เรยี นในความปกครองของทา นในแตล ะภาคเรียนและทานจะตอ ง

ลงความเห็นของผปู กครองดวยตนเองทุกคร้งั พรอ มทั้งลงช่ือทา ยความเห็น
12. ควรดูแลและปอ งกนั นักเรียนของทานในเร่ืองการสูบบหุ รี่ ดม่ื สรุ า เสพของมนึ เมาทุกชนิด สารระเหย

และยาเสพตดิ ใหโทษทกุ ชนดิ
13. เม่ือมีความจาํ เปนตองเปลีย่ นผปู กครองสําหรบั นกั เรยี นของทา นใหม ทานและผูปกครองคนใหม

ที่จะทําหนา ทแ่ี ทนตอ งไปแจง ใหก ลุมบริหารงานบคุ คล (งานสง เสรมิ วินัยนกั เรยี น) ทราบ เพ่ือประโยชน
ของนักเรยี นเอง
14. ใหค วามรวมมอื กบั ทางโรงเรยี น เม่ือไดรับเชญิ ใหไ ปรว มแกไ ข และปอ งกนั ปญหาของนักเรยี นดวยตนเอง
15. ถามีขอสงสยั ประการใด ๆ โปรดติดตอกับทางโรงเรียน เพอื่ ความเขา ใจอันดแี ละรวมมือกัน

โรงเรยี นศรยี านุสรณ์ จงั หวดั จนั ทบุรี 147

ปญฺญา โลกสมฺ ิ ปชโฺ ชโต (ปญั ญาเปน็ แสงสว่างแห่งโลก)

(สาํ เนา)
กฎกระทรวง
ออกตามความในประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบบั ท่ี 294
ลงวันที่ 27 พฤศจกิ ายน 2515

อาศยั ตามความในขอ 1 และ ขอ 2 แหงประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบบั ท่ี 294 ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2515
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทยออกกฎกระทรวงไวด งั นี้ การประพฤติตนไมสมควร แกวัย คอื การประพฤติตน
ดังตอไปน้ี

1. ประพฤติตนไปในทางเกเรหรอื เที่ยวเตรเรรอ นไปในทส่ี าธารณะ
2. มัว่ สมุ และกอความเดอื ดรอ นราํ คาญแกชาวบา นและผูส ัญจรไปมา
3. ขอทานหรอื กระทาํ สอไปทางขอทาน
4. เลน การพนนั หรอื ม่ัวสุมในวงการพนัน
5. เสพสรุ า สูบบหุ ร่ี หรือยาเสพตดิ ใหโทษหรอื ของมนึ เมาอยา งอน่ื หรือเขา ไปในสถานท่ีจาํ หนายสรุ า

เพ่ือเสพหรอื ซื้อสุรา
6. เขา ไปในโรงรบั จาํ นํา สถานบริการคา ประเวณี เวนแตเปน ผอู ยูอ าศัย
7. ประพฤติตนทํานองชูสาวในทส่ี าธารณะ
8. ไมเรยี นอยูใ นโรงเรียนประถมศึกษาวา ดว ยการประถมศกึ ษา
9. เท่ยี วเตรใ นเวลากลางคนื ระหวางเวลา 22.00 นาฬก า ถงึ เวลา 04.00 นาฬกา ของวนั รงุ ขนึ้ เวน แต

ไปกับบิดามารดาหรอื ผูปกครอง
10. หลบหนจี ากสถานแรกรบั เด็ก หรอื สถานสงเคราะหเดก็
ใหไ ว ณ วนั ที่ 12 ธนั วาคม พ.ศ. 2515

(ลงช่ือ) พวง สวุ รรณรฐั
(นายพวง สวุ รรณรฐั )
ปลดั กระทรวงมหาดไทย
ผใู ชอ ํานาจของรฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย

(ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม 89 ตอนท่ี 190 วันที่ 13 ธ.ค. 2531)

148 คมู่ ือนักเรยี น ครู และผู้ปกครอง
ปกี ารศกึ ษา 2564

โรงเรยี นศรยี านุสรณ์ จังหวัดจนั ทบุรี 149

ปญญฺ า โลกสมึ ปชฺโชโต (ปญั ญาเป็นแสงสวา่ งแหง่ โลก)

กลุม บรหิ ารทว่ั ไป

กลุมบริหารทั่วไป ทําหนาที่ดูแลความสะอาดของอาคาร สถานที่ สิ่งแวดลอม อํานวยความสะดวก
ดานสาธารณูปโภค จัดสวัสดิการ สงเสริมสนับสนุนการเรียน การสอน ใหครูไดปฏิบัติหนาที่ไดดวยความสะดวก
ราบรื่น ประสานหนวยงานสาธารณสุข ในการตรวจตราความสะอาดของอาหาร นํ้าด่ืม ภาชนะ ตลอดจน
สารปนเปอนในอาหาร อีกท้ังการตรวจสุขภาพของคณะครู นักการภารโรง ผูจําหนายอาหารในโรงเรียน
การปฐมพยาบาล การสงตอโรงพยาบาล ในกรณีนักเรียนบาดเจ็บหรือเจ็บปวย อีกทั้งการอํานวยความสะดวก
แกผ ปู กครองทมี่ าขอพบนกั เรยี นเมอ่ื มกี จิ ธรุ ะจาํ เปน ทมี่ เี ปา หมายในการพฒั นานกั เรยี นดา นรา งกาย จติ ใจ สตปิ ญ ญา
และสังคมในการเปน พลเมอื งดขี องประเทศสืบตอไป

งานอาคารสถานที่

ขอ ปฏบิ ตั ขิ องนักเรียนในการใชอาคารและสถานที่
โรงเรียนเปนสมบัติของสวนรวม เสมือนนักเรียนเปนเจาของ นักเรียนทุกคนตองระลึกไวเสมอวาโรงเรียน

เปน บา นท่ี 2 ของนกั เรยี น จงึ ตอ งมหี นา ทท่ี จ่ี ะตอ งใหค วามรว มมอื ในการรกั ษาทรพั ยส นิ และอปุ กรณต า ง ๆ ในโรงเรยี น
ใหใชประโยชนไดอ ยางคุมคา ไมชํารดุ เสียหายกอนเวลาอนั ควร โดยปฏบิ ตั ิตนดังน้ี

1. ชว ยกันดูแลรกั ษาและทําความสะอาดบรเิ วณโรงเรียน เม่อื พบส่งิ ทไี่ มเ หมาะสมตองชวยกนั
แกไขทันที ถา เกนิ ความสามารถใหแ จงครูอาจารย หรือนกั การภารโรงทราบ

2. ทาํ ความสะอาดหอ งเรียนของตนใหส ะอาดอยูเสมอ
3. เมอื่ ไดรับหนาทรี่ ักษาความสะอาดในบริเวณใดของโรงเรยี น ตอ งรับผดิ ชอบใหเ ตม็ ความสามารถ

ทําใหบริเวณนัน้ สะอาดสวยงามอยเู สมอ
4. เมอ่ื นกั เรียนข้นึ บนอาคารเรียน ตอ งถอดรองเทากอนขึ้นอาคาร
5. ไมน ําอาหาร และเครอื่ งด่มื ทุกประเภทไปรบั ประทานบนอาคารเรียน
6. ชวยกนั ปด ประตู หนาตาง หอ งเรยี นกอ นกลบั บานหลงั เลิกเรยี นทุกวนั
7. ปด เคร่ืองใชไฟฟา พดั ลม เมอ่ื เสรจ็ จากการใชงาน
8. ไมทําลายทรพั ยสนิ ของโรงเรียน
9. ปดนา้ํ ไฟฟา หลังใชงานทกุ ครัง้

150 คู่มอื นกั เรยี น ครู และผูป้ กครอง
ปีการศกึ ษา 2564

งานอนามยั โรงเรียน

งานอนามัยโรงเรียนเปนบริการดานสงเสริม ปองกัน และแกไขปญหา สุขภาพกาย สุขภาพจิต สารเสพติด
และโรคเอดส ใหแ กน กั เรยี นใหอ ยใู นสภาพปกติ ปราศจากโรคอนั เปน อปุ สรรคในการศกึ ษาเลา เรยี น และเจรญิ เตบิ โต
ตามวยั โรงเรยี นจดั หอ งพยาบาล สาํ หรบั บรกิ ารดา นการปฐมพยาบาลดแู ลรกั ษาอาการเบอ้ื งตน ใหค าํ ปรกึ ษา แนะนาํ
และจัดเตียงแยกชาย – หญิง สําหรับนักเรียนพักฟน เม่ือนักเรียนไมสบายระหวางเรียน นักเรียนจะตองแจงให
อาจารยผ ูสอนทราบกอน และขออนุญาตไปพบพยาบาลเพ่อื แจง อาการปวย

ระเบยี บการใชห อ งพยาบาล

1. ขออนุญาตกอนเขาหอ งพยาบาล
2. แจงอาการเจ็บปวย
3. บันทกึ ในใบการใชบ รกิ ารหองพยาบาล
4. หา มหยบิ ยารับประทานเอง
5. เมอื่ รับประทานยาแลว ลางแกวยาทกุ คร้ัง
6. ขออนญุ าตกอ นนอนพักฟน
7. เม่อื ลุกจากเตียงจัดท่นี อนใหเ รยี บรอย
8. กรณีพบแพทย หรือกลบั บา น เจาหนา ท่พี ยาบาลจะเปนผูติดตอ ผปู กครอง
9. เม่อื ปวยมาจากบา นจะตองรักษาตอ เน่ือง ใหน กั เรียนนาํ ยาตามแพทยส ั่งมาดว ย

การสรางสุขนสิ ัยที่ดีของนักเรยี น

เน่อื งจากมีโรคติดตอ บางชนดิ เชน โรคไวรสั ตบั อกั เสบบี และ โรคหวดั ทีต่ ิดตอไดจากการใชภ าชนะในการรับ
ประทานอาหารรว มกัน ซ่งึ เราสามารถปอ งกนั และหลีกเล่ยี งไดด วยการปฏบิ ตั ิตนใหถกู ตองตามหลกั โภชนาการทั้ง
ยงั เปนการเสริมสรา งสขุ นิสัยสวนบุคคลที่ดใี หกับตนเอง

ฉะน้ัน นักเรียนทุกคนตองจัดหาอุปกรณในการรับประทานอาหาร มาใชเปนของสวนตัว ในโรงเรียน
คอื ชอน สอ ม และแกว น้าํ

โรงเรียนศรยี านสุ รณ์ จงั หวดั จนั ทบุรี 151

ปญญฺ า โลกสมฺ ิ ปชฺโชโต (ปัญญาเปน็ แสงสวา่ งแหง่ โลก)

6 มาตรการ ในการปองกนั การแพรระบาดของโรคโควดิ – 19 ในสถานศึกษา

1. เวนระยะหาง (Social Distancing)
จดั พ้นื ที่ใหมีระยะหางระหวา งบุคคล

2. คดั กรองวัดไข (Screening)
มจี ุดคัดกรองวดั ไข กอ นเขาโรงเรียน มกี ารสังเกตอาการและซกั ประวตั ิกลุมเส่ยี ง

3. สวมหนากาก (Mask)
สวมหนากากผา หรอื หนากากอนามัยตลอดเวลาท่อี ยูในสถานศกึ ษา

4. ลางมือ (Hand Wash)
ลา งมอื บอ ยๆ ดวยสบแู ละน้าํ เปนเวลา 20 วนิ าทแี ละทางโรงเรียนไดมีบรกิ ารเจลแอลกอฮอล
ตามจดุ ตาง ๆ

5. ทาํ ความสะอาด (Cleaning)
ทําความสะอาดหอ งเรยี น บรเิ วณตา ง ๆ อปุ กรณของใชร ว มกนั และพืน้ ผิวสมั ผสั ตา ง ๆ
ดวยน้าํ ยาฆา เชอ้ื เปน ประจํา

6. ลดการแออดั (Reducing)
ลดการจดั กจิ กรรมรวมกลมุ คนจาํ นวนมาก หรือ หลีกเล่ียงเขาไปในพน้ื ที่แออัด

ประกันอบุ ตั ิเหตุโรงเรียนศรยี านุสรณ 10,000 บาท
500 บาท
บรษิ ัท สยามซิต้ีประกนั ภัย จาํ กัด (เก็บคนละ 350 บาท)
- คา รักษาพยาบาลตอ อบุ ัติเหตุแตล ะครัง้ 100,000 บาท
- คา ชดเชยรักษาพยาบาล (อุบตั ิเหตุ) ในฐานะคนไข วันละ
- เสียชีวิต ทุพพลภาพถาวร สูญเสยี อวยั วะจากอบุ ัติเหตุ

ขน้ั ตอนการเขารบั การรกั ษา
ในกรณีนักเรียนไดรบั บาดเจบ็ จากอบุ ตั เิ หตุ
1. ใหนักเรยี นเขา รบั การรักษาพยาบาลกบั ทางโรงพยาบาลพระปกเกลา จ.จันทบรุ ี และโรงพยาบาล
สิรเิ วช โดยไมต องชาํ ระเงนิ เพียงแสดงบัตรประจาํ ตัวผเู อาประกันภยั การประกนั อุบัติเหตุไปยน่ื
ทโ่ี รงพยาบาลเทา นัน้
2. ใหนักเรียนเขารับการรักษาพยาบาลกับทางโรงพยาบาล, คลินิก, สถานอี นามัย ใกลบา นไดท กุ แหง
โดยสาํ รองจายเงนิ คารกั ษาพยาบาลจากอุบัติเหตุ โดยขอใบเสร็จรับเงิน (ตนฉบับ) และใบรบั รอง
แพทยประกอบหลกั ฐานเพ่ือเบิกคารักษาพยาบาล

152 ค่มู ือนกั เรียน ครู และผ้ปู กครอง
ปีการศึกษา 2564

ข้นั ตอนการวธิ ีการเบกิ เงินจากประกัน

1. ในกรณผี เู อาประกนั ภยั ไดร บั บาดเจบ็ จากอบุ ตั เิ หตุ สามารถเขา รกั ษาพยาบาลกบั โรงพยาบาลประจาํ อาํ เภอ
และจังหวัดไดทุกแหง และโรงพยาบาลสิริเวช จันทบุรีไดโดยไมตองชําระเงิน (ในวงเงินรักษาพยาบาลท่ีกําหนด
หากเกินวงเงิน ผเู อาประกนั จะตอ งชําระสวนเกินกับทางโรงพยาบาลเอง และใบเสรจ็ สวนเกินนน้ั จะไมส ามารถนาํ มา
เบิกกับบริษัทไดอีก) โดยแสดงบัตรประจําตัวผูเอาประกัน ที่บริษัทฯ ออกให หรือแบบฟอรมหนังสือสงตัวเขารับ
การรกั ษาพยาบาลทใี่ หไวก ับโรงเรียน (กรณีทีโ่ รงเรียนออกหนังสือสง ตวั ใหกับนักเรียนไปรบั การรักษาทโ่ี รงพยาบาล
กรณุ าตรวจสอบรายชื่อนักเรียนใหแ นใ จวา นักเรยี นคนดงั กลา วไดทําประกันกบั บริษัท)

2. หากผูเอาประกันประสงคจะเขารักษาพยาบาลกับโรงพยาบาลเอกชนอ่ืน, คลินิก หรือ สถานีอนามัย
ใกลบาน ก็สามารถเขารับการรักษาไดทุกแหง โดยสํารองเงินจายคารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุ ไปกอน และเก็บ
ใบเสร็จรับเงินตัวจริง และใบรับรองแพทยมาสงครู – อาจารยที่รับผิดชอบ เพื่อดําเนินการเบิกคาสินไหมกับทาง
บรษิ ทั ฯ ตอไป

3. ในกรณีที่ผูเอาประกันอุบัติเหตุจราจร ทางโรงพยาบาลจะใหทําการเบิกคารักษาจาก พ.ร.บ.กอน
(วงเงนิ เบ้ืองตน 30,000 บาท) หากผเู อาประกันไมประสงคจ ะใช พ.ร.บ. หรือ ไมม ี พ.ร.บ. จะตองสํารองจายกอน
ทุกกรณี และนําใบเสร็จรับเงินตัวจริง และใบรับรองแพทย มาสงเบิกตอไป (กรณีท่ีผูขับขี่ไมมีใบอนุญาตขับขี่
หรอื เกดิ อบุ ตั ิเหตุโดยไมมคี ูกรณี เชน หักรถหลบสนุ ัข หรอื โดนรถเฉี่ยวชน แลวหนี ก็สามารถเบกิ พ.ร.บ.ได เพยี งแต
ไปแจงความทส่ี ถานีตํารวจกอนเทา นั้น)

4. ในกรณที ่ีเกดิ อุบตั เิ หตุ แลวบาดเจ็บเกย่ี วกบั ฟน ทางโรงพยาบาลใหส ํารองจายกอ นทุกกรณี และบรษิ ัทฯ
จะใหค วามคมุ ครองสําหรบั การรกั ษาบาดแผล เชน การเยบ็ เหงอื ก ถอนฟน และการรกั ษาฟนเบ้ืองตน ภายใน 7 วัน
หลงั จากท่ีเกดิ อบุ ตั ิเหตุเทา น้ัน ไมคมุ ครองคา บรกิ ารทันตกรรมประดษิ ฐ เชน การกรอฟน ขดู หินปูน จดั ฟน อุดฟน
รวมถึงคารกั ษาพยาบาลทเี่ กย่ี วขอ งกับฟนหลงั จาก 7 วนั ไปแลว ทั้งหมด

** หมายเหตุ นกั เรียนตอ งพกบัตรประกันอบุ ตั ิเหตตุ ิดตัวเสมอ

งานประกันอุบตั ิเหตุ ครเู บญจมาส เขม็ พงษ (หองกลุมบริหารทั่วไป) 039-311225
มขี อสงสยั หรือตองการขอมลู เพมิ่ เติม ตดิ ตอ คุณบญุ ยง เอมซบตุ ร โทร 081 – 864 – 8086
หรือ น.ส.ขนษิ ฐา เอมซบ ุตร โทร. 094 – 547 – 6858

เอกสารทีต่ องนาํ มา - ใบรับรองแพทย (เฉพาะคร้งั แรกที่แจง การเกิดอบุ ตั เิ หตุนน้ั ๆ)
- ใบเสร็จรบั เงิน (ตน ฉบบั )
- สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน

โรงเรยี นศรียานุสรณ์ จงั หวดั จันทบุรี 153

ปญญฺ า โลกสฺมิ ปชฺโชโต (ปัญญาเปน็ แสงสวา่ งแหง่ โลก)

งานประชาสมั พันธ

ระเบียบปฏบิ ตั ิการใหบ ริการประชาสัมพนั ธ
1. ผปู กครองมาขอพบนักเรียน
1.1 แจงความประสงคต อเจา หนา ทร่ี ักษาความปลอดภัย แลวติดตอ เจา หนาที่ หองประชาสมั พันธ
อาคาร 3
1.2 บันทกึ ขอมูลลงในแบบฟอรมท่หี องประชาสมั พนั ธ แลว นั่งพักที่หอ งรับแขก
1.3 หากผูปกครองประสงคร บั นกั เรียนออกนอกโรงเรียน เจาหนาทจี่ ะเชิญไปหอ ง กลมุ บริหาร
งานบุคคล (งานสงเสรมิ วนิ ยั นักเรียน)
1.4 หากเปน การขอพบครู หรือบคุ ลากรอืน่ เจาหนาท่จี ะประสานงานและตดิ ตอ ให
1.5 การพบนกั เรยี น อนญุ าตเฉพาะชว งเวลาเปล่ยี นคาบเรยี น ยกเวน กรณีเรงดวน จะพจิ ารณา
ดําเนนิ การตามความจาํ เปน
1.6 กรณตี ิดตอ เพ่อื น ใหบนั ทกึ ฝากขอความเพื่อนําสงเพอื่ นคนนั้นตอ ไป
2. การใชบริการเสยี งตามสาย
2.1 กรอกขอ ความทตี่ อ งการประกาศลงในแบบที่กาํ หนด
2.2 ชวงเวลาประกาศขอ ความ
- กอ นเขา แถวเคารพธงชาติ
- กอ นเรียนคาบที่ 1
- หมดเวลาเรียนคาบท่ี 3 (ม.ตน)
- หมดเวลาเรียนคาบท่ี 4 (ม.ปลาย)
- หมดเวลาเรียนคาบเรยี นสุดทาย
2.3 กรณที ีเ่ ปนเร่อื งเรง ดวน หรอื เหตุฉกุ เฉิน จะพจิ ารณาตามความสําคัญจาํ เปน
3. การประชาสมั พนั ธถงึ กิจกรรมตา งๆ การรบั รางวัลของนักเรียนโรงเรยี นมชี อ งทางประชาสมั พนั ธ ดังนี้
- เว็บไซต www.siya.ac.th
- Facebook : ศรยี าโพสต

154 คมู่ อื นักเรยี น ครู และผูป้ กครอง
ปีการศึกษา 2564

งานโสตทัศนศกึ ษา

บรกิ ารโสตทัศนปู กรณ – โสตทัศนวัสดุ ประกอบการเรยี นการสอนและกิจกรรมนกั เรยี น
ระเบียบการใชห อง

1. ครทู ี่ตอ งการใชบริการโสตทศั นศึกษาใหต ดิ ตอ จองหอ งลว งหนาอยางนอย 1 วนั
2. ผขู อใชส ่อื IT ตอ งเขยี นรายละเอยี ดในแบบฟอรมการใชบ ริการใหช ัดเจน
3. ถานกั เรยี นตองการยืมโสตทัศนูปกรณ – โสตทศั นวสั ดุไปใชที่หอ งอน่ื ใหเขยี นรายการยมื และสง คืน

ตามกําหนด
4. นักเรยี นตองรกั ษาระเบยี บวนิ ัย ดังน้ี

- แตง กายสุภาพ สาํ รวมกิรยิ ามารยาท
- รักษาความสะอาด และความเปน ระเบียบของหอ งโสตทัศนศกึ ษา
- หา มนาํ อาหาร และเครอื่ งดืม่ เขามาในหอ งโสตทศั นศึกษา
- หา มขีดเขียน หรอื ทาํ ลายอุปกรณและสภาพหองใหสกปรกเสียหาย

งานโภชนาการ

ขอปฏิบตั ขิ องนกั เรยี นในการรบั ประทานอาหาร
1. เขาแถวซอื้ อาหารตามลําดับกอน – หลงั ตามเวลาทโ่ี รงเรียนกําหนด
2. รับประทานอาหารทโ่ี ตะ ตามทโ่ี รงเรียนจัดให
3. จาน ชาม แกวนาํ้ นาํ ไปไว ณ จดุ ที่โรงเรยี นกาํ หนด
4. ไมนําอาหารไปรับประทานนอกโรงอาหาร
5. รกั ษามารยาทขณะรบั ประทานอาหาร
6. จดั หาอปุ กรณใ นการรับประทานอาหารมาใชเ ปนของสวนตัว (ชอน สม แกว น้ําดื่ม)

โรงเรยี นศรยี านสุ รณ์ จงั หวัดจนั ทบุรี 155

ปญญฺ า โลกสมฺ ิ ปชฺโชโต (ปัญญาเป็นแสงสว่างแห่งโลก)

ประกาศโรงเรียนศรยี านุสรณ

เรื่อง นโยบายโรงเรียนปลอดขยะ

นโยบายสูโ รงเรยี นปลอดขยะ มีดงั น้ี

1. หามนาํ โฟม ถงุ พลาสติก ทุกประเภท และไมนาํ วสั ดุทไ่ี มส ามารถ Recycle ไดเขามาในสถานศกึ ษา
2. ครูและบคุ ลากร บรู ณาการความรทู เี่ ก่ียวกบั การจัดการขยะในการจัดการเรยี นการสอน หรอื กิจกรรม

ลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู โดยใชหลกั 3RS ไดแ ก Reduce ใชนอ ย Reuse ใชซ ้าํ และ Recycle นํากลบั
มาใชใ หม
3. ครูและบุคลากร นกั เรยี น ผปู ระกอบการรา นคา ผบู ริโภค ลด ละ เลกิ การใชภ าชนะโฟมบรรจอุ าหาร
ในสถานศึกษา และสงเสรมิ สนับสนนุ วสั ดธุ รรมชาติ
4. ทกุ ฝา ยประสาน รว มมอื เพ่อื เปน “โรงเรียนปลอดขยะ”

156 ค่มู อื นักเรียน ครู และผปู้ กครอง
ปีการศึกษา 2564

สทิ ธแิ ละหนาทก่ี ารจัดการศกึ ษาของพอแมผ ปู กครอง

SS

เปนท่ีรับรูและเขาใจกันท่ัวไปวา พอแมผูปกครองมีสิทธิและหนาที่ตามธรรมชาติที่จะตองเลี้ยงดู อบรมให
การศึกษา และปกปองคุมครองลูกหลาน หรือเด็กในความปกครองของตนใหพนไปจากการใชความรุนแรง
และภัยอนั ตรายท้งั ปวง

นี่คือสิทธิและหนาท่ีที่พอแมผูปกครองไมอาจละเวนได และน่ีเปนหลักการพ้ืนฐานแหงสิทธิมนุษยชน
อนั เด็กพงึ ไดรับจากพอแมผปู กครอง

อยางไรก็ดี รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ฉบับท่ีเปนของประชาชนชาว ไทยท้ังปวง
ไดมีการบัญญัติรับรองสิทธิและหนาที่ของบุคคลในสวนที่เก่ียวของกับการดูแลบุตรไวอยางชัดเจน แจมแจง
และกวางขวางกวา ทเี่ คยเปน มา ซึ่งพอ แมผ ปู กครองจึงตระหนกั รแู ละยดึ ถือใหม ่ัน

พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี กไ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545

หมวด 2 สทิ ธแิ ละหนาท่ีทางการศึกษา
มาตรา 11
บิดา มารดา หรอื ผูปกครอง มีหนาทีจ่ ัดให บุตร หรือ บุคคล ซง่ึ อยูในความดูแลไดรับการศึกษา ภาคบังคับ

ตามมาตรา 17 และตามกฎหมายท่ีเก่ียวของ ตลอดจนใหไดรับการศึกษา นอกเหนือจากการศึกษาภาคบังคับ
ตามความพรอ ม ของครอบครวั ฯลฯ
หมวด 3 ระบบการศึกษา

มาตรา 17
ใหมี การศกึ ษาภาคบังคบั จาํ นวนเกา ป โดยใหเ ดก็ ซ่งึ มอี ายุ ยา งเขา ปท ่ีเจ็ด เขาเรยี น ในสถานศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน
จนอายุยางเขาปท่ีสิบหก เวนแต สอบไดชั้นปที่เกา ของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑ และวิธี การนับอายุ
ใหเปน ไปตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง ฯลฯ
หมวด 3 สวนที่ 8 วา ดวยสทิ ธิและเสรภี าพในการศึกษา
มาตรา 49 บุคคลยอมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาไมนอยกวาสิบสองปท่ีรัฐจะตองจัดใหอยาง ท่ัวถึง
และมีคณุ ภาพ โดยไมเก็บคา ใชจาย
ผูย ากไร ผูพ กิ ารหรอื ทุพพลภาพ หรอื ผูอยูใ นสภาวะยากลาํ บาก ตองไดรบั สทิ ธิตามวรรคหน่งึ และ การสนบั สนนุ
จากรัฐเพอ่ื ใหไ ดร ับการศกึ ษาโดยทัดเทยี มกับบคุ คลอนื่
การจัดการศึกษาอบรมขององคก รวชิ าชพี หรือเอกชน การศึกษาทางเลือกของประชาชน การเรียนรดู ว ยตนเอง
และการเรียนรตู ลอดชวี ติ ยอมไดรับความคมุ ครองและสงเสรมิ ทเ่ี หมาะสมจากรฐั
มาตรา 50 บคุ คลยอ มมีเสรีภาพในทางวิชาการ
การศกึ ษาอบรม การเรยี นการสอน การวจิ ยั และการเผยแพรง านวจิ ยั ตามหลกั วชิ าการยอ มไดร บั ความคมุ ครอง ทง้ั น้ี
เทาทีไ่ มข ดั ตอ หนา ท่ีของพลเมอื งหรอื ศีลธรรมอันดขี องประชาชน

โรงเรียนศรยี านุสรณ์ จงั หวัดจันทบุรี 157

ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต (ปัญญาเป็นแสงสว่างแห่งโลก)

สิทธแิ ละหนาที่ของพอ แมผูป กครอง
ตามพระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

นอกเหนือจากสิทธิและหนาท่ีของผูปกครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฉบับปจจุบัน ดังกลาวมา
ขางตนแลว พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีสาระสําคัญท่ีสอดรับกับบทบัญญัติ ใน มาตรา 81
แหงรัฐธรรมนูญฉบับปจจบุ นั และเปนหลกั การสําคัญในเรือ่ งการศึกษาพัฒนาเดก็ หรือผเู รยี น 3 ประการ คอื

• หลกั การมสี ว นรว ม
เปดโอกาสใหพอแมผูปกครองและภาคเอกชนเขามีสวนรวมในการจัดการศึกษาของรัฐอยาง กวางขวาง

เชน กําหนดใหพอแมผูปกครองและภาคเอกชนเขารวมในคณะกรรมการการศึกษาทุกระดับตั้งแต สวนกลาง
สวนทอ งถ่ิน และโดยเฉพาะอยางย่งิ ในคณะกรรมการสถานศกึ ษา

• หลักการกระจายอํานาจ
เนนกระจายอํานาจจากสวนกลาง เปดโอกาสใหสวนทองถ่ิน ตลอดจนชุมชนมีสิทธิในการจัดการศึกษา

ไดอยางอิสระ พอแมผูปกครองสามารถใชสิทธิของตนผานองคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือองคกรชุมชน ในการจัด
การศกึ ษาใหแ กทอ งถนิ่ หรอื ชุมชนของตนเองได หรือแมแ ตจัดการศกึ ษาใหแ กบ ตุ รหลานของตน ดวยตนเองก็ได

• หลกั การแหงความเปน เอกภาพในเชิงนโยบาย แตห ลากหลายในเชิงปฏิบัติ
กาํ หนดรปู แบบการศกึ ษาโดยคาํ นงึ ถงึ ความแตกตา งหลากหลายระหวา งบคุ คล หรอื กลมุ ชน โดย กาํ หนดให

มีการจดั การศึกษา 3 รปู แบบ ไดแ ก การศกึ ษาในระบบ การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศัย พอ แม
ผูปกครองสามารถใชสิทธิในการเลือกรูปแบบการศึกษา ใหแกบุตรหรือผูอยูในการปกครองของ ตนไดตาม
ความเหมาะสม นอกจากนีย้ งั มกี ารจัดการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานเปน พเิ ศษสําหรับคนพกิ ารหรอื บุคคลที่มี ความบกพรอง
ทางรางกาย จิตใจ สตปิ ญ ญา อารมณ สงั คม การสื่อสาร และการเรียนรู รวมทงั้ ตอง จัดการศึกษา ดว ยรูปแบบ
ท่ีเหมาะสมสาํ หรบั บคุ คลท่มี ีความสามารถพิเศษอีกดวย

นอกจากหลักในการจัดการศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ทั้ง 3 ประการ
ท่ีกลา วมาแลว พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง ชาตยิ ังไดรับรองสิทธิและหนา ทีข่ องพอแมผ ปู กครองไวอยา งกวางขวาง
อกี หลายประการ ทงั้ นเี้ พ่ือใหพ อ แมผูปกครองสามารถเขา มสี ว นรว มในการดแู ลและพฒั นาลกู หลาน ของตนไดอ ยา ง
เต็มท่ี ไดแก

• สิทธิของพอแมผูปกครองท่ีจะไดรับการอบรมในเร่ืองวิธีการเลี้ยงดูและใหการศึกษาเตรียมความพรอม
แกบ ตุ รและผูอ ยูในการปกครองต้ังแตแ รกเกดิ จนถึงกอ นประถมศึกษา

• สิทธิไดรับเงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของบุตรหรือผูอยูในการปกครองสิทธิ ไดรับ
การลดหยอ นหรือยกเวน ภาษีสําหรับคาใชจายในการศกึ ษา

• สทิ ธแิ ละหนา ทใ่ี นการอบรมบม นสิ ยั และจดั ใหบ ตุ รหรอื ผอู ยใู นการปกครองไดร บั การศกึ ษา กฎหมายวา ดว ย
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน

จากสิทธิและหนาท่ีของพอแมผูปกครองที่มีตอบุตรหรือผูอยูในการปกครองตามกฎหมายที่กลาวมา ท้ังหมด
ขางตน ทานในฐานะพอแมผูปกครองคงจะเห็นไดวา ทานสามารถแสดวบทบาทตอการจัดการศึกษาของลูกหลาน
ของทานไดมากมาย พอสรปุ ไดดังน้ี

158 ค่มู ือนกั เรียน ครู และผ้ปู กครอง
ปกี ารศึกษา 2564

ประการที่หนงึ่ บทบาทในการใหการเลี้ยงดูอบรมใหลูกหลานเจริญเติบโตพรอมทุกดานท้ังรางกาย อารมณ
และสังคม เตรียมความพรอม ทางดานการศึกษาเรียนรู และจัดใหไดรับการศึกษาตามกฎหมาย ความพรอม
ของครอบครัว และตามศักยภาพของเด็กแมลูกหลานของทานจะเปนเด็กท่ีมีความบกพรอง ทางรางกายหรือสมอง
หรอื เปนเดก็ ท่ีมคี วามสามารถเปน พิเศษ หรอื ดอยโอกาสกต็ าม

ประการท่ีสอง บทบาทในฐานะตัวแทนขององคกรผูปกครองเขารวมในคณะกรรมการการศึกษาระดับตาง ๆ
เพอ่ื มสี ว นรว มคดิ รว มวางแผน และวางนโยบายจดั การศกึ ษาใหแ กเ ดก็ ทง้ั ในชมุ ชนในทอ งถน่ิ หรอื แมแ ต ระดบั ประเทศ

ประการท่สี าม บทบาทใชสทิ ธใิ ชเสียง รว มเปนคณะกรรมการโรงเรียนหรือสถานศกึ ษา เพ่ือกาํ หนด นโยบาย
การบริหารจดั การศกึ ษาในสถานศึกษา ตลอดจนกาํ กับดแู ลและประเมินผลสถานศกึ ษาน้นั ในดา นตา ง ๆ

ประการที่ส่ี บทบาทในการสง เสรมิ สนบั สนนุ ใหเ กดิ ความกา วหนา ในสถานศกึ ษาในทกุ ๆ ดา น เชน ดา นวชิ าการ
ดา นเทคโนโลยี หรือการประสานงานกบั ชมุ ชน ฯลฯ ไมใชเฉพาะการสนบั สนนุ ดว ยการบริจาคเงิน ดังท่ีมักเปนมา
ในอดีต พอแมผูปกครองมีบทบาทท่ีจะตองใหความรวมมือกับสถานศึกษา จนถึงครูผูสอน เพื่อรวมกันรับผิดชอบ
นาํ พาการศกึ ษาของลูกหลานใหผ า นอปุ สรรคตางๆ ไปสูความสําเร็จจนได

ประการทห่ี า บทบาทในการปกปอ ง คุมครองลูกหลานจากการใชค วามรุนแรงใด ๆ การละเมิดทงั้ ทางรา งกาย
ทางจติ ใจ ทางเพศ ตลอดจนการปฏิบตั อิ ันไมเปนธรรมท้ังหลายทัง้ ปวง ไมว า ทเ่ี กิดขึน้ ในสถานศกึ ษาหรือทอ่ี นื่ ใด

ประการท่ีหก บทบาทในการคมุ ครองใหล ูกหลานไดรบั สทิ ธปิ ระโยชนตาง ๆ ตามทีก่ ฎหมายกําหนดไว จะเห็น
ไดวา กฎหมายท้ังที่เปนแมบท คือ รัฐธรรมนูญ และกฎหมายการศึกษา คือพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
ลวนไดร บั รองสิทธแิ ละหนาทีข่ องพอ แมผปู กครองไวอ ยา งชดั แจง พอแมผปู กครอง จงึ พึงตระหนกั ในสทิ ธแิ ละหนา ท่ี
เหลานี้ และใชสิทธิและหนาท่ีตามกฎหมายเหลานี้ เปนหลักประกันใน การสรรคสราง ความเจริญเติบโตที่พรอม
ทุกดานแกล ูกหลานของเรา เพอ่ื ใหเขาบรรลุสคู วามดงี าม ความสขุ และความรคู วามสามารถตามศกั ยภาพแหง ชีวติ
ของเขาอยา งแทจ ริง

โรงเรียนศรียานสุ รณ์ จงั หวดั จนั ทบุรี 159

ปญญฺ า โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต (ปญั ญาเปน็ แสงสว่างแห่งโลก)

สิ่งที่พอ แมผ ปู กครองควรทราบ

SS

การส่อื สารพูดคุยอยา งมคี ณุ ภาพ

การสื่อสารพูดคุย เปนวิธีการท่ีมีคุณคาวิธีการหน่ึงท่ีจะทําใหเกิดความเขาใจที่ตรงกัน แตจะตองรูจักเลือกใช
คาํ พดู ทเ่ี หมาะสม
ปญ หาของลกู หลานท่ีเกดิ จากการสอ่ื สารทีไ่ มด ใี นครอบครวั ทีพ่ บบอยไดแก

1. มีความขดั แยง บอย ๆ ภายในครอบครวั จะสง ผลทาํ ใหเกดิ ความไมเ ขาใจกันระหวา งลูกหลานและผูอ นื่
2. ลกู หลานมองตนเองดา นลบ ขาดความภูมใิ จ ขาดความสุข มีความไมแนใจกับส่งิ ตาง ๆ โดยเฉพาะไมแนใ จ

ในความรกั ของพอ แมผูปกครอง
3. ลกู หลานขาดความสามารถในการส่ือสารกบั ผอู ืน่ มีโอกาสทาํ ใหคนอ่ืนเขา ใจผิดไดง าย
วิธีเพมิ่ คณุ ภาพในการสือ่ สาร
ควรฝก ใหลกู หลานไดเรียนรูถงึ การพูดท่ถี กู จังหวะ เวลา และสถานที่ มีวิธกี ารดงั น้ี
1. แสดงความรกั อยา งตรงไปตรงมา ชดั เจน สมาํ่ เสมอ อยา ใชค วามรกั เปน เครอื่ งตอ รองกบั การฝก ฝนลกู หลาน

ไมใชค ําพดู วา “จะไมรกั อีกแลว ” เมื่อลกู หลานทาํ ผดิ พลาด
2. สรา งความรูสึกกบั ลูกหลานใหช ดั เจนวา “พอ แมก ับลูกสามารถคุยกนั ไดท กุ เรอ่ื ง” มากกวา “พอ แมส ามารถ

ส่งั ลกู ไดทุกเรอ่ื ง”
3. พยายามหลีกเลี่ยงการพรํา่ สอน ตาํ หนิ ดุดาวา กลาว หรอื การบอกตรง ๆ วา เขาคิดผิด ตดั สนิ ใจผดิ หรือ

กระทาํ ผิด เพราะจะทาํ ลายบรรยากาศในการพดู คุย ไมควรถามซ้ําๆ หรอื ใชค ําพดู ซา้ํ ๆ เชน ถามเฉพาะ
เรือ่ งการเรยี น หรอื การบา นวาทาํ เสรจ็ หรอื ยัง ทุกวนั ซา้ํ ๆ หรอื ใชคําวา “ทําไม” อยูบอย ๆ ควรปรบั เปลยี่ น
คําพูด ทา ทาง วิธกี ารใหนาสนุกทจ่ี ะคุยตอไป
4. ควรใชท า ทีทีส่ งบขณะท่เี กิดความขัดแยง พยายามหาขอ มูล รบั ฟง ยอมรบั ในความแตกตา งของ ความคิด
และความรูส กึ หลกี เลี่ยงการใชอาํ นาจมากท่สี ดุ การใชค วามเงยี บหรอื ความเยน็ ชาเพอ่ื แสดงวา กาํ ลงั โกรธ
จะไมชวยทําใหเ กิดความเขาใจกนั
5. เปน ตวั แบบที่ดใี นเรอ่ื งการสอื่ สารพูดคุยในครอบครวั ใหเด็กรบั รูไดแ ละยอมรบั เปนแบบอยา ง การฝก ให
แกป ญหาเปน

การฝก ลกู หลานใหแกปญหาเปน
ชีวิตทุกคนประสบกบั ปญ หาตา ง ๆ อยตู ลอดเวลาทักษะในการแกป ญ หาจึงมีความสาํ คัญและสมั พนั ธ กบั ความ

สําเร็จในชีวิตเปนอยางยิ่ง การหนีปญหา นอกจากจะไมกอใหเกิดประโยชนแลว หลายครั้งยังทําใหเกิดโทษตามมา
อกี ดวย
ลกู หลานทแ่ี กปญ หาไมดี มกั มสี าเหตมุ าจาก

1. มตี ัวแบบทีแ่ กป ญหาตา ง ๆ ไมด ี เชน มีตนแบบท่แี กปญ หาไปตามอารมณม ากกวาใชเ หตุผลหรอื ไมส ปู ญ หา
หรือแกปญ หาเพียงแตทาํ เฉพาะหนา ไมมองไปในระยะยาว เปนตน

160 คู่มือนกั เรียน ครู และผปู้ กครอง
ปกี ารศกึ ษา 2564

2. ขาดการฝก ฝน การเลย้ี งดทู พี่ อแมผ ปู กครองทาํ แทนลกู หลานมากเกินไป สงผลทําใหล กู หลาน เคยชนิ กบั
การพงึ่ พาผอู นื่ รอคอยใหค นอน่ื มาชว ยคดิ และแกป ญ หาแทน หรอื หลายครงั้ ทเี่ กดิ จากการทผี่ ใู หญต ระเตรยี ม
ส่งิ ตา งๆ พรอมจนลกู หลานไมเ คยพบอุปสรรคใดๆ เปนตน

วธิ ีฝก ใหแกป ญ หาเปน
1. ผูฝกตอ งเขาใจระดบั ความสามารถทีจ่ าํ กดั ของลูกหลาน ใหโ อกาสและคอยใหคําแนะนาํ ใหก าํ ลังใจ
เปนระยะ ๆ และตองยอมรบั วา การฝก ใด ๆ ก็ตามจะตอ งใชเ วลา
2. ใหลูกหลานมโี อกาสเห็นวิธกี ารแกปญ หาทห่ี ลากหลาย พดู คยุ ถึงขอดขี อ เสียของแตล ะวิธี เปด โอกาสใหท าํ
โดยเขาไปชวยเสรมิ บาง เพือ่ ใหล กู หลานประสบกับความสาํ เรจ็ เปนระยะ เพอ่ื เปน การใหก ําลังใจ
แสดงความชืน่ ชม พูดคุย ใหโ อกาสทําซ้ําและใหก าํ ลงั ใจถาลูกหลานยังทาํ ไมไ ด
3. เพ่ิมระดับความยากของปญ หาจากเรื่องเล็กไปสเู รอื่ งใหญ จากเรื่องสวนตวั ไปสูเรื่องสวนรวม จากปญ หา
ภายในบานไปสูปญหานอกบาน พอ แมผ ูป กครองอาจเลาเหตกุ ารณสมมตุ เิ พอ่ื ใหลูกหลานแยกแยะ
ปญ หาและลองคิดแกป ญหากไ็ ด

การเสรมิ สรา งความภาคภูมิใจ
ความภาคภูมิใจ คือ การรับรูความรูสึกนึกคิดท่ีบุคคลมีตอตนเอง เห็นและยอมรับความสามารถ เห็นคุณคา

ของตน รวู า ตนเปน ทรี่ กั ของคนอ่ืน และแสดงออกเปนความม่นั ใจในการทาํ สงิ่ ตางๆ อยางมคี วามสุข เปน ประโยชน
ตอตนเองและผูอ่ืน มิไดเกิดจากการที่ถูกตามใจหรือเอาแตใจตัวเอง ความภาคภูมิใจของเด็ก มีความสําคัญตอ
การสรางบุคลกิ ภาพของเขาเปนอยา งมาก
ลักษณะของปญหาการขาดความภมู ิใจในตนเองทีม่ ักพบ เชน

1. ไมก ลาแสดงออก ไมกลาคดิ หรือตดั สินใจทาํ ทําใหขาดโอกาสฝกฝนทกั ษะตา ง ๆ ตอไป
2. มองตนเองและผอู น่ื ดา นลบ รบั ฟง คาํ แนะนาํ จากผอู นื่ ไดย าก มอี ารมณซ มึ เศรา อยเู นอื ง ๆ ซง่ึ อาจ แสดงออก

มาเปน ปญหาพฤติกรรมท่กี า วราว ออกนอกกฎเกณฑ หนเี รียนติดสารเสพตดิ ได
3. มีผลการเรยี นตา่ํ กวา ความสามารถทแี่ ทจ รงิ
วธิ กี ารเสรมิ สรา งความภาคภูมใิ จ
1. เปนแบบอยา งทดี่ ีใหลกู หลานเหน็ ช้ชี วนใหเห็นความดขี องผูคนท่พี บในดา นตา ง ๆ
2. ใหโ อกาสไดทาํ ดีโดยเริม่ ใหท าํ จากสิ่งเลก็ ๆ เรื่องราวสวนตัวเมอ่ื ทําไดใหเพ่มิ ปรมิ าณและคุณภาพ โดยใหมี

สวนรว มในการแสดงออก ทัง้ ทบี่ า นและท่ีโรงเรยี น ใหเรยี นรถู กู ผิดผา นการกระทํา
3. ควรชนื่ ชมขอ ดใี หช ดั เจน เพอ่ื ใหล กู หลานเหน็ จดุ ดใี นตนชดั เจนขนึ้ เชน ความตง้ั ใจ ความอดทน ความสามารถ

ดา นภาษา การอา นหนงั สอื การคํานวณ ความมนี า้ํ ใจ ความเสียสละ เปน ตน เมื่อลกู หลาน ยงั ทําไมได
อยา ตําหนลิ ูกหลานวาเปน คนไมด ี หรอื ขี้เกียจ
4. ตองทําอยูส มาํ่ เสมอและใชระยะเวลานาน

โรงเรียนศรียานสุ รณ์ จังหวัดจนั ทบรุ ี 161

ปญญฺ า โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต (ปญั ญาเป็นแสงสวา่ งแหง่ โลก)

การชว ยเหลือดา นการเรียน
สาเหตขุ องปญ หาตาง ๆ ท่เี กดิ ขึ้นในเดก็ มีรากฐานทส่ี าํ คัญมาจากการทีไ่ มประสบความสาํ เร็จในการเรียน

สาเหตกุ ารเรยี นออนของลูกหลาน ท่พี บบอ ย ไดแ ก
1. การเลยี้ งดทู ีไ่ มเ อ้ือตอการเรียน เชน ขาดการมีวนิ ยั ขาดความยบั ยั้งใจ ขาดความอดทนมุมานะ ขาดความ
รบั ผิดชอบ เปนตน และย่ิงพอ แมเ รง รัดดา นการเรียนจะทําใหลูกหลานรูสกึ เบ่ือหนา ย ทอแท ไมส นุกกบั
การเรียน
2. มีความบกพรอ งในการทํางานของระบบประสาท เชน ภาวะปญ ญาออ น พบไดร อ ยละ 1 - 3 โรคสมาธิสน้ั
พบไดร อ ยละ 5 - 10 โรคของความบกพรอ งในทกั ษะการเรยี น เชน บกพรอ งในการอา นหนงั สอื เขยี นหนงั สอื
หรอื การคํานวณ พบไดร อยละ 1 โรคเหลานีถ้ าไมไดร ับการวินิจฉยั จะทําใหลกู หลานขาดโอกาส ทจ่ี ะไดร บั
ความชว ยเหลอื ทางการแพทยและการศกึ ษา
3. ความสามารถของลูกหลานไมเ หมาะสมกบั ระดบั การเรยี น ทาํ ใหลูกหลานไมสามารถเรยี นตอได

วธิ กี ารชวยเหลือดานการเรียน
1. หาสาเหตุและแกไขไปตามสาเหตพุ ้ืนฐาน
2. ใหกาํ ลงั ใจลกู หลานเปนระยะ อยา ประณาม เนนการปรบั ปรงุ ตนเองอยา งคอ ยเปนคอยไป
3. ปรบั พื้นฐานความรูใหท ันการเรยี นการสอน
4. สรา งทกั ษะดานอนื่ เพอื่ เพ่ิมความภาคภมู ใิ จใหล กู หลาน

การชวยลกู หลานปรับตัว
เด็กที่ปรับตัวยากมักจะแสดงความวิตกกังวล มีอารมณตอบสนองมากกวาปกติเมื่อตองเผชิญกับ

สถานการณใ หม ๆ มกั ไมช อบการเปล่ยี นแปลง มกั ไมช อบเขา สงั คมทีไ่ มค นุ เคย
สาเหตุท่ีทาํ ใหลูกหลานปรบั ตัวยาก ทพี่ บบอ ย ไดแ ก

1. การเลีย้ งดทู ี่ทะนุถนอมหรอื ปกปองมากเกินไป
2. ใหความรกั หรือความเขา ใจนอ ย หรือแสดงความรกั ออกมาอยางไมส มํ่าเสมอทาํ ใหลกู หลาน มอี ารมณ

แปรปรวนงา ย ทําใหไมมัน่ ใจในตัวเอง
3. ขาดประสบการณห รอื ขาดโอกาสพฒั นาตนเองในดานตา ง ๆ หรอื เคยมีประสบการณท่ไี มด มี ากอ น
วธิ ีชวยลกู หลานปรับตัว
1. สรา งความสมั พันธทด่ี ีระหวางลูกหลานกับพอแมผปู กครอง ชักชวนใหทําสง่ิ ตาง ๆ เปนระยะ ๆ และคอย

ใหก ําลังใจ
2 เรมิ่ ตน ควรจะเนน ท่ีความสามารถตามความถนัดของลูกหลานทม่ี ีอยูแ ละขยายใหแ สดงออก เพม่ิ ข้ึน

ในสถานการณต า ง ๆ
3. ถาตองเผชิญกบั สถานการณใหม ๆ ใหซ ักซอมความเขา ใจและพดู คุยหาทางออกเพือ่ แกไขปญ หาท่ีอาจ

เกิดขึน้ เพอื่ ใหลกู หลานไดเ ตรียมพรอ มลว งหนา ซ่ึงจะชว ยทําใหเกิดความมั่นใจและทาํ ใหป รบั ตัวไดดขี ึน้
4. ไมตําหนหิ รอื ลงโทษ หากลูกหลานมที า ทีวาไมพ รอ มที่จะเผชญิ สงิ่ ใหมต าง ๆ
5. เพ่ิมทักษะในการสือ่ สาร การเลน การกีฬา ฯลฯ เพื่อเพม่ิ ความมน่ั ใจ

162 คมู่ ือนกั เรยี น ครู และผูป้ กครอง
ปกี ารศึกษา 2564

การปอ งกนั ความกา วราว
คนเราอาจแสดงความกาวราวโดยการพูด การทําเสียงดัง หรือแสดงพฤติกรรมที่รุนแรง เชน ชกตอย

ขวางปาสิ่งของ ทํารายผูอ่ืน เปนตน บางครั้งเด็กก็อาจแสดงความกาวราวซ่ึงถือเปนเร่ืองปกติ แตจะเปนปญหา
กต็ อ เมื่อไดท ําบอ ย ๆ ในสถานการณตาง ๆ หรือทําตอ เน่อื งเปน ประจํา จนถงึ ตงั้ แกงขมขูนกั เรียนคนอ่ืน ๆ อนั เปน
ปญหาทีค่ รแู ละพอ แมจะตองรว มมอื กันระงบั และปองกนั
สาเหตุทท่ี ําใหลูกหลานเปน คนกา วราว

1. เหน็ ตวั อยา งของความรนุ แรงภายในและภายนอกบา น หรอื ทางสอื่ ตา ง ๆ เชน หนงั สอื การต นู วดี ทิ ศั น โทรทศั น
2. ขาดความอบอุน ขาดคนสั่งสอน อบรม หรอื แนะนาํ
3. การเลยี้ งดทู ปี่ ลอ ยใหล กู หลานอาละวาดไดเ มอ่ื มสี งิ่ ขดั ใจ โดยพอ แมม ไิ ดห ยดุ ยง้ั พฤตกิ รรม หรอื มไิ ดห า มปราม

อยา งสมา่ํ เสมอ ปลอ ยลกู หลานแสดงความกา วรา วจนตดิ เปน นสิ ยั ความกา วรา วในลกั ษณะนี้ มกั พบรว มกบั
การเอาแตใจตวั เอง ขาดการยับยง้ั อารมณ ขาดระเบยี บวนิ ัย
4. ลกู หลานถกู กลั่นแกลง ถกู ทารณุ หรืออยูใ นสภาพท่ีคบั แคน พอ แมไมร ัก
5. ลูกหลานมีความไมส บายใจหรือเครียด และแกไขปญ หาทีเ่ กดิ ขึ้นไมไ ด
วิธีปอ งกันความกาวราว
1. เล้ียงลูกถูกวธิ ีและเหมาะสม หลีกเล่ียงการตามใจหรือบีบบังคับมากเกินไป เปนตัวอยางท่ดี ไี มแสดง
ความกาวราวตอ หนา ลกู รวมทง้ั คอยสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของลกู หลานอยา งใกลชดิ วา
มคี วามสขุ หรอื ไมเมอื่ ตองไปโรงเรยี นหรอื หนเี รยี น
2. ฝก ใหชว ยตวั เองมากท่ีสดุ เพือ่ เพม่ิ ทกั ษะในการแกปญ หา คอยใหก าํ ลังใจและชน่ื ชมความ สามารถท่ี
เพ่ิมมากขนึ้
3. ขณะเกดิ ปญหา พอ แมผ ปู กครองควรอยูใ นอาการสงบ รับฟงเรอ่ื งท่ีเกดิ ขึ้นโดยไมด ว นสรปุ หาทางให
ลกู หลานไดร ะบายความโกรธแคน ในทางท่ีเหมาะสมและถูกตอ ง
พฤตกิ รรมทางเพศท่ีไมเ หมาะสม
ปจ จบุ นั พฤตกิ รรมทางเพศทไี่ มเ หมาะสมในหมวู ยั รนุ เกดิ เพมิ่ ขนึ้ อยา งรวดเรว็ สง ผลกระทบตอ การเรยี นอยา งมาก
พอแมผูปกครองควรมีความรูและเขาใจธรรมชาติและลักษณะตาง ๆ ของลูกหลานและหาทางออกเพ่ือปองกันแต
เนิน่ ๆ
สาเหตทุ วี่ ยั รนุ แสดงพฤตกิ รรมทางเพศท่ีไมเหมาะสม
1. เปนเรื่องธรรมชาติ เดก็ รนุ ใหมเ ขา สูวยั หนุม สาวเรว็ ข้ึนและยงั อยใู นชว งของการเรยี นรูจ ัก เพศตรงขาม
แตยังขาดประสบการณใ นการวางตัวใหเหมาะสม การคบหาระหวา งเพ่อื นตา งเพศเปน เร่อื งปกติ
จึงควรสงเสรมิ ใหท ํากิจกรรมดว ยกนั เพ่ือท่เี ด็กจะไดเรยี นรูล ักษณะนสิ ัยในการทาํ งานของแตละคน
2. ตาม “แฟชนั่ ” วยั รุนตอ งการไดรบั การยอมรบั จากกลุมเพอ่ื น เดก็ กลุม นี้มักจะขาดความภาคภมู ใิ จใน
ความสามารถของตวั เอง จนตอ งเอาการ “มีแฟน” มาสรา งความเปนทยี่ อมรับของกลุมเพอ่ื น
3. มสี ือ่ หรือสงิ่ แวดลอ มท่ีกระตนุ ความรูสึกทางเพศไมเหมาะสม เชน จากหนังสอื ภาพยนตรก ารต นู หรอื เคย
เห็นเหตุการณท่ีกระตนุ ความรูสกึ ฯลฯ
4. เคยมีประสบการณทางเพศอยา งไมเ หมาะสม เชน เคยเหน็ หรือเคยถกู ทํารายทางเพศมากอ น

โรงเรียนศรียานุสรณ์ จังหวดั จันทบุรี 163

ปญญฺ า โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต (ปญั ญาเปน็ แสงสวา่ งแหง่ โลก)

5. เหงา ขาดความใกลชิดจากผปู กครอง ขาดความอบอนุ ขาดคนเขาใจ
6. ขาดความยัง้ คิด ขาดการยับย้ังตนเอง หรอื ไมม ีประสบการณไมเขาใจชวี ติ ไมเคยเรยี นรู ไมรูถึงเหตุที่นาํ ไป

สูการมีเพศสมั พนั ธ
วิธกี ารปองกนั การมีพฤตกิ รรมทางเพศไมเ หมาะสม

1. พอแมผปู กครองควรพดู คุยหรือสอนเพศศึกษาแกลกู หลาน เพราะเปน ผใู กลช ิด สามารถปลูกฝง เจตคติ
ทถี่ กู ตองไดตามความเหมาะสมกับวัยของลูกหลาน ควรพดู คยุ ใหเขาใจธรรมชาติการเปลยี่ นแปลง
ของรา งกายและจติ ใจ ความตองการทางเพศ ทางออกทเ่ี หมาะสม ปลอดภัย ไมท าํ ความเสยี หายกับตนเอง
และเพศตรงขาม

2. พอ แมผ ูปกครองควรเขาใจวา การคบหาระหวางเพอื่ นตา งเพศเปน เรื่องปกติ จงึ ควรเสริมใหทาํ กิจกรรม
ดวยกัน เพอื่ ท่เี ด็กจะไดเรียนรูลกั ษณะนิสัยในการทํางานของแตล ะคน

3. พอแมผ ูป กครองควรเรียนรถู ึงพฒั นาการทางเพศของเดก็ แตล ะชวงวัยและวิธีตอบสนอง ความอยากรู
อยากเห็นของเด็กอยางเหมาะสม อยา ทําใหเ ปน เร่ืองลึกลบั สอนและทําตัวอยางใหเด็กเรยี นรู ถงึ บทบาท
หนา ที่ และความรบั ผิดชอบของผชู ายและผูหญิง การวางตวั การใหเกียรตเิ พศตรงขาม ขอบเขตของการ
ใหความสนิทสนม ผลการกระทาํ ท่ีเกิดจากการมีเพศสัมพนั ธก อ นวยั อนั ควร ฯลฯ

4. ฝก ทกั ษะตา ง ๆ ทชี่ ว ยปอ งกนั ปญ หา เชน ทกั ษะการยบั ยง้ั ตนเอง การฝก ความรบั ผดิ ชอบ การรจู กั คาดการณ
ลวงหนาถงึ ผลทต่ี ามมาหลังการกระทํา

5. ใหเ ด็กภมู ใิ จในคุณคาของตวั เองโดยไมจ าํ เปน ตอ งเอาการ “มแี ฟน” มาทาํ ใหเ พือ่ นยอมรบั และ ผลของการ
ฝก ฝนการทาํ กจิ กรรมตา ง ๆ เชน การเรยี น การกฬี า การดนตรี การเขา สงั คม จะทาํ ใหเ ดก็ รจู กั ยบั ยง้ั อารมณ
รูจ ักการรอคอย และรจู ักการระบายความรสู ึกทางเพศในทางทเ่ี หมาะสม

6. ฝกลกู หลานใหทํากิจกรรมตาง ๆ ใหสนกุ กับการเรียน ใชเวลาวา งใหเปน ประโยชน อยูก ับคนอน่ื ก็สนกุ ได
และอยูคนเดยี วตามลาํ พังกไ็ มเหงา เขากบั เพอ่ื นไดหลายกลุมทัง้ สองเพศ แตย ังคงรกั ษาความเปน ตัวของ
ตวั เองได

7. ใหความใกลช ดิ สอนใหเ รยี นรูเร่ืองราวรอบตวั ทั้งดา นดีและดา นไมด ี ฝกใหเดก็ รูสึกสบายใจ ในการพดู คยุ
เรอื่ งราวตาง ๆ กับพอแมผ ูปกครอง ปกปองอนั ตรายทางเพศทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ กับเดก็ ทงั้ ทางตรงและทางออม
โดยเฉพาะสือ่ หรือสงิ่ ที่เราความรสู ึกทางเพศ

หลักในการสอนเรอ่ื งเพศกับลกู หลาน
1. อยา คดิ วา การสอนเรอ่ื งเพศเปน การกระตนุ ใหล กู มเี พศสมั พนั ธเ รว็ ขน้ึ เพราะมกี ารวจิ ยั แลว พบวา เดก็ ทไี่ ดร บั
ความรเู ร่อื งเพศจากพอ แมผปู กครองหรือครู จะมเี พศสมั พันธช า กวา เดก็ ทีไ่ มไ ดรับความรูเร่ืองนี้
2. ไมด ุวาเมอื่ ลูกหลานถามเร่อื งเพศ ใหลกู หลานรสู กึ วาเร่อื งเพศเปน เรือ่ งปกติทส่ี ามารถถามและ พดู คุยกับ
พอแมได
3. ตง้ั ใจฟง คาํ ถามของลกู หลาน และตอบตามความเปน จรงิ ดว ยกริ ยิ าทา ทางปกตเิ หมอื นกบั การพดู คยุ ในเรอื่ ง
ท่ัวไป
4. หาโอกาสสอนหรอื พดู คยุ กบั ลกู หลานเรอื่ งเพศจากประสบการณใ นชวี ติ ประจาํ วนั เชน หนงั สอื พมิ พ ภาพยนตร
โทรทัศน นิตยสาร ฯลฯ โดยถามความคิดเห็นของลูกหลาน และสอดแทรกการสอนหรือคําแนะนํา
ตามความเหมาะสม

164 ค่มู อื นกั เรียน ครู และผูป้ กครอง
ปีการศกึ ษา 2564

สารเสพติด
สารที่เสพเขาสูรางกายโดยวิธีการใดก็ตามจะสงผลตอสภาพรางกายและจิตใจ และทําใหเกิด ความตองการ

ทีจ่ ะเพิ่มขนาดของการเสพขน้ึ เร่อื ย ๆ มีอาการอยากเมอื่ ไมไ ดเ สพ สุขภาพท่วั ไปจะทรดุ โทรม เหมอลอย ไมมสี มาธิ
ในการเรียน ขาดความรับผิดชอบ ขาดเรียน ใชเงินเปลือง และเปนเหตุใหตองไปหาเงินในทางมิชอบ เพ่ือซ้ือ
สารเสพตดิ นัน้ เสพตอ ไป
สาเหตทุ ่เี ด็กติดสารเสพติด (เรยี งจากสาเหตทุ ี่พบบอย)

1. ไมฉ ลาด ขาดความรู ขาดความเขาใจอยา งแทจริงในพิษภยั ของสารเสพตดิ ดังนั้นเมือ่ ถกู ชักชวน หรือรูเ ทา
ไมถงึ การณ อยากลอง อยากรู คิดผิดวา ตนจะไมมีทางตดิ ยา หรอื ตองการใหก ลุมเพื่อนยอมรับวาตวั เอง
ไมก ลวั แตผ ลทตี่ ามมาคอื เดก็ จะตดิ สารเสพตดิ อยา งรวดเรว็ หลงั จากทล่ี องเสพเพยี งครง้ั หรอื สองครงั้ เทา นน้ั

2. อยูใ นส่ิงแวดลอ มท่ีคนรอบขางตดิ หรือรับจาํ หนา ยสารเสพตดิ
3. ปญ หาทางเศรษฐกจิ ตอ งทํางานหนัก จงึ ใชสารกระตุนเพอื่ จะทาํ งานไดม ากข้ึน ซึง่ จะทํารายไดเพิม่ ขึน้ 90
4. ถกู หลอกวา เปนยาขยัน จะทําใหค ะแนนสอบดีขึ้น หรือในทางตรงขามอาจเกดิ จากความเบ่อื ในการเรยี น

หนงั สือ จงึ มัว่ สุมและถกู ชกั ชวนใหเ สพยา
5. ขาดความรกั ความอบอนุ ในครอบครัว ทําใหวา เหว ตดิ เพอ่ื น และถกู ชกั นาํ ไปสูการเสพ เพราะเชอื่ วา

อาจชว ยทําใหสบายใจหรือลมื ความทกุ ขได
วธิ ีการปองกันปญหาการตดิ สารเสพติด

1. พอแม ผปู กครองควรจะอบรมส่ังสอนใหลกู หลานเขาใจพษิ ภัยของสารเสพติด ใหเ ห็นผลกระทบ ตอสภาพ
รา งกาย อารมณ การเขา สงั คม รวมทง้ั ปญ หาตอ อนาคตของชาติ ฯลฯ ใหร เู ทา ทนั และมที กั ษะ ในการปฏเิ สธ
และปอ งกันตนเองจากการใชสารเสพตดิ ทกุ ชนิด

2. ใหค วามรกั ความอบอนุ และทาํ ใหล กู หลานไวว างใจทจ่ี ะขอคาํ แนะนาํ ปรกึ ษาในปญ หาพนื้ ฐาน เชน ปญ หา
การเรียน ปญหาระหวา งเพื่อน และการสรางความรูสึกยอมรับผูทีเ่ ลิกสารเสพตดิ ใหกลับเขามา ในสังคม
เพ่อื ฟน ฟูสภาพรา งกายและจติ ใจ มิใหก ลับไปติดสารเสพติดซํา้ อกี

3. สงเสรมิ การใชเวลาวา งใหเ ปน ประโยชน โดยทํากิจกรรม ทั้งท่ีบานและทโี่ รงเรยี น
4. พอ แม ผปู กครองควรทําความรูจ กั กลุม เพ่ือนของลกู ใชห ลักเพอ่ื นชว ยเพือ่ น สอดสองดูแลชักจงู ในทาง

ท่ีเหมาะสม ถาเดก็ อยใู นกลมุ เพอื่ นทตี่ ดิ สารเสพติด ใหป รบั เปลีย่ นกลุมเพ่ือน
5. เมื่อเกิดปญ หาขึน้ กบั ลูกหลาน พอแม ผปู กครองควรรวมมืออยา งจรงิ จังกบั ครูเพ่ือชว ยกันแกไข ปญหาดวย

การพาไปบําบดั รักษา และฟน ฟูสภาพใหกลับเขามาสสู งั คมใหมไ ด

โรงเรียนศรียานสุ รณ์ จงั หวดั จันทบุรี 165

ปญญฺ า โลกสฺมิ ปชโฺ ชโต (ปญั ญาเปน็ แสงสวา่ งแห่งโลก)

คณะกรรมการจัดทําคูมือนกั เรยี นและผูปกครอง

ปการศึกษา 2564

 นายวชั รลกั ษณ ตากใบ ประธานกรรมการ
 นายธิติ สวนแกว รองประธานกรรมการ
 นายสมหมาย โอภาษี กรรมการ
 นางปยะวดี ใจคง กรรมการ
 นางสาวสรุ ภา เออ้ื นไธสง กรรมการ
 นายวฒุ ินันท สจั จวาที กรรมการ
 นายสเุ ทพ เอกปจ ชา กรรมการ
 นางสุจติ รา เมฆเวยี น กรรมการ
 นางสนิ ีพรรณ วานิชเจรญิ ธรรม กรรมการ
 นางเบญจมาส เขม็ พงษ กรรมการ
 นายพงษพิพฒั น นลิ ผาย กรรมการ
 นางรศั มี เนตรสมานนท กรรมการ
 นายสมพร พอเพยี โคตร กรรมการ
 นางสาวปานวาด แมนมาศวิหค กรรมการ
 นางสาวเพชรประภาร ชุมสาย กรรมการ
 นางสาวภารณิ ี จันทรแสง กรรมการ
 นายธรี ยุทธ นิจสขุ กรรมการและเลขานกุ าร
 นางสาวศศวิ ณั ย ยนิ ดเี จรญิ กรรมการและผชู วยเลขานุการ

166 คู่มือนกั เรียน ครู และผู้ปกครอง
ปีการศึกษา 2564

โรงเรยี นศรียานุสรณ์ จงั หวัดจนั ทบุรี 167

ปญญฺ า โลกสมฺ ิ ปชฺโชโต (ปัญญาเป็นแสงสวา่ งแหง่ โลก)

พมิ พท ี่ บรษิ ทั จามจุรโี ปรดกั ส จํากัด

26 ถ.พระรามสอง ซอย 83 แขวงแสมดาํ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 โทร/แฟกซ 02-415-8321 E-mail : [email protected]

168 คู่มือนักเรียน ครู และผปู้ กครอง
ปกี ารศึกษา 2564




Click to View FlipBook Version