The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by abtnahom, 2022-07-11 22:40:14

มาตรฐานการกำกับดูแลโรงงาน

Untitled

กรมสงเสริมการปกครองทองถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

คาํ นาํ

องคกรปกครองสวนทองถ่ินทุกรูปแบบ จัดตั้งขึ้นเพ่ือทําหนาที่ในการจัดทํา บํารุงรักษา และ
ใหบ ริการสาธารณะแกประชาชน ซ่ึงตอมาไดมีการถายโอนภารกิจการจัดบริการสาธารณะจากสวนราชการ
ใหองคก รปกครองสว นทอ งถิน่ เปนหนว ยงานดําเนินการมากย่ิงข้ึน โดยยึดหลักการวา “ประชาชนจะตอง
ไดรับบริการสาธารณะที่ดีขึ้นหรือไมตํ่ากวาเดิม มีคุณภาพมาตรฐาน การบริหารจัดการขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินมีความโปรงใส มีประสิทธิภาพและรับผิดชอบตอผูใชบริการใหมากข้ึน รวมท้ังสงเสริมให
ประชาชน ภาคประชาสังคม และชมุ ชนมีสว นรว มในการตัดสินใจ รว มดําเนนิ งานและตดิ ตามตรวจสอบ”

กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ในฐานะหนวยงานสงเสริมสนับสนุนองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น และดวยความรวมมือจากสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ
(ว.ส.ท.) ไดจัดทํามาตรฐานการบริหารและการบริการสาธารณะขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน พรอมกับ
ไดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ จากผูแทนองคการบริหารสวน
จังหวัด เทศบาล องคการบริหารสวนตําบล สมาคมองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมท้ังสวนราชการท่ี
เก่ียวของ เพ่ือใหไดมาตรฐานท่ีองคกรปกครองสวนทองถ่ินสามารถนําไปใชเปนแนวทางในการบริหาร
และใหบริการอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เกิดประโยชนและความพึงพอใจแกประชาชน รวมทั้งเพ่ือ
เปนหลักประกันวาประชาชนไมวาจะอยูสวนใดของประเทศ จะไดรับบริการสาธารณะในมาตรฐานขั้นต่ํา
ท่เี ทาเทยี มกนั สงผลใหประชาชนมคี ุณภาพชวี ติ ทีด่ ีขึน้

หวังเปนอยางยิ่งวา มาตรฐานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอองคกรปกครองสวนทองถิ่นในการ
เพิ่มศักยภาพการบริหารและการบริการสาธารณะ สนองตอบความตองการ และสรางความผาสุกแก
ประชาชน สมดังคําทว่ี า “ทองถนิ่ กาวไกล ชาวไทยมีสุข”

(นายสาโรช คชั มาตย)
อธบิ ดกี รมสง เสรมิ การปกครองทองถิ่น

คาํ นํา

กรมสง เสรมิ การปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

สารบัญ

หนา

บทที่ 1 บททั่วไป

1.1 ความเปนมา 1

1.2 ขอบเขตของมาตรฐาน 1

1.3 วตั ถุประสงค 2

1.4 คํานิยาม 2

1.5 กฎหมายและมาตรฐานอางอิงทเี่ ก่ียวขอ ง 3

บทท่ี 2 ขน้ั ตอนการดาํ เนินงานและวิธกี ารปฏิบตั กิ ารกํากับดูแลโรงงาน

2.1 ขั้นตอนการดําเนนิ การสาํ รวจและจดั ทําขอมูลโรงงานจําพวกท่ี 1 FAC-PM-01 (01) 5

2.2 ข้ันตอนการดําเนนิ การเกี่ยวกบั โรงงานจาํ พวกท่ี 2 FAC-PM-02 (02) 6

2.3 ข้ันตอนการดําเนินการเก่ียวกับโรงงานจาํ พวกท่ี 3 FAC-PM-03 (02) 8

2.4 ขน้ั ตอนการดาํ เนินการรับเรื่องรองเรียนโรงงาน FAC-PM-04 (02) 11

2.5 ขน้ั ตอนการดําเนินการรบั ชําระคาธรรมเนยี มรายปข องโรงงาน

ทค่ี รบกาํ หนดชําระ FAC-PM-05 (01) 12

2.6 วธิ ีปฏิบัติการสรปุ ผลการดําเนนิ งานขององคก รปกครองสวนทองถน่ิ

FAC-MI-01 (02) 13

2.7 วิธีปฏิบัตกิ ารสรุปผลแจงกรมโรงงานอุตสาหกรรม และสาํ นกั งาน

อตุ สาหกรรมจงั หวดั 16

2.8 วธิ ีปฏิบัติการประเมินแรงมา เคร่อื งจกั ร 17

2.9 วิธปี ฏบิ ตั ิงานการออกเลขทะเบยี นโรงงานและเลขท่ีใบรับแจง ใบอนญุ าต 20

2.10 วธิ ีปฏบิ ัติงานการตรวจสอบความครบถว นถกู ตองของเอกสารสําหรบั โรงงาน

จาํ พวกท่ี 2 FAC-WI-05 (02) 22

2.11 วิธีปฏิบตั งิ านการตรวจสอบความครบถว นถกู ตอ งของเอกสารสาํ หรบั โรงงาน

จําพวกท่ี 3 FAC-WI-06 (02) 24

2.12 วธิ ปี ฏบิ ัตกิ ารพิจารณาอนญุ าตประกอบกจิ การ/ ขยายโรงงาน FAC-WI-01 (01) 38

2.13 วิธีปฏบิ ัตงิ านการเก็บคา ธรรมเนียมรายป FAC-WI-08 (02) 40

สารบญั ก

มาตรฐานการกาํ กบั ดูแลโรงงาน หนา

2.14 วิธีปฏิบัตงิ านการรับแจงการประกอบกิจการโรงงาน FAC-WI-09 (02) 42
2.15 วิธีปฏบิ ตั ิงานการพิจารณาตออายุใบอนุญาต FAC-WI-10 (02) 43
2.16 วธิ ีปฏิบัติงานการพิจารณาโอนใบอนญุ าต FAC-WI-11 (00) 44
2.17 วธิ ีปฏบิ ตั ิงานการพิจารณาออกใบแทน FAC-WI-12 (01) 45
บทที่ 3 มาตรฐานการกํากับดูแลโรงงาน
3.1 ดา นทําเลที่ตงั้ 49
3.2 ดานอาคารโรงงาน 52
3.3 ดานเครอื่ งจกั ร ไฟฟา อุปกรณ 53
3.4 สภาพแวดลอ มในการทํางานและความปลอดภัย 54
3.5 ส่ิงแวดลอ ม 57
3.6 ดานบุคลากร 59

ภาคผนวก 63

ข สารบญั

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

บทที่ 1

บทท่ัวไป

1.1 ความเปนมา

พระราชบัญญัตกิ าํ หนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
พ.ศ. 2542 กําหนดใหกรมโรงงานอุตสาหกรรม ถายโอนภารกิจตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
จํานวน 5 ภารกิจใหแกองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ไดแก การกํากับดูแลโรงงาน จําพวกที่ 1 การรับแจง
การประกอบกิจการโรงงาน จําพวกท่ี 2 การกํากับดูแลโรงงาน จําพวกท่ี 3 การตรวจสอบกรณีโรงงาน
กอเหตุเดือดรอน และการอนุญาตใหตั้งโรงงานขนาดเล็กในองคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีไมมี
ผลกระทบตอองคก รปกครองสว นทองถิ่นอ่นื

องคกรปกครองสวนทอ งถิ่นทรี่ บั โอนภารกิจไดแก เทศบาล เมืองพัทยา กรุงเทพมหานคร และ
องคก ารบรหิ ารสวนตาํ บล ซึง่ ภารกจิ ที่ถายโอนดงั กลาวจัดอยใู นประเภทของกลมุ งาน “หนา ทีท่ ตี่ องทาํ ”

ดังนั้น เพ่ือใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินสามารถกํากับดูแลโรงงานตามอํานาจหนาท่ีและ
ภารกิจถายโอนอยางมีมาตรฐานขั้นพื้นฐาน และประชาชนไดการดูแลปองกันผลกระทบ หรือความ
เสียหายอนั อาจเกดิ จากการประกอบกิจการโรงงานภายในเขตพ้ืนที่ จงึ ไดจ ดั ทาํ มาตรฐานนีข้ ึ้น

1.2 ขอบเขต

1. เปนการกําหนดแนวทางการกํากับดูแลโรงงานตามภารกิจถายโอนในเขตองคกรปกครอง
สว นทอ งถิ่น ดังน้ี

1.1 การกํากับดูแลโรงงาน จําพวกท่ี 1 (โรงงานประเภท ชนิด และขนาดท่ีสามารถ
ประกอบกิจการไดทันทีตามความประสงคของผูประกอบกิจการโรงงาน ไมตองย่ืนขออนุญาตแตตอง
ปฏบิ ัติตามหลกั เกณฑท ่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง)

1.2 การรับแจงการประกอบกิจการโรงงาน จําพวกที่ 2 (โรงงานประเภท ชนิด และ
ขนาดท่ีเม่ือจะประกอบกิจการโรงงานตองแจงใหผูอนุญาตทราบกอนโดยไมตองขออนุญาตแตตอง
ปฏิบตั ติ ามหลกั เกณฑท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง)

บทที่ 1 บททั่วไป 1

มาตรฐานการกาํ กับดแู ลโรงงาน

1.3 การกํากับดูแลโรงงาน จําพวกที่ 3 (โรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่ตั้งโรงงาน
จะตองไดรับอนุญาตกอนจึงจะดําเนินการได) ประเภทโรงงานที่ไมกอผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและ
ชมุ ชนโดยรวมตามทีก่ รมโรงงานอุตสาหกรรมกาํ หนด

1.4 การตรวจสอบกรณโี รงงานกอเหตเุ ดอื ดรอน
1.5 การอนุญาตใหต้ังโรงงานขนาดเล็กในองคกรปกครองสวนทองถิ่นท่ีไมมีผลกระทบ
ตอองคกรปกครองสวนทองถ่ินอ่ืน รวมทั้งการควบคุมดูแลตรวจการดําเนินกิจการใหเปนไปตาม
กฎหมายภายใตหลกั เกณฑเ งื่อนไขวิธกี ารและมาตรฐานทก่ี รมโรงงานอตุ สาหกรรมกําหนด
2. มาตรฐานนี้มีขอยกเวนตาม มาตรา 4 แหงพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ท่ีมิใหบังคับ
แกโรงงานของทางราชการท่ีดาํ เนินการโดยทางราชการเพือ่ ประโยชนแ หง ความม่ันคงและความปลอดภัย
ของประเทศ แตใหนําหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการประกอบกิจการโรงงานตามพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ.2535 ไปเปน แนวทางในการประกอบกจิ การดงั กลาว

1.3 วตั ถุประสงค

1. เพ่ือเปนแนวทางปฏิบัติสําหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดรับมอบหมาย
ภาระหนา ท่ีในการกํากับดแู ลโรงงานตามพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 25435

2. เพ่ือใหผูบริหารทองถิ่น ใชเปนเคร่ืองมือและแนวทางประกอบการตัดสินใจสําหรับการ
ดาํ เนินงานดานการกาํ กบั ดแู ลโรงงาน

3. เพื่อใหประชาชนไดรับบริการสาธารณะอยางมีมาตรฐานข้ันพ้ืนฐานอันเปนประโยชน
ในการพัฒนาทอ งถิน่ และสรางความพงึ พอใจแกประชาชน

1.4 คํานิยาม

“โรงงาน” หมายความวา อาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใชเคร่ืองจักรมีกําลังรวมต้ังแต
หาแรงมาหรือกําลังเทียบเทาตั้งแตหาแรงมาข้ึนไป หรือใชคนงานต้ังแตเจ็ดคนขึ้นไปโดยใชเคร่ืองจักร
หรือไมก็ตามสําหรับทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง ทดสอบ ปรับปรุง แปรสภาพ ลําเลียง
เก็บรกั ษา หรอื ทาํ ลายส่ิงใดๆ ท้ังน้ี ตามประเภทหรอื ชนดิ ของโรงงานทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง

“ตั้งโรงงาน” หมายความวา การกอสรางอาคารเพ่ือติดตั้งเคร่ืองจักรสําหรับประกอบกิจการ
โรงงาน หรือนาํ เครือ่ งจักรสําหรบั ประกอบกจิ การโรงงานมาติดตัง้ ในอาคารสถานที่หรือยานพาหนะท่ีจะ
ประกอบกิจการ

2 บทที่ 1 บทท่ัวไป

กรมสง เสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

“ประกอบกิจการโรงงาน” หมายความวา การทํา ผลิต ประกอบ บรรจุ ซอม ซอมบํารุง
ทดสอบ ปรับปรงุ แปรสภาพ ลําเลยี ง เกบ็ รกั ษา หรือทําลายสงิ่ ใด ๆ ตามลกั ษณะกิจการของโรงงานแตไม
รวมถึงการทดสอบเดินเคร่ืองจักร

“เครื่องจักร” หมายความวา ส่ิงท่ีประกอบดวยช้ินสวนหลายชิ้นสําหรับใชกอกําเนิดพลังงาน
เปลยี่ นหรือแปรสภาพพลังงาน หรือสงพลังงาน ทั้งน้ี ดวยกําลังน้ํา ไอน้ํา ลม กาซไฟฟา หรือพลังงานอ่ืน
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึงเคร่ืองอุปกรณไฟลวีล ปุลเล สายพาน
เพลา เกยี ร หรือสงิ่ อื่นที่ทํางานสนองกัน

“คนงาน” หมายความวา ผูซ่ึงทํางานในโรงงาน ท้ังนี้ ไมรวมถึงผูซ่ึงทํางานฝายธุรการ
“ผูอนุญาต” หมายความวา ปลัดกระทรวงหรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมอบหมายตามความ
เหมาะสม
“ใบอนุญาต” หมายความวา ใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงต้ังใหปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ.2535
“โรงงานจําพวกที่ 1” ไดแ กโ รงงานประเภท ชนดิ และขนาดทีส่ ามารถประกอบกิจการโรงงาน
ไดทันทตี ามความประสงคข องผูประกอบกิจการโรงงาน
“โรงงานจําพวกที่ 2” ไดแกโรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่เม่ือจะประกอบกิจการโรงงาน
ตองแจง ใหผอู นุญาตทราบกอน
“โรงงานจําพวกท่ี 3” ไดแกโรงงานประเภท ชนิด และขนาดที่การตั้งโรงงานจะตองไดรับ
ใบอนญุ าตกอ นจงึ จะดําเนนิ การได
“กรอ.” หมายความวา กรมโรงงานอุตสาหกรรม
“สอจ.” หมายความวา สาํ นกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวดั

1.5 กฎหมายและมาตรฐานอางองิ ท่ีเก่ยี วขอ ง

1.5.1 พระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535
กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม ระเบียบกรม

โรงงานอุตสาหกรรม ออกตามความในพระราชบญั ญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535
1.5.2 พระราชบญั ญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522

บทท่ี 1 บททั่วไป 3

มาตรฐานการกาํ กบั ดแู ลโรงงาน

1.5.3 มาตรฐานการบรหิ าร/การบรกิ ารสาธารณะ ขององคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ
1.5.3.1 มาตรฐานการบําบัดนํ้าเสีย
1.5.3.2 มาตรฐานการจดั การขยะมูลฝอยและสงิ่ ปฏิกูล

1.5.4 มาตรฐานวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ
1.5.4.1 มาตรฐานระบบแจงเหตเุ พลิงไหม พ.ศ. 2546 E.I.T. Standard 2002-43
1.5.4.2 มาตรฐานการปอ งกันฟา ผาสําหรบั สง่ิ ปลูกสรา ง E.I.T. Standard 3003-43
1.5.4.3 มาตรฐานระบบไฟฟา แสงสวางฉุกเฉินและปายทางออกฉุกเฉิน E.I.T.

Standard 2004-44
1.5.4.4 มาตรฐานการปองกันอัคคภี ยั E.I.T. Standard 3002-45
1.5.4.5 มาตรฐานการควบคมุ ควันไฟ E.I.T. Standard 3009-45

1.5.5 คูมือ ขั้นตอนการดําเนินงาน และวิธีปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
สําหรบั องคก รปกครองสว นทองถิ่น จัดทําโดย กรมโรงงานอตุ สาหกรรม กันยายน 2546

4 บทท่ี 1 บทท่ัวไป

กรมสงเสริมการปกครองทองถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

บทท่ี 2

ขั้นตอนการดาํ เนินงานและวธิ ีการปฏิบัตกิ ารกํากบั ดแู ลโรงงาน

2.1 ขั้นตอนการดําเนินการสํารวจและจดั ทาํ ขอ มูลโรงงานจาํ พวกที่ 1 FAC-PM-01 (01)

2.1.1. ขอบเขต

การสาํ รวจและจดั ทําขอมลู โรงงานจาํ พวกที่ 1 เปนการดาํ เนินการตามภารกจิ ท่ีไดร บั การ

ถายโอนโดยดําเนินการสํารวจและจัดทําขอมูลโรงงานจําพวกที่ 1 ในพื้นท่ีขององคกรปกครองสวนทองถิ่น

แตละแหงซึ่งรวมทั้งโรงงานจําพวกท่ี 1 ที่ไดรับขอมูลเบื้องตนจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมและโรงงาน

จําพวกที่ 1 ท่ีเกิดขึ้นใหม หรือเลิกกิจการภายหลัง รวมถึงการออกหนังสือแจงผลการสํารวจโรงงานเปน

โรงงานจําพวกที่ 1 และหนังสือแจงผลฯ ไมเปนโรงงาน และการสรุปขอมูลโรงงานจําพวกท่ี 1 แจง

สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด หรือกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในสวนของการตรวจสอบส่ังการเปน

หนาท่ขี องสํานักงานอตุ สาหกรรมจังหวดั หรือกรมโรงงานอตุ สาหกรรม

2.1.2 นยิ าม

โรงงานจําพวกท่ี 1 หมายถึง โรงงานจําพวกท่ี 1 ตามกฎกระทรวง (พ.ศ.2535) ออกตาม

ความในพระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535

องคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อปท.) หมายถึง กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา เทศบาล

และองคการบริหารสวนตําบล

สาํ นักงานอุตสาหกรรมจงั หวัด (สอจ.) หมายถึง สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวดั ที่องคก ร

ปกครองสว นทองถน่ิ ตัง้ อยู

2.1.3. ข้นั ตอนการดาํ เนินการ

2.1.3.1 กรมโรงงงานอุตสาหกรรม สงขอมูลโรงงาน

สงขอ มลู จําพวกท่ี 1 ตามแบบบัญชีขอมูลโรงงานจําพวกที่ 1

ตามแบบ FAC-F-01ใหองคกรปกครองสวน

ทองถิ่นตา งๆ พรอ มหนังสอื มอบหมาย

สาํ รวจขอ มลู 2.1.3.2 องคกรปกครองสวนทองถิ่นสํารวจขอมูลโรงงาน
จําพวกที่ 1 แจงผลการสํารวจ

กรณีสํารวจพบเปนโรงงาน จําพวกที่ 1

ใหแจงผูป ระกอบการทราบตามแบบ FAC-F-03

บทที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏิบัตกิ ารกํากบั ดูแลโรงงาน 5

มาตรฐานการกาํ กับดแู ลโรงงาน

สรุปผลแจง กรอ./สอจ. กรณีสํารวจพบไมเปนโรงงาน ใหแจงตาม
สอจ.แจงผลให กรอ. แบบ FAC-F-04

พรอ มจดั ทาํ แบบสํารวจตามแบบ FAC-F-02
และออกเลขทะเบยี นโรงงานตามแบบ FAC-WI-04
หมายเหตุ การประเมินแรงมาเคร่ืองจักร เพ่ือ
พิจารณาการเปนโรงงานจําพวกท่ี 1 เปนไปตาม
แบบ FAC-WI-03
2.1.3.3 องคกรปกครองสวนทองถ่ินสรุปผลการสํารวจ
ใหสํานักอุตสาหกรรมจังหวัดหรือกรมโรงงาน
(กรอ.) อุตสาหกรรมเดือนละ 1 ครั้ง ตามแบบ
FAC-WI-01
2.1.3.4 สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดแจงผลขอมูล
โรงงานจําพวกที่ 1 ให กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ตามแบบ FAC-WI-02

2.2 ข้ันตอนการดาํ เนินการเกยี่ วกบั โรงงานจาํ พวกท่ี 2 FAC-PM-02 (02)

2.2.1 ขอบเขต
การดาํ เนนิ การเก่ยี วกบั โรงงานจาํ พวกท่ี 2 มขี อบเขตในการดาํ เนินการ ดังนี้
2.2.1.1 การรับแจงการประกอบกิจการโรงงานจําพวกที่ 2 และการรับชําระคาธรรมเนียม

รายปข องโรงงานจําพวกที่ 2 ท่ีแจงประกอบกิจการโรงงาน
2.2.1.2 การรับแจงโอน เปล่ียนแปลงสาระในใบรับแจงการประกอบกิจการโรงงาน

จาํ พวกที่ 2 แจง เลิกและการแจง ในเร่อื งตา งๆ ของผูป ระกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 2
ทั้งนี้ เฉพาะโรงงานจําพวกท่ี 2 ในพ้ืนที่ของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น แตละแหง

รวมถงึ การสงเรื่องให สํานักงานอตุ สาหกรรมจงั หวดั หรอื กรมโรงงานอุตสาหกรรม
ในสวนของการตรวจสอบ และสั่งการหลังการรับแจงเปนหนาท่ีของ สํานักงาน

อุตสาหกรรมจังหวัดหรือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
2.2.2 นิยาม
โรงงานจําพวกที่ 2 หมายถึง โรงงานจําพวกท่ี 2 ตามกฎกระทรวง (พ.ศ.2535) ออกตาม

ความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535

6 บทท่ี 2 ขน้ั ตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏบิ ัติการกํากับดูแลโรงงาน

กรมสง เสรมิ การปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ร.ง. 1 หมายถึง ใบแจง การประกอบกิจการโรงงานจาํ พวกที่ 2

ร.ง. 2 หมายถงึ ใบรบั แจงการประกอบกิจการโรงงานจาํ พวกท่ี 2

2.2.3 ข้นั ตอนการดําเนนิ การ

2.2.3.1 กรมโรงงานอุตสาหกรรมจัดสงเอกสารเก่ียวกับ

สง แฟมเรื่องเดิม โรงงานจําพวก ที่ 2 ให กรุงเทพมหานครและ
สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดจัดสงเอกสาร

เกี่ยวกับโรงงานจําพวกที่ 2 ให องคกรปกครอง

สวนทองถิ่นอ่ืนๆ เอกสารที่จัดสง ไดแก สําเนา

ใบแจง การประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 2

1. แบบ ร.ง. 1 และใบรับแจงการประกอบ

จดั เก็บแฟมเร่อื งเดมิ กจิ การโรงงานจาํ พวกที่ 2
2. แบบ ร.ง.2 ฉบับกรมโรงงานอุตสาหกรรม

กรณีกรมโรงงานอุตสาหกรรมเปนผูจัดสง หรือ

ฉบับสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด กรณี

รับเรอ่ื งแจง สํานักงานอตุ สาหกรรมจังหวัดเปน ผจู ัดสงตัวจริง
2.2.3.2 องคก รปกครองสว นทองถ่ิน จัดเก็บเอกสารทีไ่ ดรบั

2.2.3.3 เมื่อมีการแจงในเรื่องตาง ๆ ของโรงงานจําพวกท่ี 2

เขามาใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รับเรื่อง

แจง ดังกลาวและตรวจสอบความครบถว นถูกตอง

ของใบแจงและเอกสารอ่ืน ๆ ตามแบบ FAC-WI-05

การประเมินแรงมาเคร่ืองจักรเพื่อพิจารณาการ

รับชาํ ระคา ธรรมเนยี มรายป เปนโรงงานจําพวกท่ี 2 เปน ไปตาม FAC-WI-03
2.2.3.4 กรณีการแจงประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 2

เม่ือรับใบแจงแลว องคปกครองสวนทองถิ่น

ตรวจสอบความถูกตองของเอกสาร ตามแบบ

FAC-WI-05 และเรียกเก็บคาธรรมเนียมรายป

ออกใบรบั แจง/บันทึกการแจง ตามแบบ FAC-WI-08
2.2.3.5 องคกรปกครองสวนทองถิ่น ดําเนินการในกรณี

ตา งๆ ดังนี้

บทท่ี 2 ข้ันตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏิบัตกิ ารกาํ กับดูแลโรงงาน 7

มาตรฐานการกาํ กับดแู ลโรงงาน

สรปุ ผลแจง สอจ./กรอ. 1) การแจงประกอบกิจการดําเนินการ ตามแบบ
สอจ.แจงผลให กรอ. FAC-WI-09 ทั้งน้ี ในการรับแจงการประกอบ
กิจการโรงงานจําพวกท่ี 2 ใหออกเลขทะเบียน
โรงงาน ตามแบบ FAC-WI-04 และใหออก
ใบรบั แจง เปนไปตามแบบ FAC-WI-04

2) การคัดสําเนาใหดําเนินการตามแบบ FAC-
WI-12

3) การแจง โอน แจง เปลี่ยนชือ่ หรือเปล่ียนแปลง
อื่นๆ ใหบันทึกใน ร.ง. 2 หนา 2

4) การแจง เลิกใหเ รยี กคืนใบ ร.ง. 2 โดยตรวจสอบ
ใหแนใจวา ผปู ระกอบการไดช าํ ระคาธรรมเนียม
รายปค รบถวนถกู ตองแลว

2.2.3.6 องคกรปกครองสวนทองถิ่นสรุปผลการดําเนินการ
แจงใหก รมโรงงานอุตสาหกรรม สําหรับโรงงาน
ในกรุงเทพมหานคร หรือสํานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัด สําหรับโรงงานในสวนภูมภาคตามแบบ
FAC-WI-01

2.2.3.7 สาํ นกั งานอุตสาหกรรมจังหวัดแจงผลการรับแจง
การประกอบกิจการโรงงานขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ินใหกรมโรงงานอุตสาหกรรมตาม
แบบ FAC-WI-02

2.3 ขน้ั ตอนการดาํ เนินการเกีย่ วกบั โรงงานจําพวกที่ 3 FAC-PM-03 (02)

2.3.1 ขอบเขต
ขั้นตอนการดําเนินการเกี่ยวกับโรงงานจําพวกท่ี 3 มีขอบเขตเกี่ยวกับการอนุญาตและ

การรับแจงสําหรับโรงงานจําพวกท่ี 3 ประเภทท่ีไดรับมอบหมายในพ้ืนที่ขององคกรปกครองสวน
ทองถ่ินแตละแหงรวมถึงการตรวจสอบเพ่ือประกอบการพิจารณาอนุญาต สวนการตรวจสอบส่ังการ
ภายหลังการอนุญาตหรือการแจงเปนหนาที่ของสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดหรือ กรมโรงงาน
อตุ สาหกรรม

8 บทท่ี 2 ขน้ั ตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏบิ ัติการกาํ กบั ดแู ลโรงงาน

กรมสง เสรมิ การปกครองทองถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

2.3.2 นยิ าม

โรงงานจําพวกท่ี 3 หมายถึงโรงงานจําพวกท่ี 3 ตามกฎกระทรวง (พ.ศ.2535) ออกตาม

ความในพระราชบัญญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535

2.3.3 ขน้ั ตอนการดาํ เนินการ

2.3.3.1 กรมโรงงานอุตสาหกรรมแยกแฟมเร่ืองเดิม

สงแฟมเร่อื งเดิม โรงงานประเภทที่ถายโอนสงใหกรุงเทพมหานคร

และสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด แยกแฟม

เร่ืองเดิมโรงงานประเภทท่ีถายโอนสงให องคกร

ปกครองสวนทอ งถนิ่ อน่ื ๆ

เอกสารท่ีจัดสงไดแ ก

1) ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานฉบับ

กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรณีกรมโรงงาน

อุตสาหกรรมเปนผูจัดสง หรือฉบับสํานักงาน

อุตสาหกรรมจังหวัด กรณีสํานักงาน

อตุ สาหกรรมจงั หวดั เปนผูจดั สง

จัดเกบ็ แฟม เรอ่ื งเดมิ 2) คําขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน

หรือคําขอตออายุใบอนุญาตคร้ังลาสุด กรณี

มีการตอ อายใุ บอนุญาต

3) คําขอรับใบอนุญาตขยายโรงงานครั้งลาสุด

รบั คาํ ขอ กรณีมกี ารขยายโรงงาน

2.3.3.2 องคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดเก็บแฟมเร่ืองเดิม

ท่ไี ดรับ

2.3.3.3 เมื่อมีการยื่นขออนุญาต เจาหนาที่ องคปกครอง

แนบแฟม เรือ่ งเดิม สวนทองถ่ินตรวจสอบความครบถวนถูกตอง

ของคําขอและเอกสารประกอบตามแบบ FAC-

WI-06

2.3.3.4 กรณีการขออนุญาตที่ตองใชแฟมเรื่องเดิม เชน

ขออนุญาตขยาย ตออายุ โอนใบแทน เปนตน

ใหแ นบแฟม เรื่องเดิม

บทท่ี 2 ขัน้ ตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏิบัตกิ ารกํากับดูแลโรงงาน 9

มาตรฐานการกาํ กับดูแลโรงงาน

พจิ ารณาดําเนินการ 2.3.3.5 พิจารณาเรื่องราวการขออนญุ าต ดังน้ี
1) การขออนญุ าตประกอบกิจการ/ขยายโรงงาน
สรปุ ผลแจง สอจ. ดาํ เนนิ การตามแบบ FAC-WI-07
แจงผลให กรอ. 2) การแจงประกอบกิจการโรงงาน ดําเนินการ
ตามแบบ FAC-WI-09
3) การขอตอ อายุใบอนุญาตดําเนินการตามแบบ
FAC-WI-10
4) การขอรับโอนใบอนุญาตดําเนินการตาม
แบบ FAC-WI-11
5) การขอใบแทนใบอนุญาตดําเนินการตาม
แบบ FAC-WI-12
หมายเหตุ 1. การประเมินแรงมาเคร่ืองจักร เพื่อ
พิจารณาการเปนโรงงานจําพวกที่ 3 หรือการ
ขยายโรงงานเปน ไปตามแบบ FAC-WI-03
2. การออกเลขทะเบียนโรงงานและ
เลขท่ีใบอนญุ าตเปน ไปตามแบบ FAC-WI-04
3. การออกใบอนุญาตประกอบกิจการ
โรงงาน ใบอนุญาตขยายโรงงานและใบแทน
ใบอนุญาตใหเ รยี กเก็บคาธรรมเนียมใบอนุญาตดวย
สว นการตออายุใบอนุญาตใหเรียกเก็บคาธรรมเนียม
เม่อื ไดร บั คําขอตอ อายุ

2.3.3.6 องคกรปกครองสวนทองถิ่นสรุปผลการดําเนินการ
ใหกรมโรงงานอุตสาหกรรม สําหรับโรงงานใน
กรุงเทพมหานครหรือสํานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัด สําหรับโรงงานในสวนภูมิภาคตามแบบ
FAC-WI-01

2.3.3.7 สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดแจงผลการออก
ใบอนุญาตขององคกรปกครองสวนทองถ่ินให
กรมโรงงานอตุ สาหกรรมตามแบบ FAC-WI-02

10 บทท่ี 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏิบัติการกาํ กับดูแลโรงงาน

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

2.4 ข้ันตอนการดาํ เนินการรบั เร่อื งรองเรยี นโรงงาน FAC-PM-04 (02)

2.4.1 ขอบเขต

การรับแจงเร่ืองรองเรียนโรงงาน เปนการดําเนินการเกี่ยวกับการรับเร่ืองรองเรียน

โรงงานหรือการสํารวจ รวบรวมขอมูลการกอเหตุเดือดรอนของโรงงาน การเก็บประวัติการรองเรียน

โรงงาน ในพ้ืนที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นแตละแหง และการประสานกับสํานักงานอุตสาหกรรม

จงั หวดั หรอื กรมโรงงานอุตสาหกรรม ในการตรวจสอบโรงงาน

การส่ังการและการดําเนินคดีโรงงาน เปนหนาท่ีของสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

หรือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม

2.4.2 นยิ าม

โรงงาน หมายถึง โรงงานทั้งจําพวกที่ 1 จําพวกที่ 2 และจําพวกท่ี 3 ตามกฎกระทรวง

(พ.ศ.2535) ออกตามความในพระราชบัญญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2535

2.4.3 ขัน้ ตอนการดาํ เนินการ

รบั ขอรอ งเรยี น/พบเหน็ โรงงาน 2.4.3.1 กรณีการรองเรียนใหจัดทําแบบรับเร่ืองรองเรียน
อาจกอ เหตุเดอื ดรอน ตามแบบ FAC-F-21 กรณีพบเห็นโรงงานอาจกอเหตุ
เดอื ดรอ นใหบ ันทกึ ขอมูล ตามแบบ FAC-F-22

2.4.3.2 รวบรวมขอมูลเบื้องตนเก่ียวกับโรงงานตามขอ 1

วาเปนโรงงานอะไร เคยถกู รองเรยี นหรือไม

รวบรวมขอ มลู เบื้องตน 2.4.3.3 ประสานแจงเร่ืองให สํานักงานอุตสาหกรรม

จังหวัด /กรมโรงงานอุตสาหกรรม เพ่ือนัดวัน

ตรวจสอบรวมกัน หากเปนเร่ืองดวน ควรประสาน

โดยทางโทรศัพทหรือโทรสาร การแจงใชแบบ

ประสาน สอจ. / กรอ. FAC-F-23

2.4.3.4 องคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมตรวจสอบ

โรงงาน กับสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด หรือ

กรมโรงงานอุตสาหกรรม หากพบวาโรงงาน

ตรวจสอบ ไ ม ไ ด ก อ เ ห ตุ เ ดื อ ด ร อ น แ ล ะ ไ ม ผิ ด ก ฎ ห ม า ย

ใหย ุตเิ รือ่ ง

บทท่ี 2 ขัน้ ตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏิบัตกิ ารกาํ กับดูแลโรงงาน 11

มาตรฐานการกาํ กบั ดแู ลโรงงาน

ส่ังการ 2.4.3.5 กรณีโรงงานกอเหตุเดือดรอน หรือกระทําผิด
ตรวจติดตามผล กฎหมาย สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดและ/
หรือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม จะดําเนินการส่ัง
ปรบั ปรงุ แกไขและหรอื ดาํ เนนิ คดี

2.4.3.6 องคกรปกครองสวนทองถิ่นรวมกับสํานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดหรือกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ตรวจติดตามผลการสั่งการ หากโรงงานปรับปรุง
แกไขแลวใหยุติเรื่อง หากยังไมปรับปรุงแกไข
สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดหรือกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมจะดําเนินการตอตามที่กฎหมาย
กําหนด

2.5 ขนั้ ตอนการดําเนนิ การรบั ชาํ ระคา ธรรมเนียมรายปข องโรงงานท่คี รบกาํ หนดชาํ ระ
FAC-PM-05 (01)

2.5.1 ขอบเขต

การรับชําระคาธรรมเนียมรายปของโรงงานที่ครบกําหนดชําระ เปนการดําเนินการ

สําหรับโรงงานจําพวกที่ 2 และโรงงานจําพวกท่ี 3 ประเภทที่ไดรับมอบหมายในพ้ืนท่ีขององคกร

ปกครองสวนทองถ่ินแตละแหง ต้ังแต การแจงเตือนโรงงานกอนครบกําหนดชําระ กระท่ังถึงการเตือน

โรงงานทมี่ ิไดมาชาํ ระคา ธรรมเนยี มรายป และสงรายช่ือโรงงานท่ียังคางชําระใหสํานักงานอุตสาหกรรม

จังหวดั หรือ กรมโรงงานอตุ สาหกรรมดาํ เนนิ การตอไป

2.5.2 นยิ าม

คาธรรมเนียมรายป หมายถึง คาธรรมเนียมท่ีผูประกอบการตองชําระตามกฎกระทรวง

ฉบบั ที่ 8 (พ.ศ.2535)

2.5.3 ขนั้ ตอนการดําเนนิ การ

รวบรวมรายชือ่ โรงงานที่ครบ 2.5.3.1 รวบรวมรายช่ือโรงงานที่จะครบกําหนด
กาํ หนด ชําระ

คาธรรมเนียมรายปใ นเดอื นถดั ไป

12 บทท่ี 2 ข้ันตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏิบัตกิ ารกํากบั ดแู ลโรงงาน

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

ออกหนังสือแจง ผูประกอบการ 2.5.3.2 จัดทําหนังสือแจงผูประกอบการใหมาชําระ
(กอนครบกาํ หนด) คาธรรมเนียมตามแบบ FAC-F-09 และสง
ลวงหนาใหโ รงงานตามรายชื่อในขอ ภายในวันที่
ออกหนังสอื เตือนครง้ั ท่ี 1 15 ของทกุ เดอื นกอ นเดอื นที่ครบกาํ หนดชาํ ระ
โรงงานท่ไี มม าชําระ
2.5.3.3 เมื่อผูประกอบการมาชําระคาธรรมเนียมรายป
ออกหนังสือเตือนครัง้ ที่ 2 (ครั้ง ใหจัดเก็บคาธรรมเนียม ตามแบบ FAC-WI-08
สุดทา ย) หากไมมาชําระใหจัดทําหนังสือเตือนคร้ังที่ 1
ตามแบบ FAC-F-25 ในวนั ที่ 15 ของเดือนถดั จาก
แจง ชอ่ื โรงงานทคี่ า งชาํ ระ เดือนท่ีครบกําหนดชําระโดยแจงกําหนดใหมา
คา ธรรมเนียมรายป ชาํ ระมาเปน 15 วนั

2.5.3.4 เม่ือครบกําหนดท่ีเตือนใหมาชําระตามขอ 2.5.3.3
รวบรวมรายช่ือโรงงานที่ยังคางชําระคาธรรมเนียม
รายป แลวจัดทําหนังสือเตือน ครั้งท่ี 2 (ครั้ง
สุดทา ย)ภายใน 7 วัน โดยแจง กําหนดใหมาชําระ
ภายใน 15 วัน ตามแบบ FAC-F-26

2.5.3.5 เม่ือครบกําหนดที่เตือนใหมาชําระตามขอ 2.5.3.4
รวบรวมรายชื่อโรงงานท่ียังคางชําระคาธรรมเนียม
รายป จดั ทําหนงั สือสงใหสํานกั งานอุตสาหกรรม
จังหวัดหรือ กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตามแบบ
FAC-F-27 พรอมแนบหลักฐานสําเนาหนังสือ
เตือนครั้งที่ 1 ตามแบบ FAC-F-25 และหนังสือ
เตือนคร้ังท่ี 2 (คร้ังสุดทาย) ตามแบบ FAC-F-26
ไปดวย

2.6 วิธปี ฏบิ ัตงิ านการสรปุ ผลการดาํ เนินงานขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ FAC-MI-01 (02)

2.6.1 ขนั้ ตอนการดําเนนิ การท่เี กยี่ วขอ ง
2.6.1.1 ข้ันตอนการดําเนนิ การสํารวจและจดั ทําขอมูลโรงงานจําพวกท่ี 1
แบบ FAC – PM – 01
2.6.1.2 ข้นั ตอนการดาํ เนินการเกยี่ วกับโรงงานจําพวกที่ 2 แบบ FAC-PM-02

บทที่ 2 ขัน้ ตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏิบัติการกํากับดแู ลโรงงาน 13

มาตรฐานการกาํ กบั ดูแลโรงงาน

2.6.1.3 ข้ันตอนการดําเนนิ การเกยี่ วกบั โรงงานจําพวกที่ 3 แบบ FAC-PM-03

2.6.1.4 ข้นั ตอนการดาํ เนนิ การรับเร่ืองรองเรียนโรงงาน แบบ FAC-PM-04

2.6.1.5 ข้ันตอนการดําเนินการรับชําระคาธรรมเนียมรายปของโรงงานท่ีครบกําหนด

ชาํ ระ แบบ FAC-PM-05

2.6.2 เอกสารทใี่ ช

2.6.2.1 แบบสาํ รวจขอมลู โรงงานจาํ พวกท่ี 1 แบบ FAC-F-02

2.6.2.2 หนังสอื แจง ผลการสาํ รวจโรงงานเปนโรงงานจาํ พวกที่ 1 แบบ FAC-F-03

2.6.2.3 หนังสือแจง ผลการสาํ รวจโรงงานไมเ ปนโรงงาน แบบ FAC-F-04

2.6.2.4 ใบแจง การประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 2 (ร.ง. 1)

2.6.2.5 ใบรับแจง การประกอบกิจการโรงงานจําพวกที่ 2 (ร.ง. 2)

2.6.2.6 คําขอรบั ใบอนุญาต (ร.ง. 3)

2.6.2.7 คาํ ขอตอ อายใุ บอนุญาต (ร.ง. 3/1)

2.6.2.8 คาํ ขอรบั โอนใบอนุญาต (ร.ง. 3/2)

2.6.2.9 ใบแจงการประกอบกจิ การโรงงานจาํ พวกที่ 3 แบบ FAC-F-06

2.6.2.10 บญั ชีสรปุ การดําเนนิ การโรงงานจําพวกท่ี 1 แบบ FAC-F-29

2.6.2.11 คําขอท่ัวไป แบบ FAC-F-07

2.6.2.12 ใบแจงท่วั ไป แบบ FAC-F-08

2.6.2.13 บญั ชีสรปุ ผลการดาํ เนินการเก่ยี วกบั โรงงานจาํ พวกท่ี 2 แบบ FAC-F-30

2.6.2.14 บญั ชสี รุปการดําเนินการโรงงานจาํ พวกท่ี 3 แบบ FAC-F-31

2.6.2.15 บญั ชสี รปุ ผลโรงงานเลกิ ประกอบกิจการ แบบ FAC-F-32

2.6.2.16 หนังสอื สรปุ ผลการดําเนินงาน แบบ FAC-F-28

2.6.3 วธิ ปี ฏิบตั งิ าน

ภายในวันที่ 5 ของทุกเดือน องคกรปกครองสวนทองถ่ินจัดทําหนังสือแจงสรุปผลงาน

ของเดือนทผี่ านมา ตามแบบ FAC-F-28 สง ให กรมโรงงานอุตสาหกรรม/ สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด

โดยแนบเอกสารสรปุ และรายละเอียดการดาํ เนนิ การในแตล ะเรือ่ ง ดังน้ี

2.6.3.1 ภารกิจการสํารวจและจัดทําขอมูลโรงงานจําพวกท่ี 1 ตามข้ันตอนการ

ดําเนินการสํารวจและจัดทําขอมูลโรงงานจําพวกท่ี 1 ตามแบบ FAC-F-01 จะสรุปผลโรงงานจําพวกที่ 1

ที่ไดสาํ รวจและจดั ทาํ ขอ มลู าตามแบบ FAC-F-29 พรอ มแนบแบบ FAC-F-02 และ FAC-F-03 ของทุกโรง

ท่ีปรากฏชื่อในแบบ FAC-F-29

14 บทที่ 2 ขน้ั ตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏบิ ัตกิ ารกํากบั ดแู ลโรงงาน

กรมสง เสรมิ การปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

สําหรับกรุงเทพมหานคร ใหสงแบบ FAC-F-02 และแบบ FAC-F-03 แก กรม
โรงงานอตุ สาหกรรมโรงงานละ 1 ชุด องคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหสงแบบ FAC-F-02 จํานวน 2 ชุด
และแบบ FAC-F-03 จาํ นวน 1 ชดุ แกส าํ นกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวดั

2.6.3.2 ภารกิจการรับแจงการประกอบกิจการโรงงานจําพวกที่ 2 ตามข้ันตอนการ
ดําเนินการเก่ียวกับโรงงานจําพวกท่ี 2 ตามแบบ FAC-F-02 จะสรุปขอมูลโรงงานจําพวกท่ี 2 ที่ไดมาแจง
ในเรื่องตางๆ ไดแก แจงประกอบกิจการโรงงาน แจงโอน และแจงในเรื่องอ่ืน ๆ เชน แจงเปล่ียนแปลง
แรงมาเคร่ืองจักร ฯลฯ ตามแบบ FAC-F-03 พรอมแนบ ร.ง. 1 กรณีแจงประกอบกิจการ หรือ FAC-F-08
กรณแี จงในเร่ืองอนื่ ๆ และ ร.ง. 2 ท่ไี ดมกี ารบันทึกรบั แจง ไวแลว ของทกุ โรงท่ีปรากฏช่อื ในแบบ FAC-F-03

สําหรับ กรุงเทพมหานครใหสง ร.ง. 1 หรือ/แบบ FAC-F-08 จํานวน 1 ชุด
และ ร.ง. 2 ฉบับกรมโรงงานอุตสาหกรรมใหกรมโรงงานอุตสาหกรรม องคกรปกครองสวนทองถิ่น
ใหสง ร.ง. 2 หรอื แบบ FAC-F-08 จํานวน 2 ชุด และ ร.ง. 2 ฉบับกรมโรงงานอุตสาหกรรมและสํานักงาน
อุตสาหกรรมจงั หวัดให สํานกั งานอตุ สาหกรรมจงั หวดั

2.6.3.3 ภารกิจการอนุญาตโรงงานจําพวกที่ 3 ตามขั้นตอนกรดําเนินการเกี่ยวกับ
โรงงานจําพวกที่ 3 ตามแบบ FAC-PM-03 จะสรุปขอมูลโรงงานจําพวกที่ 3 ท่ีไดมาขออนุญาตหรือมา
แจงในเรือ่ งตา ง ๆ ตามแบบ FAC-F-31 พรอมแนบเอกสารของแตละโรงงาน ดงั น้ี

1) กรณกี ารอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน แนบ ร.ง. 3 และ ร.ง. 4 ทั้งฉบับ
2) กรณีการอนุญาตขยายโรงงาน แนบ ร.ง. 3 และสําเนา ร.ง. 4 ลําดับท่ี 1,4

และ 5
3) กรณีการตออายุใบอนุญาต แนบ ร.ง. 3/1 และสาํ เนา ร.ง. 4 ลําดับที่ 1,3
4) กรณีอนุญาตโอน แนบ ร.ง. 3/2 และสาํ เนา ร.ง. 4 ลําดับที่ 1 และ 8
5) กรณีรับแจงการประกอบกิจการโรงงาน แนบใบแจงการประกอบกิจการ

โรงงานจําพวกท่ี 3 (FAC-F-06) และสําเนา ร.ง.4 ลําดับท่ี 1, 3 กรณีมีการ
บันทึกใน ร.ง. 4 ลาํ ดบั ท่ี 7 แนบลาํ เนาลาํ ดับที่ 7 ดวย
6) กรณีรับแจงการประกอบกิจการโรงงานสวนขยาย แนบแบบ FAC-F-06
และสําเนา ร.ง. 4 ลําดับท่ี 1,6 กรณีมีการบันทึกใน ร.ง. 4 ลําดับที่ 7 แนบ
สาํ เนาลาํ ดบั ท่ี 7 ดวย
7) กรณีอนื่ ๆ เชน แจงเปลี่ยนช่ือ ขอใบแทน ฯลฯ แนบคําขอท่ัวไปตามแบบ
FAC-F-07 หรือใบแจงท่ัวไปตามแบบ FAC-F-08 แลวแตกรณี และสําเนา
ร.ง. 4 ลําดับท่ี 1 และ 7 สําหรับ กทม. ใหจัดสง ร.ง. 3 ร.ง. 3/1 ร.ง. 3/2

บทท่ี 2 ขัน้ ตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏิบัติการกํากบั ดูแลโรงงาน 15

มาตรฐานการกาํ กบั ดูแลโรงงาน

แบบ FAC-F-06 FAC-F-07 หรือ FAC-F-08 แลวแตกรณี จํานวน 1ชุด
พรอม ร.ง. 4 ฉบับกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือสําเนา ร.ง. 4 ลําดับท่ี
ดําเนินการ 1 ชุดใหกรมโรงงานอุตสาหกรรม สวนเทศบาลนครใหจัดสง
ร.ง. 3 ร.ง. 3/1 ร.ง. 3/2 แบบ FAC-F-06 FAC-F-07 หรือ FAC-F-08
แลว แตกรณี จํานวน 2 ชุด ใหส ํานักงานอุตสาหกรรมจังหวดั
นอกจากนั้นใหสรปุ คา ธรรมเนียมใบอนุญาตทจี่ ัดเกบ็ ไดในแบบ FAC-F-28
2.6.3.4 ภารกิจการดําเนินการเก่ียวกับเร่ืองรองเรียนโรงงาน ตามข้ันตอนการดําเนินการ
รับเรื่องรองเรียนโรงงานตามแบบ FAC-F-04 สรุปเฉพาะจํานวนเร่ืองรองเรียนท่ีไดรับหรือไดสํารวจพบ
โรงงานกอ เหตเุ ดอื ดรอ นในแบบ FAC-F-28 จาํ นวน 1 ชดุ โดยไมตอ งสง เอกสารเพิ่มเตมิ
2.6.3.5 การดาํ เนินการตามขนั้ ตอนการดําเนินการรับชําระคาธรรมเนียมรายป โรงงาน
ท่ีครบกําหนดชําระตามแบบ FAC-PM-04 สรุปเฉพาะจํานวนโรงงานท่ีมาชําระคาธรรมเนียมรายป และ
จํานวนเงินคาธรรมเนียมรายปท่ีไดรับในแบบ FAC-F-28 จํานวน 1 ชุด โดยแยกเปนโรงงานจําพวกท่ี 2
และจําพวกที่ 3 โดยไมตองสง เอกสารเพิ่มเติม

2.7 วธิ ปี ฏิบตั งิ านการสรุปผลแจง กรมโรงงานอุตสาหกรรม และสาํ นกั งานอตุ สาหกรรมจังหวัด

2.7.1 ข้นั ตอนการดาํ เนินการทเ่ี ก่ยี วขอ ง

2.7.1.1 ข้ันตอนการดําเนินการสํารวจและจําทําขอมูลโรงงานจําพวกที่ 1 แบบ FAC-PM-01

2.7.1.2 ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ การเก่ียวกบั โรงงานจําพวกที่ 2 แบบFAC-PM-02

2.7.1.3 ข้นั ตอนการดําเนินการเกย่ี งกับโรงงานจาํ พวกท่ี 3 แบบ FAC-PM-03

2.7.1.4 ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การรบั เรอื่ งรองเรยี นโรงงาน แบบ FAC-PM-04

2.7.1.5 ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การรับชําระคาธรรมเนียมรายปของโรงท่ีครบกําหนดชําระ

แบบ FAC-PM-05

2.7.2 เอกสารทใ่ี ช

2.7.2.1 บัญชสี รปุ ผลการดําเนินการโดย อปท. ของ สอจ. แบบ FAC-F-33

2.7.2.2 แบบสํารวจขอ มูลโรงงานจาํ พวกที่ 1 แบบ FAC-F-02

2.7.2.3 ใบแจง การประกอบกจิ การโรงงานจําพวกที่ 2 (ร.ง. 1)

2.7.2.4 ใบรบั แจงการประกอบกจิ การโรงงานจาํ พวกท่ี 2 (ร.ง. 2)

2.7.2.5 คาํ ขอรบั ใบอนุญาต (ร.ง. 3)

2.7.2.6 คําขอตอ อายใุ บอนุญาต (ร.ง. 3/1)

16 บทท่ี 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏิบัตกิ ารกํากับดูแลโรงงาน

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

2.7.2.7 คําขอรบั โอนใบอนญุ าต (ร.ง. 3/2)

2.7.2.8 ใบแจงการประกอบกิจการโรงงานจาํ พวกที่ 3 แบบ FAC-F-06

2.7.2.9 คําขอทัว่ ไป แบบ FAC-F-07

2.7.2.10 ใบแจง ท่วั ไป แบบ FAC-F-08

2.7.3 วิธปี ฏิบัตงิ าน

ภายในวันที่ 10 ของทุกเดือน สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดจะสรุปผลการดําเนินการ

ขององคปกครองสว นทองถิน่ ในจงั หวดั ตามแบบ FAC-F-33 พรอ มสง เอกสารประกอบ ดงั นี้

2.7.3.1 โรงงานจาํ พวกที่ 1 ใหสง แบบสํารวจขอมูลโรงงานจําพวกที่ 1 ตามแบบ FAC-

PM-02 ท่ีไดรับจาก องคกรปกครองสว นทองถิน่ ทุกโรงงาน

2.7.3.2 โรงงานจําพวกที่ 2 ใหสง ร.ง. 1 และ ร.ง .2 ฉบับ กรอ. ของทุกโรงงานท่ีไดรับ

จากองคกรปกครองสว นทองถิ่นใหกรมโรงงานอุตสาหกรรม

2.7.3.3 โรงงานจาํ พวกท่ี 3

1) การอนุญาตประกอบกิจการโรงงานใหสง ร.ง. 3 และ ร.ง. 4 ฉบับ กรมโรงงาน

อุตสาหกรรม ของทกุ โรงงานทไ่ี ดร บั จากองคปกครองสว นทองถ่นิ ใหก รมโรงงานอุตสาหกรรม

2) การอนุญาต รับแจง หรอื กรณีอน่ื ๆ ใหส ง คาํ ขอ ใบแจง หรือคํารอง พรอม

สาํ เนา ร.ง. 4 ของทุกโรงงานแตล ะโรงท่ีไดร ับจากองคป กครองสว นทองถ่นิ ใหกรมโรงงานอตุ สาหกรรม

2.7.3.4 โรงงานเลกิ ประกอบกิจการ ใหสงสําเนาตามแบบ FAC- F-32

2.8 วิธีปฏิบัติงานการประเมนิ แรงมาเครือ่ งจกั ร

2.8.1 ข้นั ตอนการดาํ เนนิ การท่เี กย่ี วขอ ง
2.8.1.1 ข้ันตอนการดาํ เนนิ การจดั ทําขอมูลโรงงานจาํ พวกท่ี 1 แบบFAC-PM-01
2.8.1.2 ขั้นตอนการดําเนินการเกย่ี วกับโรงงานจาํ พวกท่ี 2 แบบFAC-PM-02
2.8.1.3 ขั้นตอนการดาํ เนนิ การเกยี่ วกบั โรงงานจําพวกที่ 3 แบบ FAC-PM-03

2.8.2 วธิ ปี ฏบิ ตั งิ าน
2.8.2.1 กรณีเครื่องจกั รใชม อเตอรขบั ใหประเมินแรงมา ของมอเตอร
โดยปกติมอเตอรจะมีปาย (name plate) ที่ระบุแรงมาไว อาจจะระบุเปนแรงมา

หรอื อักษรยอวา HP ไวโดยตรง หรือระบเุ ปน กโิ ลวตั ต หรอื อักษรยอ วา KW
กรณรี ะบุกําลงั มอเตอรเ ปนกิโลวตั ตใ หแ ปลงกาํ ลงั มอเตอรเปน แรงมา โดย

บทที่ 2 ข้นั ตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏบิ ัตกิ ารกํากับดูแลโรงงาน 17

มาตรฐานการกาํ กับดแู ลโรงงาน

แรงมามอเตอร = จํานวนกิโลวตั ต

0.746

หรือ HP = KW

0.746

ถาระบกุ ําลงั มอเตอรเปนวตั ต (W) ใหแปลงเปน แรงมาโดย

แรงมา = วตั ต

746

หรือ HP = W

746

ถาเครื่องจักรมีมอเตอรขับหลายตัว แรงมาเคร่ืองจักรคือผลรวมแรงมาของ

มอเตอรท กุ ตวั

2.8.2.2 กรณีเคร่ืองจักรไมไดใชมอเตอรขับใหประเมินแรงมาเปรียบเทียบของ

เครอ่ื งจกั ร ดังน้ี

1) เครอื่ งใชไฟฟาที่เก่ยี วกับความรอ น เชน เตารีด heater

แรงมาเปรยี บเทียบ = VxAx0.8x0.6 เม่อื ใชไ ฟ 2 สาย (220 โวลท)

746

= VxAx1.732x0.8x0.6 เมอ่ื ใชไฟ 3 สาย (380 โวลท)

746

เม่อื V คือ ความตา งศกั ยไ ฟฟา หนวยเปนโวลท (Volt)

A คือ กระแสไฟฟา หนว ยเปน แอมแปร (Amp)

W คอื พลังงาน หนว ยเปนวตั ต (W)

หมายเหตุ : W=V x A

2) เครอ่ื งเชอื่ มไฟฟา ประเมนิ แรงมา เปรียบเทยี บจากขนาดกระแสทใี่ ชสูงสุด

ของเครื่อง ดงั นี้

100 แอมแปร = 5.5 แรงมา

150 แอมแปร = 8 แรงมา

200 แอมแปร = 11 แรงมา

250 แอมแปร = 14 แรงมา

300 แอมแปร = 17 แรงมา

18 บทท่ี 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏิบัตกิ ารกาํ กับดูแลโรงงาน

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

3) เครื่อง Spot Welding ประเมนิ แรงมา เปรียบเทียบ ดังนี้
แรงมาเปรียบเทียบ = V x A x 0.8 x 0.2
0.746

4) เตาอบ
เตาอบทั่วไปประเมินแรงมาเปรียบเทียบจากปริมาตรภายนอก (กวาง x

ยาว x สูง) โดยประเมินปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร = 2 แรงมา ไมวาจะใชอะไรเปนเชื้อเพลิง ยกเวน
เตาอบไฟฟา ซ่ึงทราบคา KW แลวจะประเมินแรงมา เปรยี บเทยี บตามขอ 1

หมายเหตุ1) กรณีเตาอบไม ประเมินแรงมาเปรียบเทียบ 1 ลูกบาศกเมตร =
0.2 แรงมา

2) กรณีเตาบมใบยาสูบประเมินแรงมาเปรียบเทียบ 1 ลูกบาศกเมตร
= 0.15 แรงมา

5) เตาอัง้ โลห รือเตาดนิ เผาทั่วไป
ประเมินจากเสนผานศูนยก ลางโดยเฉลีย่ ของเตา ดังนี้
5.1 เสนผานศูนยกลางโดยเฉล่ียของเตาไมเกิน 40 เซนติเมตร ประเมิน
แรงมาเปรยี บเทียบเตาละ 0.25 แรงมา
5.2 เสนผานศูนยกลางโดยเฉลี่ยของเตามากกวา 40 เซนติเมตร แตไมเกิน
100 เซนติเมตร ประเมินแรงมา เปรียบเทยี บเตาละ 0.5 แรงมา
5.3 ถาเสนผานศูนยก ลางโดยเฉลี่ยของเตามากกวา 100 เซนติเมตรข้ึนไป
ประเมนิ แรงมาเตาละ 2 แรงมา

6) เคร่ืองเชอ่ื มกา ซ
ประเมินแรงมาเปรียบเทียบจาก หัวเช่ือมหรือคูสายที่ใชเชื่อมหรือตัดโลหะ

โดยคดิ 1 หัวเชอ่ื มหรอื คูสายละ 2 แรงมา

บทท่ี 2 ข้นั ตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏบิ ัตกิ ารกํากับดแู ลโรงงาน 19

มาตรฐานการกาํ กบั ดูแลโรงงาน

ตารางสรปุ แรงมา เปรยี บเทยี บ

ไฟฟา 1 KW (กโิ ลวัตต) = 1.34 แรงมา
ไฟฟา 1 KVA = 1.07 แรงมา (V = 220 Volt)
ไฟฟา 1 KVA = 1.86 แรงมา (V = 220 Volt)
น้ํามนั โซลา 1 ลิตร/ช่ัวโมง = 2.25 แรงมา
น้ํามันเตา 1 ลิตร/ชว่ั โมง = 2.89 แรงมา
น้าํ มนั เบนซนิ 1 ลติ ร/ชว่ั โมง = 2.99 แรงมา
GAS 1 กโิ ลกรัม/ชั่วโมง = 3.80 แรงมา
หมอ น้าํ 1 BHp = 6.6 แรงมา
หมอนํ้า 1 Metricton = 421.8 แรงมา

2.9 วธิ ปี ฏบิ ตั ิงานการอออกเลขทะเบียนโรงงานและเลขท่ใี บรับแจง ใบอนญุ าต

2.9.1 ขั้นตอนการดําเนินการท่เี กย่ี วขอ ง
2.9.1.1 ขั้นตอนการดาํ เนินการจดั ทาํ ขอ มูลโรงงานจําพวกท่ี 1 แบบ FAC – PM – 01
2.9.1.2 ขน้ั ตอนการดาํ เนินการจัดทําขอมลู โรงงานจําพวกท่ี 2 แบบ FAC – PM – 02
2.9.1.3 ข้นั ตอนการดําเนินการจดั ทาํ ขอมลู โรงงานจาํ พวกที่ 3 แบบ FAC – PM – 03

2.9.2 วิธปี ฏบิ ตั งิ าน
เลขทะเบียนโรงงานมี 4 กลมุ

ABCD

1) กลุม A เปนตวั อกั ษรแสดงหนวยงานทอี่ อกใบรับแจงฯ
F ก หมายถึง กรุงเทพมหานคร โดยแตละเขตมีหมายเลขลําดับเขตของตนเอง
กํากับทาย
F ท หมายถึง เทศบาล โดยแตละเทศบาลในจังหวัดหน่ึงจะมีหมายเลขลําดับ
ของตนเองกํากับทาย
F อ หมายถึง องคการบริหารสวนตําบล โดยแตละองคการบริหารสวนตําบล
ในจังหวัดหน่งึ ๆ จะมหี มายเลขลาํ ดับของตนเองกํากบั ทา ย

20 บทท่ี 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏบิ ัตกิ ารกาํ กับดูแลโรงงาน

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

2) กลุม B เปนตัวเลขแสดงจําพวกโรงงาน โรงงานจําพวกที่ 1 แทนดวยหมายเลข 1
และกรณีการรบั แจงการประกอบกจิ การโรงงานจําพวกท่ี 2 แทนดว ยเลข 2

3) กลุม C เปนตัวเลขแสดงลําดับประเภท หรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทาย
กฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิโรงงาน พ.ศ. 2535 เชน
โรงงานตัดเย็บเสอ้ื ผา สําเร็จรปู แทนดวย 28 (1) โรงงานทาํ นา้ํ แข็งกอนเลก็ แทนดวย 14

4) กลุม D เปนตัว XX/YY ตามดวยตัวอักษร 2 ตัว โดย XX หมายถึง ลําดับท่ีของ
โรงงานตามประเภทของกลุม C ในป YY ซ่ึง YY ใหระบุเลขทาย 2 ตัว ของป พ.ศ.
ที่ออกเลขทะเบียนโรงงาน ตัวอักษร 2 ตัว ท่ีตอทายเปนชื่อยอจังหวัด ยกเวนโรงงาน
ท่ีต้ังอยใู นเขตกรุงเทพมหานครไมตอ งมีอักษรตอทา ยดงั กลา ว

ตวั อยาง เชน 12/44 ชบ หมายถึง เปนโรงงานรายท่ี 2 ของลําดับประเภทโรงงานท่ีออกเลข
ทะเบยี นโรงงานในป พ.ศ. 2544 ของจงั หวดั ชลบุรี

ตัวอยา ง
1) อ12-2-41 (1) – 3/44 สบ
- อ12 แสดงหนวยงานท่ีรับแจงฯ และออกทะเบียน คือ องคการบริหาร
สวนตาํ บล เบอร 12 ของจังหวดั
- 2 แสดงวาเปนโรงงานจาํ พวกท่ี 2
- 41 (1) แสดงวา เปนโรงงานประเภทลาํ ดบั ท่ี 41 (1)
- 3 / 44 สบ แสดงวาเปนโรงงานลําดับท่ี 41 (1) (จําพวกที่ 2 ) โรงงานรายที่ 3
ของป พ.ศ. 2544 ของจังหวัดสระบุรีที่ องคการบริหารสวนตําบลแหงนี้ได
ออกใบรับแจง
2) ก15-2-53 (5) –2/44
- ก15 แสดงหนวยงานที่ออกเลขทะเบียนโรงงานเปนเขตที่ 15 ของ
กรงุ เทพมหานคร
- 2 แสดงวาเปนโรงงานจาํ พวกที่ 2
- 53 (5) แสดงวา เปนประเภทโรงงานลําดับท่ี 53 (5)
- 2/44 แสดงวา เปน โรงงานจาํ พวกที่ 2 ประเภทโรงงานลําดับท่ี 53 (5) ออก
ใหเ ปนรายท่ี 2 ในป 2544 ของเขตดงั กลาว

บทที่ 2 ขัน้ ตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏบิ ัตกิ ารกํากับดูแลโรงงาน 21

มาตรฐานการกาํ กบั ดูแลโรงงาน

หมายเหตุ เพื่อใหลําดับการออกเลขทะเบียนตอเนื่องไมผิดพลาด หากไมใชคอมพิวเตอรใน
การ RUN เลขทะเบยี นก็ตอ งใชสมุดเลขทะเบยี นเปนตวั ควบคุม

นอกจากออกเลขทะเบียนโรงงานแลวยังตองออกเลขที่ใบอนุญาต หรือใบรับแจงโดยมี
หลกั เกณฑการออกเลขท่ีใบอนญุ าต หรอื ใบรับแจง ดังน้ี

เลขท่ีใบอนญุ าต หรือใบรับแจง มี 3 กลุม

EFG

กลุม E เปนตวั อักษร 1 ตวั

- หากเปนเลขท่ีใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงงาน ใชตวั ป

- หากเปน เลขท่ีใบอนญุ าตขยายกจิ โรงงาน ใชต วั ข

- หากเปนเลขทใ่ี บอนญุ าตโอนกจิ การโรงงาน ใชต ัว อ

- หากเปน เลขทีใ่ บแทนใบอนุญาต ใชตัว ท

- หากเปนเลขท่ใี บรบั แจง ประกอบกจิ การโรงงานจําพวกที่ 2 ใชตวั จ

กลุม F เปน ตัวเลขแสดงลําดบั ทีข่ องใบอนุญาต หรอื ใบรับแจง ท่อี อกเลขที่

กลมุ G เปน พ.ศ. ท่อี อกเลขที่ ใชต วั เลขท่ี 4 หลกั เชน 2546

2.10 วธิ ปี ฏบิ ัตงิ านการตรวจสอบความครบถว นถกู ตองของเอกสาร สาํ หรับโรงงานจาํ พวกที่ 2
FAC-WI-05 (02)

2.10.1 ขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งานทเี่ ก่ียวขอ ง
ข้ันตอนการดําเนินการเกีย่ วกบั โรงงานจาํ พวกท่ี 2 (FAC-PM-02)

2.10.2 เอกสารทีใ่ ช
2.10.2.1 ใบแจง การประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 2 ( แบบ ร.ง. 1)
2.10.2.2 ใบรบั แจงการประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 2 (FAC-F-10)
2.10.2.3 คาํ ขอทวั่ ไป (FAC-F-07)
2.10.2.4 ใบแจงท่ัวไป (FAC-F-08)

2.10.3 วธิ ปี ฏบิ ตั งิ าน
2.10.3.1 การตรวจสอบความครบถวนถูกตองของเอกสาร สําหรับการแจงประกอบ

กิจการโรงงานจําพวกที่ 2 ดําเนนิ การดังน้ี

22 บทท่ี 2 ขัน้ ตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏบิ ัตกิ ารกํากับดแู ลโรงงาน

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย

1) ความครบถวนของเอกสาร: ตรวจสอบจํานวนเอกสารท่ีย่ืนวาครบถวน
หรอื ไม โดยจะตอ งแสดงเอกสารและหลักฐานประกอบไดแก

ก. ใบแจงการประกอบกิจการโรงงานจําพวกที่ 2 (ร.ง. 1) 3 ชดุ
กรณีโรงงานในกรุงเทพมหานครหรือ 4 ชุด กรณีโรงงานในสวน
ภูมภิ าค

ข. สาํ เนาหนังสอื รับรองการจดทะเบียนนติ บิ คุ คล 1 ชุด
กรณผี ูประกอบกจิ การเปน นิติบคุ คล

ค. สาํ เนาบตั รประจําตวั ประชาชน หรือสาํ เนาหนังสือ/ เอกสารรับรอง
ของคนตางดา วของผปู ระกอบกจิ การ 1 ชุด

ง. หนังสือมอบอํานาจ และสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูรับ
มอบอํานาจ กรณีใหอนื่ ทาํ การแทน 1 ชุด

2) ความถูกตองของเอกสาร : ตรวจดูรายละเอียดของเอกสารวาถูกตอง
หรือไม

2.1) ตรวจดูใบแจงการประกอบกิจการโรงงานจําพวกที่ 2 : ตรวจสอบ
จํานวนเอกสารที่ยื่นวาครบถวนหรือไม โดยจะตองแสดงเอกสาร
หรือหลกั ฐานประกอบ ไดแ ก
ก. ใบแจงการประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 2 (ร.ง. 1) 3 ชุด
กรณีโรงงานในกรุงเทพมหานคร หรือ 4 ชุด กรณีโรงงานใน
สว นภูมภิ าค
ข. สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล 1 ชุด กรณี
ผูประกอบกิจการเปนนติ บิ ุคคล

2.2) ตรวจดูหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล กรณีผูประกอบ
กิจการเปนนิตบิ ุคคล
ก. วันคดั สาํ เนาหนงั สอื ตองไมเ กิน 6 เดอื น
ข. ผมู อี ํานาจลงนามผูกพนั นติ ิบคุ คลนั้นวา ถูกตอ งหรอื ไม

2.3) ตรวจดูหนงั สือมอบอํานาจ กรณใี หผูอน่ื ทาํ การแทน
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูประกอบกิจการเปนนิติ
บุคคลตองมีการลงนามที่เปนไปตามที่ระบุในหนังสือรับรอง
การจดทะเบียนนิตบิ คุ คล

บทที่ 2 ขน้ั ตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏิบัติการกํากับดูแลโรงงาน 23

มาตรฐานการกํากับดแู ลโรงงาน

ข. การลงนามของผรู บั มอบอาํ นาจ
ค. การมอบอํานาจใหทําการแทนเรอื่ งใด
ง. การติดอากรแสตมป ใหติดอากรแสตมป 10 บาท กรณีมอบ

อํานาจใหทําการแทนเรื่องเดียว แตถามอบอํานาจใหทําการ
แทนต้งั แตสองเร่ืองขึน้ ไปใหตดิ อากรแสตมป 30 บาท
จ. ตองมกี ารลงนามและช่ือของผูเปนพยาน
2.4) ตรวจดูสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาหนังสือ/ เอกสาร
รับรองของคนตา งดา วของผปู ระกอบการและผรู ับมอบอํานาจ
2.10.3.2 การตรวจสอบความครบถว นถกู ตอ งของเอกสารสําหรับการขอหรือแจงเรื่อง
อน่ื ๆ การยืน่ คําขอหรือใบแจง ในกรณีอน่ื ๆ ของโรงงานจาํ พวกที่ 2 อาทิ
- การขอคดั สาํ เนาใบรบั แจงการประกอบกิจการโรงงานจาํ พวกท่ี 2
- การแจงโอนการประกอบกิจการโรงงานจําพวกที่ 2
- การแจงเลิกประกอบกจิ การ
การตรวจสอบความถกู ตองความครบถวนถกู ตอ งของเอกสารในการขอหรอื แจงดงั กลาว
ก. การขอหรือแจงในเร่ืองตาง ๆ ดังกลาว ผูขอหรือผูแจงอาจทําเปน
หนังสือ หรือใชตามแบบคําขอทั่วไปตามแบบ FAC-F-07 หรือแบบใบ
แจงท่ัวไปตามแบบ FAC-F-08 ก็ไดแตตองระบุในหนังสือ คําขอท่ัวไป
หรือใบแจงท่ัวไปใหชัดเจนถงึ สงิ่ ท่ตี องการ
ข. เอกสารประกอบการขอหรือแจง เปนไปตามขอ 2.10.3.1 (1) และการ
ตรวจความถูกตองของเอกสารเปนไปตามขอ 2.10.3.1(2.3) (2.4)

2.11 วธิ ปี ฏิบัตงิ านการตรวจสอบความครบถวนถูกตอ งของเอกสาร สําหรบั โรงงานจาํ พวกที่ 3
FAC-WI-06 (02)

2.11.1 ขน้ั ตอนการดําเนนิ การที่เกีย่ วขอ ง
ขั้นตอนการดําเนินการเกยี่ วกับโรงงานจาํ พวกท่ี 3 (FAC-PM-03)

2.11.2 เอกสารทใ่ี ช
2.11.2.1 คาํ รอรบั ใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน/ขยายโรงงาน (ร.ง.3)
2.11.2.2 ใบแจงการประกอบกจิ การโรงงานจาํ พวกที่ 3 (FAC-F-06)
2.11.2.3 คาํ ขอใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.3/1)

24 บทท่ี 2 ข้ันตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏิบัติการกาํ กับดแู ลโรงงาน

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถิน่ กระทรวงมหาดไทย

2.11.2.4 คาํ ขอรบั โอนใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน (ร.ง.3/2)
2.11.2.5 บันทึกการโอน (FAC-F-06)
2.11.3 วิธปี ฏิบัตงิ าน
2.11.3.1 การพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสาร การอนุญาตประกอบกิจการ/
ขยายโรงงาน

1) ความครบถว นของเอกสาร : ตรวจสอบจาํ นวนเอกสารที่ย่ืน วาครบถวน
หรือไม โดยแบง เอกสารท่ตี รวจสอบเปน 2 กลมุ ดงั นี้

1.1) กลุมเอกสารหลัก เปนเอกสารท่ีจําเปนตองมีในวันท่ียื่นคําขอ
และสามารถนาํ เขา สกู ารพจิ ารณาอนุญาตไดใ นเบ้อื งตน ไดแ ก

ก. คาํ ขอรบั ใบอนุญาต (ร.ง.3) 3 ชุด กรณีโรงงานในกรุงเทพมหานคร
หรอื 4 ชุด กรณโี รงงานในสว นภูมภิ าค

ข. แบบแปลนแผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร กรณีโรงงาน 2 ชุด
มีพ้ืนทม่ี ากกวา 70 ตารางเมตร

ค. สําเนาหนงั สือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล กรณีผูขอ 1 ชุด
อนุญาตเปนนิติบคุ คล

ง. สําเนาบัตรประชาชนหรือสําเนาหนังสือ/เอกสาร 1 ชุดรับรอง
ของคนตางดาวของผูขออนุญาต กรณีผูขออนุญาตเปน
บุคคลธรรมดา

จ. หนังสอื มอบอํานาจ และสาํ เนาบตั รประชาชน 1 ชุด ผูรับมอบ
อํานาจ กรณใี หผ อู นื่ ทาํ การแทน

1.2) กลุมเอกสารรอง เปนเอกสารท่ีหากผูยังมิไดเตรียมมาในวันยื่นคํา
ขอแตสามารถใหผ ยู ืน่ กลบั ไปเตรียมการและมอบใหเ จา หนา ที่ตรวจในภายหลงั ไดแก

ก. ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานฉบับผูประกอบกิจการ
กรณีขยายโรงงาน

ข. แบบแปลนอาคารโรงงาน (กรณอี าคารยงั ไมไดปลกู สราง) 1 ชุด
ค. กระบวนการผลติ กรณีโรงงานที่อาจกอปญ หามลพิษ 1 ชดุ
ง. แบบแปลนแผนผัง คําอธิบายโดยละเอียดแสดงวิธีการปองกัน

2 ชุด เหตุเดือดรอน โดยเฉพาะการควบคุมการปลอยของเสีย
มลพิษท่ีมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมท่ีเกิดขึ้นจากการประกอบ
กจิ การโรงงาน (กรณเี ฉพาะโรงงานทอี่ าจกอปญ หามลพษิ )

บทท่ี 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏิบัติการกํากบั ดูแลโรงงาน 25

มาตรฐานการกํากับดแู ลโรงงาน

2) ความถูกตองของเอกสาร: ตรวจสอบรายละเอียดของเอกสารวาถูกตอง
หรอื ไม

2.1 ตรวจดูคําขอรับใบอนุญาต
ก. ชื่อ และทอี่ ยู ขอผขู ออนญุ าตถกู ตองตรงตามขอ 2.11.3.1 (1.1)
ข. การประกอบกิจการ เพ่ือทราบประเภทหรือชนิดของโรงงาน
กรณขี ยายโรงงานในใบอนญุ าตฯ
ค. กําลังแรงมาเครื่องจักร และ/หรือ จํานวนคนงาน เพ่ือ
ตรวจสอบขนาดของโรงงานวาตองยื่นขอประกอบกิจการ
โรงงานหรอื เขา ขายขยายโรงงานหรอื ไม
ง. การลงช่ือผูขออนุญาตในกรณีท่ีเปนนิติบุคคล จะตองเปน
กรรมการผูมอี าํ นาจ หรือ ผูร บั มอบอํานาจเทา นัน้

2.2 ตรวจดูแบบแปลนแผนผังแสดงการติดตั้งเคร่ืองจักร (กรณีโรงงาน
มพี ้นื ที่มากกวา 70 ตารางเมตร)

ก. มขี นาดเหมาะสมและถูกตองตามมาตราสว น
ข. มกี ารลงตาํ แหนง แสดงการติดตั้งเคร่ืองจักร
ค. มีรายละเอียดเคร่ืองจักร โดยระบุขนาดกําลังแรงมา และ

จาํ นวนเครื่องจกั ร
2.3 ตรวจดหู นงั สอื รับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (กรณีผูขออนุญาต
เปนนติ ิบคุ คล)

ก. วันคดั สาํ เนาหนงั สือ ตอ งไมเ กิน 6 เดอื น
ข. ผูม ีอํานาจลงนามผกู พนั นติ ิบคุ คลนนั้ วาถูกตองหรือไม
2.4 ตรวจดหู นังสือมอบอาํ นาจ (กรณีใหผ อู นื่ ทาํ การแทน)
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูขออนุญาตเปนนิติบุคคล

ตอ งมีการลงนามท่เี ปนไปตามท่ีระบุในหนังสือรับรองการจด
ทะเบียนนติ บิ ุคคล
ข. การลงนามของผูรบั มอบอาํ นาจ
ค. การมอบอาํ นาจใหทําการแทนเรอ่ื งใด

26 บทที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏิบัตกิ ารกาํ กับดูแลโรงงาน

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ง. การติดอากรแสตมป กรณีมอบอํานาจใหทําการแทนเร่ืองเดียว
ใหติดอากรแสตมป 10 บาท หากมอบอํานาจใหทําการแทน
ตงั้ แตส องเรื่องขึ้นไป ใหตดิ อากรแสตมป 30 บาท

จ. ตอ งมีการลงนามและชอื่ ของผูเ ปนพยาน
2.5 ตรวจดูสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาหนังสือ/ เอกสาร
รบั รอง ของคนตางดา วของผขู ออนญุ าตและผรู ับมอบอาํ นาจ
2.6 ตรวจดแู บบแปลนอาคารโรงงาน ( กรณีอาคารยังไมไ ดปลกู สราง)

ก. มีรูปแบบแสดงภาพดานหนา ดานขาง และดานบนของ
อาคารทม่ี ีขนาดเหมาะสม และถกู ตอ งตามมาตรสว น

2.7 ตรวจดูกระบวนการผลิต กรณีโรงงานท่ีอาจกอปญหามลพิษ มีผัง
ข้นั ตอนการผลติ และคาํ อธิบาย

2.8 ตรวจดูแบบแปลนแผนผังคําอธิบายโดยละเอียดแสดงวิธีการ
ปองกันเหตุเดือนรอน โดยเฉพาะการควบคุมการปลอยของเสีย มลพิษท่ีมีผลการทบตอสิ่งแวดลอมที่
เกิดขึ้นจากการประกอบกิจการโรงงาน

ก. กรณีโรงงานท่ีอาจกอปญหามลพิษมาก ตองมีแบบแปลน
แผนผังรายการคํานวณและคํารับรองของวิศวกรพรอมสําเนา
ใบอนุญาตใหเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมท่ียังไม
หมดอายุ

ข. กรณีโรงงานท่ีอาจกอปญหามลพิษนอย ควรมีรูปภาพระบบ
หรือระบบแปลนแผนผงั ระบบพรอมคาํ อธิบาย

หมายเหตุ เอกสารประกอบคําขออนุญาตตางๆ ท่ีเปนสําเนา ตองมีการลงนาม
รบั รองสาํ เนาถูกตอ ง โดยผขู ออนุญาตหรอื ผูร ับมอบอาํ นาจ

3) การดําเนนิ การในการพจิ ารณาความครบถว นถูกตองของเอกสาร
3.1 ถาเอกสารกลุมหลักและเอกสารกลุมรองครบถวนถูกตองท้ังขอ

2.11.3.1 (1.1) และ 2.11.3.1 (1.2) ใหเ จาหนา ทลี่ งนามในคาํ ขอเพอ่ื รับรองความถกู ตอ ง
3.2 ถาเอกสารกลุมหลักและเอกสารกลุมรองในขอ 2.11.3.1 ไมครบถวน

ใหเจาหนาที่ระบุส่ิงท่ีไมครบถวนท้ังขอ 2.11.3.1(1.1) และขอ 2.11.3.1 (1.2) ในใบแจงเอกสารไมครบถวน
ถูกตอง ในแบบ FAC-F-10 จํานวน 2 ชุด แลวใหเจาหนาท่ีและผูย่ืนลงชื่อเพ่ือคืนใหผูยื่น 1 ชุด พรอม
เอกสารที่นํามาย่ืน สว นอีก 1 ชดุ เกบ็ รวมในแฟม

บทท่ี 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏิบัติการกาํ กับดแู ลโรงงาน 27

มาตรฐานการกาํ กับดแู ลโรงงาน

3.3 ถาเอกสารกลุมหลักในขอ 2.11.3.1 (1.1) ครบถวนถูกตองแต
เอกสารกลุมรองในขอ 2.11.3.1 (1.2) ไมครบถวน ใหเจาหนาที่รับคําขอพรอมระบุรายการเอกสารที่ไม
ครบถวนลงในแบบ FAC-F-10 จํานวน 2 ชุด แลวใหเจาหนาท่ีและผูย่ืนลงชื่อเพื่อคืนใหผูยื่น 1 ชุด สวน
อีก 1 ชุด เก็บรวบรวมในคําขอที่รับไว

2.11.3.2 การพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสารสําหรับ การแจงประกอบ
กจิ การโรงงานจาํ พวกที่ 3

1) ความครบถวนของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารท่ีย่ืนวาครบถวน
หรือไม โดยจะตอ งแสดงเอกสารและหลกั ฐานประกอบ ไดแ ก

ก. ใบแจงการประกอบกิจการโรงงาน จําพวกที่ 3 กรณีโรงงานใน
กรุงเทพมหานคร 3 ชดุ หรอื 4 ชุด กรณโี รงงานในสวนภมู ภิ าค

ข. หนังสือมอบอํานาจ และสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูรับ
มอบอาํ นาจ กรณีใหผูอ่ืนทาํ การแทน 1 ชุด

ค. ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ฉบบั ผปู ระกอบกิจการ
2) ความถูกตองของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารท่ีย่ืนวาครบถวน
หรอื ไมโดย

2.1 ตรวจดใู บแจงการประกอบกิจการโรงงาน จาํ พวกที่ 3
ก. ชื่อ ทอ่ี ยู ทต่ี ้ังโรงงาน การประกอบกิจการ และทะเบียนโรงงาน
วาตรงกบั ท่ไี ดร บั อนญุ าตไวหรือไม
ข. กําลังแรงมาเครื่องจักร และ/หรือจํานวนคนงาน เพื่อตรวจสอบ
วา จะแจง เริ่มประกอบกิจการทงั้ หมดหรือบางสวน

2.2 ตรวจดหู นังสอื มอบอาํ นาจ กรณีใหผ อู น่ื ทําการแทน
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูประกอบกิจการเปนนิติ
บุคคลตองมีการลงนามท่ีเปนไปตามท่ีระบุในหนังสือรับรอง
การจดทะเบยี นนติ ิบุคคล
ข. การลงนามของผูร บั มอบอํานาจ
ค. การมอบอาํ นาจใหทาํ การแทนเรอื่ งใด
ง. การติดอากรแสตมป กรณีมอบอํานาจใหทําการแทนตั้งแต
สองเร่ืองขน้ึ ไปใหตดิ อากรแสตมป 30 บาท
จ. ตองมีการลงนามและชือ่ ของผเู ปนพยาน

28 บทท่ี 2 ขน้ั ตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏบิ ัติการกํากับดูแลโรงงาน

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย

2.3 ตรวจดูสาํ เนาบตั รประจาํ ตัวประชาชนผูรับมอบอาํ นาจการหมดอายุ
3) การจัดทําใบแจงเอกสารไมครบถวนถูกตองในแบบ FAC-F-10 :
ใหจัดทําแบบ FAC-F-10 จํานวน 2 ชุด โดยระบุส่ิงที่ไมครบถวนถูกตอง แลวใหเจาหนาท่ีและผูยื่นลงช่ือ
เพอื่ คนื ใหผ ูย นื่ 1 ชดุ พรอมเอกสารท่ี นํามายนื่ สวนอกี 1 ชุด เก็บรวมในแฟม
2.11.3.3 การพจิ ารณาความครบถว นถกู ตองของเอกสาร การตออายใุ บอนุญาต
1) ความครบถวนของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารที่ย่ืนวาครบถวน
หรอื ไม โดยจะตอ งแสดงเอกสารและหลักฐานประกอบ ไดแ ก

ก. คาํ ขอตอ อายใุ บอนุญาตประกอบกจิ การโรงงาน (ร.ง.3/1) 3 ชดุ
ข. สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล กรณีผูประกอบ

กจิ การ 1ชดุ เปน นิติบุคล
ค. หนังสือมอบอํานาจ และสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูรับ

มอบอํานาจ กรณใี หผอู ่ืนทําการแทน 1 ชดุ
ง. ใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน (ร.ง.4) 1 ชุด
2) ความถูกตองของเอกสาร : ตรวจดูรายละเอียดของเอกสารวาถูกตอง
หรือไม
2.1 ตรวจดูคําขอตออายุใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 3/1)
และทะเบยี นโรงงานวา ตรงกับที่ไดรบั อนญุ าตหรือไม

ก. ชื่อ ท่ีอยู ท่ีตั้งโรงงาน การประกอบกิจการ และทะเบียน
โรงงานวา ตรงกับท่ีไดรบั อนญุ าตไวห รือไม

ข. การลงช่ือผูประกอบกิจการในกรณีที่เปนนิติบุคคล จะตอง
เปนกรรมการผูมีอํานาจลงนามที่เปนไปตามที่ระบุในหนังสือ
รับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล หรือหนังสือมอบอํานาจ
เทาน้นั

2.2 ตรวจดวู า หนังสือรับรองการจดทะเบยี นนิติบุคคล กรณีผูประกอบ
กิจการเปนนิติบุคคล

ก. วนั คัดสําเนาหนังสือ ตองไมเ กนิ 6 เดือน
ข. ผูมอี ํานาจลงนามผูกพนั นติ บิ ุคคลน้ันวา ถูกตอ งหรอื ไม

บทที่ 2 ขัน้ ตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏบิ ัติการกาํ กับดแู ลโรงงาน 29

มาตรฐานการกาํ กบั ดแู ลโรงงาน

2.3 ตรวจดูหนังสือมอบอาํ นาจ กรณใี หผอู ่นื ทําการแทน
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูประกอบกิจการเปนนิติ
บุคคลตองมี การลงนามท่ีเปนไปตามที่ระบุในหนังสือรับรอง
การจดทะเบียนนติ บิ ุคคล
ข. การลงนามของผรู บั มอบอํานาจ
ค. การมอบอํานาจใหก ารแทนเรือ่ งใด
ง. การติดอากรแสตมป กรณีมอบอํานาจใหทําการแทนเร่ืองเดียว
ใหติดอากรแสตมป 10 บาท หากมอบอํานาจใหทําการแทน
ตงั้ แตส องเร่ืองข้ึนไป ใหต ิดอากรแสตมป 30 บาท
จ. ตองมกี ารลงนามและชอื่ ของผูเปน พยาน

2.4 ตรวจดูสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือ สําเนาหนังสือ /
เอกสารรับรองของคนตางดา วของผรู บั มอบอาํ นาจ

- การหมดอายุ
2.5 ตรวจดูใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน

- ตรงตามคาํ ขอตอ อายุใบอนุญาต
- วนั ครบกาํ หนดตออายุใบอนุญาต
3) การดําเนนิ การในการพิจารณาความครบถวนถกู ตอ งของเอกสาร :
3.1 ถาเอกสารครบถวนถูกตองตามขอ 2.11.3.3 (1) และ 2.11.3.3 (2)
ใหเ จา หนาทลี่ งนามในคําขอเพื่อรับรองความถูกตอ งแลวดําเนนิ การตอ ไป
3.2 ถาเอกสารไมครบถวนตามขอ 2.11.3.3 (1) หรือไมถูกตองตามขอ
2.11.3.3 (2) ใหจัดทําใบแจงเอกสารไมครบ ถวนถูกตองในแบบ FAC-F-10 จํานวน 2 ชุด โดยระบุส่ิงท่ี
ไมค รบถวนถกู ตองและใหเจาหนา ท่ี และผยู นื่ ลงช่ือเพื่อคนื ใหผ ูย ืน่ 1ชดุ พรอ มเอกสารท่ีนํามายื่น สวนอีก
1ชดุ เกบ็ รวมในแฟม
หมายเหตุ กรณีเอกสารประกอบคําขอตออายุใบอนุญาตนํามาไมครบถวนถูกตอง
แตใกลว นั ครบกําหนดการยนื่ คาํ ขอตอ อายใุ บอนุญาต ใหอนุโลมรับไวกอนพรอมชําระคาธรรมเนียมการ
ตออายุฯ แลวใหระบุสิ่งท่ีไมครบถวนถูกตองในแบบ FAC-F-10 จํานวน 2 ชุด โดยกําหนดวันท่ีจะนํามา
ใหภายในวนั กอ นเสนอตอ อายใุ บอนญุ าต หรือวันเจาหนาทีไ่ ปตรวจโรงงานแลว แตก รณี
กรณีมีหนังสือแจงใหมายื่นคําขอตออายุโดยระบุเอกสารท่ีตองนํามา
ใหตรวจความถกู ตอ งของเอกสารตามท่รี ะบุในหนังสือ

30 บทที่ 2 ข้ันตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏบิ ัตกิ ารกํากับดแู ลโรงงาน

กรมสงเสรมิ การปกครองทอ งถิน่ กระทรวงมหาดไทย

2.11.3.4 การพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสารการโอนการประกอบกิจการ
โรงงาน

1) ความครบถวนของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารที่ย่ืนวาครบถวน
หรือไม โดยจะตองแสดงเอกสารและหลักฐานประกอบ ไดแก

1.1) คําขอรับโอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 3/2) 3 ชุด
กรณีโรงงานในกรุงเทพมหานคร หรือ 4 ชุด กรณีโรงงานในสว นภมู ภิ าค)

1.2) สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลของผูโอนและหรือ
รบั โอน กรณีผโู อนและหรอื ผูรบั โอนเปน นิตบิ ุคคล 1 ชดุ

1.3) สําเนาบตั รประจําตัวประชาชนหรอื สาํ เนาหนังสือ / เอกสารรับรอง
ของคนตา งดาวของผรู บั โอน กรณผี รู ับโอนเปนบคุ คลธรรมดา 1 ชุด

1.4) หนังสือมอบอํานาจและสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผู
รับมอบ 1 ชดุ

1.5) สาํ เนาหลกั ฐานการเปลยี่ นกรรมสิทธิ์ของผปู ระกอบกจิ การโรงงาน
เชน 1 ชุดสัญญาเชา หรือเชาซ้ือ สัญญาซื้อขาย บันทึกการโอน เปนตน กรณีการโอนตามมาตรา 11
หรือมาตรา 21

1.6) สาํ เนาหลักฐานเปนผูมีสิทธิขอรับโอน เชน บัญชีทายาท หลักฐาน
1 ชุด การแสดงความเปนผูจัดการมรดก สําเนาคําส่ังศาลแสดงวาเปนผูมีสิทธิ ขอรับโอนใบอนุญาต
ประกอบกจิ การโรงงาน กรณีการโอนตามมาตรา 22

2) ความถูกตองของเอกสาร : ตรวจดูรายละเอียดของเอกสารวาถูกตอง
หรอื ไม

2.1 ตรวจดูคาํ ขอรบั โอนใบรับแจง การประกอบกจิ การโรงงาน หรือคาํ
ขอรับโอนใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน

ก. ช่ือและที่อยู ของผูรับโอนถูกตองตรงตามขอ 2.11.3.4 (1.2)-
(1.4) หรอื ไม

ข. การประกอบกิจการ ทะเบียนโรงงานตองตรงกับใบรับแจง
หรอื ใบอนุญาต ตามขอ 2.11.3.4 (1.6)

ค. กําลังแรงมาเครื่องจักร และ / หรือ จํานวนคนงาน รวมทั้ง
สถานท่ีตงั้ โรงงาน เพอื่ ตรวจสอบโรงงานวาเปนโรงงานเดิมท่ี
เคยไดรับแจงหรือรบั อนญุ าตไวหรือไม

บทที่ 2 ข้ันตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏิบัติการกํากบั ดูแลโรงงาน 31

มาตรฐานการกาํ กบั ดแู ลโรงงาน

ง. การลงชอ่ื ผปู ระกอบกิจการในกรณีที่เปนนิติบุคคล จะตองเปน
กรรมการผมู อี ํานาจลงนามที่เปน ไปตาม ที่ระบไุ วในหนังสอื
รบั รองการจดทะเบียนนติ ิบคุ คล หรือ ผูรับมอบอํานาจเทา นนั้

จ. ตอ งมี วัน เดอื น ป ท่ียืน่ คาํ ขอ
2.2 ตรวจดูหนังสือรบั รองการจดทะเบยี นนิติบคุ คลของผูโอนและหรือ
ผูรบั โอน กรณผี โู อนหรอื ผูรบั โอนเปนนิตบิ คุ คล

ก. วันคัดสําเนาหนงั สือ ตองไมเกนิ 6 เดอื น
ข. ผูมีอํานาจลงนามผกู พันนิตบิ คุ คลนนั้ วา ถูกตองหรอื ไม
2.3 ตรวจดูหนังสือมอบอํานาจ กรณีใหผอู ืน่ ทําการแทน
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูประกอบกิจการเปนนิติ

บุคคล ตองมีการลงนามที่เปนไปตามที่ระบุในหนังสือรับรอง
การจดทะเบียนนิติบุคคล
ข. การลงนามของผูร ับมอบอํานาจ
ค. การมอบอาํ นาจใหทําการแทนเรอ่ื งใด
ง. การติดอากรแสตมป กรณีมอบอํานาจใหทําการแทนเรื่องเดียว
ใหติดอากรแสตมป 10 บาท หากมอบอํานาจใหทําการแทน
ตง้ั แตส องเร่อื งข้ึนไป ใหต ดิ อากรแสตมป 30 บาท
จ. ตองมกี ารลงนามและช่ือของผูเปน พยาน
2.4 ตรวจดูสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาหนังสือ /
เอกสารรับ รองของคนตา งดา วของผูรับโอน กรณผี ูร ับโอนเปน บคุ คลธรรมดา และผรู ับมอบอํานาจ
- การหมดอายุ
2.5 ตรวจดบู ันทกึ การโอนและหรอื สําเนาหลกั ฐานอนื่
ก. ความครบถว นถูกตอ งของการกรอกรายละเอียด
ข. การลงชื่อผูโอนและผูรับโอนในกรณีท่ีเปนนิติบุคคล จะตอง
เปนกรรมการผูมีอํานาจลงนามท่ีเปนไปตามที่ระบุในหนังสือ
รับรองการจดทะเบยี นนิตบิ ุคคล หรอื ผรู บั มอบอาํ นาจเทานั้น
ค. ตองมี วนั เดอื น ป ในบนั ทึกการโอน

32 บทท่ี 2 ข้ันตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏบิ ัติการกํากับดแู ลโรงงาน

กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

หมายเหตุ หากเอกสารในขอ 2.11.3.4 (1.2)-(1.6) ยังไมครบถวนถูกตองให
เจาหนาที่อนุโลมรับคําขอไวกอนและใหจัดทําใบแจงเอกสารไมครบถวนถูกตองตามแบบ FAC-F10
จาํ นวน 2 ชดุ โดยระบุส่ิงที่ไมครบถวนถูกตองและกําหนดวันสงหลักฐานเพิ่มเติม แลวใหเจาหนาที่และ
ผูยื่นลงช่ือเพ่อื คืนใหผูย่ืน 1 ชดุ สว นอกี 1ชุด เก็บรวมในคําขอทรี่ ับไว

2.11.3.5 การพิจารณาความครบถวนถกู ตองของเอกสาร การออกใบแทนใบอนุญาต
1) ความครบถวนของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารที่ย่ืนวาครบถวน

หรือไม โดยจะตองแสดงเอกสารและหลักฐานประกอบ ไดแก
ก. คําขอทั่วไป 3 ชุด กรณีโรงงานในกรุงเทพมหานคร หรือ 4 ชุด
กรณีโรงงานในสว นภูมิภาค
ข. บนั ทกึ รับแจงเอกสารสญู หาย 1 ชดุ
ค. สาํ เนาหนังสือรบั รองการจดทะเบยี นนิติบุคคล กรณผี ูประกอบ
กิจการ 1 ชุด เปนนิตบิ ุคคล
ง. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาหนังสือ / เอกสาร
รับรองของคนตางดาวของผูประกอบกิจการ กรณีผูประกอบ
กจิ การเปน บุคคลธรรมดา 1 ชุด
จ. หนังสือมอบอํานาจ แ ละสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูรับ
มอบอํานาจ 1 ชดุ กรณีใหผูอ่นื ทําการแทน

2) ความถูกตองของเอกสาร : ตรวจดูรายละเอียดของเอกสารวาถูกตอง
หรอื ไม

2.1 ตรวจดูคําขอทัว่ ไป
ก. การกรอกขอความครบถวนถูกตอ ง
ข. การลงช่ือผูประกอบกิจการในกรณีที่เปนนิติบุคคล จะตอง
เปนกรรมการผูมีอํานาจลงนามท่ีเปนไปตามที่ระบุในหนังสือ
รับรองการจดทะเบียนนติ บิ ุคคลหรอื ผูร บั มอบอาํ นาจเทาน้นั

2.2 ตรวจดูบนั ทกึ รับแจง เอกสารสญู หาย
ก. ช่ือและท่ีอยู ของผูประกอบกิจการถูกตองตาม ขอ 2.11.3.5 (1)
หรอื ไม
ข. ตองระบุทะเบียนโรงงาน หากไมระบุทะเบียนโรงงานตอง
ระบุสถานท่ตี งั้ โรงงานอยา งชดั เจน

บทที่ 2 ข้ันตอนการดําเนินงานและวธิ กี ารปฏบิ ัตกิ ารกํากับดูแลโรงงาน 33

มาตรฐานการกํากบั ดแู ลโรงงาน

2.3 ตรวจดูหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล กรณีผูประกอบ
กิจการเปน นิตบิ คุ คล

ก. วันคดั สําเนาหนงั สือ ตองไมเกิน 6 เดือน
ข. ผูม ีอํานาจลงนามผกู พันนติ ิบุคคลน้นั วา ถูกตอ งหรอื ไม
2.4 ตรวจดหู นังสอื มอบอาํ นาจ
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูประกอบกิจการเปนนิติ

บุคคลตองมีการลงนามที่เปนไปตามท่ีระบุในหนังสือรับรอง
การจดทะเบยี นนิติบคุ คล
ข. การลงนามของผูรับมอบอาํ นาจ
ค. การมอบอาํ นาจใหทําการแทนเร่อื งใด
ง. การตดิ อากรแสตมป กรณีมอบอํานาจใหทําการแทนเร่ืองเดียว
ใหตดิ อากรแสตมป 10 บาท หากมอบอาํ นาจใหทําการแทน
ต้ังแตสองเรอ่ื งขึ้นไป ใหติดอากรแสตมป 30 บาท
จ. ตองมกี ารลงนามและชอ่ื ของผูเปนพยาน
2.5 ตรวจดูสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาหนังสือ/ เอกสาร
รบั รองของคนตา งดาวของผูประกอบกิจการและผรู บั มอบอาํ นาจ
- การหมดอายุ
3) ใหจ ัดทําแบบ FAC-F-10 จํานวน 2 ชุด โดยระบสุ ่งิ ที่ไมครบถวนถูกตอง
แลว ใหเ จาหนา ที่และผยู ่ืนลงชื่อเพอื่ คืนใหผูยื่น 1 ชดุ พรอมเอกสารท่นี ํามายืน่ สวนอีก 1 ชุด เกบ็ รวมในแฟม
2.11.3.6 การพจิ ารณาความครบถว นถกู ตอ งของเอกสาร การแจง การเลิกการประกอบกิจการ
1) ความครบถวนของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารที่ยื่นวาครบถวน
หรอื ไม โดยจะตอ งแสดงเอกสารและหลักฐานประกอบไดแก
ก. ใบแจง ทว่ั ไป หรือหนงั สือผูประกอบกิจการ 3 ชุด กรณีโรงงานใน
กรุงเทพมหานคร หรือ 4 ชุด กรณีโรงงานในสวนภูมภิ าค
ข. หนังสือมอบอํานาจ กรณีใหผูอื่นทําการแทน และสําเนาบัตร
ประจาํ ตัวประชาชนของผูย่ืนเร่ือง 1 ชดุ
หมายเหตุ ใบรับแจงการประกอบกิจการโรงาน (ร.ง.2) หรือใบอนุญาตประกอบ
กิจการโรงงาน (ร.ง. 4) ถาผูแจงเตรียมมาใหรับไว ถาไมเตรียมมายังไมถือวา
เอกสารไมครบถวน

34 บทท่ี 2 ข้นั ตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏบิ ัติการกาํ กับดแู ลโรงงาน

กรมสง เสรมิ การปกครองทองถ่ิน กระทรวงมหาดไทย

2) ความถูกตองของเอกสาร : ตรวจดูรายละเอียดของเอกสารวาถูกตอง
หรือไม

2.1 ตรวจดูใบแจงท่ัวไป หรอื หนงั สอื ผูประกอบกิจการ
ก. การกรอกขอความครบถวนถูกตอง ตองมีช่ือและท่ีอยู
การประกอบกิจการ ทะเบียนโรงงาน และสถานท่ตี ้ังโรงงาน
ข. การลงชื่อผูประกอบกิจการโรงงานกรณีท่ีเปนนิติบุคคล
จะตองเปนกรรมการผูมีอํานาจลงนามท่ีเปนไปตามท่ีระบุใน
หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลหรือ ผูรับมอบอํานาจ
เทา นั้น

2.2 ตรวจดูหนังสือมอบอาํ นาจ
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูประกอบกิจการเปนนิติ
บุคคลตองมีการลงนามท่ีเปนไปตามท่ีระบุในหนังสือรับรอง
การจดทะเบียนนติ ิบคุ คล
ข. การลงนามของผรู ับมอบอํานาจ
ค. การมอบอาํ นาจใหท ําการแทนเรอื่ งใด
ง. การตดิ อากรแสตมป กรณีมอบอํานาจใหทําการแทนเร่ืองเดียว
ใหติดอากรแสตมป 10 บาท หากมอบอํานาจใหทําการแทน
ตง้ั แตสองเรอ่ื งขนึ้ ไป ใหติดอากรแสตมป 30 บาท

2.3 ตรวจดูสําเนาบตั รประจาํ ตวั ประชาชนของผูอ ่ืน
3) การจัดทําใบแจง เอกสารไมค รบถวนถูกตองตามแบบ FAC-F-10

- การหมดอายุ
2.11.3.7 การพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสาร การเปลี่ยนแปลงสาระสําคัญ
ในใบอนุญาต

1) ความครบถวนของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารท่ีย่ืนวาครบถวน
หรือไมโ ดยจะตอ งแสดงเอกสารและหลกั ฐานประกอบ ไดแ ก

ก. ใบแจงทั่วไป หรือหนังสือผูประกอบกิจการ 3 ชุด กรณีโรงงานใน
กรุงเทพมหานคร หรือ 4 ชดุ กรณโี รงงานในสวนภูมิภาค

ข. สําเนาหนังสือรับรองจดทะเบียนนิติบุคคล กรณีผูประกอบกิจการ
เปน นติ ิบคุ คล 1 ชดุ

บทที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏบิ ัติการกํากับดูแลโรงงาน 35

มาตรฐานการกํากบั ดแู ลโรงงาน

กจิ การเปน นติ ิบุคคล ค. สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาหนังสือ / เอกสาร
รับรองของคนตางดาวของผูประกอบกิจการ กรณีผูประกอบ
กิจการเปนบคุ คลธรรมดา 1 ชดุ

ง. หนังสือมอบอํานาจ และสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูรับ
มอบอํานาจ กรณีใหผอู ่นื ทาํ การแทน 1 ชุด

2) ความถกู ตอ งของเอกสาร : ตรวจดรู ายละเอียดของเอกสารวาถูกตอ งหรือไม
2.1 ตรวจดูใบแจงท่ัวไป หรอื หนงั สอื ผูประกอบกจิ การ
ก. การกรอกขอความครบถวนถูกตอง ตองมีชื่อและที่อยู การ
ประกอบกจิ การ ทะเบียนโรงงาน และสถานที่ตั้งโรงงาน
ข. การลงช่ือผูประกอบกิจการโรงงานในกรณีท่ีเปนนิติบุคคล
จะตองเปนกรรมการผูมีอํานาจลงนามท่ีเปนไปตามที่ระบุใน
หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลหรือ ผูรับมอบอํานาจ
เทานนั้
2.2 ตรวจดูหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล กรณีผูประกอบ

ก. วนั คัดสาํ เนาหนงั สอื ตอ งไมเ กิน 6 เดอื น
ข. ผมู ีอาํ นาจลงนามผูกพันนติ บิ คุ คลน้นั วา ถูกตองหรอื ไม
2.3 ตรวจดูหนงั สือมอบอํานาจ กรณีใหผอู ืน่ ทาํ การแทน
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูประกอบกิจการเปนนิติ

บุคคลตองมีการลงนามที่เปนไปตามท่ีระบุในหนังสือรับรอง
การจดทะเบียนนติ บิ คุ คล
ข. การลงนามของผูร บั มอบอํานาจ
ค. การมอบอาํ นาจใหทาํ การแทนเรอื่ งใด
ง. การติดอากรแสตมป กรณีมอบอํานาจใหทําการแทนเรื่องเดียว
ใหติดอากรแสตมป 10 บาท หากมอบอํานาจใหทําการแทน
ตง้ั แตส องเร่อื งขนึ้ ไป ใหติดอากรแสตมป 30 บาท
จ. ตองมกี ารลงนามและชือ่ ของผเู ปน พยาน

36 บทท่ี 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏิบัติการกาํ กับดูแลโรงงาน

กรมสงเสริมการปกครองทอ งถ่นิ กระทรวงมหาดไทย

2.4 ตรวจดูสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาหนังสือ/ เอกสาร
รบั รองของคนตางดาวของผปู ระกอบกิจการและผูมอบอาํ นาจ

- การหมดอายุ
3) การจัดทําใบแจงเอกสารไมครบถวนถูกตอง ใหจัดทําแบบ FAC-F-10
จํานวน 2 ชุด โดยระบุสิ่งท่ีไมครบถวนถูกตอง แลวใหเจาหนาท่ีและผูย่ืนลงชื่อ เพ่ือคืนใหผูยื่น 1 ชุด
พรอ มเอกสารทีน่ าํ มายื่น สวนอีก 1 ชุด เก็บรวมในแฟม
2.11.3.8 การพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสาร การเปล่ียนชื่อ/ ที่อยูใน
ใบอนญุ าต
1) ความครบถวนของเอกสาร : ตรวจสอบจํานวนเอกสารที่ย่ืนวาครบถวน
หรือไม โดยจะตอ งแสดงเอกสารและหลกั ฐานประกอบไดแก

ก. ใบแจงทัว่ ไป หรอื หนงั สอื ผปู ระกอบกิจการ 1 ชุด กรณีโรงงานใน
กรุงเทพมหานคร หรือ 4 ชดุ กรณีโรงงานในสว นภมู ภิ าค

ข. สําเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล 1 ชุด กรณีผู
ประกอบกจิ การเปนนติ บิ ุคคล

ค. สําเนาบตั รประจาํ ตัวประชาชน หรือสาํ เนาหนังสือ/ เอกสารรบั รอง
ของคนตางดาวของผูประกอบกิจการ 1 ชุด กรณีผูประกอบกิจการ
เปนบุคคลธรรมดา

ง. หนังสือมอบอํานาจ และสําเนาบัตรประจําตัวประชาชนของผูรับ
มอบอาํ นาจ กรณีใหผอู น่ื ทาํ การแทน 1 ชดุ

จ. ใบแจงการประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.2) หรือใบอนุญาตประกอบ
กจิ การโรงงาน (ร.ง.4)

2) ความถกู ตองของเอกสาร : ตรวจดรู ายละเอยี ดของเอกสารวา ถูกตองหรือไม
2.1 ตรวจดูใบแจงท่ัวไป หรือหนังสือผูประกอบกจิ การ
2.2 ตรวจดูหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล กรณีผูประกอบ
กิจการเปนนิติบคุ คล
2.3 ตรวจดหู นงั สือมอบอํานาจ กรณีใหผอู ่ืนทําการแทน
ก. การลงนามของผูมอบอํานาจ กรณีผูประกอบกิจการเปน
นิติบุคคลตองมีการลงนามที่เปนไปตามท่ีระบุในหนังสือ
รบั รองการจดทะเบยี นนิติบุคคล

บทท่ี 2 ข้นั ตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏบิ ัติการกาํ กับดแู ลโรงงาน 37

มาตรฐานการกาํ กับดูแลโรงงาน

ข. การลงนามของผรู บั มอบอาํ นาจ
ค. การมอบอาํ นาจใหทําการแทนเร่ืองใด
ง. การตดิ อากรแสตมป กรณีมอบอํานาจใหทําการแทนเร่ืองเดียว

ใหติดอากรแสตมป 10 บาท หากมอบอํานาจใหทําการแทน
ต้ังแตส องเร่อื งขน้ึ ไป ใหต ิดอากรแสตมป 30 บาท
จ. ตอ งมกี ารลงนามและช่ือของผูเปน พยาน
2.4 ตรวจดูสําเนาบัตรประจําตัวประชาชน หรือสําเนาหนังสือ /
เอกสารรบั รองของคนตา งดาวของผูประกอบกิจการและผรู บั มอบอาํ นาจ
- การหมดอายุ
3) การจัดทําใบแจงเอกสารไมครบถวนถูกตอง ใหจัดทําแบบ FAC-F-10
จํานวน 2 ชุด โดยระบุส่ิงที่ไมครบถวนถูกตองแลว ใหเจาหนาที่และผูย่ืนลงช่ือเพื่อคืนใหผูยื่น 1 ชุด
พรอ มเอกสารท่ีนาํ มายนื่ สว นอีก 1 ชดุ เก็บรวมในแฟม

2.12 การพจิ ารณาคาํ ขออนุญาตประกอบกจิ การ/ ขยายโรงงาน FAC-WI-07 (01)

2.12.1 ข้นั ตอนการดาํ เนินการท่เี ก่ียวของ
ขนั้ ตอนการดําเนินการเกย่ี วกบั โรงงานจําพวกที่ 3 แบบ FAC-PM-03

2.12.2 เอกสารท่ีใช
2.12.2.1 แบบรายงานผลการตรวจและพิจารณาการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการ

โรงงาน แบบ FAC-F-12
2.12.2.2 แบบรายงานผลการตรวจและพิจารณาการขอรับใบอนุญาตขยายโรงงาน

แบบ FAC-F-13
2.12.2.3 ใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน (ร.ง. 4)
2.12.2.4 หนงั สอื แจง การอนุญาต แบบ FAC-F-15
2.12.2.5 คําสง่ั ไมอ อกใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน แบบ FAC-F-16
2.12.2.6 คําสงั่ ไมอ อกใบอนุญาตขยายโรงงานแบบ FAC-F-17
2.12.2.7 หนงั สือเชญิ พบ/ขอรายละเอียด แบบ FAC-F-18
2.12.2.8 ใบนําเสนองาน แบบ FAC-F-11

2.12.3 วธิ ีปฏบิ ัติงาน
เม่อื ไดร ับเรือ่ งราวการขออนุญาตแลว ใหเ จา หนาที่ดําเนนิ การดงั ตอ ไปน้ี

38 บทที่ 2 ข้นั ตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏิบัตกิ ารกํากับดแู ลโรงงาน

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

2.12.3.1 เตรียมเอกสารแบบฟอรม การตรวจ
- กรณีขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ใหใชแบบรายงานผลการตรวจ

และพิจารณา การขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานตามแบบ FAC-F-12
- กรณีขออนุญาตขยายโรงงาน ใหใชแบบรายงานผลการตรวจและ

พิจารณาการขอรบั ใบอนุญาตขยายโรงงาน ตามแบบ FAC-F-13
- กรณีอาคารโรงงานมีพน้ื ท่ีไมเกนิ 70 ตารางเมตร และไมมแี ผนผังแสดง

การตดิ ตงั้ เครือ่ งจักรใหจ ัดเตรยี มเอกสารเพ่ือเขยี นแผนผังดวย
2.12.3.2 ตรวจโรงงาน
(1) เจาหนาที่จะตองเตรียมตัวไปตรวจสอบโรงงานใหเปนไปตามที่ไดนัด

หมายกับผูขออนุญาตและตรงตอเวลา หากไมสามารถไปไดตามวันเวลาท่ีนัดหมาย จะตองแจงให
ผบู งั คับบญั ชาทราบเพอ่ื จะไดมอบหมายใหเจาหนา ทีผ่ ูอน่ื ทาํ การแทน

(2) กรอกรายละเอียดในแบบฟอรมรายงานผลการตรวจฯ ใหครบถวน
ทุกหวั ขอ

(3) กรณีท่มี ีอาคารโรงงานอยูแ ลว และพื้นท่ไี มเกนิ 70 ตารางเมตร ใหเขียน
แผนผังแสดงการติดตั้งเครอ่ื งจกั ร

(4) ตรวจความครบถวนและความถูกตองของเอกสาร ถาเอกสารท่ียังไมได
แนบในคราวย่ืนคําขอ หรือยังไมถูกตอง จะตองขอใหครบถวนและแกไขใหถูกตองในวันท่ีไปตรวจ
โรงงาน ถาผูขออนุญาตไมสามารถจัดเตรียมใหได ใหทําหนังสือขอเอกสารเพ่ิมเติมพรอมคราวเดียวกัน
กับขอรายละเอยี ดอื่น ๆ ตอไป (ถา ม)ี

2.12.3.3 พิจารณาความถูกตองในการขออนุญาตประกอบกจิ การ/ ขยายโรงงาน ดังนี้
1) ทําเลที่ตง้ั โรงงาน
1.1 ตองไมขัดกฎกระทรวงฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2535) ขอ 2 ขอ 3 และขอ 4
ออกตามความใน พระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535
1.2 ตองไมขัดมติ ครม. นโยบายของหนวยงานราชการตาง ๆ และ
กฎหมายอน่ื ทเ่ี กี่ยวขอ ง
2) อาคารโรงงาน
ตองมีลักษณะใหเปนไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ขอ 5

ออกตามความใน พระราชบัญญตั โิ รงงาน พ.ศ. 2535 และนโยบายท่เี กีย่ วขอ ง

บทท่ี 2 ขน้ั ตอนการดําเนินงานและวิธกี ารปฏิบัติการกาํ กับดูแลโรงงาน 39

มาตรฐานการกาํ กบั ดแู ลโรงงาน

3) เครื่องจักร
ตองมีลักษณะใหเปนไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ขอ 6

และขอ 7 ออกตามความใน พระราชบญั ญตั ิ โรงงาน พ.ศ. 2535 และกฎหมายอืน่ ทีเ่ กี่ยวของ
4) ปญหาสง่ิ แวดลอ ม
ตองมีมาตรการปองกันและระบบบําบัดมลพิษทางน้ํา และอากาศ และ

กากของเสยี แลวแตกรณี
5) ประเภทหรอื ชนดิ ของกิจการ
ถูกตองตามบัญชีทายกฎกระทรวงและเปนไปตามนโยบายกระทรวง

อตุ สาหกรรม
6) นโยบายหรือระเบียบอื่น ๆ เก่ียวกับเรื่องกรณีพิเศษนอกเหนือจากที่

กาํ หนดดังกลา ว
2.12.3.4 จัดทาํ เอกสาร
1) กรณีอนุญาตจัดทําใบ ร.ง. 4 โดยพิมพในใบ ร.ง. 4 ลําดับท่ี 1,2 และ 10

กรณีอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หรือลําดับที่ 4, 5 กรณีอนุญาตขยายโรงงาน และจัดทําหนังสือแจง
อนุญาตตามแบบ FAC-F-15

2) กรณีไมอนุญาต จัดทําคําสั่งไมออกใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
ตามแบบ FAC-F-16 หรือ คาํ สั่งไมออกใบอนญุ าตขยายโรงงานตามแบบ FAC-F-17

3) กรณีเชิญพบหรือขอรายละเอียดเพิ่มเติม จัดทําหนังสือเชิญพบ/ขอ
รายละเอียดตามแบบ FAC-F-18

2.12.3.5 เตรยี มเอกสารนาํ เสนอ
1) ตรวจสอบความถกู ตองของเอกสารทสี่ ง่ั พมิ พ
2) จดั แยกเอกสารสว นท่ีคืนผูข อ และสว นที่จดั เกบ็ ที่หนวยงานใหช ดั เจน
3) กรอกรายละเอียดในใบนาํ เสนองานตามแบบ FAC-F-11 ใหครบถว น

2.13 วิธีปฏบิ ัตงิ านการเก็บคา ธรรมเนยี มรายป FAC-WI-08 (02)

2.13.1 ขน้ั ตอนการดําเนินงานทเ่ี กย่ี วของ
2.13.1.1 ขัน้ ตอนการดําเนินการเก่ยี วกบั โรงงานจําพวกท่ี 2
2.13.1.2 ขน้ั ตอนการดาํ เนินการเกยี่ วกับโรงงานจําพวกท่ี 3
2.13.1.3 ขั้นตอนการดําเนนิ การรบั ชําระคาธรรมเนียมรายปของโรงงานที่ครบกําหนด

ชําระ

40 บทที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏบิ ัติการกาํ กับดแู ลโรงงาน

กรมสงเสรมิ การปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย

2.13.2 เอกสารทใ่ี ช
2.13.2.1 ใบแจงการเสยี คาธรรมเนยี ม
2.13.2.2 ใบรับแจง การประกอบกจิ การโรงงานจําพวกท่ี 2
2.13.2.3 ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
2.13.2.4 หนังสือแจงใหม าชาํ ระคา ธรรมเนยี มรายป
2.13.2.5 หนังสอื แจง เตอื นใหมาชําระคา ธรรมเนยี มรายป (ครั้งที่ 1)
2.13.2.6 หนงั สือแจง เตอื นใหมาชําระคา ธรรมเนยี มรายป (ครง้ั ที่ 2)

2.13.3 วธิ ปี ฏิบตั ิงาน
2.13.3.1 การเก็บคาธรรมเนียมรายป ในคราวแจง เรม่ิ ประกอบกจิ การโรงงาน
1) ผูแจงการประกอบกิจการโรงงาน เปนผูกรอกใบแจงการเสียคาธรรมเนียม
ทอ นบน พรอมลงชื่อกํากบั
2) พนักงานเจาหนาท่ีผูไดรับการแตงตั้ง ใหเปนผูรับแจงการประกอบ
กิจการโรงงานเปนผูกรอกใบแจงการเสียคาธรรมเนียมทอนลางพรอม
ลงชือ่ กํากบั
3) เจาหนาท่ีคลังรับเงินคาธรรมเนียมตามที่ระบุไวในใบแจงการเสีย
คาธรรมเนียม ออกใบเสร็จใหผูแจง พรอมเก็บสําเนาใบเสร็จและใบ
แจงการเสียคาธรรมเนียมไวเปน หลักฐาน
4) พนักงานเจาหนาที่ตามขอ 3.1.2 เปนผูบันทึกรายละเอียดการชําระ
คาธรรมเนียมรายปใน ร.ง.2 กรณีแจงประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี
2 หรอื ร.ง. 4 ลําดบั ท่ี 9 กรณีแจง ประกอบกิจการโรงงานจาํ พวกท่ี 3
2.13.3.2 การเกบ็ คาธรรมเนยี มรายปข องโรงงานทีค่ รบกําหนดชาํ ระ
1) ผูประกอบกิจการโรงงานเปนผูชําระคาธรรมเนียมรายป โดยยื่น
หลักฐานใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน หรือใบแจงการประกอบ
กิจการโรงงานจําพวกท่ี 2 พรอมหนังสือเตือนใหมาชําระคาธรรมเนียม
รายปต ามแบบ FAC-F-24, FAC-F-25 หรอื FAC-F-26
2) เจาหนาท่ีคลังดําเนินการเชนเดียวกับขอ 3.1.3 และบันทึกรายละเอียด
การชําระคาธรรมเนียมรายป ในใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
ลําดับที่ 9 หรอื ใบแจง การประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 2

บทท่ี 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏิบัติการกํากบั ดูแลโรงงาน 41

มาตรฐานการกํากับดูแลโรงงาน

2.14 วธิ ปี ฏบิ ตั งิ านการออกใบรับแจง การประกอบกิจการโรงงาน FAC-MI-09 (02)

2.14.1 ข้ันตอนการดําเนินงานท่ีเกย่ี วของ
1) ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การเกย่ี วกบั โรงงานจาํ พวกท่ี 2
2) ข้ันตอนการดําเนนิ การเกยี่ วกับโรงงานจําพวกที่ 3

2.14.2 เอกสารท่ีใช
1) ใบแจง การประกอบกจิ การโรงงานจาํ พวกที่ 2
2) ใบแจงการประกอบกจิ การโรงงานจําพวกที่ 3
3) ใบรับแจงการประกอบกิจการโรงงานจาํ พวกท่ี 2
4) ใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงานจําพวกท่ี 3

2.14.3 วธิ ปี ฏบิ ัตงิ าน
1) การออกใบรบั แจงการประกอบกจิ การโรงงานจาํ พวกที่ 2
1.1 จัดพิมพแบบ ร.ง.2 ฉบับผูประกอบการ ฉบับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน

และฉบับกรมโรงงานอุตสาหกรรม สําหรับกรุงเทพมหานคร หรือฉบับผูประกอบการ ฉบับองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น ฉบับสํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด และฉบับกรมโรงงานอุตสาหกรรม สําหรับ
องคกรปกครองสว นทอ งถิ่นอน่ื ใหครบถวน

1.2 พนกั งานเจาหนาทีท่ ีไ่ ดรับการแตงตั้งเปนผลู งช่ือในแบบ ร.ง. 2 ทกุ ฉบบั
1.3 ออกเลขท่ีใบรับแจง
2) การบนั ทึกเพิ่มเตมิ การแจง สาํ หรบั โรงงานจําพวกท่ี 2
เมื่อมีการแจงโอน แจงเปลี่ยนแปลงสาระในใบแจงการประกอบกิจการโรงงาน
จาํ พวกท่ี 2 (ร.ง.2) ใหบันทกึ การเปลี่ยนแปลงดงั กลา วใน ร.ง.2 หนา 2 พรอมเจาหนา ท่ีลงชือ่ กาํ กบั
3) การบันทึกใบรบั แจง การประกอบกจิ การสําหรบั โรงงานจําพวกที่ 3
3.1 กรณีแจงประกอบกิจการโรงงาน จัดพิมพแบบ ร.ง. 4 ลําดับท่ี 3 โดยระบุ
วนั ท่ี แจง และวนั เร่ิมประกอบกจิ การตามท่รี ะบุในใบแจงการประกอบกิจการโรงงานจาํ พวกที่ 3 ท้ังน้ีวัน
แจง ประกอบกจิ การตองกอ นวันเร่ิมประกอบกิจการไมนอยกวา 15 วัน สวนกําหนดส้ินอายุใบอนุญาตให
ระบุวันที่ 31 ธันวาคม ของปท่ี 5 นับแตวันที่เริ่มประกอบกิจการ เชน ถาเริ่มประกอบกิจการในป
พ.ศ. 2546 ไมวาจะเริ่มวันใดก็ตาม ใบอนุญาตจะสิ้นอายุวันท่ี 31 ธันวาคม 2550 และพนักงานเจาหนาที่
ทีไ่ ดร ับการแตง ตงั้ ลงช่ือกํากับการแจง ในใบ ร.ง.4 ลาํ ดับที่ 3

42 บทที่ 2 ข้นั ตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏิบัติการกาํ กับดแู ลโรงงาน

กรมสง เสรมิ การปกครองทอ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย

3.2 กรณีแจงประกอบกิจการโรงงานสวนขยาย จัดพิมพใบ ร.ง.4 ลําดับที่ 6 ระบุ
วันที่แจงและวันเริ่มประกอบกิจการตามที่ระบุในใบแจงฯ ท้ังนี้ วันแจงประกอบกิจการตองกอนวันเร่ิม
ประกอบกิจการไมนอ ยกวา 15 วนั และเจา หนาทท่ี ี่ไดรับการแตงต้งั ลงชอ่ื กาํ กบั การแจง ใน ร.ง. 4 ลําดบั ท่ี 4

หมายเหตุ กรณีการแจงเร่ิมประกอบกิจการเพียงบางสวนใหบันทึกใน ร.ง. 4 ลําดับท่ี
7 วา “แจงเร่ิมประกอบกิจการ/ แจงเร่ิมประกอบกิจการสวนขยายคร้ังท่ี....... โดยใชเครื่องจักร..... แรงมา
เครื่องจกั รทเ่ี หลอื ..แรงมา ขอสงวนสทิ ธ์”ิ

2.15 วิธปี ฏิบัตงิ านการพจิ ารณาตอ อายใุ บอนุญาต FAC-MI-10 (02)

2.15.1 ขนั้ ตอนการดําเนินการทเ่ี กยี่ วขอ ง
ขั้นตอนการดําเนนิ การเกย่ี วกบั โรงงานจาํ พวกที่ 3 แบบ FAC-PM-03)

2.15.2 เอกสารท่ใี ช
2.15.2.1 คําขอตออายุใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 3/1)
2.15.2.2 ใบอนญุ าตประกอบกจิ การโรงงาน (ร.ง. 4)
2.15.2.3 ใบนําเสนองานามแบบ FAC-F-11
2.15.2.4 แบบรายงานผลการตรวจโรงงานการขอตออายุใบอนญุ าตตามแบบ FAC-F-14
2.15.2.5 หนังสอื คาํ สั่งใหปรบั ปรงุ แกไขตออายใุ บอนญุ าต แบบ FAC-F-19
2.15.2.6 หนังสือคําสั่งไมต อ อายุใบอนุญาต แบบ FAC-F-20

2.15.3 วธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน
2.15.3.1 เมื่อผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ยื่นคําขอตออายุกอนวันสิ้นอายุ

ใบอนุญาตใหเรียกเก็บคาธรรมเนียมการตออายุ และพิจารณาความครบถวนถูกตองของเอกสาร ตามวิธี
ปฏิบัติงานการตรวจสอบความครบถวนถูกตองของเอกสารสําหรับโรงงานจําพวกที่ 3ตามแบบ FAC-WI-06
และเรียกเก็บคาธรรมเนียมการตออายุ ตามอัตราคาธรรมเนียมท่ีกําหนดในกฎกระทรวง ฉบับท่ี 7
(พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 แตถาผูรับใบอนุญาตยื่นคําขอตออายุ
หลังวันที่ใบอนุญาตสิ้นอายุ แตภายใน 60 วัน นับแตวันท่ีใบอนุญาตส้ินอายุ ใหดําเนินการเชนเดียวกัน
แตเ รยี กเกบ็ คาปรับเพ่มิ อกี รอยละ 20 ของคา ธรรมเนยี มการตอ อายุ

2.15.3.2 ตรวจสอบและจัดทําแบบรายงานผลการตรวจโรงงาน ขอตออายุใบอนุญาต
ตามแบบ FAC-F-14 หากโรงงานและเคร่ืองจักรมีลักษณะถูกตองตามมาตรา 8 กฎกระทรวงท่ีออกตาม
ความในมาตรา 8 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมที่ออกตามกฎกระทรวงดังกลาวและออกตามความใน
มาตรา 32 และเงื่อนไขท่ีกําหนดไวในใบอนุญาตใหตออายุใหโดยจัดพิมพเอกสารการตออายุใน (ร.ง. 4)
ลาํ ดบั ที่ 3 และเจา หนาทีพ่ รอ มผูอนุญาตลงชือ่ กํากับ

บทท่ี 2 ขัน้ ตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏบิ ัตกิ ารกาํ กับดูแลโรงงาน 43

มาตรฐานการกาํ กบั ดูแลโรงงาน

หากตรวจสอบแลวโรงงานยังมีลักษณะไมถูกตองใหส่ังปรับปรุงแกไข ดังตัวอยาง
หนังสอื คาํ สงั่ ใหปรบั ปรงุ แกไ ขตามแบบ FAC-F-29

เม่ือครบกําหนดการสั่งปรับปรุงแกไขหากตรวจสอบพบวามีการปรับปรุงแกไขแลว
ใหดําเนินการตออายุให หากไมมีการแกไขใหมีหนังสือตอบไมอนุญาตดังตัวอยางหนังสือตอบไม
อนญุ าตตออายตุ ามแบบ FAC-F-20

การนําเสนองานใชแบบใบนําเสนองานตามแบบ FAC-F-11 โดยกรอกใบนําเสนอ
ขอ มลู ในงานใหครบถว น

2.16 วิธปี ฏิบตั ิงานการพจิ ารณาขอโอนใบอนญุ าต FAC-MI-11 (00)

2.16.1 ขน้ั ตอนการดําเนินการท่ีเก่ยี วของ
ขั้นตอนการดาํ เนินการเกยี่ วกับโรงงานจําพวกท่ี 3ตามแบบ FAC-PM-03

2.16.2 เอกสารทีใ่ ช
2.16.2.1 คาํ ขอรับโอนใบอนญุ าตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 3/2)
2.16.2.2 ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4)

2.16.3 วธิ ีปฏบิ ตั งิ าน
2.16.3.1 เมอ่ื ผูข อย่ืนคาํ ขอรบั ใบอนุญาตใหตรวจสอบความครบถวนถูกตองของคําขอ

และเอกสารตามวธิ ีปฏบิ ัตงิ านการตรวจสอบความครบถว นถกู ตองของเอกสารสําหรับโรงงานจําพวกที่ 3
แบบ FAC-WI-06

2.16.3.2 ใหพิจารณาวามีการยื่นคําขอโอนทันกําหนดหรือไม โดยกําหนดระยะเวลา
ในการยื่นคําขอรับโอนใบอนุญาตมี 2 กรณี คือ

1) กรณีการโอนการประกอบกิจการโรงงาน ใหเชา หรือใหเชาซ้ือโรงงาน
หรือขายโรงงาน ตามมาตรา 21 ผูรับโอนการประกอบกิจการโรงงาน ผูเชา หรือผูเชาซ้ือโรงงาน หรือ
ผูซ้ือโรงงาน ตองขอรับโอนใบอนุญาตภายใน 7 วัน จากวันที่มีการโอนการประกอบกิจการ ใหเชา หรือ
ใหเ ชาซือ้ โรงงาน หรือขายโรงงาน

2) กรณีการโอนเนอ่ื งจากผูรบั ใบอนุญาตตาย ใหทายาทหรือผูจัดการมรดก
ยื่นคําขอรับโอนใบอนุญาตภายใน 90 วันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตเดิมตาย หรือภายในระยะเวลาท่ี
ไดร ับอนุญาตใหขยายเวลาตามความจําเปน

44 บทที่ 2 ขั้นตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏบิ ัตกิ ารกาํ กบั ดูแลโรงงาน

กรมสง เสริมการปกครองทอ งถิ่น กระทรวงมหาดไทย

2.16.3.3 เมื่อพิจารณาคําขอและเอกสารครบถวน ผูย่ืนคําขอรับโอนใบอนุญาตเปนผูมี
สิทธิในการยื่นและย่ืนคําขอภายในระยะเวลาท่ีกําหนดใหอนุญาตโอนการประกอบกิจการโดยพิมพ
ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง. 4) ลําดับท่ี 8 และใหผูไดรับการมอบหมายเปนผูลงนามอนุญาต
พรอ มพิมพใบ ร.ง. 4 ลาํ ดบั ที่ 7 ดวยขอ ความวา “โอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานจาก.....................
เปน ...............ตามคํารอ งลงวนั ที่..................................” และใหเจา หนาทีล่ งชอ่ื กํากับ

2.16.3.4 เมื่อดําเนินการเสร็จสิ้นแลวใหสงคืนใบอนุญาตแกผูขอโดยไมตองเรียกเก็บ
คา ธรรมเนียม

2.17 วิธีปฏบิ ตั ิงานการพิจารณาออกใบแทน FAC-MI-09 (02)

2.17.1 ขนั้ ตอนการดําเนินการทีเ่ กี่ยวของ
ขนั้ ตอนการดาํ เนนิ การเกีย่ วกับโรงงานจาํ พวกท่ี 3

2.17.2 เอกสารทใ่ี ช
2.1 ใบรับแจง การประกอบกิจการโรงงานจาํ พวกท่ี 2 (ร.ง.2)
2.2 ใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงงาน (ร.ง.4)

2.17.3 วิธีปฏบิ ัตงิ าน
2.17.3.1 การออกใบแทนใบอนุญาตกรณีใบอนุญาตสูญหายทั้งใบ
1) ใหจัดทําใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (ร.ง.4) เฉพาะฉบับ

ผปู ระกอบกจิ การโดย
1.1 พิมพขอความใน ร.ง.4 ฉบับผูประกอบกิจการ เหมือนขอความใน

ร.ง.4 ฉบับทเ่ี ก็บที่ อปท.ยกเวน ชอ ง ท่.ี ............/........................, วันท่.ี .........เดอื น........................พ.ศ. และ
ลงช่อื ……………. ผูอนุญาตในลาํ ดบั ท่ี 1 ไมตองพมิ พข อความ

1.2 ชองการลงชื่อ ของเจาหนาท่ีและหรือผูอนุญาตใน ร.ง.4 ลําดับท่ี 2-10
ใหพิมพช่ือและตําแหนง (ถามี) ของผูท ล่ี งนามไวเดิม เชน

- การลงชอื่ เจาหนาท่ี ในลําดับที่ 2
ลงช่ือ นายสมบตั ิ ใหมเ อีย่ ม เจา หนา ที่
(หัวหนางาน 2.5)

- การลงชือ่ ในลําดับที่ 3
ลงชอ่ื นายสมบัติ ใหมเอ่ยี ม เจาหนาท่ี
(หัวหนางาน 2.5)

บทที่ 2 ข้นั ตอนการดําเนินงานและวธิ ีการปฏบิ ัตกิ ารกํากับดูแลโรงงาน 45

มาตรฐานการกาํ กบั ดแู ลโรงงาน

เจา หนาท่ี ผูอ นญุ าต
นายสมบัติ ใหมเ อีย่ ม นายสเุ ทพ บูรณวิทยานนท
วิศวกรตรวจโรงงาน หวั หนาฝายควบคมุ โรงงาน 2
กองควบคมุ โรงงาน
ผไู ดรบั มอบหมายใหออกใบอนุญาต

- การลงช่ือในลาํ ดบั ท่ี 7

ครัง้ ที่ สาระสาํ คัญของการเปลีย่ นแปลงเกยี่ วกับโรงงาน เจาหนา ที่

1. (พมิ พข อความเชนเดียวกับที่ระบุใน ร.ง.4 ฉบบั ท่ีเก็บท่ี อปท.) นายสมบัติ ใหมเอีย่ ม

หวั หนา งาน 2.5

- การลงชอ่ื ในลาํ ดับที่ 9

เจาหนาท่ี
นายสมจติ ร กลมปลืม้
วศิ วกรตรวจโรงงาน
นางอาภรณ ชมุ ชื่น
เจา หนาท่ีธุรการ
นางนฤมล มูลพรอ ม

2) ใหพิมพใบ ร.ง.4 ฉบับ ท่ีเก็บที่ อปท. และฉบับผูประกอบกิจการ
ลําดับที่ 7 เพิม่ ขอ ความวา

ครั้งท่ี สาระสาํ คัญของการเปล่ียนแปลงเกี่ยวกบั โรงงาน เจาหนาที่
..... ไดอ อกใบแทนใบอนุญาตใหตามคาํ รอ งลงวันท.ี่ .....

เดือน........พ.ศ..........ซึ่งเดิมผอู นญุ าต
คอื ................................... อนุญาตเมอื่ วันท่.ี ...........
เดือน..............................พ.ศ..........................

46 บทที่ 2 ข้นั ตอนการดําเนินงานและวิธีการปฏบิ ัตกิ ารกํากบั ดูแลโรงงาน


Click to View FlipBook Version