The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supavadee.tor12, 2019-01-05 11:53:46

ใหม่

ใหม่



คำนำ

คูมือการการใชหนังสืออิเล็กทรอนิกส เร่ือง การสงเสริมการ
ลงทุน ดวยโปรแกรม Any Flip เลมนี้ จัดทําข้ึน เพ่ือใชประกอบการ
เรียนการสอน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่ง
เปนส่ือนวัตกรรมท่ีสมบูรณ ครบถวนท้ังเร่ืองเน้ือหาสาระ เปนข้ันตอน
เขาใจงา ย

ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสืออิเล็กทรอนิกส เรื่อง การ
สงเสริมการลงทุน ดวยโปรแกรม Any Flip จะเปนประโยชนตอการ
เรียนการสอน ตลอดจนนําไปสูการสรางสรรคผลงานและสามารถ
นาํ ไปใชในชีวติ ประจาํ วนั ไดต อ ไป


สารบญั

เรือ่ ง หนา

ความหมาย Board of investment (BOI) 1
สทิ ธิประโยชนท่ีเก่ียวของกับงาน BOI 2
สิทธิประโยชนใ นการนาํ เขาวัตถุดบิ และวสั ดจุ ําเปน 3
รายชอ่ื วตั ถดุ บิ ทข่ี ออนมุ ัติ 4-5
ความหมายของสว นสญู เสยี 6-7
วธิ ีปฏิบตั ิเกย่ี วกบั สว นสญู เสียของ BOI 8-9
ความหมาย BOI SCRAP 10-11
วธิ กี ารปฏบิ ัติทถ่ี กู ตองสาํ หรับสวนสูญเสยี ประเภท BOI 12
ความหมาย NON BOI SCRAP 13
ขน้ั ตอนการเดินพิธีการศุลกากร 14-15

ขอควรรใู นการปฏบิ ตั พิ ิธีการศลุ กาการ 16-24

บัญชีราคาสนิ คา (Commercial invoice) 25-26


สารบญั

เรอื่ ง หนา

บญั ชรี าคาสนิ คา (Commercial invoice) 25-26
บัญชกี าํ กบั หีบหอ สินคา PACKING LIST 27
การขนสงทางเรอื 28
สวนประกอบของ Bill of lading (B/L) 29-32
สว นประกอบของ AIR Waybill (AIR) 34-35
โครงสรางแฟม ขอ มูล BIRTIMP.XLS 36
การใชงานระบบ IC online System (ICOS) 37
ความตองการของระบบ IC online System (ICOS) 38
การขอ User Name และ Password 39-40
การเขา ใชง าน 41

เมนสู วนกลาง 42-43

ง หนา

สารบัญ 44
45
เรอ่ื ง 46-47
48-73
เมนูเช็คยอ ยขอความ
เมนยู อยขอมลู บรษิ ัท
เมนูยอยรับขอ มูล MML
เมนสู ว นสัง่ ปลอ ยวตั ถดุ บิ

1

Board of investment (BOI)

สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ( สกท.) : (Board of
Investment) (BOI) คือ หนวยงานที่ชวยในการสงเสริมการลงทุน
โดยใหสิทธิประโยชนทางดานภาษีอากร เชน การยกเวน/ลดหยอน
ภาษีเงนิ ไดนิติบุคคล การยกเวน/ลดหยอ นอากรขาเขาเคร่ืองจักร และ
วัตถุดิบ/วัสดุจําเปน และสิทธิประโยชนท่ีไมเก่ียวของกับภาษีอากร
เชน การบริการอํานวยความสะดวกในการนําชางฝมือ และ
ผูชํานาญการชาวตางชาติเขามาทํางานในกิจการท่ีไดรับการสงเสริม
รวมท้ังการใหถือกรรมสิทธ์ิท่ีดินแกนักลงทุนในการดําเนินการตาม
โครงการ

2

สทิ ธปิ ระโยชนท์ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกับงาน BOI

 สิทธิประโยชนท ่เี กยี่ วของกบั งาน BOI สามารถแบง ได 2 ชนิดคอื
1. TAX มีระยะเวลาสิ้นสุดในการใชสทิ ธิ เชน
> มาตรา 28 การยกเวนหรือลดหยอนอากร
ขาเขา สําหรับเคร่ืองจกั ร
> มาตรา 36(1) การยกเวนอากรขาเขา

สาํ หรับวตั ถดุ ิบท่ีนาํ เขามาใชใ นการผลติ เพ่อื การสงออก
> มาตรา 35(1) ไดรับลดหยอนภาษีเงินไดนิติบุคคล
สําหรับกาํ ไรสุทธิทีไ่ ดจ ากการลงทุน
2. NON TAX ไมมรี ะยะเวลาส้ินสดุ ในการใชสิทธิ เชน
> มาตรา 25 และ 26 ชางฝมือหรือผูชํานาญการซึ่งเปนคนตางดาว
เขา มาปฏบิ ัตงิ านที่บรษิ ทั ฯ
> มาตรา 27 สิทธิในเร่ืองของการใชท ี่ดินเพื่อประกอบกิจการท่ีไดรับ
การสงเสรมิ

3

สิทธิประโยชนใ์ นการนำเขา้ วตั ถดุ บิ และวัสดุจำเปน็

 มาตรา 30 การลดหยอนอากรขาเขาสําหรับ
วัตถุดิบและวัสดุจําเปน ที่นํามาผลิตเปน
ผลิตภัณฑ เพ่อื จําหนายในประเทศ
 มาตรา 36(1) การยกเวน
อากรขาเขาสําหรับวัตถุดิบและวัสดุจําเปนที่นํามา
ผลิตเปนผลิตภัณฑ เพื่อการ
สงออก
 มาตรา 36(2) ใหไดรับ
ยกเวนอากรขาเขาสําหรับของท่ีผูไดรับการ
สงเสรมิ นาํ กลบั เขา มาเพอ่ื สง กลบั ออกไป

4

รายช่ือวัตถดุ ิบทข่ี ออนุมัติ

รายช่ือวัตถุดิบที่ขออนุมัติ (ชอื่ หลัก)
1.วตั ถดุ บิ 1 รายการมีช่อื หลักช่ือเดยี ว
2. เปนชื่อ Common Name
3. หนวยการนาํ เขาของช่อื หลกั ใหเปนไป

ตามรหัสสถิติของกรมศลุ กากร
รายช่ือวัตถุดิบท่ีขออนุมตั ิ (ช่ือรอง)
1.ชื่อรอง ตองเปน สินคา ชนดิ เดียวกันกับชอ่ื หลัก อาจผลิต

จากวสั ดุที่แตกตางกันได และจะตอ งมีหนว ยเดียวกันกับชอ่ื
หลกั
2. ชือ่ รอง สามารถใชชอ่ื เดียวกันกับชื่อหลกั ได หรือ ชือ่ ยอ
หรือ ช่อื ทางการคา ทีส่ ามารถพิสูจนไ ดวา เปน สนิ คา ชนิด
เดียวกันกับช่ือหลัก
3. ชอื่ รองทกุ ช่ือใหระบุเลขพกิ ดั นําเขา ของกรมศุลกากร (8
หลกั )

5

ตวั อย่างรปู แบบการยืน่ ขอบัญชีรายการวัตถดุ ิบ

รายการท่ี ชือ่ หลกั ชื่อรอง หนว ย ประเภท ปริมาณ 6 คําอธิบาย
พกิ ดั เดอื น

000001 PRINTED C62 2,000,000
CIRCUIT
BOARD

PCB XXXX.XXXX แผน วงจรพมิ พ

PRINTED XXXX.XXXX แผนวงจรพิมพ
WIRING

BOARD

PWB XXXX.XXXX C62 500,000 แผน วงจรพมิ พ

000002 WASHER

SPRING XXXX.XXXX แหวนรองที่
WASHER สปรงิ

NYLON แหวนรอง
WASHER XXXX.XXXX พลาสตกิ

6

ความหมายของสว่ นสญู เสยี

สวนสญู เสยี ในสูตร

คือสว นสญู เสียท่เี กดิ ขน้ึ จากกระบวนการผลิตและถูกบนั ทึก
ในสูตรการผลิตโดยมปี รมิ าณของเสียท่ีเกดิ ขึ้นในปริมาณที่
แนน อนเทา ๆ กันทุกคร้งั ทผ่ี ลติ สนิ คานน้ั ๆ

ตวั อยา่ งสว่ นสูญเสยี ของ BOI.
กระบวนการผลติ : การป�มั แผน่ โลหะ

ตัดขอบ 3

หวั มว้ น 2

หวั มว้ น 1 ตดั ขอบ 3 ส่วนทแี� รเงา 5 PRODUCT

ชนิ� งานทม�ี ตี ําหนิ
(NG.4)

สว่ นสญู เสยี ในสตู รไดแ้ ก่ หมายเลข 5
สว่ นสญู เสยี นอกสตู รไดแ้ ก่ หมายเลข 1 , 2 , 3 , 4

7

ความหมายของสว่ นสญู เสีย

สวนสูญเสยี นอกสูตร
 คือสวนสูญเสียที่เกิดข้ึนจากการผิดพลาดในกระบวนการผลิตแต

มีปริมาณของเสยี ท่ีเกดิ ขึ้นในปริมาณทไี่ มแ นนอน และไมสามารถ
ประมาณไดวาของที่เสียนั้นมีปริมาณเทาไร ซึ่งของเสียท่ีเกิดขึ้น
น้ันสวนใหญเกิดจากการผิดพลาดของเครื่องจักร และการ
ผิดพลาดจากบุคลากรในการผลิต เชน
เ บิ ก วั ต ถุ ดิ บ ม า ใ ช ผิ ด ป ร ะ เ ภ ท
เครื่องจักรหยุดเนื่องจากไฟฟาดับ
วตั ถุดิบที่นําเขา ไมไ ดคณุ ภาพ เปนตน

8

วธิ ีปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั สว่ นสูญเสยี ของ BOI

สําหรับบริษัทฯ ที่ไดรับการสงเสริมการลงทุน สามารถแบง
สวนสูญเสยี ไดเ ปน 2 ชนดิ คอื
ชนิดที่ 1 BOI SCRAP

> สวนสูญเสียในสตู ร จะตัดบญั ชีพรอ มการสงออก
> สวนสญู เสยี นอกสตู ร แยกตัดบญั ชตี า งหาก
ชนิดท่ี 2 NON BOI SCRAP
> วัตถุดิบท่ีไมไดใชสิทธิยกเวนหรือลดหยอนจาก
BOI.

9

วธิ กี ารปฏบิ ตั ิทถี่ กู ตอ้ งสำหรบั สว่ นสญู เสยี ประเภท BOI

ขั้นตอนการปฏบิ ัตทิ ถี่ กู ตอง 2.ทําลาย
1.ตรวจสอบ

3.ขนยาย

10

BOI SCRAP

ของเสียที่เราเรียกกันวา BOI SCRAP น้ัน เปนของเสียที่มีภาระ
ภาษีอยู เน่ืองจากในการนําเขาไดรับสิทธิใหยกเวนหรือลดหยอนอากร
ขาเขาสําหรับวัตถุดิบตามมาตรา 36(1)
ดังน้ันในการปฏิบัติเพื่อใหสอดคลองกับ
กฎระเบยี บของ BOI คือ
> แยกประเภทของเสียตามบัตรสงเสริม
ใหชดั เจน
> บันทึกปริมาณของเสียที่รอทําลาย
อยา งถูกตอง
> ในการทําลายแตละครง้ั จะตอ งมีเจาหนาท่ีจาก
บรษิ ัทฯ ตรวจสอบทรี่ ับอนุญาตจาก BOI มาตรวจสอบ
ทกุ คร้งั กอ นการทาํ ลายและการขนยาย

11

BOI SCRAP

> ในกรณีทีเ่ ศษซากมมี ลู คาเชงิ พาณิชย คอื บริษทั ฯ มีรายไดจ าก
การขายเศษซาก ซ่ึงทางบริษัทฯจะตองชําระ
ภาษีกอนที่จะขายเศษซากน้ันๆเนื่องจากตอน
นาํ เขาวัตถุดิบ นั้นๆ มาทางบริษัทฯไดรับยกเวน
หรอื ลดหยอ นอากรขาเขา

> เจา พนกั งาน BOI นํารายงานพรอมใบ Certificate ที่ออกโดย
บริษัทฯตรวจสอบท่ีไดรบั อนุญาตจาก BOI ไปปรบั ยอดสวนสูญเสีย
เพอื่ ขอคนื บญั ชีปรมิ าณสตอ ดสูงสุด
หมายเหตุ : บันทึกปริมาณของของเสียที่รอทําลายจะตองสงใหเจา
พนกั งาน BOI ทกุ คร้ัง

12

วธิ กี ารปฏบิ ัติทถี่ ูกต้องสำหรับส่วนสูญเสียประเภท
BOI

ขั้นตอนการปฏบิ ัตทิ ีถ่ ูกตอ ง 2. ขายหรือทําลาย
1. แยกประเภท

3. ยาย

13

NON BOI SCRAP

ของเสียที่เราเรียกกันวา NON
BOI SCRAP น้ัน เปนของเสียท่ี
นอกเหนือจากสทิ ธิประโยชนของ
BOI โดยสวนใหญแลวเกิดจาก
การซ้ือ วัตถุดิบจากในประเทศ
เชน ของเสียจากแผนกซอมบํารุง ลังกระดาษ ลังไม ตางๆ ดังนั้นใน
การปฏิบัตเิ พ่อื ใหส อดคลองกบั กฎระเบียบ คอื
> แยกประเภทของเสยี ที่จะทงิ้ /ทําลายใหช ดั เจน
> มีการบนั ทึกปริมาณของเสียทีร่ อทิง้ /ทําลายอยา งถูกตอง
> กรณีที่เปน Fixed Asset จะตอ งถา ยรปู และกรอกแบบ
ฟอรมการขออนมุ ตั ิทําลายFixed Asset และสง ใหแ ผนก
บญั ชีรบั ทราบกอนการทาํ ลายหรือขาย

14

ข้ันตอนการเดนิ พิธีการศลุ กากร

 ในการเดินพธิ ีการศลุ กากรน้นั เราแบง ไดเปน 2 ชนิดคือ
1. การเดินพิธีการแบบ GREEN LINE การตรวจ

ปลอยจากนายตรวจศุลกากรท่ีเอกสารทุกชนิดในการเดิน
พธิ ีการถกู ตอ งตรงกันกบั ทั้งหมด และทางนายตรวจไมพบ
ความผิดปกติ

2. การเดินพิธีการแบบ RED LINE การตรวจปลอย
จากนายตรวจศุลกากรที่พบความผิดปกติของเอกสารที่ใชในการเดิน
พิธีการ เชน รายละเอียดหนาInvoice , Packing list และ B/L ไม
ถูกตองตรงกัน จึงลงบันทกึ ใหทางผูนําเขามาชแี้ จงรายละเอียดสินคา
พรอมท้ังนําเอกสารที่เกี่ยวของในสินคาทั้งหมดมาสําแดงใหทาง
เจาหนาที่ดู เพ่ือพิจารณาตอไป สวนใหญจะพบความผิดปกติในเรื่อง
การสําแดงพิกัดเปนเท็จ ซึ่งทางผูนําเขาก็อาจจะใชสิทธิในการโตแยง
พกิ ัดกบั ทางกรมศลุ กากรได

15

ขั้นตอนการเดนิ พิธกี ารศุลกากร

อากรศลุ กากรทกี่ รมศลุ กากรจัดเกบ็ นั้น แบง ไดเปน 2 ประเภท คอื
1. การเกบ็ ตามมลู คา
2. การเกบ็ ตามสภาพ

กรมศลุ กากรแบง สนิ คา ทนี่ ําเขา ผา น
Courier ไดเ ปน 4 ประเภทคอื

1. เอกสารตา งๆ จะไดร ับสิทธใิ นการยกเวนภาษี
2. สนิ คาทมี่ มี ูลคา เลก็ นอยทางกรมฯ กจ็ ะใหเกบ็ เปนอากรปาก
ระวาง Consolidate
3. สินคา ทีม่ ีมลู คา มากแตไมเกิน FOB 40,000 บาท ทางกรมจะ
เรยี กเกบ็ เปนอากรปากระวาง
4. สนิ คา ทม่ี มี ูลคา มากกวา FOB 40,000 บาท จะตอ งจดั ทําใบ
ขนสนิ คาขาเขา และเดนิ พิธกี ารศุลกากรใหถ กู ตองครบถวน

16

ข้อควรรู้ในการปฏบิ ัติพธิ กี ารศลุ กากร

1. สินคาผานแดนทุกชนิดท่ีผานเขามาในราชอาณาจักรไทย จะตอง
สําแดงราคาเพ่ือเสียภาษี (Duty) ใหถูกตองดวยทุกคร้ังท่ีนําเขา ส่ิง
สําคัญท่ีทางศุลกากรจะตองตรวจสอบกับบริษัทฯ ที่นําสินคาผานแดน
คอื

> ราคาที่สําแดงในเอกสาร
> พกิ ดั ของสนิ คา ท่สี าํ แดงในเอกสาร
> อัตราอากรของสินคา
> สิทธิประโยชนต า งๆ ท่ีใช
2. คานายหนา (Commission) ในทางศุลกากรถือวาสามารถนํามา
คํานวณเปนฐานภาษี ไดขอแตกตางระหวาง Commission ซื้อ
Commission ขาย และคา คนกลาง มดี ังตอ ไปนี้

17

ขอ้ ควรรูใ้ นการปฏิบัติพธิ กี ารศลุ กากร

Commission ซอื้ คือ ผูซอื้ กับผูขายจะตองมกี ารลงนาม(Agreement)
รวมกนั ในขอ ตกลงซื้อขาย ซ่ึงสามารถตรวจสอบยอนกลบั ขอมูลใน
สัญญาที่ลงนามรว มกนั ได และทส่ี าํ คญั สญั ญาฉบับนัน้ ๆ จะตอ งมีจรงิ
ไมสามารถทีจ่ ะทําขึน้ มาหลอกๆ ได ซึ่งถา ทางกรมศลุ ฯ ตรวจพบจะ
ถอื วา มีความผิดทางศลุ กากรโดยเจตนา

Commission ขาย คือ ผูขายสินคาในตางประเทศ จะ
แตง ตัง้ ใหต ัวแทนจาํ หนา ยในประเทศที่นําเขาเรียกเก็บคานายหนาจาก
ผูซื้อ โดยตัวแทนจะตองสงคานายหนาใหกับผูขายในตางประเทศ
เทา ไหรต ามที่ตกลงกันไว แตจ ะตอ งนาํ ไปคาํ นวณเพ่ือเสียภาษดี วย

คาคนกลาง คือ ขอตกลงระหวางผูซื้อ กับ ผูขาย ที่ไมมี
สัญญาผูกมดั กันขน้ึ อยูก บั ขอ ตกลงกนั ในคร้งั แรก
หมายเหตุ : ท้ัง 3 รายการนี้ ถือวาเปนตนทุนของสินคา ซึ่งจะตอง
นํามาคาํ นวณในราคาดว ยทุกคร้ัง

18

ข้อควรรู้ในการปฏิบตั ิพิธีการศุลกากร

3. กรมศุลกากรจะแบง การควบคมุ เปน 2 สวนคอื
3.1 สว นหนา (Post Review) คือ การตรวจสอบระหวา งการ

นําเขา ซงึ่ การนาํ เขา น้ันๆ จะตองยงั ไมสาํ เรจ็ และจะทาํ ทกุ ใบขนท่ีผา น
พิธีการโดยดูจากความเส่ียงในใบขนนัน้ ๆ วา มคี วามเสย่ี งในการที่จะ
กอ ใหเ กดิ ขอ ผดิ พลาด และกระทบกบั คาภาษีอากรมากนอ ยแคไ หน

3.2 สว นหลงั (Post Audit) คือ ทางกรมศลุ กากรจะใหทางสํานัก
ตรวจสอบอากร และ สํานกั ตรวจสอบหลงั การตรวจปลอ ย มาทาํ การ
Post Audit กับบรษิ ทั ฯ ผนู าํ เขา และผสู ง ออก ซึง่
การตรวจสอบดวยวิธีการ Post Audit นนั้ จะเนน
ไปที่ คาภาษอี ากร ราคา ทีส่ าํ แดงในใบขนและ
เอกสารทางการเงนิ ของบัญชเี ปน สวนใหญวา มี
การเคลอ่ื นไหวอยา งไรบา ง

19

ข้อควรร้ใู นการปฏิบตั พิ ิธกี ารศุลกากร

เอกสารที่จะถูกตรวจสอบคือ ใบขนสินคาขาเขา ใบขน
สินคาขาออก เอกสารการโอนเงินตางๆ การ Post
Audit น้ันจะไมมีการไปตรวจซ้ําในระยะเวลา 2 ป ซึ่ง
การเขาไปตรวจของเจาหนาที่ศุลกากรในแตละครั้ง ทางเจาหนาที่
ศุลกากรจะตองทําการขออนุมัติไปท่ีกรมกอนท่ีจะเขามาตรวจ และ
จะตองทําหนังสือแจงไปที่บริษัทฯ ท่ีจะเขาไปตรวจลวงหนากอน 10
วัน ซึ่งในการตรวจยอนหลังแตละครั้งนั้นจะตรวจสอบเอกสารของ
บริษัทฯ ยอนหลังไป 5 ป แตความผิดทางศุลกากรในเร่ืองของอากร
สามารถตรวจสอบยอ นหลังไดถึง 10 ป ตามกฎหมาย
หมายเหตุ : กรณี (Surprise Audit) จากทางศุลกากร ไม
จําเปนตองมีหมายศาลมาถึงบริษัทฯ แตตองมีจดหมายจาก
ผบู ังคบั บญั ชาตามอาํ นาจศลุ กากร ม.114

20

ข้อควรรู้ในการปฏบิ ตั พิ ิธีการศุลกากร

4. มาตรา 27 กรณีท่ีมีเจตนาฉอฉลคาอากรถือวาเปนความผิดฐาน
การสําแดงเท็จ ถือวามีความผิดโดยเจตนา แตเจตนาหรือไมทาง
บริษัทฯ จะตองสามารถช้ีแจงใหเจาหนาที่ศุลกากรทราบ
ได การสาํ แดงพิกัดเปนเท็จ ถือวาเปนความผิดตามมาตรา
99 และการสําแดงพิกัดเปนเท็จและกระทบคาภาษีอากร
ก็ถือวาเปน ความผิดดวยเชน กัน
5. กรณีท่ีบริษัทฯ เปน BOI และไดรับยกเวนภาษีอากรขา
เขา แตของท่ีนําเขามาตีพิกัดไมถูกตอง ทําใหเสียอากรขาดไปไม
ครบถวน ในกรณีน้ี ถาบริษัทฯ ตรวจพบความผิดปกติ ก็สามารถรอง
ขอให ทางกรมศุลกากรแกไขใบขนสินคาได และเสียภาษีในสวนท่ีขาด
ใหครบถว น ในทางศุลกากรถือวา ไมเปน ความผดิ และไมโ ดนปรับ

21

ขอ้ ควรร้ใู นการปฏิบตั ิพิธีการศุลกากร

6. การขอคนื เงินคาภาษอี ากร สามารถทําได 3 กรณคี อื
6.1 ถาเกิดจากการคํานวณผิด ทางบริษัทฯ สามารถรองขอเพ่ือ

ขอคนื เงินคา ภาษไี ดภายใน 2 ป
6.2 กรณีที่เกิดจากเจาหนาท่ีเพิ่งรู คือเกิดความผิดพลาดจาก

เจาหนาท่ีเอง ท่ีไมตรวจสอบใหดีวาพิกัดน้ันๆ มีการประกาศลดอัตรา
คา ภาษอี ากรแลว และยงั ใชอ ัตราเดมิ อยู ทําใหบ ริษัทฯ ยงั คงเสยี ภาษีใน
ฐานอัตราเดิมอยูท่ีสูงกวา บริษัทฯ ผูนําเขาสามารถรองขอคืนภาษีได
ภายใน 2 ป เชนกนั

6.3 กรณีสงวนสิทธิไวแลวขอคืนในภายหลัง
อาจจะเกี่ยวขอ งกบั สิทธิประโยชนต างๆ เชน JTEPA ,
AFTA , FTA ซึ่งสิทธิประโยชนสวนใหญสามารถที่จะ
ขอคนื เงนิ คา ภาษีอากรได

22

ขอ้ ควรรใู้ นการปฏิบตั ิพธิ กี ารศุลกากร

7. คา Royalty Fee ที่เกิดข้ึนในกรณีนําสินคาเขา
มาจากตางประเทศ ในทางศุลกากรจะถือวาเปน
การซื้อคาบริการในตางแดน ซ่ึงคา Royalty Fee
จะถือวาเปนสวนหน่ึงของราคาที่เราจะตองหัก
นําสงใหกับผูขายบริการในตางประเทศ โดยบริษัทฯ ท่ีนําเขาสินคา
จะตองยื่นขออนุญาตจากกรมสรรพากรในการสงเงินไปตางประเทศ
ดว ย เชน

มูลคาสินคา CIF = 100 บาท
คา Royalty 10% = 10 บาท
ฉะน้ันราคาสินคาท่ีแทจริงคือ 110 บาท > ตองนําราคา
สนิ คา 110 บาทน้ี ไปใชคาํ นวณอัตราอากรขาเขา ดว ย เพราะถือวาเปน
สวนหนึ่งของราคา

23

ข้อควรร้ใู นการปฏิบัตพิ ิธกี ารศุลกากร

8. ในกรณีทีม่ ี Packaging ท่ีตดิ มากบั สินคาท่นี าํ เขา ในบางครั้งก็
จะตอ งสาํ แดงรายการเพมิ่ เตมิ ข้ึนอกี 1 รายการในอินวอยซ เนื่องจาก
Packaging ทีต่ ดิ มานัน้ สามารถนาํ กลบั มาใชซ าํ้ หมุนเวยี นใน
วตั ถปุ ระสงค เดิมไดอ กี ในทางศลุ กากรจะตองสาํ แดงดว ยเพือ่ แยกเสีย
ภาษี แตถา Packaging ทต่ี ิดมาไมส ามารถนาํ กลบั มาใชห มุนเวียนได
อีกในวตั ถปุ ระสงคเ ดิม ก็ไม
จาํ เปนตอ งสาํ แดงเพราะราคาใน
อนิ วอยซถอื วาเปน ราคาท่ีรวมคา
Packaging แลว ซึง่ ความหมาย
ทง้ั หมดข้ึนอยกู ับวตั ถุประสงคใ น
การนาํ ไปใชงาน

24

ข้อควรรู้ เกีย่ วกบั ความผดิ ทางศลุ กากร

> กรณีไมพบหลักฐานการชาํ ระภาษีและไมปรากฏขอมูลเก่ียวกับการ
เดินพิธีการศลุ กากร

มผี ลทําใหชาํ ระอากรทางบริษัทฯ จะตอ ง
เสยี คา ปรับอากร 2 เทา
เสียคาปรบั VAT 1 เทา
ชําระภาษีอากรที่ขาดใหครบ + เงินเพ่ิมตามประมวล

รษั ฎากรกร 1.5เทา /เดอื น
>กรณีหลีกเลี่ยงหรือชําระอากรไมครบถวน มีผลทําใหทางกรมไดรับ
อากรขาด ทางบรษิ ัทฯ จะตอง

ชดใชราคาสนิ คา รวมคา ภาษีอากรทกุ ประเภท
ชําระคา สินคา = ราคา + อากร + VAT
ชาํ ระคาปรับ = ราคาสินคา + (อากรขาเขา *2) + VAT

25

บญั ชรี าคาสินค้า Commercial invoice

คือ เอกสารท่ีผูขายจัดทําขึ้นมาใหผูซ้ือ เมื่อมีการซ้ือขายเกิดข้ึน
เพ่ือใชประโยชนสําหรับผูซ้ือในการตรวจสอบกันวาเปนของท่ีตรงกับ
การสั่งซ้ือไป รวมทั้งจํานวนของและราคาของ บัญชีราคาจะระบุ
รายละเอยี ดเกย่ี วกับตวั สนิ คา ราคาตอหนอ ย และราคา รวมท้งั หมด
นอกเหนอื นั้นจะระบุเง่อื นไข เชน FOB,CFR,CIF

26

บญั ชรี าคาสนิ ค้า Commercial invoice

บญั ชสี นิ คาจะไมม แี บบฟอรมที่เปน ทางการ บริษัทผูสงออกจะเปน
ผูจดั ทําเอง หัวขอ ทีต่ องกรอก คือ

1. ชอื่ ทีอ่ ยผู สู ง ออก
2. ชือ่ ทีอ่ ยผู ูนาํ เขา
3. ช่ือเรอื และเมืองทา ทขี่ นสินคา ลงเรอื
4. เลขทอ่ี ินวอยซและวันออกเอกสาร
5. เอกสารชําระเงนิ และระบุเลขทถี่ ามี
6. วนั ทข่ี นสินคา ลงเรือและเมืองทา ปลายทาง
7. เครื่องหมายสินคา ( Shipping Marks)
8. รายละเอยี ดสินคา ท่ตี กลงกนั ตามเงอ่ื นไขการสง มอบ INCOTERM

และราคารวม

27

บัญชีกำกบั หบี ห่อสินคา้ PACKING LIST

เอกสารนี้จะคลา ยกบั บญั ชีราคาสินคา ทไี่ มม แี บบฟอรม เปน
ทางการซึ่งบรษิ ัทผูสง ออกจะจัดทาํ ขน้ึ เพือ่ ใชกบั กอบในการขนสง สนิ คา
ซ่งึ จะใหร ายละเอยี ดเกีย่ วกบั การบรรจุหีบหอ สินคาแตล ะชนดิ เอง
รายละเอยี ดจะประกอบดวย

1. เครอ่ื งหมายหบี หอ
2. ประเภทของสินคา
3. ลักษณะของหบี หอ ปริมาณหรอื จํานวนหรือนาํ้ หนกั ของสินคา ใน

หบี หอ โดยปกตบิ ญั ชกี ํากับหีบหอสินคา ทาํ ข้นึ เพอื่ ประกอบกบั
อนิ วอยซ เพอ่ื ใหร ายละเอยี ดของสินคา ทที่ าํ การสงออกมคี วาม
สมบรู ณแ ละอาํ นวยความสะดวกในการตรวจสอบสินคา ของจา
หนา ทีศ่ ุลกากร

28

การขนสง่ ทางเรือ

Bill of Lading หรือ B/L
•B/L คอื เอกสารสําคัญทสี่ ุด เมอ่ื มกี าร สงสนิ คา ทางทะเล Bill of
Lading เปน ใบรับรอง มอบสินคา ของบริษัทเรือทีท่ าํ การสง ออก
ใบตราสง สินคาทางทะเล เปน เอกสารแสดงสทิ ธใิ นสนิ คา และเปน
หลักฐานสัญญาของบรษิ ทั เรือทจี่ ะ
ขนสง สนิ คาทางเรอื ของประเทศสงออกไปยังทา เรอื ปลายทาง มี
คุณลักษณะ 3 ประการ คือ
1. เปน ใบรับรองสินคาทีอ่ อกใหโดยสายเรือหรือ Agent Forwarding
ที่มรี ายละเอยี ดของสินคาท่ีจะทําการขนสง
2. เปน สญั ญาการขนสง ระหวาง shipper & consignee วา shipper
จะสง สินคา ไปยังเมอื งทา ปลายทางและจะสง มอบใหก บั consignee ที่
ระบไุ วใน B/L เทา น้นั
3. เปนเอกสารทีเ่ ปลีย่ นกรรมสิทธิไ์ ด คอื ขายตอเปน L/C ได

29

สว่ นประกอบของ Bill of lading (B/L)

30

ส่วนประกอบของ Bill of lading (B/L)

1. ช่อื ผูข าย/สง สนิ คา : คนท่ีสงออกสนิ คา
2. ชือ่ ผูซ ื้อ/รับสินคา : จะเปน ชอื่ บรษิ ัทผนู ําเขา ยกเวนกรณเี ปด

L/C จะเปน ชอื่ แบงค ชอื่ บรษิ ทั ผูนาํ เขา จะไปอยทู ่ี ชอ ง Notify
Party
3. ช่ือผตู องตดิ ตอ : โดยปกติจะใชคาํ วา “SAME AS
CONSIGNEE” เพราะเปนคนเดยี วกับผนู าํ เขา แตถ าเปน
Shipment ท่มี ี L/C ชือ่ ผนู ําเขาตอ งมาแสดงทต่ี รงนแี้ ทน
4. ชื่อเรือ และ วอยเรือ
5. เลขที่ B/L : เลขท่อี างอิงที่ชวยใหผ ูน าํ เขาตดิ ตอ กับผใู หบ รกิ าร
ขนสง งา ยข้ึน
6. ชอื่ เอเยนที่ผซู อื้ ตอ งไปติดตอท่ีปลายทาง : ผนู ําเขา ตองไปติดตอ
ทุกเรือ่ งเกย่ี วกบั การขนสง อเยนจะแจง สถานะ Shipment และ
เก็บคา Local Charge กับผูนาํ เขา กอนท่จี ะปลอยเอกสารท่ีชื่อ
วา D/O ใหผ นู าํ เขา ไปปลอ ยสินคาทที่ า เรือ

31

สว่ นประกอบของ Bill of lading (B/L)

7. ทาเรอื ตน ทาง : เรอื ทีจ่ ะออกจากทา
8. สถานทรี่ บั สนิ คา ตนทาง: อาจเปนสถานท่ีรบั สนิ คา ทตี่ นทางหรือเปน
ทาเรือสงออกท่ตี น ทาง
9. ทาเรอื ปลายทาง :ทาเรอื ทเี่ รอื จะเอาตูไปลง
10. ทส่ี ดุ ทา ยที่สินคาจะไปถึง : สถานทีส่ ดุ ทายทจ่ี ะสง มอบสนิ คา
อาจจะเปนคนละท่ีกบั ทา เรือปลายทาง
11. สัญลกั ษณขางแพคเกจ : เบอรต คู อนเทนเนอรและเบอรซ ีลลอคตู
Shipping mask
12. จํานวนบบรจภุ ัณฑ: เราจะใชบ รรจภุ ัณฑดา นนอกสุดระบใุ นชอ ง
เชน สคิ า 20 กลองวางบน 1 พาเลท เรากต็ อ งรบสุ นิ คา มี 1 พาเลท
รายละเอียดของสนิ คา :สินคาคอื อะไรอยูห มวดหมูไหน เชน สินคา
เปนโตะ เกาอี้ ตู เตียง ใหร ะบเุ ปน เฟอรนิเจอร

32

ส่วนประกอบของ Bill of lading (B/L)

14. ขนาดและนาํ้ หนกั
15. คา เฟรทชาํ ระทตี่ น ทางหรอื ปลายทาง ถา เปนตน ทางจะระบุวา
PREPAID ถาเปน ปลายทางจะระบุวา COLLECT
16. สถานท่แี ละวนั ทอ่ี อกเอกสาร
17. สถานที่และวนั เรือออก

33

การขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศ

คือ เรื่องของเอกสารสําหรับการขนสง ผูสงออกตองจัดเตรียม
เอกสารให พรอมเพ่ือสงตอไปยังผูซ้ือสําหรับเรียกเก็บเงินหรือใหผูซื้อ
ใชเปนหลัก ฐานประกอบในการรับสินคา โดยเอกสารที่ผูสงออกตอง
เตรียมคลา ยกับวิธีขนสงทางอื่น เชน Invoice Packing List กรมธรรม
ประกันภัยขนสงสินคา ตั๋วแลกเงิน เปนตน แตจะมีเอกสารสําคัญที่
เกี่ยวของเฉพาะสําหรับการขนสงทางอากาศ ไดแก ใบตราสงสินคา
ทางอากาศ (Air Waybill) ซึ่งเปนเอกสารท่ีผูรับจางสงสินคาออกใหใน
ฐานะผูสงสินคาตองนํา Air Waybill
มาเปนสวนหน่ึงของเอกสารสงออกที่
สง ไป เรียกเกบ็ เงินหรือ ใหผูซื้อใชเปน
หลักฐานประกอบในการรับสินคา
ตอ ไป

34

สว่ นประกอบของ AIR waybill

Air Waybill มี 2 ประเภทหลกั ๆ คอื

1. House Air Waybill เปน เอกสารทีอ่ อกโดยบรษิ ทั ตวั แทนรับสง
สนิ คา ใหแ กผสู ง ออก โดยชือ่ ผูขนสงใน Air Waybill (มุมซาย
ดานบนของ Air Waybill) จะเปนช่อื ของผูสง ออก

2. Master Air Waybill เปนเอกสารทีอ่ อกโดยสายการบนิ ที่สง
สนิ คา ซึ่งลงนามโดยสายการบนิ หรือบรษิ ัท ตัวแทนของสายการ
บินกไ็ ด โดยชื่อผูขนสงสนิ คา ใน Master Air Waybill (มมุ ซาย
ดานบนของ Air Waybill) กจ็ ะเปนผูสงออก

35

ตวั อย่างของใบตราสง่ สนิ ค้าทางอากาศ airwaybill

36

โครงสรา้ งแฟม้ ขอ้ มลู BIRTIMP.XLS

37

การใชง้ านระบบ IC Online System (ICOS)

ระบบ IC Online System (ICOS) เปนระบบที่พัฒนาข้ึนเพ่ือ
อํานวยความสะดวกใหกัประกอบการในการผูรับสงขอมูลสั่งปลอย
แ ล ะ ตั ด บั ญ ชี ผ า น เ ค รื อ ข า ย อิ น เ ต อ ร เ น็ ต ม า ยั ง ส ม า ค ม ฯ ซ่ึ ง
นอกเหนือจากการย่นื ขอมูลผาน Diskette หรือUSB Disk (Flash
Drive) แลว สาํ หรบั ระบบ ICOS จะประกอบการทาํ งาน 2 ระบบ คอื

1. ระบบ Import Online
2. ระบบ Export Online
การสง ขอ มลู ผานระบบ ICOS ผูประกอบการยงั จาํ เปนตอ งสง
เอกสารประกอบการสง่ั ปลอยและตดั บญั ชีวตั ถดุ ิบมาควบคูก บั การสง
ขอมูล

รูปแบบแฟมขอมลู ที่ใชในการสง่ั ปลอ ยหรอื ตดั บัญชียงั คง เปน
รปู แบบXLS File ที่บันทกึ จากโปรแกรม Microsoft Excel โดยระบบ
ICOS ยังสามารถรองรบั รปู แบบแฟม ขอมลู XLSX ดว ย

38

ความตอ้ งการของระบบ IC Online System (ICOS)

ผปู ระกอบการจะตองเตรยี มอุปกรณทางดา น Hardware
และSoftware ดงั นี้

1. เคร่อื งคอมพิวเตอร ทีต่ ดิ ต้ังระบบWindows XP,
Windows Vista, Windows 7 หรือWindows 8

2. โปรแกรม Internet Explorer ตงั้ แตเวอรช ั่น7.0 ขนึ้ ไป
3. โปรแกรม Microsoft Excel เวอรชน่ั 2003 ขึ้นไป
4. โปรแกรม Acrobat
5. ระบบ Internet

39

การขอ User Name และ Password

ใหผ ปู ระกอบการดาํ เนินการติดตอ ขอUser Name และ
Password กอนเขาใชงานระบบ ICOS

โดยตดิ ตอ ทแี่ ผนกส่งั ปลอ ยวตั ถดุ บิ ใน
กรณที ี่ผปู ระกอบการใชงานระบบIm
port Online อยแู ลว
ผปู ระกอบการสามารถใช User
Name และ Password
เดยี วกบั ระบบImport Online
ในการเขา ใชงาน ระบบ ICOS

40

การขอ User online System (ICOS)

ใหทําการกรอก User Name และ Password แลว คลิกเลอื กที่
ICOnline System (หากคลกิ เลือกทI่ี mport Online
จะเปน การเขาสูระบบ Import Online ของระบบ RMTS เดิม)
หลังจากนนั้ ใหคลิกท่ีปุมLoginหากกรอก User Name และ Password
ถูกตองจะปรากฏหนา จอดังรปู

41

การเข้าใช้งาน

ระบบ ICOS จะทํางานผานเวบ็ ไซตส มาคมฯ การเขา ใชง านใหเ ปด
โปรแกรมInternet Explorer แลว เขามายงั เวบ็ ไซต
www.icmember.ic.or.th/importonline และ
http://eservice.ic.or.th/importonline หรือเขาผา นเว็บไซต
www.ic.or.th เมอ่ื เขา สรู ะบบแลว จะปรากฏหนาจอ ดงั รปู

42

เมนูสว่ นกลาง

หนา จอหลักจะแสดงขอความติดตอ กับผใู ชงาน กรณที สี่ มาคมฯ
มีขอมลู ขา วสารตอ งการแจงให ผปู ระกอบการทราบ
ในดา นซา ยมือจะแสดงเมนกู ารทาํ งาน ซ่ึงประกอบดว ย 3 สว น คอื

1. สว นกลางประกอบดว ยเมนยู อ ยดงั นี้

- หนาแรก - เชค็ ขอความ

- ขอมลู บริษัท - รับขอ มลู MML

- ออกจากระบบ

2. สว นสงั่ ปลอยวตั ถุดบิ ประกอบดวยเมนูยอ ยดังน้ี

- สงขอ มลู - ตรวจสอบขอมลู

- ตรวจสอบไฟลP DF

- ที่สง -ตรวจสอบเอกสารแฟกซ

- ตรวจสอบผลการพิจารณาสัง่ ปลอ ย Diskette

ดาวนโ หลดขอ มลู คา้ํ ประกนั

43

เมนสู ว่ นกลาง

3. สวนตัดบญั ชีวตั ถดุ ิบประกอบดวยเมนยู อ ยดงั น้ี
- สงขอมลู สาํ หรับสงขอ มูลตดั บัญชี
- ตรวจสอบขอมูล
- ตรวจสอบผลการพจิ ารณาตดั บญั ชีDiskette /
FlashDrive
- ดาวนโ หลดเอกสารสงออก
- ดาวนโหลดขอมลู Vendor

44

เมนูย่อยเช็คข้อความ

สาํ หรับแสดงขอ ความขา วสารทส่ี ง จากสมาคมฯถงึ ผูประกอบการ
กรณีท่ตี อ งการลบขอ ความที่ ไมตอ งการออก ใหคลกิ ท่ี Delete
หนา ขอความที่ตอ งการลบ

45

เมนยู ่อยข้อมลู บรษิ ัท

สาํ หรบั แกไขขอ มลู ของผปู ระกอบการสามารถแกไขไดด งั น้ี

- ชื่อผตู ิดตอ - เบอรโ ทรศพั ท
- เบอรโ ทรสาร - อเี มล


Click to View FlipBook Version