The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mapor Pimwalan, 2020-11-02 03:58:28

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2564

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ 2564

แผนปฏบิ ัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน
OFFICE OF THE PRIVATE EDUCATION COMMISSION

คำนำ

แผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน เป็นแผนปฏิบัติการที่จัดทาข้ึนเพื่อกาหนดกรอบแนวทางการปฏิบัติงานในระยะส้ัน
โดยกระบวนการจัดทาแผนได้ประเมินสภาวการณ์และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อการจัดการศึกษาเอกชน
ท้ังจากสถานการณ์และแนวโน้มด้านเศรษฐกิจและสังคม ทิศทางการพัฒนาประเทศท่ีกาหนด
ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาและด้านที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน แผนการศึกษาแห่งชาติ
แผนยทุ ธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ นโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 และผลการพัฒนาการศึกษาเอกชนที่ผ่านมา หลักการของแผนจะมุ่งเน้นให้ความสาคัญกับ
การสร้างระบบการศึกษาเอกชนท่ีมีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาผู้เรียนให้ตอบสนองการพัฒนาประเทศ
และการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21

ทั้ง น้ีส า นักงา น คณะกร รม กา ร ส่ง เ สริ มกา รศึกษา เอกช น จะขับเ คลื่ อน แ ผน ป ฏิบั ติร า ชกา ร
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยมุ่งหวังให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ต่อการพัฒนาการศึกษาเอกชน

สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

เร่ือง สารบัญ หนา้

ส่วนท่ี 1 บทวเิ คราะห์ 1
สภาพท่ัวไปของการจัดการศึกษาเอกชน 2
สว่ นที่ 2 สภาวการณ์และบรบิ ทท่ีมีผลต่อการพฒั นาการศกึ ษาเอกชน 2
สว่ นที่ 3 3
- สถานการณ์และแนวโนม้ ดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม 3
- ทิศทางการพฒั นาประเทศ 4
11
รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 13
นโยบายรฐั บาล (พลเอกประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี) 19
ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580 23
แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ 26
แผนการปฏิรูปประเทศ 29
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564 ) 30
แผนการศึกษาแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579 ) 31
เป้าหมายการพฒั นาท่ยี ่ังยืน 35
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2563 - 2565 35
นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 43
- ผลการพฒั นาการศึกษาเอกชนท่ผี ่านมา 48
ด้านคณุ ภาพการศึกษา 50
ด้านประสทิ ธิภาพการจัดการศึกษา
ดา้ นโอกาสและการมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษา 51
ดา้ นระบบการบริหารจดั การในการกากบั ดแู ลและส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน 52
สาระสาคัญของแผนปฏิบัติราชการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 53
วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เปา้ หมายการพฒั นา
ตัวชี้วัดหลกั 57
ยทุ ธศาสตร์และแนวทางการพฒั นา 69
ตารางรายละเอยี ดโครงการ/กิจกรรม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 76
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การพฒั นาระบบการเรียนรู้ 89
ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การเสรมิ สรา้ งโอกาสทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนาการจดั การศกึ ษาเพอื่ ความม่นั คง
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การพัฒนาระบบการกากับดแู ลส่งเสริมการศึกษาเอกชน

สว่ นท่ี 1
บทวเิ คราะห์

1. สภาพทั่วไปของการจดั การศึกษาเอกชน
การศึกษาเอกชนเป็นระบบการศึกษาท่ีมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการศึกษาของประเทศมีส่วนร่วมในการ

พัฒนาคุณภาพของคนไทยให้เป็นกาลังสาคัญของการพัฒนาประเทศมาเป็นระยะเวลายาวนาน บทบาทของ
การศึกษาเอกชนทส่ี าคญั ไดแ้ ก่

1) ช่วยยกระดับคุณภาพการศึกษาของประเทศ การจัดการศึกษาของโรงเรียนเอกชนเป็นระบบที่เอื้อต่อ
การจัดการศึกษาบนหลักความรับผิดชอบ (Accountability) โดยโรงเรียนต้องรับผิดชอบด้านผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนต่อผู้ปกครองและผู้เรียน การอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนในโรงเรียน
เอกชน มีลักษณะที่สนับสนุนต่อหลักการจัดสรรงบประมาณผ่านด้านอุปสงค์ (Demand - Side Financing)
จานวนงบประมาณจะผันแปรตามจานวนนักเรียนท่ีเข้าเรียน ช่วยส่งเสริมให้เกิดการบริหารจัดการศึกษาท่ีมี
ประสิทธิภาพ โรงเรียนจาเป็นต้องจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพอยู่ตลอดเวลา เพ่ือแข่งขันในการดึงดูดผู้เรียน

2) ช่วยสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กับผู้เรียนในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพมาตรฐาน สร้างคุณภาพ
ท่ีแตกต่างตามความต้องการของผู้เรียน ท้ังในส่วนของการศึกษาในระบบ ประเภทสามัญศึกษา (ระดับ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน) นอกจากนี้ยังมีการจัดการศึกษาในประเภทโรงเรียนนานาชาติท่ีมีมาตรฐานเทียบเท่า
หลักสูตรในต่างประเทศ และโรงเรียนเอกชนนอกระบบที่ช่วยสร้างโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตท้ังในด้าน
วิชาการ ทกั ษะชวี ิต และทกั ษะอาชพี

3) ช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐ การจัดการศึกษาเอกชนช่วยประหยัดงบประมาณด้านการศึกษาของประเทศ
โรงเรยี นเอกชนเป็นผู้ลงทุนด้านที่ดินและสิ่งก่อสร้างเอง ประกอบกับการบริหารจัดการท่ีมีความคล่องตัว และ
สามารถระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษาจากผู้ปกครองและนักเรียนได้ส่วนหน่ึง ทาให้สามารถจัดการศึกษาที่มี
คุณภาพใกล้เคียงหรอื สูงกว่าโรงเรียนของรฐั โดยใช้งบประมาณท่ีน้อยกวา่

ปัจจุบันมีโรงเรียนเอกชนในการกากับดูแลของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน
14,681 แห่ง ประกอบด้วย (1) โรงเรียนประเภทสามัญศึกษา 3,884 โรง (2) โรงเรียนประเภทนานาชาติ
228 โรง (3) โรงเรยี นนอกระบบ 10,067 โรง ดงั ตาราง 1

ตาราง 1 จานวนโรงเรียน นกั เรยี น ครู ในโรงเรียนเอกชน ปีการศึกษา 2562

ระบบและประเภท โรงเรยี น นักเรยี น ครู

การศึกษาในระบบโรงเรียน 4,112 2,163,782 100,307

1.1 ประเภทสามัญศึกษา 3,884 2,140,519 97,690

1.1.1 กอ่ นประถมศกึ ษา 3,329 550,755 26,941

1.1.2 ประถมศึกษา 2,560 1,079,059 45,857

1.1.3 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น 1,413 339,881 16,052

1.1.4 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 783 170,824 8,840

1.2 ประเภทนานาชาติ 228 23,263 2,617

2. โรงเรียนนอกระบบ 10,067 1,287,958 26,393

2.1 หลกั สตู รระยะส้นั 7,416 1,064,034 14,888

2.1.1 สอนศาสนา 190 13,425 245

2.1.2 ศลิ ปะและกฬี า 770 57,439 653

2.1.3 วิชาชพี 3,694 484,478 7,104

2.1.4 กวดวิชา 2,508 453,809 3,644

2.1.5 เสรมิ สรา้ งทกั ษะชวี ิต 254 54,883 3,242

2.2 สถาบนั การศกึ ษาปอเนาะ 519 34,963 1,438

2.3 ศนู ย์การศึกษาอสิ ลามประจามัสยิด (ตาดกี า) 2,132 188,961 10,067

รวม 14,179 3,451,740 126,700

ขอ้ มูล ณ วันท่ี 10 สงิ หาคม 2563 จากระบบศนู ย์กลางการบูรณาการขอ้ มลู ทะเบียนโรงเรียนและประวัติผูเ้ รยี น ครู บคุ ลากรโรงเรียนเอกชน

Private Education Data Center (PEDC)

2. สภาวการณ์และบริบทที่มผี ลตอ่ การพฒั นาการศกึ ษาเอกชน
2.1 สถานการณ์และแนวโนม้ ด้านเศรษฐกจิ และสังคม
2.1.1 การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สถานการณ์เศรษฐกิจโลกโดยรวมมีความอ่อนไหวและ

เปราะบางเพ่ิมขึ้นมาก จากปัญหาความขัดแย้งทางการค้าที่ส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจโลกโดยรวม เช่นเดียวกับ
เศรษฐกิจของประเทศไทยท่ปี ระสบปัญหาทางด้านการค้าท่ีการส่งออกลดลงและเผชิญกับปัญหาเชิงโครงสร้าง
ของระบบเศรษฐกิจอย่างเช่น ปัญหาความเหล่ือมล้าและหนี้ครัวเรือนที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ขณะท่ีภาคบริการ
ซ่ึงมบี ทบาทสาคัญในการขบั เคลอื่ นเศรษฐกิจของประเทศมาอย่างต่อเน่ืองได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid–19) ส่งผลให้เศรษฐกิจของประเทศหดตัวลงในปี 2563 และอาจต้องใช้
ระยะเวลาถงึ 2 ปี ทเ่ี ศรษฐกจิ ของประเทศจะกลบั เขา้ ส่ภู าวะเดิมก่อนเกิดวิกฤติ ซ่ึงภาวะเศรษฐกิจดังกล่าวอาจ
ส่งผลกระทบกับฐานะทางคลังของรัฐบาลในการจัดทางบประมาณรายจ่ายด้านการศึกษา และรายได้ของ
ผู้ปกครองในการเลือกรับบริการทางการศึกษาจากโรงเรียนเอกชน

2

2.1.2 การปฏิวัติดิจิทัล (Digital Revolution) ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลแบบก้าว
กระโดด การเข้าสู่ยุคอินเตอร์เน็ตแห่งสรรพสิ่ง (Internet of Things) ส่งผลการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการ
เรียนรู้และวิถีการดาเนินชีวิตโดยฉับพลันส้ินเชิง (Disruption) เกิดเป็นความท้าทายของกระแสโลกาภิวัฒน์
รอบใหม่ทีท่ ุกประเทศในโลกจะต้องเตรียมพร้อมรับมือให้ทัน และสามารถสร้างสรรค์ประโยชน์จากเทคโนโลยี
ดิจิทัลและสารสนเทศที่มีอยูอ่ ยา่ งมหาศาล เพื่อความเป็นต่อทางด้านเศรษฐกิจภายใต้การแข่งขันอย่างเสรีและ
ไรพ้ รมแดน

2.1.3 การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างของประชากร ความก้าวหน้าทางด้านการแพทย์และระบบ
สาธารณสุขทาให้ประชากรมีอายุขัยโดยเฉล่ียมากข้ึน ประกอบกับอัตราการเกิดของประเทศไทยน้อยลงทาให้
ประชากรวยั เด็กหรอื วัยเรยี นลดลง สง่ ผลใหโ้ ครงสร้างของประชากรเปล่ยี นแปลงเข้าสู่สงั คมสูงวัยอย่างสมบูรณ์
และมีจานวนแรงงานลดลงเร่ือย ๆ ทาให้มีอัตราการพึ่งพิงหรือการท่ีวัยแรงงานต้องแบกรับภาระการดูแล
ผู้สูงวัยสูงข้ึน ส่งผลกระทบกับผลิตภาพของเศรษฐกิจของประเทศและฐานะการคลังของรัฐบาลท่ีในอนาคต
งบประมาณการดูแลผู้สูงอายุจะสูงขึ้นมาก การพัฒนาการศึกษาเอกชนจึงจาเป็นต้องวางแผนในการรองรับ
ผลกระทบจากประชากรวัยเรียนท่ีลดลง การวางพ้ืนฐานในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีทักษะและ
สมรรถนะสงู การสง่ เสริมการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตผา่ นการพฒั นาการศึกษาของโรงเรียนนอกระบบเพื่อให้พร้อมรับ
การเปลย่ี นแปลง ลดอตั ราการพงึ่ พงิ และเป็นกลไกหน่งึ ในการขับเคล่อื นการพัฒนาประเทศ

2.1.4 ปัญหาสิ่งแวดล้อมและโรคอุบัติใหม่ การขยายตัวของอุตสาหกรรมและชุมชนเมือง ส่งผลให้
ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลายและเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว สร้างมลพิษ เกิดภาวะโลกร้อน มีปัญหาฝุ่นละออง
ขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) นอกจากน้ียังมีการโรคอุบัติใหม่โดยมีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (Covid–19) การจัดการศึกษาเอกชนจึงต้องคานึงการถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้ของการเป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อม ให้ความรู้และทักษะ รวมถึงการจัดการในการป้องกัน รับมือ และแก้ไขปัญหาด้าน
สงิ่ แวดล้อมและผลกระทบจากการเกดิ โรคอุบตั ิใหม่

2.1.5 คุณภาพคนไทยทกุ กล่มุ วยั ยังมีปญั หา โดยเดก็ เล็กยังมปี ัญหาพฒั นาการไม่สมวัย กลุ่มเด็กวัย
เรยี นมปี ญั หาดา้ นความสามารถทางเชาวป์ ัญญาและความฉลาดทางอารมณ์ วัยรุ่นมีปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัย
อนั ควร กลุ่มวัยแรงงานมีปัญหาผลติ ภาพแรงงานตา่ และผสู้ งู วยั ส่วนใหญ่เป็นวัยพง่ึ พงิ ทง้ั ในเชงิ เศรษฐกิจ สังคม
และสุขภาพ นอกจากน้ีคนไทยยังมีปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัย ความซ่ือสัตย์สุจริต การมีจิต
สาธารณะ ยอมรับคนท่ีฐานะมากกว่าคนดีมีคุณธรรม ขาดทักษะในการคัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรมท่ีดี
การศกึ ษาจึงจาเป็นตอ้ งใหค้ วามสาคัญต่อการวางรากฐานบนค่านยิ มของสังคมไทย

2.2 ทศิ ทางการพฒั นาประเทศ
2.2.1 รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มีข้อกาหนดท่ีสาคัญและเก่ียวข้องกับ

การศึกษาเอกชน ดงั นี้

3

มาตรา 54 กาหนดให้รัฐต้อง (1) ดาเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี
ต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย (2) ดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการ
ดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาตามวรรคหนึ่ง เพ่ือพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
ให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการ
ดาเนินการด้วย (3) รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้ง
ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และ
ภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าท่ีดาเนินการ กากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัด
การศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติซ่ึงอย่างน้อย
ตอ้ งมบี ทบญั ญตั ิเกย่ี วกับการจัดทาแผนการศึกษาแห่งชาติและการดาเนินการและตรวจสอบการดาเนินการให้
เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย (4) การศึกษาท้ังปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจ
ในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและ
ประเทศชาติ (5) ในการดาเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาตามวรรคสองหรือให้ประชาชนได้รับ
การศึกษาตามวรรคสาม รัฐต้องดาเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา
ตามความถนดั ของตน (6) ใหจ้ ดั ตัง้ กองทุนเพือ่ ใช้ในการชว่ ยเหลอื ผ้ขู าดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหล่ือมล้า
ในการศกึ ษาและเพอ่ื เสรมิ สรา้ งและพฒั นาคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพครู

มาตรา 76 กาหนดให้รัฐพึงพัฒนาระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอ่ืน ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดย
หน่วยงานของรฐั ตอ้ งรว่ มมือและช่วยเหลือกนั ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ เพอ่ื ให้การบรหิ ารราชการแผ่นดิน การจัดทา
บริการสาธารณะและการใช้จ่ายเงินงบประมาณมีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน รวม
ตลอดท้ังพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีทัศนคติเป็นผู้ให้บริการประชาชนให้เกิดความ
สะดวก รวดเร็วไม่เลอื กปฏิบัติ และปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

2.2.2 นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตร)ี
นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายรัฐบาลต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เมื่อวันท่ี 25 กรกฎาคม

2562 โดยได้กาหนดนโยบายหลัก 12 ด้าน นโยบายเร่งด่วน 12 เร่ือง มีนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับภารกิจของ
สานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน ดังนี้

นโยบายหลกั
นโยบายหลักที่ 1 การปกป้องและเชดิ ชสู ถาบนั พระมหากษตั ริย์
1.1 สืบสาน รักษา ต่อยอดศาสตร์พระราชาและโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเป็นหลักสาคัญในการบาบัดทุกข์ และบารุงสุขให้ประชาชน และพัฒนา
ประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลย
เดชมหาราช บรมนาถบพิตร รวมทั้งส่งเสริมการเรียนรู้หลักการทรงงาน การนามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ

4

ราชการและการพัฒนาประเทศ เพื่อประโยชนใ์ นวงกว้าง รวมทั้งเผยแพร่ศาสตรพ์ ระราชาและหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจ พอเพยี งไปสู่เวทโี ลกเพ่ือขบั เคลอ่ื นการพัฒนาอย่างยง่ั ยืน

1.2 ต่อยอดการดาเนินการของหน่วยพระราชทานและประชาชน จิตอาสาพระราชทานตาม
แนวพระราชดาริให้เป็นแบบอย่างการบาเพ็ญสาธารณประโยชน์ ในพ้ืนที่ต่าง ๆ เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อน
แก้ไขปัญหาให้แก่ประชาชน และพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชน โดยระดมพลังความรัก ความสามัคคี
ทั้งของหน่วยงานในพระองค์หนว่ ยงานราชการ ภาคเอกชน และชมุ ชน

1.3 สรา้ งความตระหนักรเู้ ผยแพรแ่ ละปลูกฝังให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องและ
เป็นจริงเก่ียวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และพระราชกรณียกิจ เพ่ือประชาชน ตลอดจนพระมหากรุณาธิคุณ
ของพระมหากษตั รยิ ์ทกุ พระองค์เพ่อื ก่อให้เกิดการมีสว่ นร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ในบรบิ ทของไทย

นโยบายหลักที่ 2 การสรา้ งความม่นั คงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุข
ของประเทศ

2.2 ปลูกจิตสานึก เกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเป็นชาติไทย การมีจิตสาธารณะและการมี
ส่วนร่วมทาประโยชน์ให้ประเทศ รักษาผลประโยชน์ของชาติ ความสามัคคีปรองดองและความเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่
ระหว่างกันของประชาชน โดยสถาบันการศึกษาสอดแทรกการปลูกฝังวินัยของคนในชาติหลักคิดท่ีถูกต้อง
สร้างค่านิยม “ประเทศไทยสาคัญที่สุด” การเคารพกฎหมายและกติกาของสังคม ปรับสภาพแวดล้อม
ทงั้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษาใหเ้ อือ้ ต่อการมคี ุณธรรม จริยธรรม และจติ สาธารณะ

2.4 สร้างความสงบและความปลอดภัย ตั้งแต่ระดับชุมชน โดยกาหนดให้หน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้องเฝ้าระวัง ดูแล และรักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความสงบสุขของ
ประชาชน และปัญหายาเสพติดในระดับชุมชนและหมู่บ้านอย่างต่อเนื่อง และสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วน
รว่ มกบั ภาครัฐในการสร้างความปลอดภยั ในพ้ืนท่ี

2.5 แก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างจริงจังทั้งระบบ ด้วยการบังคับใช้ กฎหมายอย่างเคร่งครัด
ปราบปรามแหล่งผลิตและเครือข่ายผู้ค้ายาเสพติด โดยเฉพาะผู้มีอิทธิพลและเจ้าหน้าท่ีของรัฐท่ีเกี่ยวข้อง
อยา่ งเด็ดขาด ปอ้ งกนั เส้นทางการนาเขา้ สง่ ออกโดยร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน การลดจานวนผู้ค้าและผู้เสพ
รายใหม่ และให้ความรู้เยาวชนถึงภัยยาเสพติดอยา่ งต่อเน่ือง รวมทั้งฟ้ืนฟูดูแลรักษาผู้เสพผ่านกระบวนการทาง
สาธารณสุข

นโยบายหลักท่ี 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศกั ยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย
8.1 ส่งเสรมิ การพัฒนาเด็กปฐมวัย

8.1.1 จัดใหม้ ีระบบพฒั นาเด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องจนถึงเด็กวัยเรียนให้มีโอกาสพัฒนา
ตามศักยภาพ เพ่ือสร้างคนไทยท่ีมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพผ่านครอบครัวท่ีอบอุ่นในทุกรูปแบบครอบครัว
เพื่อส่งต่อการพัฒนาเด็กไทยให้มีคุณภาพสู่การพัฒนาในระยะถัดไปบนฐานการให้ความช่วยเหลือท่ี คานึงถึง
ศักยภาพของครอบครัวและพื้นท่ี เตรียมความพร้อมการเป็นพ่อแม่ ความรู้เรื่องโภชนาการและสุขภาพ การอบรม
เล้ียงดูการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยผ่านการให้บริการสาธารณะที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะการยกระดับ

5

คุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ัวประเทศให้ได้มาตรฐาน และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษา
และผดู้ แู ลเดก็ ปฐมวยั ใหส้ ามารถจัดการศึกษาได้อย่างมคี ุณภาพ

8.1.2 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยคานึงถึงพหุปัญญาท่ีหลากหลายของเด็กแต่ละ
คนให้ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ ผ่านการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงกับ
ระบบโรงเรยี นปกตทิ ่เี ป็นระบบและมีทศิ ทางที่ชดั เจน

8.2 พัฒนาบณั ฑิตพนั ธ์ุใหม่
8.2.1 ปรบั รปู แบบการเรียนรแู้ ละการสอนเพอ่ื พัฒนาทักษะ และอาชีพของคนทุกช่วงวัย

สาหรับศตวรรษท่ี 21 โดยปรับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาให้ทันสมัย มีการนาเทคโนโลยีและการเรียนรู้
ผา่ นประสบการณจ์ รงิ เข้ามามสี ่วนในการจัดการเรียนการสอน และปรับระบบดงึ ดดู การคัดเลือก การผลิตและ
พัฒนาครูที่นาไปสู่การมีครูสมรรถนะสูง เป็นครูยุคใหม่ท่ีสามารถออกแบบและจัดระบบการสร้างความรู้
สร้างวินัย กระตุ้น และสร้างแรงบันดาลใจ เปิดโลกทัศน์มุมมองของเด็กและครูด้วยการสอนในเชิงแสดง
ความคดิ เห็นใหม้ ากขนึ้ ควบคู่กับหลักการทางวชิ าการ

8.2.2 จัดการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทางานเพ่ือพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนทั้งใน
ส่วนฐานความรู้และระบบความคิดในลักษณะสหวิทยาการ และตรงกับความต้องการของประเทศในอนาคต
และเป็นผู้เรียนท่ีสามารถปฏิบัติได้จริงและสามารถกากับการเรียนรู้ของตนเองได้ รวมถึงมีทักษะด้าน
ภาษาอังกฤษและภาษาที่สามท่ีสามารถส่ือสารและแสวงหาความรู้ได้ มีความพร้อมท้ังทักษะความรู้ทักษะอาชีพ
และทักษะชีวิตก่อนเข้าสตู่ ลาดแรงงาน

8.5 วิจยั และพัฒนานวตั กรรมที่ตอบโจทยก์ ารพัฒนาประเทศ
8.5.1 ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพ่ือขจัดความเหล่ือมล้าและความยากจน

ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยมุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมเชิงสังคมและนวัตกรรมในเชิงพ้ืนท่ี
ท่ีสามารถช่วยแก้ปัญหาความเหล่ือมล้า สร้างโอกาสสาหรับผู้ด้อยโอกาส และยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงวัย
ควบคู่ไปกับการพัฒนาทุนมนุษย์ให้พร้อมสาหรับโลกยุคดิจิทัลและอุตสาหกรรม 4.0 ตามความเหมาะสม
ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยระยะแรกจะให้ความสาคัญกับการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพของ
ประชาชนอย่างครบวงจร ทง้ั ระบบยา วัคซนี เวชภัณฑ์ และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย

8.6 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทกุ ช่วงวัย
8.6.1 มงุ่ เนน้ การพัฒนาโรงเรียนควบคู่กับการพัฒนาครู เพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหาร

จัดการศกึ ษาในทกุ ระดับบนพนื้ ฐานการสนับสนนุ ทค่ี านงึ ถึงความจาเป็นและศักยภาพของสถาบันการศึกษาแต่
ละแห่ง พร้อมทั้งจัดให้มีมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับ และสร้างระบบวัดผลโรงเรียนและครู
ท่ีสะท้อนความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน คืนครูให้นักเรียนโดยลดภาระงานที่ไม่จาเป็น รวมถึง
จัดใหม้ รี ะบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยการเชื่อมโยงหรือส่งต่อข้อมูลครอบครัวและผู้เรียน
ระหว่างหนว่ ยงานต่าง ๆ ต้งั แต่แรกเกิดจนถึงการพฒั นาตลอดช่วงชวี ิต ตลอดจนพฒั นาชอ่ งทางใหภ้ าคเอกชนมี
ส่วนรว่ มในการจดั การศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชีวิต

6

8.6.2 พัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัล พร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสร้างสรรค์ที่เหมาะสมมาใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดท่ีหลากหลาย
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจและเหมาะสมกับช่วงวัย ตลอดจนพัฒนาแหล่งเรียนรู้และอุทยาน
การเรียนรู้สาหรับเยาวชนทีเ่ ชอ่ื มโยงเทคโนโลยกี บั วิถีชีวิต และส่งเสริมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ที่
เข้าส่สู ังคมสงู วัย

8.6.3 ลดความเหล่ือมล้าทางการศึกษา โดยบูรณาการการดาเนินงานระหว่างหน่วยจัด
การศึกษากับกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา มุ่งเน้นกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและกลุ่มเด็กนอกระบบ
การศึกษา ปรับเปลี่ยนการจัดสรรงบประมาณ ให้สอดคล้องกับความจาเป็นของผู้เรียนและลักษณะพ้ืนท่ีของ
สถานศึกษา จัดระบบโรงเรยี นพี่เลยี้ ง จับคู่ระหวา่ งโรงเรียนขนาดใหญท่ ีม่ คี ุณภาพการศึกษาดีกับโรงเรียนขนาด
เล็ก เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา และการส่งเสริมให้ภาคเอกชน ชุมชนในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมในการ
ออกแบบการศึกษาในพ้ืนท่ี สนับสนุนเด็กที่มีความสามารถแต่ไม่มีทุนทรัพย์เป็นกรณีพิเศษ ตลอดจนแก้ไข
ปัญหา หน้ีสินทางการศึกษา โดยการปรับโครงสร้างหน้ีกองทุนเงินให้กู้ยืมเพ่ือการศึกษา และทบทวนรูปแบบ
การใหก้ ยู้ มื เพื่อการศกึ ษาท่ีเหมาะสม

8.6.4 พัฒนาทักษะอาชีพทุกช่วงวัย โดยกาหนดระบบที่เอ้ือต่อการพัฒนาทักษะและ
เพ่ิมประสิทธิภาพของทุกช่วงวัย อาทิ การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาให้เช่ือมโยงกับระบบคุณวุฒิ
วิชาชีพ โดยมีกลไกการวัดและประเมินผลเพื่อเทียบโอนความรู้และประสบการณ์หน่วยการเรียนท่ีชัดเจน ส่งเสริม
เยาวชนท่มี ศี ักยภาพดา้ นกีฬาใหส้ ามารถพฒั นาไปสู่นักกีฬาอาชีพ การกาหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน การจัดให้มี
ระบบท่ีสามารถรองรับความต้องการพัฒนาปรับปรุงทักษะอาชีพของทุกช่วงวัย เพื่อรองรับการเปล่ียนสาย
อาชีพ ให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานท่ีอาจจะเปลี่ยนไปตามแนวโน้มความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ในอนาคต

8.6.5 สง่ เสริมหลักคิดท่ีถูกต้อง โดยสอดแทรกการปลูกฝังวินัย และอุดมการณ์ท่ีถูกต้อง
ของคนในชาติ หลักคิดท่ีถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม การมีจิตสาธารณะ การเคารพกฎหมาย และกติกาของ
สังคมเข้าไปในทุกสาระวิชาและในทุกกิจกรรม ควบคู่ไปกับการส่งเสริมกลไกสร้างความเข้มแข็งของสถาบัน
ครอบครวั ในทุกมติ ิอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ปรับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
ให้เอื้อต่อการมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ รวมท้ังลงโทษผู้ละเมิดบรรทัดฐานที่ดีทางสังคม
ตลอดจนสง่ เสริม ใหเ้ กิดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการขับเคลอ่ื นประเทศ

8.7 จัดทาระบบปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น เน้นออกแบบหลักสูตร
ระยะสน้ั ตามความสนใจ พฒั นาทกั ษะตา่ ง ๆ ทีใ่ ชใ้ นการดารงชีวิตประจาวนั และทกั ษะอาชพี ของคนทุกช่วงวัยในพื้นที่
และชุมชนเป็นหลัก พร้อมทั้งศึกษาแนวทางการพัฒนา เป็นรูปแบบธนาคารหน่วยกิต ซึ่งเป็นการเรียนเก็บ
หน่วยกิตของวิชาเรียนเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถ เรียนข้ามสาขาวิชาและข้ามสถาบันการศึกษาหรือทางาน
ไปพรอ้ มกนั หรือเลือกเรยี นเฉพาะหลกั สตู รทีส่ นใจ เพื่อสรา้ งโอกาสของคนไทยทกุ ช่วงวัยและทุกระดับสามารถ
พฒั นาตนเองท้งั ในด้านการศึกษาและการดารงชวี ติ การพัฒนาระบบสาธารณสขุ และหลักประกันทางสังคม

7

นโยบายหลักที่ 9 การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกนั ทางสงั คม
9.4 สร้างหลักประกันทางสังคม ท่ีครอบคลุมด้านการศึกษา สุขภาพ การมีงานทาที่เหมาะสม
กับประชากรทุกกลุ่ม มีการลงทุนทางสังคมแบบมุ่งเป้าหมาย เพื่อช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
โดยตรง จัดให้มีระบบบาเหน็จบานาญหลังพ้นวัยทางาน ปฏิรูประบบภาษีให้ส่งเสริมความเสมอภาคทางสังคม
สร้างความเสมอภาคทางการศึกษาผ่านกลไกกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา และยกระดับคุณภาพ
การศึกษา ผ่านการใช้เทคโนโลยีท่ีทันสมัย รวมถึงคุ้มครองแรงงานท้ังในระบบและนอกระบบให้ได้รับความปลอดภัย
และมีสขุ อนามยั ทดี่ ีในการทางาน ได้รับรายไดส้ วสั ดกิ ารและสทิ ธิประโยชน์ทเ่ี หมาะสมแกก่ ารดารงชพี
นโยบายหลกั ที่ 10 การฟ้นื ฟูทรัพยากรธรรมชาตแิ ละการรกั ษาสงิ่ แวดล้อมเพื่อสร้างการ
เตบิ โตอย่างยั่งยนื
10.5 แก้ไขปัญหาก๊าซเรือนกระจกและผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ
โดยมุ่งเน้นการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก สร้างสังคมคาร์บอนต่าและปลอดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน
กาหนดมาตรการควบคุมการเผาพ้ืนที่เพ่ือทาการเพาะปลูก ปรับปรุงการบริหารจัดการภัยพิบัติทั้งระบบ และ
การสร้างความรคู้ วามเข้าใจของประชาชน ในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติและ
ผลกระทบท่ีเกีย่ วขอ้ งกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ สนบั สนุนการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานของภาครัฐ
และภาคเอกชนที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาปรับปรุงระบบ
บรหิ ารจัดการตา่ ง ๆ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ พร้อมทัง้ ปรับปรงุ กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง เพ่ือมุ่งสู่เป้าหมายตามพันธกรณี
ระหว่างประเทศที่ไทยเข้ารว่ มและให้สตั ยาบนั ไว้
10.8 แก้ไขปญั หาการจัดการขยะและของเสียอย่างเป็นระบบ โดยเริ่มจากการส่งเสริมและให้
ความรู้ในการลดปริมาณขยะในภาคครัวเรือนและธุรกิจ การนากลับมาใช้ซ้า การคัดแยกขยะต้ังแต่ต้นทาง
เพ่ือลดปริมาณและต้นทุนในการจัดการขยะของเมือง และสามารถนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้โดยง่าย
รวมท้งั พฒั นาโรงงานกาจดั ขยะและของเสียอันตรายท่ีได้มาตรฐาน
นโยบายหลกั ท่ี 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ
11.1 พัฒนาโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยพัฒนาให้ภาครัฐ
มีขนาดที่เหมาะสม มีการจัดรูปแบบองค์กรใหม่ท่ีมีความยืดหยุ่นคล่องตัว และเหมาะสมกับบริบทของประเทศ
รวมทั้งจัดอัตรากาลังเจ้าหน้าที่ของรัฐให้สอดคล้องกับโครงสร้างหน่วยงานและภารกิจงานที่เปล่ียนแปลงไป
พัฒนาศักยภาพของเจ้าหน้าที่รัฐให้สามารถรองรับบริบทการเปลี่ยนแปลงและตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนได้อย่างทันท่วงที พร้อมท้ังปรับเปลี่ยนระบบการบริหารราชการแผ่นดินให้เกิดความเชื่อมโยง
สอดคล้องกนั ตงั้ แต่ขนั้ วางแผน การนาไปปฏิบตั ิ การตดิ ตามประเมนิ ผล การปรับปรงุ การทางานให้มีมาตรฐาน
สูงขึ้น และปรบั ปรงุ โครงสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหว่างราชการบริหารสว่ นกลาง สว่ นภูมิภาคและ สว่ นทอ้ งถน่ิ
11.2 ปรับเปล่ียนกระบวนการอนุมัติอนุญาตของทางราชการท่ีมีความสาคัญต่อการประกอบ
ธรุ กจิ และดาเนินชวี ติ ของประชาชนให้เป็นระบบดิจิทัล และสามารถเชื่อมโยงข้อมูลต่อเน่ืองกันต้ังแต่ต้นจนจบ
กระบวนการ พร้อมทงั้ พัฒนาโปรแกรมออนไลน์ เพอื่ ใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถงึ บริการของภาครัฐได้ อย่าง
ทนั ทีและทุกเวลา

8

11.3 พัฒนาระบบข้อมูลขนาดใหญ่ในการบริหารราชการแผ่นดินท่ีมีระบบการวิเคราะห์และ
แบ่งปันข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพและเช่ือถือได้ เพ่ือให้เกิดการใช้ประโยชน์ข้อมูลขนาดใหญ่ในระบบบริการ
ประชาชนที่เป็นไปตามความต้องการเฉพาะตวั บุคคลมากข้นึ

11.4 เปิดเผยข้อมูลภาครัฐสู่สาธารณะ โดยหน่วยงานของรัฐในทุกระดับต้องเปิดเผยและ
เชื่อมโยงข้อมูลซึ่งกันและกัน ท้ังในระหว่างหน่วยงานของรัฐด้วยกันเอง และระหว่างหน่วยงานรัฐกับประชาชน
เพ่ือให้ทุกภาคส่วนมีความเข้าใจถึงสถานการณ์ และแนวทางการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของประเทศที่มีความซับซ้อน
ปรับเปลี่ยนให้เป็นการทางานเชิงรุก เน้นการยกระดับไปสู่ความร่วมมือกันของทุกภาคส่วนอย่างจริงจัง
แสวงหาความคดิ รเิ ร่มิ และสร้างนวัตกรรม โดยมีการคาดการณ์สถานการณ์วิเคราะห์ความเสี่ยงและผลกระทบ
ท่คี าดว่าจะเกดิ ขนึ้ ไวล้ ว่ งหนา้ เพอื่ ให้สามารถเตรยี มความพรอ้ มรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างฉับพลัน ใน
ดา้ นตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

11.5 ส่งเสริมระบบธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการภาครัฐ โดยสร้างความเชื่อมั่น ศรัทธา
และส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาข้าราชการ บุคลากร และเจ้าหน้าท่ีของรัฐอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการปรับเปล่ียน
กระบวนการทางความคิดให้คานงึ ถึงผลประโยชน์ของชาติ และเน้นประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง พร้อมกับยึดม่ันใน
หลักจริยธรรมและธรรมาภิบาล มีสมรรถนะและความรู้ความสามารถพร้อมต่อการปฏิบัติงาน ดาเนินการ
ปรับปรุงสวสั ดิภาพชวี ิตความเปน็ อยู่ ตลอดจนสรา้ งขวญั กาลังใจและความผกู พนั ในการทางาน

11.7 ปรบั ปรงุ ระเบียบ กฎหมาย เพ่อื เออื้ ตอ่ การทาธรุ กิจและการใช้ชวี ติ ประจาวัน
11.7.1 ปรับปรุงขั้นตอนและระยะเวลาการให้บริการ การอานวยความสะดวก ต้นทุน

ค่าใช้จา่ ย กฎหมาย กฎ และระเบยี บตา่ ง ๆ ของภาครฐั ให้สามารถ สนับสนนุ และเอ้ือต่อการประกอบธุรกิจทั้ง
ภายในและภายนอกประเทศและเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงบริบทต่าง ๆ โดยครอบคลุมกระบวนการตั้งแต่
จัดต้ังธุรกิจจนถึงการปิดกิจการ พร้อมท้ังกากับและส่งเสริมให้หน่วยงานภาครัฐปฏิบัติตามและบังคับใช้
กฎหมายอย่างเคร่งครัด ยุติธรรม เสมอภาค เท่าเทียม ถูกต้องตามหลักนิติธรรม และเป็นไปตามปฏิญญาสากล
ตลอดจนเร่งรัดการพัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานภาครัฐให้มีความเช่ือมโยงกัน
อยา่ งไรร้ อยต่อ เพื่อให้ประชาชนสามารถติดตอ่ ราชการได้โดยสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส และตรวจสอบได้

นโยบายหลักท่ี 12 การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และ
กระบวนการยุติธรรม

12.1 แก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยจัดให้มีมาตรการและระบบเทคโนโลยีนวัตกรรม
ทีช่ ว่ ยปอ้ งกันและลดการทจุ รติ ประพฤตมิ ิชอบอย่างจริงจังและเข้มงวด รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการติดตามการ
แก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งเร่งสร้างจิตสานึกของคนในสังคมให้ยึดมั่นใน
ความซ่ือสัตย์สุจริต ถูกต้อง ชอบธรรม และสนับสนุนทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและ
เฝา้ ระวังการทุจริตประพฤติมชิ อบ

นโยบายเร่งดว่ น 12 เร่ือง
นโยบายเร่งด่วนที่ 7 การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี 21 โดยสร้างแพลตฟอร์มการเรียนรู้ใหม่ใน
ระบบดิจิทัล ปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้มุ่งสู่ระบบการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ด้านวิศวกรรม คณิตศาสตร์

9

โปรแกรมเมอร์และภาษาต่างประเทศ ส่งเสริมการเรียนภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) ต้ังแต่ระดับประถมศึกษา การพัฒนา
โรงเรียนคุณภาพในทุกตาบล ส่งเสรมิ การพฒั นาหลักสตู รออนไลน์ของสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เพ่ือแบ่งปันองค์ความรู้ของ
สถาบันการศึกษาสู่สาธารณะ เชื่อมโยงระบบการศึกษากับภาคปฏิบัติจริงในภาคธุรกิจ สร้างนักวิจัยใหม่และนวัตกร
เพื่อเพ่ิมศักยภาพด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศ สร้างความรู้ความเข้าใจการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ส่ือออนไลน์
และโครงข่ายสังคมออนไลน์ของคนไทย เพอ่ื ป้องกันและลดผลกระทบในเชงิ สงั คม ความปลอดภัย อาชญากรรมทางไซเบอร์
และสามารถใช้เทคโนโลยเี ป็นเครื่องมือในการกระจายข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้อง การสร้างความสมานฉันท์ และความสามัคคี
ในสงั คม รวมท้งั ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรมท่ีจาเป็นในการดาเนินชวี ติ

นโยบายเร่งด่วนท่ี 8 การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ท้ังฝ่ายการเมือง
และฝ่ายราชการประจา โดยเร่งรัดการดาเนินมาตรการทางการเมืองควบคู่ไปกับมาตรการทางกฎหมายเมื่อพบผู้กระทาผิด
อย่างเคร่งครัด นาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการเฝ้าระวัง การทุจริตประพฤติมิชอบอย่างจริงจังและเข้มงวด และเร่งรัด
ดาเนินการตามข้นั ตอนของกฎหมาย เม่ือพบผู้กระทาผิดอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ภาครัฐปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
โดยเร็วท่ีสุด พร้อมทั้งให้ภาคสังคม ภาคเอกชน และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและเฝ้าระวังการทุจริต
ประพฤตมิ ชิ อบ

นโยบายเร่งด่วนท่ี 9 การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพ้ืนที่ชายแดน
ภาคใต้ โดยเรง่ รัดการแก้ไขปัญหายาเสพติดโดยใหค้ วามสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน และ
การบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด รวมถึงการร่วมมือกับประเทศเพ่ือนบ้านและประเทศ ทุกภูมิภาค ปราบปราม
แหล่งผลิตและเครือข่ายผู้ค้ายาเสพติด ทั้งบริเวณชายแดนและพื้นท่ีภายใน ฟื้นฟูดูแลรักษาผู้เสพผ่าน
กระบวนการทางสาธารณสุข สร้างโอกาส สร้างอาชีพ รายได้ และการยอมรับของสังคมสาหรับผู้ท่ีผ่านการ
ฟื้นฟูและเร่งสร้างความสงบสุขในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนายุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ
เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักในการดาเนินการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนท้ังในด้าน
การศึกษา เศรษฐกิจ และสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ เร่งรัดการให้ความ
ช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบ รวมท้ังจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสาหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ในพน้ื ที่ โดยให้เป็นการแก้ไขปญั หาภายในของประเทศดว้ ยกฎหมายไทยและหลกั การสากล

นโยบายเร่งด่วนที่ 10 การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน โดยมุ่งสู่ความเป็นรัฐบาล
ดิจทิ ลั ที่โปร่งใสตรวจสอบได้พัฒนาระบบจัดเก็บและเปิดเผยข้อมูลของภาครัฐ ปรับปรุงระบบการอนุมัติ และ
อนุญาตของทางราชการที่สาคัญให้เป็นระบบดิจิทัลทั้งบุคคลและนิติบุคคลเพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของ
เจ้าหนา้ ท่รี ฐั ลดภาระคา่ ใช้จา่ ยของประชาชน ลดขัน้ ตอนทีย่ งุ่ ยากเกินความจาเป็น ลดข้อจากัดด้านกฎหมายท่ี
เปน็ ปญั หาอปุ สรรคตอ่ การทาธรุ กจิ และการดารงชีวติ ของประชาชน แก้ไขกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม ล้าสมัย และ
เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ ผ่านการทดลองใช้มาตรการด้านกฎระเบียบต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้
และขบั เคล่อื นการให้บรกิ ารในทิศทางท่ีตรงกับความต้องการของประชาชนและภาคธุรกจิ

10

2.2.3 ยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580
คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 และประกาศในราชกิจจา

นุเบกษา เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2561 เพ่ือใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะ 20 ปี
โดยกาหนดวสิ ยั ทัศน์ คือ “ประเทศไทยมคี วามมัน่ คง ม่งั คั่ง ยง่ั ยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือเป็นคติพจน์ประจาชาตวิ ่า “ม่นั คง มง่ั คงั่ ยัง่ ยนื ”

มีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา
อย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศใน
หลากหลายมิติ พฒั นาคนในทกุ มิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง
สังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและ
ประโยชนส์ ่วนรวม โดยการประเมินผลการพฒั นาตามยุทธศาสตรช์ าติ ประกอบด้วย

1) ความอย่ดู ีมีสขุ ของคนไทยและสังคมไทย
2) ขีดความสามารถในการแข่งขัน การพฒั นาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้
3) การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ของประเทศ
4) ความเท่าเทยี มและความเสมอภาคของสงั คม
5) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพสง่ิ แวดล้อม และความยงั่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติ
6) ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการและการเข้าถึงการใหบ้ รกิ ารของภาครัฐ
การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่าง
การพัฒนาความม่ันคง เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในรูปแบบ
“ประชารัฐ” โดยประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
1) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญ คือ ประเทศชาติม่ันคง
ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย เอกราช
อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับตั้งแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมื อ
เทคโนโลยี และระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้
ทุกรูปแบบ และทุกระดับความรุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงท่ีมีอยู่ใน
ปจั จบุ นั และทอี่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคต ใชก้ ลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการท้ังกับส่วนราชการ ภาคเอกชน
ประชาสังคม และองคก์ รทีไ่ มใ่ ช่รัฐ รวมถงึ ประเทศเพอ่ื นบา้ นและมิตรประเทศ ทว่ั โลกบนพื้นฐานของหลักธรรมาภิบาล
เพ่ือเอื้ออานวยประโยชน์ต่อการดาเนินการของยุทธศาสตร์ชาติ ด้านอ่ืนๆ ให้สามารถขับเคลื่อนไปได้ตาม
ทศิ ทางและเปา้ หมายท่กี าหนด
2) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้น
การยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพ้ืนฐานแนวคดิ 3 ประการ ได้แก่

(1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม
ประเพณี วิถีชวี ติ และจุดเดน่ ทางทรพั ยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมท้ังความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของ

11

ประเทศในด้านอ่ืนๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพ่ือให้สอดรับกับบริบทของ
เศรษฐกิจ และสงั คมโลกสมัยใหม่

(2) “ปรับปัจจุบัน” เพ่ือปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของประเทศ
ในมิติต่างๆ ท้ังโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล
และการปรับสภาพแวดลอ้ มให้เอ้อื ตอ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต

(3) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพ่ิมศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่
รวมถึง ปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ท่ีรองรับอนาคต
บนพ้ืนฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมท้ังการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทย
สามารถสรา้ งฐานรายไดแ้ ละการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการ
ยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มข้ึนของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้าของคนในประเทศได้ใน
คราวเดียวกัน

3) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมาย
การพัฒนาท่ีสาคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทย
มีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย
มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม
และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะสื่อสาร
ภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง
ตลอดชีวิตสู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่และอ่ืนๆ โดยมี
สัมมาชีพตามความถนดั ของตนเอง

4) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมาย
การพัฒนาท่ีสาคัญท่ีให้ความสาคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชน
ท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมทาเพื่อส่วนรวม
การกระจายอานาจและความรบั ผิดชอบไปสกู่ ลไกบรหิ ารราชการแผน่ ดินในระดับท้องถ่ิน การเสริมสร้าง ความ
เข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และการเตรียมความพร้อมของประชากรไทย ท้ังในมิติสุขภาพ
เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มีคุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และทาประโยชน์แก่ครอบครัว
ชมุ ชน และสงั คมใหน้ านที่สุด โดยรัฐให้หลักประกันการเข้าถึงบริการและสวัสดิการท่ีมีคุณภาพอย่างเป็นธรรม
และทัว่ ถงึ

5) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ท้ังมิติด้านสังคม
เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันท้ังภายในและภายนอก
ประเทศอยา่ งบรู ณาการ ใช้พนื้ ท่เี ปน็ ตวั ตงั้ ในการกาหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องได้
เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ โดยเป็นการดาเนินการบนพื้นฐานการเติบโต

12

ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม และคุณภาพชีวิต โดยให้ความสาคัญกับการสร้างสมดุล
ทัง้ 3 ดา้ น อันจะนาไปสคู่ วามยงั่ ยนื เพื่อคนรนุ่ ตอ่ ไปอย่างแทจ้ ริง

6) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สาคัญเพื่อปรับเปล่ียนภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชน และ
ประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครฐั ต้องมีขนาดทเี่ หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ แยกแยะบทบาท หน่วยงานของรัฐที่
ทาหน้าที่ในการกากับหรือในการให้บริการในระบบเศรษฐกิจท่ีมีการแข่งขันมีขีดสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมา
ภิบาล ปรับวัฒนธรรมการทางานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวมมีความทันสมัยและพร้อมที่จะ
ปรับตวั ให้ทันต่อการเปล่ยี นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างย่ิงการนานวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูล
ขนาดใหญ่ ระบบการทางานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับ
มาตรฐานสากล รวมทั้งมีลักษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามา มีส่วนร่วม
เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้อง
ร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์ และสร้างจิตสานึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริต
ประพฤติมิชอบอย่างส้ินเชิง นอกจากนั้น กฎหมายต้องมีความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จาเป็นมีความทันสมัย
มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และนาไปสู่การลดความเหลื่อมล้าและเอ้ือต่อการพัฒนา โดยกระบวนการ
ยุติธรรมมีการบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอานวยความยุติธรรมตามหลักนิติ
ธรรม

2.2.4 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพ่ือบรรลุเป้าหมายตามที่กาหนดไว้

ในยุทธศาสตรช์ าติ มีผลผกู พันต่อหน่วยงานของรฐั ท่เี ก่ียวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามนั้น รวมท้ังการจัดทางบประมาณ
รายจา่ ยประจาปตี อ้ งสอดคลอ้ งกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประกอบด้วย 23 ประเด็น
62 แผนย่อย มีประเด็นหลักท่ีสาคัญและเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาเอกชนในการพัฒนาและเสริมสร้าง
ทรพั ยากรมนุษยอ์ ยู่ในประเด็นที่ 10 ,11 และ 12 ดังนี้

แผนแมบ่ ทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ (10) ประเดน็ การปรบั เปล่ยี นคา่ นิยมและวฒั นธรรม
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
ประกอบดว้ ย แผนยอ่ ย จานวน 3 แผน เกี่ยวข้องกบั สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน
1 แผน ดงั น้ี
1) แผนยอ่ ย 3.1 การปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และการเสริมสร้างจิตสาธารณะ
และการเปน็ พลเมอื งท่ีดี

แนวทางการพัฒนาท่เี ก่ยี วข้อง
(1) บูรณาการเรื่องความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม และด้านส่ิงแวดล้อม
ในการจัดการเรียนการสอนในและนอกสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนการสอนตามพระราชดาริ และปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา จัดให้มีการเรียนรู้ทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติ

13

และภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมท้ังการตระหนักรู้ และการมีส่วนร่วมด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ใหร้ องรบั การเปลย่ี นแปลงทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ

(2) การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
สร้างจิตสาธารณะและจิตอาสาโดยใช้ประโยชน์จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
การส่ือสาร เพื่อรับผิดชอบต่อส่วนรวม สร้างเสริมผู้นาการเปลี่ยนแปลง และต้นแบบท่ีดีทั้งระดับบุคคล
และองค์กร โดยการยกย่องผู้นาท่ีมีจิตสาธารณะและจิตอาสา และมีความรับผิดชอบต่อสังคม
ส่งเสริมสนับสนุนให้มีกลไกการดาเนินงานในการสร้างเสริมการพัฒนาจิตสาธารณะและจิตอาสา
เพอ่ื สงั คมและสว่ นรวม โดยส่งเสรมิ และสนบั สนุนองค์กรสาธารณะท่ีไม่หวังผลประโยชน์

แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (11) ประเด็น ศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต
แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ ประกอบดว้ ย แผนย่อย
จานวน 5 แผน เกี่ยวข้องกบั สานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน จานวน 4 แผน ดงั น้ี
1) แผนย่อย 3.1 การสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
มนุษย์

แนวทางการพฒั นาท่ีเก่ยี วข้อง
(1) ส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ครอบครวั และชมุ ชนในการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ ปลกู ฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน สร้างกระบวนการ
เรียนรู้และพัฒนาทักษะของประชากรให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต สร้างความ
ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม รวมท้ัง
สนับสนุนด้านวิชาการและสร้างนวัตกรรมท่ีสนับสนุนการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน เพื่อให้องค์กร
เครือข่ายชุมชนมีความเข้มแข็ง และมีกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่ที่ประชาชน ชุมชน องค์กรภาครัฐ
ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา เฝ้าระวัง และติดตามการดาเนินงานส่งผลให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
มปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม การปลูกฝงั และพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน โดยเน้นให้พ่อ
แม่มีวัฒนธรรมท่ีปลูกฝังให้ลูกเพิ่มพูนทักษะการเรียนรู้ชีวิต ดนตรี กีฬา ศิลปะ รวมท้ังส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนเปิดพ้ืนท่ี
แห่งการเรียนรู้ และจัดกระบวนการเรียนรู้ทีห่ ลากหลายและเหมาะสม เออื้ แก่ครอบครัวทุกลกั ษณะ
(2) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีความเช่ือมโยงและบูรณาการ
ข้อมูลด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระหว่างภาคีการพัฒนาต่าง ๆ โดยการเช่ือมโยงข้อมูลที่เก่ียวกับ
การศึกษา การพัฒนาตนเอง สุขภาพ และการพัฒนาอาชีพในตลอดช่วงชีวิต เพ่ือเสริมและสร้างศักยภาพ
ของการดาเนินงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามพันธกิจของแต่ละหน่วยงานให้มีความเข้มแข็งและ
ตอบโจทย์ประเทศ เป็นฐานข้อมูลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยที่มีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล สามารถประเมินจุดอ่อน จุดแข็งและศักยภาพบุคคลของประเทศ นาไปสู่การตัดสินใจระดับ
นโยบายและปฏิบัติ เพ่ือพัฒนาคนไทยอย่างมีทิศทางและสอดคล้องกับการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต
รวมถึงข้อมูลท่ีสนับสนุนการผลิตกาลังแรงงานท่ีมีทักษะตรงต่อความต้องการของตลาดงานในอนาคต และใช้

14

ประกอบการตัดสินใจในการศึกษาต่อ มีธนาคารคลังสมองเพ่ือรวบรวมผู้สูงอายุที่มีความรู้ ประสบการณ์ และ
ทักษะเพ่อื ถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และทกั ษะใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติ

2) แผนยอ่ ย 3.2 การพฒั นาเด็กตั้งแตช่ ่วงการต้งั ครรภ์จนถึงปฐมวัย
แนวทางการพฒั นาทเี่ กย่ี วข้อง
จัดให้มีการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ สมรรถนะ และคุณลักษณะท่ีดีท่ีสมวัยทุกด้าน

โดยการพัฒนาหลักสูตรการสอนและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีเน้น
การพัฒนาทักษะสาคญั ด้านตา่ ง ๆ อาทิ ทักษะทางสมอง ทักษะด้านความคิดความจา ทักษะการควบคุมอารมณ์
ทักษะการวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรู้จักประเมินตนเอง ควบคู่กับการยกระดับบุคลากร
ในสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยใหม้ คี วามพร้อมท้งั ทักษะความรู้ จริยธรรม และความเป็นมืออาชีพ ตลอดจน ผลักดัน
ให้มีกฎหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ครอบคลุมทั้งการพัฒนาทักษะ การเรียนรู้เน้นการเตรียม
ความพร้อมเข้าสู่ระบบการศึกษา การพัฒนาสุขภาพอนามัยให้มีพัฒนาการท่ีสมวัยและการเตรียมทักษะการอยู่
ในสงั คมให้มีพัฒนาการอย่างรอบด้าน

3) แผนย่อย 3.3 การพฒั นาชว่ งวยั เรยี น/วยั รนุ่
แนวทางการพฒั นาท่เี กีย่ วขอ้ ง
(1) จัดให้มีการพัฒนาทักษะท่ีสอดรับกับทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยเฉพาะทักษะด้าน

การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน ความคิดสร้างสรรค์ การทางานร่วมกับ
ผูอ้ ื่น

(2) จัดให้มีการพัฒนาทักษะด้านภาษา ศิลปะ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ทส่ี อดคล้องกบั ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ

(3) จัดให้มีการพัฒนาทักษะในการวางแผนชีวิตและวางแผนการเงิน ตลอดจนทักษะ
ทเี่ ช่ือมต่อกับโลกการทางาน

(4) จัดให้มีพัฒนาทักษะอาชีพท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ การบ่มเพาะ
การเป็นนักคิด นักนวัตกร และการเป็นผู้ประกอบการใหม่ รวมทั้งทักษะชีวิตที่สามารถอยู่ร่วมและทางาน
ภายใต้สงั คมที่เป็นพหวุ ฒั นธรรม

4) แผนยอ่ ย 3.4 การพัฒนาและยกระดับศกั ยภาพวัยแรงงาน
แนวทางการพัฒนาทีเ่ ก่ยี วข้อง
(1) ยกระดับศักยภาพ ทักษะและสมรรถนะของคนในช่วงวัยทางานให้มีคุณภาพ

มาตรฐานสอดคลอ้ งกบั ความสามารถเฉพาะบุคคลและความต้องการของตลาดงาน รวมท้ังเทคโนโลยีสมัยใหม่
เพือ่ สร้างความเข้มแขง็ เศรษฐกิจและผลิตภาพเพิม่ ขึ้นให้กบั ประเทศ

(2) เสริมสร้างวัฒนธรรมการทางานท่ีพึงประสงค์ และความรู้ความเข้าใจและทักษะ
ทางการเงิน เพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงและหลักประกันของตนเองและครอบครัว รวมท้ังสร้างเสริมคุณภาพ
ชีวิตทด่ี ใี ห้กับวัยทางานผา่ นระบบการคมุ้ ครองทางสงั คมและการส่งเสริมการออม

15

(3) ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาทักษะแรงงานฝีมือให้เป็นผู้ประกอบการใหม่ และ
สามารถพัฒนาตอ่ ยอดความร้ใู นการสร้างสรรคง์ านใหม่ ๆ และมีโอกาสและทางเลอื กทางานและสร้างงาน

5) แผนย่อย 3.5 การส่งเสริมศักยภาพผสู้ งู อายุ
(1) ส่งเสริมการมีงานทาของผู้สูงอายุให้พ่ึงพาตนเองได้ทางเศรษฐกิจ และร่วมเป็นพลัง

สาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนและประเทศ รวมท้ังสนับสนุนมาตรการจูงใจทางการเงินและการคลังให้
ผู้ประกอบการมีการจ้างงานท่ีเหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุ ตลอดจนจัดทาหลักสูตรพัฒนาทักษะในการประกอบ
อาชีพท่ีเหมาะสมกับวัย สมรรถนะทางกาย ลักษณะงาน และส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ในการทางานร่วมกัน
ระหว่างกล่มุ วัย

(2) ส่งเสรมิ สนบั สนุนระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ พร้อมทั้งจัดสภาพแวดล้อม
ให้เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ อาทิ ส่ิงอานวยความสะดวกในการใช้ชีวิตประจาวันที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุเมืองที่เป็น
มิตรกับผู้สูงอายุท้ังระบบขนส่งสาธารณะ อาคารสถานท่ี พ้ืนที่สาธารณะ และที่อยู่อาศัยให้เอ้ือต่อการใช้ชีวิต
ของผ้สู ูงอายุและทกุ กลมุ่ ในสังคม

แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ (12) ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้
แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู้ ประกอบด้วย แผนย่อย
จานวน 2 แผน เก่ยี วข้องกับสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน จานวน 2 แผน
1) แผนย่อย 3.1 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษ
ท่ี 21

แนวทางการพฒั นาทเี่ ก่ียวขอ้ ง
(1) ปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้สาหรับศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 4 แนวทางย่อย
ไดแ้ ก่

(1.1) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ในทุกระดับชั้น ต้ังแต่ปฐมวัยจนถึงอุดมศึกษาท่ีใช้
ฐานความรแู้ ละระบบคิดในลักษณะสหวิทยาการ มีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่
เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะให้ได้มาตรฐานกับหลักสูตรในระบบการศึกษาชั้นนาที่ได้รับการยอมรับในระดับ
นานาชาติอย่างตอ่ เนื่อง โดยมีการจดั ทารายงานประจาปีท่ีเปิดเผยต่อสาธารณะเก่ียวกับการนิเทศ การติดตาม
ประเมินผล และการปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะ ปฏิรูปหลักสูตรและรูปแบบการเรียนการสอน
อาชีวศึกษาให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพ โดยเน้นการศึกษาอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคี และการฝึกงานในสถานประกอบการ ปฏิรูปการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยเน้นการ
เรียนรู้ที่ผูกกับงานเพ่ือวางรากฐานให้มีสถาบันอุดมศึกษาท่ีสามารถตอบสนองความต้องการของประเทศได้ใน
หลากหลายมิติ ทั้งในด้านการผลิตกาลังคนที่มีสมรรถนะและทักษะในสาขาที่เป็นที่ต้องการของตลาด
การพัฒนาผู้ประกอบการยุคใหม่ที่มีศักยภาพในการสร้างธุรกิจใหม่ที่มีใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และสามารถ
ไปสู่ตลาดต่างประเทศได้ รวมถึงมีนักวิจัยและนวัตกรที่สามารถสร้างสรรค์ผลงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีมี
คุณภาพ สามารถส่งเสริมสนบั สนุนการพฒั นาประเทศในดา้ นเศรษฐกิจและสงั คมเป็นอย่างดี

16

(1.2) พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดับการศึกษา รวมถึงจัดกิจกรรม
เสริมทักษะเพื่อพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนื้อหาและวิธีการสอน
โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนื้อหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพื่อ
การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ควรมคี ณุ ลักษณะทมี่ ชี ีวติ มพี ลวัต มปี ฏิสมั พนั ธ์ การเช่ือมตอ่ และมสี ่วนรว่ ม

(1.3)พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการ ท่ีเน้นการลงมือปฏิบัติ มีการสะท้อน
ความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง โดยเน้นการเรียนการสอนที่เสริมสร้างทักษะชีวิต และสามารถนามาใช้ต่อยอดใน
การประกอบอาชพี ไดจ้ รงิ

(1.4) พัฒนาระบบการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียนสามารถกากับการเรียนรู้ของตนได้ เพ่ือให้
สามารถนาองค์ความรู้ไปใช้สร้างรายได้ รวมถึงมีทักษะด้านวิชาชีพและทักษะชีวิต โดยใช้สื่อผสมอย่าง
หลากหลาย ปรับเปล่ียนตามความสามารถและระดับของผู้เรียน มีเน้ือหาท่ีไม่ยึดติดกับตัวสื่อ เลือกประกอบ
เน้ือหาได้เอง ค้นหา แก้ไข จดบันทึกได้ เก็บประวัติการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีระบบการประเมินผลการ
เรยี นร้ทู ีร่ วดเร็วและตอ่ เนื่อง โดยผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทักษะ และสมรรถนะทีเ่ ป็นทต่ี อ้ งการของตลาดแรงงาน

(2) เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ใหเ้ ปน็ ครูยุคใหม่ ประกอบด้วย 3 แนวทางย่อย ได้แก่
(2.1) วางแผนการผลิต พัฒนาและปรับบทบาท “ครู คณาจารย์ยุคใหม่” ให้เป็น

“ผู้อานวยการการเรียนรู้” มีหลักสูตรผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและ
มาตรฐานอาชีพ โดยเน้นการเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการใน
สาขาทีต่ นเองสอน

(2.2) ปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูต้ังแต่การดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารถสูง
ให้เข้ามาเป็นครู ปฏิรูประบบการผลิตครูยุคใหม่ โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะของวิชาชีพครูท่ีสามารถสร้าง
ทักษะในการจดั การเรียนการสอนในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานท่ีเป็นหลกั สูตรฐานสมรรถนะ และ
มีครูที่ชานาญในด้านการสอนภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 ที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติ ในจานวนท่ี
เพียงพอต่อความต้องการของนักเรียน อีกทั้งยังมีระบบการอบรมและเสริมสมรรถนะครูที่ผ่านการศึกษาใน
ระบบเดมิ หรอื ครูภาษาองั กฤษ และภาษาท่ี 3 ท่ยี ังไม่ผา่ นการประเมินมาตรฐานในระดับนานาชาติ

(2.3)ส่งเสริมสนับสนุนระบบการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะครูอย่างต่อเนื่อง
ครอบคลุมท้ังเงินเดือน สายอาชีพและระบบสนับสนุนอ่ืน ๆ ปฏิรูประบบการผลิตครูอาชีวะยุคใหม่ โดยผู้ที่มี
ใบประกอบวิชาชีพจะต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานจริงใน สถานประกอบการใน
สาขาท่ีตนเองสอน มีความรู้ ทักษะ และสามารถสร้างสมรรถนะที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน
และมาตรฐานอาชีพให้แก่ผู้เรียน และมีอัตรากาลังเพียงพอต่อความต้องการของสถานศึกษาตามเกณฑ์
มาตรฐานอัตรากาลงั ของสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา

(3) เพ่มิ ประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาในทกุ ระดบั ทกุ ประเภท ประกอบด้วย
6 แนวทางย่อย ได้แก่

17

(3.1) ปฏิรูปโครงสร้างองค์กรด้านการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ โดยเน้นการสร้าง
ความรบั ผิดชอบต่อผลลพั ธ์ ตัง้ แต่ระดับบนสุดลงไปจนถึงระดับโรงเรียน รวมถึงมีโครงสร้างแรงจูงใจและความ
รบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานและบุคลากรทางการศกึ ษาทง้ั ระบบที่เหมาะสม

(3.2)จัดให้มีมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับ เพื่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่
สูงขึ้น มีการกาหนดมาตรฐานข้ันต่าของโรงเรียนในทุกระดับที่เหมาะสมกับบริบทของประเทศ ในด้านความ
พร้อมของโครงสร้างพื้นฐาน อุปกรณ์การเรียนการสอน การบริหารจัดการโรงเรียน จานวนครูที่ครบชั้น ครบ
วชิ า จานวนพนกั งานสนบั สนุนงานบรหิ ารจดั การโรงเรยี น

(3.3) ปรับปรุงโครงสร้างการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพและเพ่ิมคุณภาพ
การศึกษา มีการปรับปรุงโครงสร้างการศึกษาที่เน้นสายอาชีพมากขึ้น มีการเรียนการสอนและการเรียนรู้ที่ใช้
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เกิดทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะภาษาที่ 3 ทักษะและความรู้ในการ
ประกอบอาชพี ใหม่ ๆ อยา่ งคลอ่ งตัว เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการใชท้ รพั ยากรทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม

(3.4) เพิ่มการมีส่วนร่วมจากภาคเอกชนในการจัดการศึกษา ส่งเสริมภาคประชา
สังคมปรับปรุงแหล่งเรียนรู้ในชุมชนให้เป็นพื้นท่ีเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต รวมถึงการเรียนรู้และทบทวน
ทักษะพื้นฐาน ได้แก่ การอ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น โดยระดมทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชา
สังคม

(3.5) พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยแยกการประกันคุณภาพการศึกษา
ออกจากการประเมินคุณภาพและการรับรองคุณภาพและการกากับดูแลคุณภาพการศึกษา และปฏิรูประบบ
การสอบที่นาไปสกู่ ารวดั ผลในเชงิ ทักษะทีจ่ าเปน็ สาหรบั ศตวรรษที่ 21 มากกว่าการวัดระดับความรู้

(3.6) สง่ เสริมการวิจัยและใช้เทคโนโลยีในการสร้างและจัดการความรู้ การเรียนการ
สอน และการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพท่ีสอดคล้องกับบริบทพื้นท่ี ซ่ึงรวมถึงการบูรณาการความ
ร่วมมอื ระหว่างสถาบนั อุดมศึกษากับภาคอุตสาหกรรม ชุมชน และภาครฐั เพ่ือเสริมสร้างระบบนิเวศนวัตกรรม
ที่เขม้ แขง็

(4) พฒั นาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวติ ประกอบด้วย 5 แนวทางยอ่ ย ได้แก่
(4.1) จัดให้มีระบบการศึกษาและระบบฝึกอบรมบนฐานสมรรถนะที่มีคุณภาพสูง

และยืดหยุน่
(4.2) มีมาตรการจูงใจและส่งเสริมสนับสนุนให้คนเข้าสู่ใฝ่เรียนรู้ พัฒนาตนเอง

รวมถงึ การยกระดับทกั ษะวิชาชพี
(4.3) พัฒนาระบบการเรียนรู้ชุมชนให้เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา โดยความร่วมมือจาก

ภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสงั คม
(4.4) พัฒนาระบบเครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัลและดิจิทัลแฟลตฟอร์ม สื่อดิจิทัลเพื่อ

การศกึ ษาในทุกระดับทุกประเภทการศึกษาอย่างท่ัวถึงและมีประสิทธิภาพ และ (5) พัฒนาโปรแกรมประยุกต์
หรือส่ือการเรียนรู้ดิจิทัลที่มีคุณภาพที่นักเรียน นักศึกษา และประชาชนสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในการ
เรยี นรู้และพฒั นาตนเองผา่ นเทคโนโลยีสมัยใหมไ่ ด้

18

(5) สร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ ประกอบด้วย 5
แนวทางยอ่ ย ได้แก่

(5.1) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพสถาบันการศึกษาที่มีความเชี่ยวชาญและมีความ
โดดเด่นเฉพาะสาขาสู่ระดับนานาชาติ มีกรอบมาตรฐานฝีมือแรงงานและมาตรฐานอาชีพท่ีกาหนดสมรรถนะ
และทักษะพ้ืนฐานสาหรับสาขาอาชีพต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรม โดยเฉพาะใน 10
กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย S-curve และ New S-curve เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการยืนยัน และพัฒนา
สมรรถนะของแรงงาน และมีกรอบแนวคิดในการคาดการณ์อุปสงคแ์ รงงานในอนาคตในสาขาอาชีพต่าง ๆ และ
มีแนวทางทบทวนและปรับปรุงให้แมน่ ยามากขึน้ เป็นระยะ

(5.2) สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ทางวชิ าการและแลกเปล่ียนนักเรียน นักศึกษาและ
บคุ ลากรในระดบั นานาชาติ รวมถึงการพฒั นาศูนยว์ ิจัย ศูนย์ฝกึ อบรม และทดสอบในระดบั ภูมิภาค

(5.3) จัดให้มีการเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ชาติไทยและประวัตศิ าสตร์ท้องถิน่
(5.4) จัดให้มีการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและพัฒนาการ
ของประเทศเพ่อื นบ้านในสถานศึกษา และสาหรับประชาชน
(5.5) ส่งเสริมสนับสนุนการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของเด็ก เยาวชน และนักเรียนกับ
ประเทศเพ่ือนบา้ นในภมู ิภาคเอเชียอาคเนย์
2) แผนย่อย 3.2 การตระหนกั ถึงพหปุ ญั ญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
แนวทางการพัฒนาท่เี กย่ี วข้อง
พัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญา โดยพัฒนาระบบบริหารจัดการกลไกการคัดกรองและการส่งต่อ
เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคนไทยตามพหุปัญญาให้เต็มตามศักยภาพ ส่งเสริมสนับสนุนครอบครัว ในการเสริมสร้าง
ความสามารถพิเศษตามความถนัดและศักยภาพทั้งด้านกีฬา ภาษาและวรรณกรรม สุนทรียศิลป์ ส่งเสริม
สนับสนุนระบบสถานศกึ ษาและสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการสร้างและพัฒนาเด็กและเยาวชนท่ีมีความสามารถพิเศษ
บนฐานพหุปัญญา และส่งเสริมสนับสนุนมาตรการจูงใจแก่ภาคเอกชน และส่ือในการมีส่วนร่วมและผลักดัน
ให้ผ้มู คี วามสามารถพิเศษ มีบทบาทเดน่ ในระดับนานาชาติ
และมีประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาในมิติอื่น อย่างเช่น ประเด็นความมั่นคง ประเด็น
การต่างประเทศ ประเด็นการเกษตร ประเด็นการทอ่ งเที่ยว ประเด็นพืน้ ท่ีและเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ ประเด็นเขต
เศรษฐกิจพิเศษ ประเดน็ ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม ประเด็นการเติบโตอย่างย่ังยืน ประเด็นการ
บริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประเด็นกฎหมาย
และกระบวนการยุติธรรม ประเดน็ การวิจัยและพฒั นานวัตกรรม

2.2.5 แผนการปฏิรูปประเทศ
1) แผนการปฏริ ูปประเทศด้านการศึกษา
มวี ัตถปุ ระสงค์ของการปฏิรูป 4 ด้าน ประกอบด้วย
(1) ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ครอบคลุม

19

(1.1) ผลลัพธ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ท้ังด้านความรู้ ทักษะเจตคติที่ถูกต้อง
และร้จู ักดแู ลสขุ ภาพ เพื่อการจดั การในเรอ่ื งการดารงชีวิตของตนเองและการใชช้ วี ติ ร่วมกับผ้อู ่นื

(1.2) ครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ทีต่ ้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ
ครมู ีจติ วญิ ญาณของความเปน็ ครู

(1.3) หลักสูตรและกระบวนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น
หลากหลาย ถูกต้อง ทันสมัย ทันเวลา และมุ่งเน้นการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมทางสังคมท่ี
ถกู ตอ้ ง

(1.4) สถานศึกษาและระบบสนับสนุนท่ีตอบสนองต่อความต้องการของการจัด
การศกึ ษา ตลอดจนทรพั ยากรดา้ นการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ ได้แกง่ บประมาณและเทคโนโลยี

(2) ลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา ประกอบด้วย
(2.1) โอกาสในการเข้าถงึ การศึกษาและเทคโนโลยีท่สี นับสนุนการเรียนรู้
(2.2) โอกาสในการได้รับทางเลือกในการศึกษาและการเรียนรู้พัฒนาท่ีเหมาะสม

กบั ศกั ยภาพของผู้เรยี น
(2.3) โอกาสในการได้รับประโยชน์จากการเรียนรู้และการพัฒนาทักษะในการ

ประกอบอาชีพท่ีเหมาะสมกับศักยภาพตามความถนัดของผู้เรียน ทั้งในและนอกระบบการศึกษา รวมถึงการ
เรยี นรตู้ ลอดชวี ติ อยา่ งมีคุณภาพ

(3) มงุ่ ความเป็นเลศิ และสรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ หมายถึง
การสร้างสมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนที่มีศักยภาพสูง มีความเป็นผู้นา ริเร่ิมสร้างสรรค์นวัตกรรม
ใหม่ ๆ และการผลิตนักวิจัยและนักเทคโนโลยีชั้นแนวหน้าให้สามารถต่อยอดงานวิจัยที่สามารถตอบโจทย์การ
พัฒนาประเทศ การสร้างความร่วมมือและเชื่อมต่อกับสถาบันวิจัยอื่นๆ ท่ัวโลก สอดคล้องกับทิศทางการ
ขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมของประเทศ อีกทั้งสถาบันการศึกษาของไทยและระบบ
การศกึ ษาไทยต้องไดร้ บั การยอมรับว่าเทียบเคียงได้กับประเทศชัน้ นาอืน่ ๆ

(4) ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิ่มความ
คล่องตัวในการรองรับความหลากหลายของการจัดการศึกษาและสร้างเสริมธรรมาภิบาล โดยเฉพาะการ
สง่ เสริมและสรา้ งสมดุลของความค้มุ คา่ ความโปร่งใสความรับผดิ ชอบ คุณธรรมและจริยธรรม

โดยมีแผนงานเพ่ือการปฏิรูป แบ่งออกเป็น 7 เรื่อง จาแนกในรายละเอียดเป็นประเด็น
ปฏิรูปรวม 29 ประเดน็ ดงั นี้

(1) การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดย
พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาตฉิ บบั ใหม่และกฎหมายลาดบั รอง

(1.1) การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... และมีการทบทวน จัดทา
แก้ไข และปรับปรงุ กฎหมายทเี่ กย่ี วข้อง

(1.2) การสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและเอกชน
เพอ่ื การจัดการศกึ ษา

20

(1.3) การขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพ่ือการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพื่อการ
เรียนร้ตู ลอดชวี ติ เพอ่ื รองรับการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ

(1.4) การทบทวนและปรบั ปรงุ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
(1.5) การจัดตั้งสานักงานคณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแหง่ ชาติ
(2) การปฏริ ปู การพฒั นาเดก็ เล็กและเด็กก่อนวยั เรยี น
(2.1) การพฒั นาระบบการดแู ล พฒั นา และจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื ให้เด็กปฐมวัยได้รับ
การพัฒนาร่างกาย จติ ใจ วนิ ยั อารมณ์ สังคม และสติปัญญาใหส้ มกับวัย
(2.2) การสือ่ สารสงั คมเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจในการพัฒนาเด็กปฐมวัย
(3) การปฏิรูปเพือ่ ลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา
(3.1) การดาเนินการเพ่อื ลดความเหลอ่ื มล้าทางการศกึ ษา
(3.2) การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลพิการ บุคคลท่ีมีความสามารถพิเศษ และ
บุคคลท่ีมีความตอ้ งการการดูแลเป็นพิเศษ
(3.3) การยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาในพ้ืนท่ีห่างไกลหรือในสถานศึกษาที่
ตอ้ งมกี ารยกระดับคุณภาพอยา่ งเรง่ ดว่ น
(4) การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิต คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู
และอาจารย์
(4.1) การผลิตครู และการคัดกรองครู เพ่ือให้ได้ครูท่ีมีคุณภาพตรงกับความ
ต้องการของประเทศและมจี ิตวิญญาณของความเป็นครู
(4.2) การพฒั นาวชิ าชีพครู
(4.3) เส้นทางวิชาชีพครูเพ่ือให้ครูมีความก้าวหน้า ได้รับค่าตอบแทนและ
สวัสดิการทเี่ หมาะสม
(4.4) การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา เพ่ือยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาใน
สถานศึกษา
(4.5) องคก์ รวิชาชพี ครู และการปรบั ปรงุ กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง
(5) การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพ่ือตอบสนองการเปล่ียนแปลงในศตวรรษ
ท่ี 21
(5.1) การปรบั หลักสูตร พรอ้ มกระบวนการจัดการเรียนการสอน และการประเมิน
เพื่อพฒั นาการเรียนรูเ้ ปน็ หลักสูตรฐานสมรรถนะ
(5.2) การจัดการศึกษาเพ่อื เสรมิ สรา้ งคุณธรรมและจริยธรรม
(5.3) การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาระดับชาติและระบบคัดเลือกเข้า
ศกึ ษาตอ่
(5.4) การพฒั นาคุณภาพระบบการศกึ ษา
(5.5) ระบบความปลอดภัย และระบบสวสั ดิภาพของผู้เรียน

21

(5.6) การปฏริ ปู อาชีวศึกษา เพือ่ สรา้ งขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
(5.7) การปฏิรูปอุดมศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพ เพ่ิมขีดความสามารถในการ
แขง่ ขนั ประสิทธภิ าพ และธรรมาภิบาลของระบบอุดมศึกษา
(5.8) การจัดตง้ั สถาบนั หลกั สตู รและการเรียนรแู้ ห่งชาติ
(6) การปรบั โครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการ
ปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอน และยกระดบั คุณภาพของการจดั การศกึ ษา
(6.1) สถานศึกษามีความเปน็ อสิ ระในการบริหารและจัดการศึกษา
(6.2) พ้นื ท่ีนวตั กรรมการศึกษา
(6.3) การปรบั ปรงุ โครงสร้างของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
(7) การปฏริ ูปการศกึ ษาและการเรียนรโู้ ดยการพลกิ โฉมด้วยระบบดจิ ิทัล
(7.1) การปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยดิจิทัลผ่านแพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้วยดิจิทัล
แห่งชาติ
(7.2) ระบบข้อมลู สารสนเทศเพือ่ การศึกษา
(7.3) การพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลในด้านความฉลาดรู้ดิจิทัล ความฉลาดรู้
สารสนเทศ ความฉลาดรสู้ อ่ื เพื่อการรวู้ ธิ ีการเรยี นรู้ในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนการมีพฤติกรรมที่สะท้อน
การรกู้ ติกา มารยาท จริยธรรมเกีย่ วกบั การใช้สื่อและการสอ่ื สารบนอนิ เทอร์เนต็

2) แผนการปฏิรปู ประเทศด้านอ่นื ๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง
มีประเดน็ ท่ีเก่ียวกบั การศึกษาเอกชนท่สี าคญั ดังน้ี
ด้านการเมือง มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง คือ การสร้างจิตสานึกในการเรียนรู้ความเป็น

พลเมืองไทย และพลเมืองโลกท่ีดี การให้การศึกษาและเสริมสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ของพลเมือง

ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มีประเด็นที่เก่ียวข้อง คือ การปรับปรุงโครงสร้างของ
กระทรวงศึกษาธิการให้มีประสทิ ธิภาพ การเชอ่ื มโยงฐานข้อมูลกลางดา้ นการศกึ ษา

ดา้ นกฎหมาย มปี ระเด็นท่ีเกีย่ วข้อง คือ การปรบั ปรุงพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ
ดา้ นเศรษฐกิจ มปี ระเดน็ ท่ีเก่ยี วข้อง คือ การพฒั นามาตรฐานหลักสูตร การจัดการเรียน
การสอนเพอ่ื พัฒนาทักษะดา้ นดิจิทัลให้แก่ผ้เู รยี น
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีประเด็นที่เก่ียวข้อง คือ สถานศึกษามีการ
คดั แยกขยะต้ังแต่ตน้ ทาง การสอดแทรกเน้อื หารายวชิ าที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาหลักสูตรในประเด็นที่เก่ียวกับ
ทรพั ยากรธรรมชาติ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ
ด้านสาธารณสุข มีประเด็นที่เก่ียวข้อง คือ การพัฒนาระบบการศึกษาที่ช่วยยกระดับ
การรู้หนงั สอื ทักษะด้านสุขภาพ นาไปสูก่ ารปรับวิธีการสอนและหลักสูตรด้วยกระบวนการส่งเสริมความรอบรู้

22

ตง้ั แต่สขุ ภาพต้ังแต่ปฐมวัย ในการพัฒนาท้ังกาย จิต สังคม ท่ีพร้อมเข้าสู่วัยเรียน การยกระดับปฏิสัมพันธ์และ
การคดิ วิเคราะห์ของนักเรยี นในระดบั มธั ยมศึกษา

ด้านส่ือสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ มีประเด็นท่ีเกี่ยวข้อง คือ ความสามารถใน
การเข้าถึงเทคโนโลยีทางการศึกษาของผู้เรียนและผู้สอนในทุกระดับช้ัน และเน้นความปลอดภัย รู้เท่าทันสื่อ
และลดการละเมดิ สิทธทิ างสือ่ สังคมในผูเ้ รยี นทกุ ระดับชัน้

ด้านสงั คม มปี ระเดน็ ที่เกีย่ วขอ้ ง คือ การลดความเหลื่อมล้าของผู้เรียน โดยผู้เรียนได้รับ
โอกาสท่ีเข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพอย่างเท่าเทียม และส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือสร้าง
อาชีพและการมีงานทา ผู้เรียนมีจิตอาสามีสานึกรักชุมชนบ้านเกิดและนาความรู้มาพัฒนาถิ่นกาเนิด มีทักษะ
ในการดารงชวี ติ

ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง
คือ การสร้างการรับรู้และจิตสานึกของนักเรียนในสถานศึกษาทุกระดับให้มีทัศนคติ ความรู้ และได้รับปลูกฝัง
ให้รงั เกยี จการทจุ ริตและตระหนกั ถงึ โทษภัยของการทุจรติ คอร์รัปชนั ตอ่ ประเทศชาติ

2.2.6 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติได้จดั ทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560 - 2564 สาหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี
เพื่อเตรียมความพร้อมและวางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง
ม่ังค่ัง ย่ังยืน ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 มเี ป้าหมายรวมของแผนฯ ประกอบด้วย

1) คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ มีวินัย มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานท่ีดี
ของสังคม มีความเป็นพลเมืองตื่นรู้ มีความสามารถในการปรับตัวได้อย่างรู้เท่าทันสถานการณ์ มีความ
รับผิดชอบและทาประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม มสี ขุ ภาพกายและใจที่ดี มคี วามเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณมีวิถีชีวิต
ทีพ่ อเพียง และมีความเปน็ ไทย

2) ความเหล่ือมล้าทางด้านรายได้และความยากจนลดลง เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง
ประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร การประกอบอาชีพ และบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ
อยา่ งท่ัวถึงและเป็นธรรม

3) ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ โครงสร้างเศรษฐกิจปรับสู่เศรษฐกิจฐาน
บริการและดิจิทัล มีผู้ประกอบการรุ่นใหม่และเป็นสังคมผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาด
เล็กท่ีเข้มแขง็ สามารถใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลในการสร้างสรรคค์ ณุ คา่ สนิ คา้ และบรกิ ารมีระบบ การ
ผลิตและให้บริการจากฐานรายได้เดิมท่ีมีมูลค่าเพ่ิมสูงขึ้น และมีการลงทุนในการผลิตและบริการฐานความรู้
ชั้นสูงใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและชุมชน รวมท้ังกระจายฐานการผลิตและการให้บริการสู่ภูมิภาคเพื่อ
ลดความเหล่ือมล้า โดยเศรษฐกจิ ไทยมเี สถยี รภาพ

23

4) ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตท่ีเป็นมิตรกับ
สงิ่ แวดลอ้ ม มคี วามมนั่ คงทางอาหาร พลงั งาน และน้า

5) มคี วามม่ันคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ดี และเพ่ิม
ความเช่อื ม่นั ของนานาชาตติ ่อประเทศไทย

6) มีระบบบริหารจัดการภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจาย
อานาจและมีส่วนรว่ มจากประชาชน

ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบดว้ ย 10 ยุทธศาสตร์ ดงั น้ี
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความสาคัญกับการ
วางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ เพื่อให้คนไทยมีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของ
สังคม ได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากล และสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง มีสุข
ภาวะที่ดีขึ้น คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้และความสามารถเพิ่มขึ้น รวมทั้งสถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็ง
และมสี ่วนร่วมในการพัฒนาประเทศเพม่ิ ข้ึน

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้าในสังคม มุ่งเน้นลดปัญหา
ความเหล่ือมล้าด้านรายได้ของกลุ่มคนที่มีฐานะทางเศรษฐกิจสังคมท่ีแตกต่างกัน แก้ไขปัญหาความยากจน
เพม่ิ โอกาสการเขา้ ถงึ บรกิ ารพ้นื ฐานทางสังคมของภาครฐั รวมท้งั เพ่ิมศกั ยภาพชมุ ชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มี
ความเขม้ แขง็ เพ่อื ให้ชุมชนพ่ึงพาตนเองและไดร้ บั ส่วนแบง่ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากขึ้น

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างย่ังยืน เน้นให้
เศรษฐกิจเติบโตได้ตามศักยภาพและมีเสถียรภาพ ภาคส่งออกมีการพัฒนาจนสามารถขยายตัวและเป็นกลไก
สาคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจไทย ผลิตภาพการผลิตของประเทศเพิ่มข้ึน การลงทุนภาครัฐและเอกชน
มีการขยายตัวอย่างต่อเน่ืองและมาจากความร่วมมือกันมากข้ึน ประชาชนและผู้ประกอบการเข้าสู่ระบบภาษี
มากข้ึน และประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังเน้นให้เศรษฐกิจ
รายสาขามีการเติบโตอย่างเข้มแข็ง ภาคการเกษตรเน้นเกษตรกรรมย่ังยืนและให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มข้ึน
มกี ารพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมนเิ วศ การท่องเท่ียวสามารถทารายได้และแขง่ ขันได้มากขึ้น วิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอ่ มมีบทบาทตอ่ ระบบเศรษฐกจิ มากขน้ึ ภาคการเงนิ มีประสิทธภิ าพเพิ่มขึ้น

ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 การเตบิ โตท่เี ป็นมิตรกบั สิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน มุ่งเน้นการ
รักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ การสร้างความม่ันคงด้านน้า และการบริหารจัดการทรัพยากรน้าให้มี
ประสิทธิภาพ การสร้างคุณภาพสิ่งแวดล้อมท่ีดี ลดมลพษิ และลดผลกระทบต่อสขุ ภาพของประชาชนและระบบ
นิเวศ การเพิ่มประสิทธิภาพการลดก๊าซเรือนกระจกและขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศ และการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเพ่ือลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติ และลดความ
สญู เสยี ในชีวติ และทรัพย์สินทเ่ี กดิ จากสาธารณภยั

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันค่ัง
และยั่งยืน เน้นในเรื่องการปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ให้เป็นสถาบันหลักของประเทศ สังคมมี

24

ความสมานฉันท์ ประชาชนมีส่วนร่วมป้องกันแก้ไขปัญหาความมั่นคง ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้
มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน มีโอกาสในการศึกษาและการประกอบอาชีพท่ีสร้างรายได้เพ่ิมข้ึน
ประเทศไทยมีความสัมพันธ์และความร่วมมือด้านความมั่นคงกับนานาประเทศในการป้องกันภัยคุกคาม
ในรูปแบบต่างๆ ควบคู่ไปกับการรักษาผลประโยชน์ของชาติ มีความพร้อมต่อการรับมือภัยคุกคาม ท้ังภัย
คุกคามทางทหารและภัยคุกคามอ่ืนๆ และแผนงานด้านความมั่นคงมีการบูรณาการสอดคล้องกับนโยบายการ
พฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ
ธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย เร่งปฏริ ปู การบรหิ ารจดั การภาครัฐให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจัง โดยมุ่งเน้นในเร่ือง
การลดสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร และเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและการให้บริการของภาครัฐ
รวมทั้งประสิทธิภาพการประกอบธุรกิจของประเทศ การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการท่ีดีขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน การปรับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตให้อยู่ในระดับที่ดีขึ้น และการลดจานวนการ
ดาเนนิ คดกี ับผูม้ ิไดก้ ระทาความผิด

ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ มุ่งเน้นในเรื่องการลด
ความเข้มของการใช้พลังงานและลดต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศ การพัฒนาระบบขนส่งทางรางและทางน้า
เพิ่มปริมาณการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะในเขตเมือง และขยายขีดสามารถในการรองรับปริมาณ
ผู้โดยสารของท่าอากาศยานในกรุงเทพมหานครและท่าอากาศยานในภูมิภาค การเพ่ิมความสามารถในการ
แข่งขันด้านโลจิสติกส์และการอานวยความสะดวกทางการค้า การพัฒนาด้านพลังงานเพื่อเพ่ิมสัดส่วนการใช้
พลังงานทดแทนต่อปริมาณการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย และลดการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้า
การพัฒนาเศรษฐกิจดิจทิ ัล และการพฒั นาด้านสาธารณูปการ (นา้ ประปา)

ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม เน้นการเพิ่ม
ความเข้มแข็งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศ และการเพิ่มความสามารถในการประยุกต์ใช้
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเพือ่ ยกระดบั ความสามารถการแขง่ ขนั ของภาคการผลิตและบริการ และ
คุณภาพชีวิตของประชาชน

ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนที่เศรษฐกิจ มุ่งเน้นในเรื่องการลดช่องว่าง
รายไดร้ ะหวา่ งภาคและมีการกระจายรายได้ท่เี ปน็ ธรรมมากขน้ึ การเพิ่มจานวนเมืองศูนย์กลางของจังหวัด เป็น
เมอื งน่าอยสู่ าหรับคนทุกกลมุ่ ในสังคม พนื้ ที่ฐานเศรษฐกิจหลกั มีระบบการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพสูงและเป็นมิตร
ตอ่ สิ่งแวดลอ้ มและการเพิ่มมลู คา่ การลงทุนในพื้นท่ีเศรษฐกิจใหม่บริเวณชายแดน

ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา มุ่งเน้นในเร่ืองการมี
เครือข่ายการเชื่อมโยงตามแนวระเบียงเศรษฐกิจที่ครอบคลุมและมีการใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ การเพิ่ม
ระบบห่วงโซ่มูลค่าในอนุภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียน ประเทศไทยเป็นฐานเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุน
ท่ีสาคัญในภูมิภาคอนุภูมิภาค อาเซียน และเอเชีย รวมทั้งมีการพัฒนาส่วนขยายจากแนวระเบียงเศรษฐกิจ
ในอนุภูมิภาคให้ครอบคลุมภูมิภาคอาเซียน เอเชียตะวันออก และเอเชียใต้ และประเทศไทยเป็นหุ้นส่วน
การพฒั นาทีส่ าคัญทั้งในทุกระดบั

25

2.2.7 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนท่ีวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัด

การศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค
ในการศึกษาท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาคนให้มีสมรรถนะ
ในการทางานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ โดยมีวิสัยทัศน์ คือ
“คนไทยทกุ คนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ 21”

ยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์
ดังนี้

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
2. คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นท่ีพิเศษ

ไดร้ ับการศกึ ษาและเรยี นรอู้ ย่างมีคณุ ภาพ
3. คนทุกช่วงวัยได้รบั การศกึ ษา การดแู ลและปอ้ งกนั จากภัยคุกคามในชวี ิตรปู แบบใหม่

แนวทางการพฒั นา
1. พฒั นาการจัดการศึกษาเพอ่ื เสริมสรา้ งความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการ

ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ
2. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษ

เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
3. ยกระดับคุณภาพและส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพื้นที่พิเศษ (พ้ืนที่สูง

พ้นื ที่ตามแนวตะเขบ็ ชายแดน และพื้นท่ีเกาะแก่ง ชายฝั่งทะเล ทั้งกลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม
กลมุ่ ชน-ชายขอบ และแรงงานต่างดา้ ว)

4. พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่
อาทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ยาเสพติด ภัยพิบัติจากธรรมชาติภัยจากโรคอุบัติใหม่
ภยั จากไซเบอร์ เปน็ ตน้

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้าง
ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

เปา้ หมาย
1. กาลงั คนมที กั ษะทสี่ าคัญจาเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและ

การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ

26

2. สถาบันการศึกษาและหน่วยงานท่ีจัดการศึกษาผลิตบัณฑิตท่ีมีความเช่ียวชาญและ
เปน็ เลิศเฉพาะด้าน

3. การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้างผลผลิตและ
มูลค่าเพมิ่ ทางเศรษฐกิจ

แนวทางการพฒั นา
1. ผลติ และพัฒนากาลงั คนใหม้ สี มรรถนะในสาขาทีต่ รงตามความต้องการของตลาดงานและ

การพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ
2. สง่ เสรมิ การผลติ และพัฒนากาลงั คนท่ีมคี วามเชยี่ วชาญและเปน็ เลศิ เฉพาะดา้ น
3. ส่งเสริมการวิจัยและพฒั นาเพอ่ื สรา้ งองคค์ วามรู้และนวัตกรรมที่สร้างผลผลิตและ

มูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ
ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 การพฒั นาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้
เป้าหมาย
1. ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและ

คุณลกั ษณะทีจ่ าเปน็ ในศตวรรษที่ 21
2. คนทุกช่วงวัยมที กั ษะความรคู้ วามสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษา

และมาตรฐานวชิ าชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตไดต้ ามศักยภาพ
3. สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้

อยา่ งมีคณุ ภาพและมาตรฐาน
4. แหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน นวัตกรรมและส่ือการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐาน

และประชาชนสามารถเขา้ ถึงได้โดยไมจ่ ากัดเวลาและสถานท่ี
5. ระบบและกลไกการวัด การตดิ ตามและประเมนิ ผลมีประสิทธิภาพ
6. ระบบการผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษาได้มาตรฐานระดบั สากล
7. ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษาไดร้ ับการพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน

แนวทางการพัฒนา
1. ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และการพัฒนา

คณุ ภาพชวี ติ อยา่ งเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวัย
2. ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อตาราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่างๆ ให้มี

คุณภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเขา้ ถึงแหลง่ เรยี นรู้ไดโ้ ดยไม่จากดั เวลาและสถานท่ี
3. สร้างเสริมและปรับเปล่ียนค่านิยมของคนไทยให้มีวินัย จิตสาธารณะ และ

พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์
4. พฒั นาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผลผเู้ รียนใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
5. พฒั นาคลังขอ้ มูล ส่ือ และนวตั กรรมการเรียนรู้ ทีม่ คี ุณภาพและมาตรฐาน
6. พฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการผลติ ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา

27

7. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการศึกษา

เป้าหมาย
1. ผู้เรียนทกุ คนไดร้ ับโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ การศึกษาที่มคี ณุ ภาพ
2. การเพมิ่ โอกาสทางการศึกษาผา่ นเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการศกึ ษาสาหรับคนทกุ ชว่ งวยั
3. ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้อง เป็นปัจจุบัน

เพอ่ื การวางแผนการบริหารจดั การศกึ ษา การติดตามประเมนิ และรายงานผล
แนวทางการพัฒนา
1. เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาทมี่ คี ุณภาพ
2. พัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจิทัลเพอ่ื การศึกษาสาหรับคนทกุ ช่วงวัย
3. พฒั นาฐานข้อมูลดา้ นการศึกษาทมี่ ีมาตรฐาน เช่ือมโยงและเข้าถงึ ได้

ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อม
เป้าหมาย
1. คนทุกช่วงวัย มีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนาแนวคิด

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
2. หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ

สงิ่ แวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนาแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิ
3. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต

ทีเ่ ปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อม
แนวทางการพัฒนา
1. ส่งเสริม สนับสนุนการสรา้ งจิตสานึกรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม มีคุณธรรม จริยธรรม และ

นาแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส่กู ารปฏิบตั ใิ นการดาเนนิ ชีวิต
2. ส่งเสริมและพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการ

เรียนรู้ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกบั การสร้างเสรมิ คณุ ภาพชวี ิตทเี่ ป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม
3. พฒั นาองคค์ วามรู้ งานวจิ ัย และนวตั กรรม ดา้ นการสร้างเสริมคุณภาพชีวิต ท่ี

เปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษา
เปา้ หมาย
1. โครงสร้าง บทบาทและระบบการบริหารจัดการการศึกษามีความคล่องตัว ชัดเจน

และสามารถตรวจสอบได้
2. ระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษามปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและ

มาตรฐานการศึกษา

28

3. ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความต้องการของ
ประชาชนและพืน้ ท่ี

4. กฎหมายและรปู แบบการบริหารจัดการทรพั ยากรทางการศึกษารองรับลักษณะ ที่
แตกตา่ งกนั ของผู้เรยี น สถานศกึ ษา และความตอ้ งการกาลังแรงงานของประเทศ

5. ระบบบรหิ ารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นธรรม สร้าง
ขวัญกาลงั ใจ และส่งเสรมิ ใหป้ ฏิบตั งิ านได้อย่างเตม็ ตามศักยภาพ

แนวทางการพัฒนา
1. ปรบั ปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการศกึ ษา
2. เพ่ิมประสิทธภิ าพการบริหารจดั การสถานศกึ ษา
3. ส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคส่วนในการจัดการศกึ ษา
4. ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงินเพ่ือการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพและ
ประสิทธภิ าพการจัดการศกึ ษา
5. พฒั นาระบบบริหารงานบคุ คลของครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

2.2.8 เป้าหมายการพฒั นาท่ียงั่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs)
เป้าหมายสาคัญท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาเอกชน คือ เป้าหมายที่ 4 ซ่ึงเป็นการสร้าง

หลักประกันให้การศึกษามีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและครอบคลุม และส่งเสริมโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สาหรบั ทกุ คน โดยมี 5 เปา้ ประสงค์ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ดังนี้

เปา้ ประสงคท์ ่ี 4.1 (SDG 4.1) : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสาเร็จ
การศกึ ษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นาไปสู่ผลลัพธ์ทางการ
เรียนท่ีมปี ระสิทธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573

เปา้ ประสงคท์ ่ี 4.2 (SDG 4.2) : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการ
พัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สาหรับเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพ ภายในปี 2573
เพ่อื ใหเ้ ด็กเหลา่ นน้ั มีความพร้อมสาหรับการศึกษาระดับประถมศึกษา

เปา้ ประสงค์ท่ี 4.7 (SDG 4.7) : สร้างหลกั ประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะท่ี
จาเป็น สาหรับส่งเสริมการพัฒนาอย่างย่ังยืน รวมไปถึงการศึกษาสาหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและการมีวิถี
ชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุข และไม่ใช้
ความรุนแรง การเป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการมีส่วนร่วม
ของวัฒนธรรมตอ่ การพฒั นาทย่ี ั่งยืน ภายในปี 2573

เปา้ ประสงค์ที่ 4.A (SDG 4.A) : สรา้ งและยกระดบั อุปกรณ์และเครอ่ื งมือทางการศกึ ษา
ที่อ่อนไหวต่อเด็ก ผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ปลอดภัย ปราศจากความ
รุนแรง ครอบคลมุ และมีประสิทธผิ ลสาหรับทกุ คน

29

เปา้ ประสงค์ท่ี 4.C (SDG 4.C) : เพิ่มจานวนครูท่ีมีคุณวุฒิ รวมถึงการดาเนินการผ่าน
ทางความร่วมมือระหว่างประเทศในการฝึกอบรมครูในประเทศกาลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศ
พฒั นานอ้ ยท่สี ุด และรฐั กาลงั พัฒนาท่เี ปน็ เกาะขนาดเล็ก ภายในปี 2573

2.2.9 แผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2563 – 2565
กระทรวงศึกษาธิการจัดทาแผนยุทธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2563 – 2565 สาหรับ

ใช้เป็นเครื่องมือในการกากับทิศทางการปฏิบัติงานในภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ โดยกาหนดวิสัยทัศน์
“กระทรวงศึกษาธกิ ารวางระบบเพือ่ ให้ผเู้ รยี นมีความรู้ – ทักษะ มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพื้นฐานชีวิต
ท่ีมั่นคง มีคุณธรรม มงี านทา มีอาชพี และเป็นพลเมอื งที่เขม้ แข็ง” มีเป้าหมายหลกั ของแผน ประกอบดว้ ย

1) คุณภาพการศึกษาของไทยดีข้นึ
2) ครูมสี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี
3) สถานศึกษาในภูมิภาค มที รัพยากรพน้ื ฐานที่เพยี งพอตามเกณฑม์ าตรฐาน
4) ผเู้ รียนทุกกลุ่มทกุ ช่วงวยั ได้รบั โอกาสในการเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต
5) ระบบและวธิ ีการคดั เลือกเพอ่ื การศกึ ษาต่อ ไดร้ บั การพฒั นา ปรบั ปรุงแก้ไข
6) ผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา ได้รับการเพ่ิมเติมความรู้ทักษะในการประกอบอาชีพที่
ตรงกับสภาพตลาดแรงงานในพื้นทีช่ มุ ชน สังคม จงั หวดั และภาค
7) กาลงั คนไดร้ บั การผลติ และพฒั นาตรมกรอบคุณวุฒแิ หง่ ชาติ
8) มกี ารเตรยี มความพรอ้ มผู้เรียนปฐมวยั ในดา้ นสุขภาพ และโภชนาการ ร่วมกบั หน่วยงานท่ี
เกีย่ วข้อง
9) มีองค์ความรู้ นวัตกรรม ส่ิงประดิษฐ์ ที่สนับสนุนการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี
จังหวัดและภาค
10) ระบบบริหารจัดการการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการปรับปรุงให้มี
ประสทิ ธิภาพ เพอื่ รองรับพนื้ ทน่ี วัตกรรมการศกึ ษารว่ มกบั ทกุ ภาคส่วน
และได้กาหนดยทุ ธศาสตรก์ ารดาเนนิ งาน ดังน้ี
ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 พัฒนาหลกั สูตร กระบวนการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมนิ ผล
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ผลิตและพัฒนากาลังคน รวมท้ังงานวิจัยที่สอดคล้องกับวามต้องการของ
ประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 เพิ่มโอกาสให้คนทุกช่วงวัยเข้าถึงบริการทางการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอด
ชีวิต
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 ส่งเสรมิ และพฒั นาเทคโนโลยแี ละระบบดจิ ทิ ลั เพอ่ื การศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด
การศกึ ษา

30

2.2.10 นโยบายและจดุ เนน้ กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564
เ พ่ื อ ใ ห้ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง

กระทรวงศึกษาธิการ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุเป้าหมาย อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และ
มาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายและจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 เพื่อให้ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ยึดเป็นกรอบการดาเนินงานในการจัดทา แผน
และงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พร้อมทั้งขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการศึกษา
ใหม้ คี ณุ ภาพ ประสิทธิภาพในทุกมิติ โดยใช้จ่ายงบประมาณอย่างคุ้มค่า เพื่อมุ่งเป้าหมาย คือ ผู้เรียนทุกช่วงวัย
ดังน้ี

หลักการตามนโยบาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมงุ่ ม่นั ดาเนนิ การภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนา
การเรียนรู้ และแผนย่อยท่ี 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศ
ด้านการศึกษา และนโยบายรัฐบาลท้ังในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย และนโยบายเร่งด่วน เร่ือง การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21
นอกจากนี้ยังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ
(พ.ศ. 2562 – 2565) รวมท้ังนโยบายและแผนต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าผู้เรียนทุกช่วงวัยจะได้รับการ
พัฒนาในทุกมิติ เป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
สู่ความมั่นคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน ดังนั้น ในการเร่งรัดการทางานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์
เพ่ือสร้างความเช่ือมั่นให้กับสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพในทุกมิติ
กระทรวงศึกษาธกิ ารจึงกาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดังน้ี
1. ปรบั ร้อื และเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการ โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพื่อหลอม
รวมภารกิจและบคุ ลากร เช่น ดา้ นการประชาสัมพนั ธ์ ด้านการตา่ งประเทศ ด้านเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ
ทสี่ ามารถลดการใชท้ รพั ยากรทบั ซ้อน เพิม่ ประสทิ ธิภาพและความเปน็ เอกภาพ รวมทั้งการนาเทคโนโลยีดิจิทัล
เข้ามาช่วยท้ังการบรหิ ารงานและการจดั การศกึ ษารองรบั ความเปน็ รฐั บาลดจิ ิทลั
2. ปรับรื้อและเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารทรัพยากร โดยมุ่งปฏิรูปกระบวนการ
วางแผนงาน/โครงการแบบร่วมมือและบูรณาการ ท่ีสามารถตอบโจทย์ของสังคมและเป็นการพัฒนาที่ย่ังยืน
รวมทั้งกระบวนการจัดทางบประมาณท่ีมีประสิทธิภาพและใช้จ่ายอย่างคุ้มค่า ส่งผลให้ภาคส่วนต่าง ๆ
ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชน และนานาชาติ เช่อื ม่นั และรว่ มสนับสนนุ การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษามากยง่ิ ข้นึ
3. ปรับร้ือและเปล่ียนแปลงระบบการบริหารจัดการและพัฒนากาลังคนของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยมุ่งบริหารจัดการอัตรากาลังให้สอดคล้องกับการปฏิรูปองค์การ รวมทั้งพัฒนา

31

สมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรภาครัฐ ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็น
รฐั บาลดจิ ทิ ัล

4. ปรับร้ือและเปลี่ยนแปลงระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้
ครอบคลุม ถึงการจัดการศึกษาเพ่ือคุณวุฒิ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีสามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
ในศตวรรษท่ี 21

จุดเน้นประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1. การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

1.1 การจัดการศกึ ษาเพอื่ คณุ วุฒิ
- จัดการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใช้หลักสูตรฐานสมรรถนะ รวมทั้ง
แนวทางการจัดการเรียนรู้เชิงรุกและการวัดประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู้เรียน ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา
แห่งชาติ
- ส่งเสริมการพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถ่ินและหลักสูตรสถานศึกษา
ตามความตอ้ งการจาเปน็ ของกลุ่มเปา้ หมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี
- พัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจาก
สถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพ่ือเปิดโลก
ทัศนม์ มุ มองร่วมกนั ของผเู้ รยี นและครูใหม้ ากขึ้น
- พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีความรอบรู้และทักษะชีวิต เพื่อเป็นเครื่องมือในการดารงชีวิต
และสร้างอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั สขุ ภาวะและทัศนคติท่ีดตี อ่ การดแู ลสุขภาพ
1.2 การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ
- จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสาหรับประชาชนทุกช่วงวัย เน้นส่งเสริมและยกระดับ
ทกั ษะภาษาองั กฤษ (English for All)
- ส่งเสริมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับผู้ท่ีเข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ อาชีพ
ที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิต และหลักสูตรการดูแลผู้สูงวัย หลักสูตร
BUDDY โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โรงเรียน และผู้เรียน หลักสูตรการเรียนรู้ออนไลน์
เพ่อื ส่งเสริมประชาสัมพนั ธ์สินค้าออนไลน์ระดบั ตาบล
- ส่งเสริมโอกาสการเข้าถึงการศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทา ในเขต
พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเขตพื้นที่พิเศษ (พื้นที่สูง พื้นที่ตามแนวตะเข็บ ชายแดน
และพื้นทเี่ กาะแก่ง ชายฝ่ังทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเชื้อชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบ และแรงงาน
ต่างด้าว)
- พัฒนาครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมท้ังการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็น
ระบบและมเี หตุผลเป็นขั้นตอน

32

- พัฒนาครูอาชีวศึกษาที่มีความรู้และความสามารถในทางปฏิบัติ (Hands – on
Experience) เพื่อให้มีทักษะและความเชี่ยวชาญทางวิชาการ โดยร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาชั้นนา
ของประเทศจัดหลกั สตู รการพัฒนาแบบเขม้ ข้นระยะเวลาอยา่ งน้อย 1 ปี

- พัฒนาสมรรถนะและความรู้ความสามารถของบุคลากรกระทรวงศึกษาธิการ
ให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานรองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดให้มีศูนย์พัฒนา
สมรรถนะบุคลากรระดับจังหวดั ท่ัวประเทศ

2. การพัฒนาการศกึ ษาเพอ่ื ความม่นั คง
- พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมนายุทธศาสตร์
พระราชทาน “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พัฒนา” เป็นหลักในการดาเนนิ การ
- เฝ้าระวังภัยทุกรูปแบบท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน ครู และสถานศึกษา โดยเฉพาะ
ภัยจากยาเสพติด อาชญากรรมทางไซเบอร์ การค้ามนุษย์
- ส่งเสริมให้ใช้ภาษาท้องถิ่นร่วมกับภาษาไทยเป็นสื่อจัดการเรียนการสอนในพ้ืนท่ี
ที่ใช้ภาษาอย่างหลากหลาย เพ่ือวางรากฐานให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านการคิดวิเคราะห์ รวมทั้งมีทักษะ
การสื่อสารและใช้ภาษาทสี่ ามในการต่อยอดการเรยี นรู้ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
- ปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความ
พอเพียง วนิ ัย สุจริต จติ อาสา โดยใช้กระบวนการลูกเสอื และยุวกาชาด
3. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
- สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาผลิตกาลังแรงงานท่ีมีคุณภาพ ตามความเป็น
เลิศของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพ้ืนท่ี รวมท้ังสอดคล้องกับความต้องการของประเทศท้ังใน
ปจั จุบนั และอนาคต
- สนบั สนุนให้สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาบรหิ ารจัดการอยา่ งมีคณุ ภาพ และจัดการเรียน
การสอนด้วยเคร่ืองมือปฏิบัติท่ีทันสมัยและสอดคล้องกับเทคโนโลยี โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการวิเคราะห์
ขอ้ มลู (Data Analysis) และทักษะการสอื่ สารภาษาตา่ งประเทศ
4. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
- พฒั นาแพลตฟอร์มดิจทิ ลั เพ่ือการเรียนรู้ และใชด้ จิ ทิ ัลเปน็ เคร่ืองมือการเรยี นรู้
- ศึกษาและปรบั ปรุงอัตราเงินอดุ หนุนคา่ ใช้จา่ ยต่อหวั ในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกจิ และบทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญ
- ระดมสรรพกาลังเพ่ือส่งเสริมสนับสนุนโรงเรียนนาร่องพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา
เพอ่ื ลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษาให้สอดคลอ้ งพระราชบญั ญัติพ้ืนท่นี วัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562
5. การจดั การศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม
- เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสริมคุณลักษณะและ
พฤตกิ รรมทพ่ี ึงประสงค์ด้านสิง่ แวดล้อม

33

- สง่ เสรมิ การพฒั นาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ให้สามารถ
เปน็ อาชีพ และสร้างรายได้

6. การปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ
- ปฏิรูปองค์การเพื่อลดความทับซ้อน เพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ
ของหน่วยงานที่มีภารกิจใกล้เคียงกัน เช่น ด้านประชาสัมพันธ์ ด้านต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี
ด้านกฎหมาย เป็นต้น
- ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบท่ีเป็นอุปสรรคและข้อจากัดในการดาเนินงาน
โดยคานึงถงึ ประโยชนข์ องผูเ้ รยี นและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธิการโดยรวม
- สนับสนนุ กจิ กรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ
- พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ด้านการศกึ ษา (Big Data)
- พัฒนาระบบการบริหารจัดการและพัฒนากาลังคนของกระทรวงศึกษาธิการ ให้
สอดคล้องกบั การปฏริ ปู องค์การ
- สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นนิติบุคคล เพื่อให้สามารถบริหารจัดการศึกษาท่ีมี
คณุ ภาพได้อยา่ งอิสระและมีประสิทธิภาพ ภายใตก้ รอบแนวทางของกระทรวงศึกษาธิการ
- จัดตั้งหน่วยงานวางแผนทางการเงิน (Financial Plan) ระดับจังหวัด เพื่อพัฒนา
คุณภาพชวี ติ บุคลากรของกระทรวงศกึ ษาธิการ
- ส่งเสริมโครงการ ๑ ตาบล ๑ โรงเรียนคุณภาพ โดยเน้นปรับสภาพแวดล้อมทั้ง
ภายในและภายนอกบริเวณโรงเรียนให้เอ้ือตอ่ การเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และจิตสาธารณะ
การขับเคลื่อนนโยบายและจดุ เน้นสกู่ ารปฏิบัติ
1. ให้ส่วนราชการ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายและจุดเน้น
เป็นกรอบแนวทางมาใช้ในการวางแผนและจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
โดยคานึงถึงมาตรการ 4 ข้อ ตามท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้แนวทางในการบริหาร
งบประมาณไว้ ดังนี้ (1) งดดูงานต่างประเทศ 1 ปี ยกเว้นกรณีที่มีความจาเป็นและเป็นประโยชน์ต่อ
กระทรวงศึกษาธิการ (2) ลดการจัดอบรมสัมมนาท่ีมีขนาดใหญ่และใช้งบประมาณมาก (3) ยกเลิกการจัดงาน
Event และ (4) ทบทวนงบประมาณทม่ี คี วามซ้าซอ้ น
2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายและ
จุดเน้นสู่การปฏิบัติระดับพื้นท่ี โดยให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการเป็นประธาน สานักงานศึกษาธิการ
ภาคและสานักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สป. เป็นฝ่ายเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการตามลาดับ
โดยมีบทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทารายงานเสนอ
ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัด
การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทราบตามลาดับ
3. กรณีมีปัญหาในเชิงพ้ืนที่หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์
ข้อมูล และดาเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพ้ืนท่ีก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้ง

34

รายงานตอ่ คณะกรรมการตดิ ตามฯ ขา้ งต้น ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ
ตามลาดบั

อนึ่ง สาหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานท่ีปฏิบัติในลักษณะงานใน
เชิงหน้าท่ี (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพ้ืนที่ (Area) ซ่ึงได้ดาเนินการอยู่ก่อน
เมื่อรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสาคัญเพ่ิมเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นอกเหนือ
จากที่กาหนดหากมีความสอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเน้นข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของส่วนราชการหลัก
และหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องต้องเร่งรัด กากับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการเกิดผลสาเร็จ
และมีประสทิ ธิภาพอย่างเป็นรูปธรรมด้วยเชน่ กนั

2.3 ผลการพัฒนาการศกึ ษาเอกชนทีผ่ ่านมา
2.3.1 ด้านคุณภาพการศึกษา
1) ผลการประเมิน PISA (Programme for International Student Assessment)
การประเมิน PISA เป็นการประเมินที่เริ่มโดยองค์การเพ่ือความร่วมมือทางเศรษฐกิจและ

การพัฒนา (OECD) จัดการประเมนิ ในทุก ๆ 3 ปี มปี ระเทศท่เี ข้ารว่ ม จานวน 79 ประเทศ โดยประเมินนักเรียนท่ี
อายุ 15 ปี เน้นการประเมินสมรรถนะของนักเรียนเก่ียวกับการใช้ความรู้และทักษะในชีวิตจริง การประเมิน
ประกอบดว้ ย 3 ดา้ น คอื ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) ด้านการอ่าน (Reading Literacy) และด้าน
คณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy)

การประเมิน PISA ปีการศึกษา 2543 - 2561 พบว่า การประเมินท้ัง 7 ครั้ง คะแนนเฉล่ียของ
ผู้เรียนไทยต่ากว่าคะแนนเฉล่ียขององค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) ทุกครั้ง เมื่อ
พิจารณารายด้านคะแนนเฉล่ยี ด้านการอ่านมกี ารเพ่ิมข้ึนและลดลงอยรู่ ะหวา่ งคะแนน 441 – 393 ซ่ึงถือว่ามีช่วง
คะแนนกวา้ งทสี่ ุด และคะแนนด้านการอา่ นเป็นด้านเดียวที่เคยมีคะแนนน้อยกว่า 400 คะแนน สาหรับคะแนน
เฉลี่ยคณติ ศาสตร์มีการเพิ่มข้ึนและลดลงอยู่ระหว่างคะแนน 432 – 415 และคะแนนเฉลี่ยวิทยาศาสตร์มีการ
เพ่ิมขึ้นและลดลงอยู่ระหว่างคะแนน 444 – 421

ในปี 2561 ประเทศไทยมีจานวนโรงเรียนเข้ารับการประเมิน PISA จานวน 290 โรง รวมเป็น
ผูเ้ รยี น 696,833 คน จาแนกโรงเรียนเปน็ 7 กลมุ่ คือ สพฐ. สอศ. สช. อปท. สาธติ กทม. และโรงเรียนเน้นวิทย์
ผลการประเมินพบว่า คะแนนเฉล่ียการประเมินทั้ง 3 ด้าน ของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษา
เอกชนสูงกว่าคะแนนเฉล่ียประเทศ แต่ต่ากว่าคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนเน้นวิทย์ โรงเรียนสาธิต และองค์การ
เพื่อความร่วมมอื ทางเศรษฐกจิ และการพัฒนา (OECD)

2) การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พ้นื ฐาน (O-NET)
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้และ

ความคิดของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ประเมินตาม
มาตรฐานการเรยี นรู้ในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

35

ตาราง 2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผู้เรียนโรงเรียนเอกชน
เปรียบเทียบกับคะแนนเฉลย่ี ของประเทศปกี ารศึกษา 2559-2562

ระดับ /วชิ า ปีการศึกษา 2559 ปกี ารศกึ ษา 2560 ปกี ารศึกษา 2561 ปกี ารศกึ ษา 2562
ประเทศ สช. ประเทศ สช. ประเทศ สช. ประเทศ สช.
ประถมศึกษาปีท่ี6
ภาษาไทย 52.98 56.52* 46.58 50.30* 55.90 59.59* 49.07 52.13*
ภาษาอังกฤษ 34.59 45.04* 36.34 46.65* 39.24 49.29* 34.42 43.78*
คณิตศาสตร์ 40.47 46.27* 37.12 42.06* 37.50 43.10* 32.90 36.71*
วทิ ยาศาสตร์ 41.22 44.34* 39.12 42.18* 39.93 43.24* 35.55 38.96*
มัธยมศึกษาปที ่ี 3
ภาษาไทย 46.36 45.86 48.29 47.89 54.42 53.81 55.14 53.81
ภาษาอังกฤษ 31.80 34.91* 30.45 32.92* 29.45 31.91* 33.25 36.02*
คณติ ศาสตร์ 29.31 29.88* 26.30 26.88* 30.04 30.40* 26.73 27.14*
วทิ ยาศาสตร์ 34.99 35.21* 32.28 32.33* 36.10 35.82 30.07 29.98
มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
ภาษาไทย 52.29 49.64 49.25 46.9 47.31 45.23 42.21 39.59
สงั คมศึกษาฯ 35.89 34.91 34.70 34.22 35.16 34.27 35.70 34.43
ภาษาองั กฤษ 27.76 30.44* 28.31 31.42* 31.41 34.38* 29.20 31.21*
คณิตศาสตร์ 24.88 24.88 24.53 24.68* 30.72 30.82* 25.41 25.06
วิทยาศาสตร์ 31.62 31.03 29.37 29.30 30.51 29.99 29.20 28.55

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนโรงเรียนเอกชน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปี การศึกษา 2559-25612 มีคะแนนเฉล่ียทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ย
ประเทศ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2559 และ 2560 มีคะแนนเฉล่ียกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สูงกว่าคะแนนเฉล่ียประเทศ ส่วนปีการศึกษา 2561 และ 2562 มีคะแนนเฉล่ีย
เพียงกลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ ที่สูงกว่าคะแนนเฉล่ียประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2559 มีคะแนนเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยประเทศ ปีการศึกษา
2560 มีคะแนนเฉล่ียกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ ท่ีสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยประเทศ

36

ปีการศึกษา 2561 มีคะแนนเฉลี่ยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และคณิตศาสตร์ ที่สูงกว่าคะแนนเฉล่ีย
ประเทศ ปีการศึกษา 2562 มคี ะแนนเฉลยี่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ ที่สงู กวา่ คะแนนเฉล่ียประเทศ

แผนภาพ 4 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET) ของผู้เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
ปกี ารศกึ ษา 2559 – 2562

คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน (O-NET)
ของนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6

60 59.59

56.52 50.30 49.29 52.13 ภาษาไทย
43.24 ภาษาอังกฤษ
55 42.1486.64 43.10 43.78 คณิตศาสตร์
42.06 38.96 วทิ ยาศาสตร์
50 46.27 36.71
45 45.04 ปี 2560 ปี 2561
ปี 2562
44.34

40

35

ปี 2559

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปี
การศึกษา 2559 - 2562 ของแต่ละกลุ่มสาระวิชา พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนเฉล่ียสูงสุด ซึ่ง
มากกว่า 50 คะแนน ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มีคะแนนน้อยกว่า 50
คะแนน และเม่ือพิจารณาถึงพัฒนาการของคะแนนเฉลี่ยในแต่ละปี พบ ว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ มีคะแนนสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปีการศึกษา 2559 – 2561 ลดลงในปีการศึกษา 2562
ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ยลดลงในปีการศึกษา 2560
เพ่ิมข้ึนในปีการศึกษา 2561 และลดลงในปีการศึกษา 2562

37

แผนภาพ 5 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ของผูเ้ รียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ปกี ารศกึ ษา 2562

คะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET)
ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3

55 53.81 53.81

45 47.89 ภาษาไทย
45.86 ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์
35 35.21 32.92 35.82 36.02 วิทยาศาสตร์

25 34.91 32.33 31.91 29.98
29.88 26.88 30.40 27.14

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปีการศกึ ษา 2559 - 2562 ของแตล่ ะกลมุ่ สาระวิชา พบวา่ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทยมีคะแนนเฉล่ียสูงสุด
ซ่ึงมีเพียงปีการศึกษา 2561 และ 2562 ที่มีคะแนนเฉล่ียมากกว่า 50 คะแนน ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ในทุกปีการศึกษา มีคะแนนน้อยกว่า 50 คะแนน และเมื่อพิจารณา
ถึงพัฒนาการของคะแนนเฉล่ียในแต่ละปี พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ มีคะแนนลดลงอย่าง
ต่อเนือ่ ง ในปีการศกึ ษา 2559-2561 เพ่ิมขึ้นในปีการศึกษา 2562 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คะแนน
เพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง ในปีการศึกษา 2559-2561 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์
มีคะแนนเฉลยี่ ลดลงในปกี ารศึกษา 2560 เพม่ิ ขน้ึ ในปีการศกึ ษา 2561 และลดลงในปีการศึกษา 2562

38

แผนภาพ 6 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET) ของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
ปีการศกึ ษา 2559 - 2562

คะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้ืนฐาน (O-NET)
ของนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6

50 49.64 46.90 45.23 ภาษาไทย
สงั คมศึกษาฯ
40 34.91 34.22 34.27 39.59 ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์
30 30.44 31.42 34.38 34.43 วทิ ยาศาสตร์
31.03 29.30 30.82 31.21
29.99 28.55
25.06
20 24.88 24.68

ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ปกี ารศกึ ษา 2559 - 2562 ของแต่ละกลมุ่ สาระวชิ า พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนเฉล่ียสูงสุด
โดยคะแนนเฉลี่ย ของทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ทุกปีการศึกษา มีคะแนนน้อยกว่า 50 คะแนน และเม่ือ
พจิ ารณาถึงพฒั นาการของคะแนนเฉลี่ยในแต่ละปี พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนลดลงอย่าง
ต่อเนื่อง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2559 - 2561 ลดลง
ในปีการศึกษา 2562 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ลดลงในปีการศึกษา 2560 เพ่ิมข้ึนในปีการศึกษา
2561 – 2562 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉล่ียลดลงในปีการศึกษา
2560 เพิ่มขึ้นในปีการศึกษา 2561 และเพ่ิมข้ึนในปกี ารศกึ ษา 2562

3) ผลการทดสอบความสามารถด้านการอา่ นออกของผูเ้ รียน (Reading Test : RT)
การทดสอบความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน เป็นการประเมินผลการอ่าน

ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 จาแนกเป็น 2 สมรรถนะ คือ การอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เร่ือง
ในปีการศึกษา 2562 มีโรงเรียนเข้าร่วมการทดสอบ จานวน 30,534 โรง รวมผู้เรียน จานวน 783,014 คน
เป็นโรงเรียนเอกชน จานวน 2,150 โรง ผู้เรยี น จานวน 163,456 คน

39

แผนภาพ 7 ผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผูเ้ รียน (Reading Test : RT)
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562

ผลการทดสอบความสามารถดา้ นการอา่ นออกของผเู้ รยี น

ผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่านออกของผู้เรียน

80 74.67
75
70 68.44 69.98 70.83
65
60 66.4 67.11 67.91
55
50 55.65 55.81

สพฐ. สช. อปท. กทม. สกอ. ตชด. พทั ยา โฮมสคลู กศน.

คะแนนเฉล่ีย คะแนนเฉลี่ยประเทศ(68.69)

การอ่านออกของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จากการทดสอบท้ังหมด 8 สังกัด
พบว่าคะแนนเฉลี่ยของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนสูงกว่าคะแนนเฉล่ียประเทศเล็กน้อย
และสูงเป็นอันดับ 5 รองจากสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สานักการศึกษากรุงเทพมหานคร
โฮมสคลู และสานกั การศกึ ษาเมืองพทั ยา

ตาราง 3 คะแนนประเมินการอา่ น ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 รายสมรรถนะ
และรายองคป์ ระกอบ

สมรรถนะและองคป์ ระกอบ คะแนนเฉลีย่ สช. คะแนนเฉลีย่ ประเทศ
การอ่านออกเสียง 70.77 68.50
การอ่านรู้เรื่อง 73.33 72.81
รวม 2 สมรรถนะ 72.05 70.66

การอ่านออกของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2562 พบว่า คะแนนเฉลี่ยสมรรถนะ
การอ่านออกเสียง และการอ่านรู้เรื่องของสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนสูงกว่าคะแนน
เฉลย่ี ประเทศโดยมีคะแนนเฉล่ยี ในสมรรถนะการอ่านรเู้ รื่องสูงกวา่ คะแนนเฉล่ียสมรรถนะการอา่ นออกเสียง

40

4) ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
การทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ (National Test : NT) เป็นการประเมิน

ความสามารถ 2 ด้าน คือ ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematics) และด้านภาษาไทย (Thai Language) ของผู้เรียน
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 ในปีการศึกษา 2562 มีโรงเรียนเข้าร่วมการทดสอบ จานวน 30,639 โรง รวมผู้เรียน
จานวน 739,146 คน เป็นโรงเรยี นเอกชน จานวน 2,146 โรง ผู้เรียน จานวน 147,019 คน
แผนภาพ 8 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT) รวม 2 ดา้ น

ของผเู้ รียนระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ รวม 2 ดา้ น

ความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติของผู้เรียน รวม 2 ด้าน ของผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2562 จากการทดสอบท้ังหมด 8 สังกัด พบว่าคะแนนเฉลี่ยของสานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยประเทศเล็กน้อย และสูงเป็นอันดับ 2 รองจากสังกัด สานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา

41

แผนภาพ 9 ผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผู้เรียนระดับชาติ (National Test : NT)
ของผูเ้ รียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2562 รายด้าน
ผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ รายดา้ น

ความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดับชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า
คะแนนเฉล่ียสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนสูงกว่าคะแนนเฉล่ียประเทศ ในด้านภาษาไทย
ส่วนด้านคณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ต่ากว่าคะแนนเฉล่ีย
ประเทศ
แผนภาพ 10 ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผ้เู รียนระดบั ชาติ (National Test : NT) ของ

ผู้เรียนระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3 ปกี ารศึกษา 2559 – 2562
ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผ้เู รียนระดบั ชาติ

42

ความสามารถพื้นฐานของผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เม่ือพิจารณาปีการศึกษา
2559 - 2562 พบว่า คะแนนเฉลี่ยรวม ลดลงในปี 2559 – 2560 เพิ่มข้ึนในปี 2560 – 2561 ลดลงในปี
2561 – 2562

2.3.2 ด้านประสิทธิภาพการจดั การศึกษา
1) ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนได้รวบรวมผลการประเมินคุณภาพ

ภายในของโรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญศึกษา ทั้งในส่วนกรุงเทพมหานคร และภูมิภาค ปีการศึกษา 2560
สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนไดน้ าผลการประเมินคณุ ภาพภายในมาวเิ คราะห์ท้ังสิ้น 3,085
โรง ปีการศกึ ษา 2561 จานวน 3,249 โรง

(1) ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวัย
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2560 - 2561

พบว่า ผลการประเมนิ คุณภาพภายในระดับดีเยี่ยม/ยอดเยี่ยม ปีการศึกษา 2561 ลดลงจากปีการศึกษา 2560
ร้อยละ 28.92 เมื่อพิจารณารายปี พบว่า ปีการศึกษา 2560 ผลการประเมินคุณภาพภายในส่วนใหญ่อยู่ใน
ระดับระดับดีเยี่ยม รองลงมาคือ ระดับดีมาก และระดับดี ปีการศึกษา 2561 ผลการประเมินคุณภาพภายใน
ส่วนใหญอ่ ยู่ในระดบั ระดับดเี ลิศ รองลงมาคือ ระดบั ยอดเย่ียม และระดบั ดี

โดยที่การประเมินคุณภาพภายในรายมาตรฐาน ระดับปฐมวัย ปีการศึกษา 2561
พบวา่ ผลการประเมินท้ัง 3 มาตรฐานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ ผลการประเมินส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีเลิศ
รองลงมา คือ ระดับยอดเย่ียม และระดับดี ทั้งน้ีโรงเรียนส่วนใหญ่มีผลการประเมินดีเลิศในมาตรฐานคุณภาพ
เด็ก รองลงมา คือ มาตรฐานการจดั ประสบการณ์ท่ีเนน้ เดก็ เป็นสาคัญ และกระบวนการบริหารและการจัดการ
ตามลาดับ

43

แผนภาพ 11 รอ้ ยละของผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย
ปีการศึกษา 2560 – 2561

ร้อยละของผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย

70 ดเี ยยี่ ม/ ดมี าก/ดเี ลิศ ดี พอใช้/ ปรับปรงุ /กาลงั
65 ยอดเย่ียม ปานกลาง พัฒนา
60 28.55 5.88
55 65.46 39.72 23.42 0.11 0
50
45 36.54 0.21 0.11
40
35
30
25
20
15
10
5
0

ปี 2560
ปี 2561

แผนภาพ 12 รอ้ ยละของผลการประเมินคณุ ภาพภายในรายมาตรฐาน ระดับปฐมวยั ปีการศกึ ษา 2561

ร้อยละของผลการประเมนิ คุณภาพภายในรายมาตรฐาน ระดบั ปฐมวยั

50 ยอดเย่ียม ดีเลศิ ดี ปานกลาง กาลงั พฒั นา
45 38.2 44.18 17.19 0.25 0.18
40 38.77 39.79 20.91 0.32 0.21
35 38.42 42.34 18.78 0.28 0.18
30
25
20
15
10

5
0

คณุ ภาพเดก็
กระบวนการบริหารและการจดั การ
การจดั ประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเป็นสาคญั

44

(2)ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั ขน้ั พื้นฐาน
ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2560 -

2561 พบวา่ ผลการประเมินคุณภาพภายในระดับดีเย่ียม/ยอดเยี่ยม ปีการศึกษา 2561 ลดลงจากปีการศึกษา
2560 รอ้ ยละ 27.53 เมื่อพิจารณารายปี พบว่า ปกี ารศึกษา 2560 ผลการประเมินคุณภาพภายในส่วนใหญ่อยู่
ในระดับระดับดี รองลงมาคอื ระดับดเี ยี่ยม และระดบั พอใช้ ปีการศกึ ษา 2561 ผลการประเมินคุณภาพภายใน
สว่ นใหญอ่ ย่ใู นระดบั ระดบั ดีเลิศ รองลงมาคือ ระดบั ดี และระดบั ยอดเย่ยี ม

การประเมินคุณภาพภายในรายมาตรฐาน ระดับขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2561 พบว่า
ผลการประเมินท้ัง 3 มาตรฐานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ ผลการประเมินส่วนใหญ่อยู่ในระดับดีเลิศ
รองลงมา คือ ระดับดี และระดับยอดเยี่ยม ท้ังนี้โรงเรียนส่วนใหญ่มีผลการประเมินดีเลิศในมาตรฐานคุณภาพ
ผู้เรียน รองลงมา คือ มาตรฐานกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และกระบวนการ
บริหารและการจัดการ ตามลาดับ

แผนภาพ 13 รอ้ ยละของผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับขนั้ พน้ื ฐาน
ปกี ารศกึ ษา 2560-2561

ร้อยละของผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั ข้นั พื้นฐาน

55

50

45

40

35

30

25

20

15

10

5

0 ดีเยยี่ ม/ พอใช้/ ปรับปรงุ /กาลัง
ยอดเยย่ี ม ปานกลาง พฒั นา
ดีมาก/ดเี ลศิ ดี

ปี 2560 48.37 0 48.76 2.66 0.21

ปี 2561 20.84 45.14 33.41 0.49 0.12

45

แผนภาพ 14 รอ้ ยละของผลการประเมนิ คุณภาพภายในรายมาตรฐาน ระดบั ขน้ั พื้นฐาน
ปีการศึกษา 2561

ร้อยละของผลการประเมนิ คุณภาพภายในรายมาตรฐาน ระดับขนั้ พนื้ ฐาน

50 ยอด ดีเลศิ ดี ปาน กาลงั
45 เยยี่ ม กลาง พฒั นา
40 46.48 32.36
35 20.63 41.72 36.06 0.41 0.12
30 21.94 44.28 33.46 0.16 0.12
25 21.65 0.49 0.12
20
15
10

5
0

คณุ ภาพผ้เู รียน
กระบวนการบริหารและการจดั การ
กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสาคญั

2) การประเมนิ ประสิทธภิ าพการจดั การศึกษาของโรงเรียนเอกชน
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน ได้ดาเนินการประเมินผลการจัด

การศกึ ษาของโรงเรยี นเอกชนประเภทสามญั ศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา พ.ศ. 2561 โดยมีผลการประเมินประสิทธิภาพ
การจัดการศกึ ษาของผบู้ ริหาร คณะกรรมการบริหาร และครู มีดังนี้

(1) ผลการประเมนิ ประสิทธภิ าพของผู้บริหาร
มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับสูง เม่ือพิจารณารายด้าน ทุกด้านมีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับสูง

โดยประสิทธิภาพท่ีมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด 3 อันดับ คือ ด้านความเป็นกัลยาณมิตร ด้านความซ่ือสัตย์ ยุติธรรม
โปรง่ ใส และดา้ นการสรา้ งขวัญและกาลังใจที่จะกระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจตามลาดับ สาหรับประสิทธิภาพที่
มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด 3 อันดับ คือ ด้านการกาหนดนโยบายเพื่อพัฒนาการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ด้านการ
สอ่ื สาร และด้านการวิจัยเพอ่ื พฒั นาการเรียนรูต้ ามลาดับ

(2) ผลการประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษาของคณะกรรมการบริหาร
มีค่าเฉล่ียรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณารายด้าน ทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับสูง

โดยประสิทธิภาพท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการระดมทรัพยากร รองลงมา คือ ด้านการจัดกิจกรรม
สนบั สนุนการจัดการเรยี นร้ขู องภาคเี ครอื ข่าย และด้านการส่งเสรมิ ให้มกี ารจดั ตงั้ เครือขา่ ยผู้ปกครองตามลาดับ

(3) ผลการประเมินประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษาของครู
จาแนกการประเมินออกเป็น 4 ระดับ คือ ระดับช้ันอนุบาล ประถมศึกษา

มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยการประเมนิ มดี ังนี้

46

(3.1) การจดั การเรียนรขู้ องครผู ู้สอนระดบั ชั้นอนบุ าล
ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้เกือบทุกด้านอยู่ในระดับสูง โดยมีเพียง

ประสทิ ธภิ าพด้านการสร้าง การพฒั นาเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผลการเรียนร้ตู ามระเบียบวธิ ีการวัดประเมินผล
อยูใ่ นระดบั ปานกลาง สาหรบั ประสิทธิภาพทมี่ คี า่ เฉล่ยี มากท่ีสดุ 3 อันดบั คือ ดา้ นจิตวญิ ญาณของความเป็นครู
และด้านศรัทธาในวิชาชีพครู รองลงมา คือ ด้านการสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้ และด้านจิตวิทยา
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตามลาดับ สาหรับประสิทธิภาพที่มีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด 3 อันดับ คือ ด้านการสร้าง
การพัฒนาเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามระเบียบวิธีการวัดประเมินผล ด้านการสร้างและการ
พัฒนาเครอ่ื งมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสตู ร และดา้ นการปฏิบัตกิ ารวิจยั ในชั้นเรยี นตามลาดบั

(3.2) การจดั การเรียนรขู้ องครผู ู้สอนระดับประถมศึกษา
การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษา พบว่า ประสิทธิภาพ

การจัดการเรียนรู้เกือบทุกด้านอยู่ในระดับสูง โดยมีเพียงประสิทธิภาพด้านการสร้าง การพัฒนาเครื่องมือวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ตามระเบียบวิธีการวัดประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง สาหรับประสิทธิภาพท่ี มี
ค่าเฉล่ียมากที่สุด 3 อันดับ คือ ด้านด้านศรัทธาในวิชาชีพครูรองลงมา คือ ด้านจิตวิญญาณของความเป็นครู
และด้านการสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนรู้ตามลาดับ สาหรับประสิทธิภาพท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด
3 อันดับ คือ ด้านการสรา้ ง การพัฒนาเครือ่ งมือวัดและประเมินผลการเรียนรตู้ ามระเบียบวิธีการวัดประเมินผล
ด้านการสรา้ งและการพัฒนาเคร่ืองมือวดั และประเมินผลการเรียนร้ตู ามหลกั สูตร และการปฏิบัติการวิจัยในช้ัน
เรยี นตามลาดับ

(3.3) การจัดการเรยี นรู้ของครผู ู้สอนระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า

ประสิทธิภาพการจัดการเรยี นรเู้ กอื บทุกดา้ นอยู่ในระดบั สงู โดยมีเพียงประสทิ ธิภาพด้านการพัฒนาเครื่องมือวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ตามระเบียบวิธีการวัดประเมินผลอยู่ในระดับปานกลาง สาหรับประสิทธิภาพท่ีมี
ค่าเฉล่ียมากท่ีสุด 3 อันดับ คือ ด้านศรัทธาในวิชาชีพครู รองลงมา คือ ด้านจิตวิญญาณของความเป็นครู และ
ด้านจิตวิทยาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ ตามลาดับ สาหรับประสิทธิภาพที่มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด 3 อันดับ คือ
ด้านการพัฒนาเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามระเบียบวิธีการวัดประเมินผล ด้านการปฏิบัติการ
วจิ ยั ในชนั้ เรียนและด้านการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล และด้านการปฏิบัติการวิจัยในช้ัน
เรียนตามลาดบั

(3.4) การจดั การเรยี นรขู้ องครผู สู้ อนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า

ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรเู้ กอื บทกุ ด้านอยูใ่ นระดบั สูง โดยมีเพียงประสทิ ธภิ าพด้านการพัฒนาเคร่ืองมือวัด
และประเมินผลการเรียนรู้ตามระเบียบวิธีการวัดประเมินผล สาหรับประสิทธิภาพที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด
3 อันดับ คือ ด้านศรัทธาในวิชาชีพครู รองลงมา คือ ด้านจิตวิญญาณของความเป็นครู และด้านจิตวิทยา
เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตามลาดับ สาหรับประสิทธิภาพที่มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด 3 อันดับ คือ การพัฒนา

47


Click to View FlipBook Version