The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องปีงบประมาณ 2562 ผู้แต่ง : ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องปีงบประมาณ 2562

หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องปีงบประมาณ 2562 ผู้แต่ง : ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Keywords: กศน.

คำนำ

หลักสูตรมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อการจัดการศกึ ษา เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษา
ให้ผู้เรียนบรรลุตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ซ่ึงงานการศึกษาต่อเน่ืองจำเป็นที่ต้องมีหลักสูตรท่ีเป็นไป
ตามความต้องการของประชาชน หรือความจำเป็นที่ต้องเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย หรือเป็นไปตามนโยบาย
ของกระทรวงศึกษาธิการ หรอื รัฐบาล สำหรับใช้จัดการศึกษาให้ประชาชนมีความรู้พ้ืนฐาน หรือทักษะเบื้องต้น
ในการประกอบอาชีพ มีทักษะชีวิตท่ีดีในการดำเนินชีวิต รวมทั้ง มีเจตคติที่ดี และเห็นคุณค่าในเรื่องท่ีเรียน
เพ่ือให้ผู้เรียนนำความรู้ ทักษะ และเจตคติไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรือประกอบอาชีพ และมีความพร้อม
ท่ีจะช่วยเหลอื สังคม ชมุ ชนใหน้ า่ อยู่ อันส่งผลต่อการพฒั นาประเทศ

งานพัฒนาหลักสูตร ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร
อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ ขอขอบคุณผู้เก่ียวข้อง เกษตรกรผู้รู้ ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ทกุ ท่าน ท่ีมสี ่วนเก่ียวข้อง
ในการจัดทำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ประจำปีงบประมาณ 2562 ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่า
เอกสารฉบบั นีจ้ ะเป็นประโยชนต์ ่องานการศกึ ษาตอ่ เน่ือง ศฝก. และผทู้ ี่สนใจ

งานพฒั นาหลักสตู ร กลุ่มพฒั นาวิชาการ ศฝก.
9 ตุลาคม 2562

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนื่อง ปีงบประมาณ 2562 ศฝก.

2 หน้า

สารบญั 4

คำนำ 7
สารบัญ 9
เกร่ินนำ 11
หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเน่อื ง 13
15
การทำปุ๋ยหมัก จำนวน 3 ช่วั โมง 17
การทำพายผลไม้ จำนวน 5 ชวั่ โมง 19
การทำข้าวเกรยี บปากหม้อ จำนวน 5 ชั่วโมง 21
การแปรรปู ลกู หม่อน จำนวน 5 ช่วั โมง 23
การทำเตา้ หนู้ มสด จำนวน 5 ชว่ั โมง 25
การทำพริกแกง จำนวน 5 ช่ัวโมง 27
การทำไสก้ รอกสมนุ ไพร จำนวน 5 ชัว่ โมง 29
การทำขนมตะโก้ จำนวน 5 ชวั่ โมง 31
การทำขนมจากมะพร้าวออ่ น จำนวน 5 ช่วั โมง 33
การสานหมวกจากใบมะพร้าว จำนวน 5 ชั่วโมง 36
การทำกระถางไมเ้ ทียม จำนวน 5 ช่วั โมง 39
การทำเค้กลกู หมอ่ น จำนวน 5 ช่ัวโมง 42
การจัดและตกแต่งสวนหยอ่ ม จำนวน 8 ช่วั โมง 45
การเสรมิ สร้างสมดุลกายและใจ จำนวน 10 ช่ัวโมง 48
การปลกู พชื ผักโดยวธิ เี กษตรธรรมชาติ จำนวน 15 ช่วั โมง 51
ซาลาเปาเพ่ือสขุ ภาพ จำนวน 20 ชัว่ โมง 54
การวาดภาพเหมอื น จำนวน 30 ชว่ั โมง 56
การทำปยุ๋ หมกั จำนวน 40 ชวั่ โมง 59
การแปรรปู สบั ปะรด จำนวน 40 ชั่วโมง 62
การแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตรเพอ่ื ใชใ้ นครวั เรือน จำนวน 40 ช่วั โมง
การนวดสมนุ ไพรเบ้ืองต้น จำนวน 40 ชั่วโมง
การทำน้ำพรกิ จำนวน 40 ชวั่ โมง
การทำอาหารว่าง จำนวน 40 ชั่วโมง
ธรรมชาติบำบดั ด้วยสมนุ ไพรไทย จำนวน 40 ชั่วโมง

หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

3 หน้า
66
สารบญั
69
การทำอาหารวา่ งสรา้ งอาชพี จำนวน 40 ชัว่ โมง 71
การแปรรูปเหด็ จำนวน 40 ชว่ั โมง 75
สขุ กาย สุขใจดว้ ยเกษตรธรรมชาติ จำนวน 40 ช่ัวโมง 78
การทำน้ำมนั มะพรา้ วและสบนู่ ้ำมนั มะพรา้ ว จำนวน 40 ชว่ั โมง
คณะทำงาน

หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนอื่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

4

เกริ่นนำ

หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ซ่ึงจัดทำข้ึนสำหรับใช้ในการจัดการศึกษาต่อเน่ืองของศูนย์ฝึก
และพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่ องมาจากพระราชดำริ (ศฝก.)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ใน 3 รูปแบบ คือ กลุ่มสนใจ ช้ันเรียนวิชาชีพ และฝึกอบรม ที่จัดทำในรูป
คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ตามคำส่ังศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร
อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ท่ี 126/2561 ลงวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2561 โดยมีอำนาจหน้าที่ในการ
ดำเนิน การจัดทำหลักสู ตรให้สอ ดคล้ องกับมาตรฐาน การจัดก ารศึก ษาและเป็น ไปตามความต้ องการขอ ง
ประชาชน วิเคราะห์ประสทิ ธภิ าพ ให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้
ทกั ษะ และเจตคตติ ามทกี่ ำหนด และนำผลมาปรบั ปรุงพัฒนาหลักสตู ร รายละเอยี ดในภาคผนวก

การจัดทำหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ปรับเปล่ียนการจัดทำ
หลักสูตรจาการจัดทำหลักสูตรในปีงบประมาณ 2561 เน่ืองจากในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ได้มีการ
มอบหมายให้ข้าราชการครูรับผิดชอบพื้นท่ีในการจัดการศึกษาต่อเน่ือง จำนวน 5 คน งานพัฒนาหลักสูตร
ซง่ึ ใช้หลักการมีส่วนร่วมในการจดั ทำหลักสตู ร เพอ่ื ให้หลักสูตรทจ่ี ัดทำข้ึนเป็นไปตามความต้องการของผู้เรยี น
จึงเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องระหว่างงานการศึกษาต่อเน่ือง ผู้รับผิดชอบพื้นที่ในการ
จัดการศึกษาต่อเนื่องตามคำสั่งศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร
อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ที่ 128/2561 เร่ือง แต่งต้ังข้าราชการครูรับผิดชอบพื้นท่ีเทศบาล/องค์การ
บรหิ ารสว่ นตำบล ลงวนั ท่ี 26 พฤศจิกายน 2561 รายละเอยี ดในภาคผนวก

ในปงี บประมาณ 2562 คณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู ร ตามคำสัง่ ดังกลา่ วข้างตน้ ไดส้ ำรวจ
ความต้องการ วเิ คราะห์ความจำเป็นในการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังพิจารณาให้ข้อคิดเห็นหลักสูตร
ทุกหลักสูตร และหรือจัดทำหลักสูตรเพื่อใช้ในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง โดยผ่านความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาได้อนุมัติให้ใช้ในการจัดการศึกษาต่อเน่ือง จำนวน
28 หลักสูตร ตั้งแต่ 3 ชั่วโมง ถึง 40 ชั่วโมง โดยมีผู้ให้ข้อมูลสำหรับจัดทำรา่ งหลักสูตร และผู้ร่างหลักสูตร
ดงั น้ี

ท่ี ชอ่ื หลกั สตู ร จำนวน ผใู้ หข้ ้อมูล ผู้รา่ งหลักสูตร วนั ท่อี นุมัตหิ ลักสูตร
ชว่ั โมง
1 การวาดภาพเหมอื น นางสาวจรรยา 22 พฤศจิกายน 2561
30 นางสาวปยิ นุช สงิ ห์ทอง
2 การทำป๋ยุ หมัก นายจรูญ ชมุ ศรี 4 ธันวาคม 2561
3 การทำปุย๋ หมัก สุวรรณประเสริฐ นายจรูญ ชุมศรี 4 กุมภาพนั ธ์ 2562
4 การแปรรูปสับปะรด นายจรูญ ชมุ ศรี 4 กุมภาพันธ์ 2562
5 การแปรรูปผลผลิต 3 นายจรญู ชุมศรี นายจรญู ชมุ ศรี 4 กุมภาพันธ์ 2562

ทางการเกษตร 40 นายดเิ รก บญุ สร้าง
เพือ่ ใช้ในครัวเรอื น
40 นางโบตนั๋ พลเพ็ง

40 นางสาวปิยนชุ

สวุ รรณประเสรฐิ

หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเน่อื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

5

ท่ี ชอื่ หลักสูตร จำนวน ผู้ให้ขอ้ มลู ผรู้ ่างหลักสูตร วันทอี่ นมุ ตั ิหลักสตู ร
ชั่วโมง 4 กมุ ภาพันธ์ 2562
6 การนวดสมุนไพร 40 นางสุกัญญา นางสาวจรรยา 17 เมษายน 2562
เบอ้ื งต้น 40 จันทรท์ องแดง สิงหท์ อง 17 เมษายน 2562
นางโบต๋ัน พลเพง็ นายจรญู ชุมศรี 17 เมษายน 2562
7 การทำน้ำพรกิ 8 นางสาวทพิ ย์วมิ ล นางสาวทพิ ย์วิมล 7 มถิ ุนายน 2562
8 การจัดและตกแตง่ 15 หมื่นเตยี ง หมื่นเตยี ง
40 นางสาวทพิ ย์วิมล นางสาวทพิ ย์วมิ ล 17 มิถุนายน 2562
สวนหยอ่ ม หมน่ื เตยี ง หม่นื เตียง 17 มิถุนายน 2562
9 การปลกู ผักโดย 40 1. นายสราวุธ นายจรูญ ชุมศรี
สุขประเสริฐ 17 มถิ นุ ายน 2562
เกษตรธรรมชาติ 2. นางฉนั ทลกั ษณ์ นางสาวจรรยา
10 การทำอาหารว่าง พรานนท์สถิตย์ สงิ ห์ทอง 12 กรกฎาคม 2562
นางนฤมล แสงมาศ 1. นางสาวพงษจ์ ันทร์ 12 กรกฎาคม 2562
11 การทำอาหารว่าง จนั ทยศ 12 กรกฎาคม 2562
สร้าง อาชีพ 40 นางสาวพงษจ์ ันทร์ 2. นางสาวจรรยา 26 กรกฎาคม 2562
จันทยศ สงิ หท์ อง
12 ธรรมชาตบิ ำบดั ด้วย 1. นางสาวพงษ์จนั ทร์
สมุนไพรไทย จนั ทยศ
2. นางสาวจรรยา
13 การเสรมิ สรา้ งสมดุล 10 นางสาวพงษจ์ ันทร์ สงิ ห์ทอง
นายจรญู ชมุ ศรี
กายและใจ จนั ทยศ
นายจรูญ ชมุ ศรี
14 การทำพายผลไม้ 5 นางสาวอัญชสา
กิมเล้ง นายจรญู ชุมศรี
15 การทำขา้ วเกรยี บ นายจรญู ชุมศรี
ปากหม้อ 5 นางสาววรรณดี
แสงเดอื นสริ ิกุล
16 การแปรรปู ลกู หม่อน
17 การทำเตา้ หนู้ มสด 5 นางกชกร การกั ษ์
5 นางสาวเปมกิ า

เข็มนาค

หลักสูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

6

ท่ี ชื่อหลักสูตร จำนวน ผใู้ ห้ข้อมูล ผรู้ ่างหลกั สูตร วนั ทอี่ นุมตั ิหลักสูตร
ชวั่ โมง นายจรญู ชมุ ศรี 26 กรกฎาคม 2562
18 การทำพรกิ แกง นายสราวุธ 26 กรกฎาคม 2562
5 สุขประเสริฐ นายจรูญ ชุมศรี 26 กรกฎาคม 2562
19 การทำไส้กรอก 5 นางฉนั ทลกั ษณ์ 26 กรกฎาคม 2562
สมนุ ไพร 5 พรานนท์สถติ ย์ นายจรูญ ชุมศรี 26 กรกฎาคม 2562
5 นางคุณัญญา 26 กรกฎาคม 2562
20 การทำขนมตะโก้ 20 นิลไธสง นายจรูญ ชมุ ศรี
40 นางฉนั ลักษณ์ 26 กรกฎาคม 2562
21 การทำขนมจาก พรานนท์สถติ ย์ นางสาวจรรยา 26 กรกฎาคม 2562
มะพร้าวออ่ น 40 นางรสริน ภานมุ าส สงิ ห์ทอง 9 สิงหาคม 2562
5 นายจรูญ ชุมศรี 9 สิงหาคม 2562
22 ซาลาเปาเพื่อสุขภาพ 5 1. นางโบต๋ัน พลเพ็ง 9 สิงหาคม 2562
5 2. นางคุณัญญา นางสาวจรรยา
23 การแปรรูปเหด็ 40 นลิ ไธสง สงิ ห์ทอง
นางสาวทิพย์วิมล นางสาวทพิ ยว์ มิ ล
24 สขุ กาย สขุ ใจดว้ ย หมนื่ เตยี ง หม่นื เตยี ง
เกษตรธรรมชาติ นางมาริสา นายจรูญ ชมุ ศรี
ชุมเกษียณ
25 การสานหมวกจาก นางพิชญ์สินี เลน นายจรญู ชุมศรี
ใบมะพรา้ ว นายจรูญ ชุมศรี
นางอภิญญา นทั ธี
26 การทำกระถาง นางสาววรลักษณ์
ไม้เทยี ม ไตรศภุ โชค

27 การทำเคก้ ลกู หมอ่ น
28 การทำน้ำมันมะพร้าว

และสบูน่ ำ้ มัน
มะพร้าว

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

7

หลักสูตรการทำปยุ๋ หมัก จำนวน 3 ช่วั โมง
ศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสงั วรารามวรมหาวหิ าร อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวัดชลบรุ ี

ความเปน็ มา
ปุ๋ยหมัก เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างหน่ึงของการทำเกษตรธรรมชาติ เนื่องจากปุ๋ยหมัก

มีคุณสมบัติที่เหมาะสมหลายประการต่อการปรับปรุงโครงสร้างของดินให้ดีขึ้น และดินก็เป็นปัจจัยท่ีมี
ความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช ปุ๋ยหมักช่วยปรับปรุงดินโดยช่วยเพ่ิมอินทรียวัตถุและธาตุอาหารพืช
ทำให้ดินมีการจับตัวกันอย่างพอเหมาะต่อการเก็บและระบายน้ำ ช่วยให้อากาศในดินถ่ายเทดี ดินร่วนซุย
นอกจากนี้ปุ๋ยหมักยังช่วยลดปริมาณเชื้อโรคบางชนิดในดิน ช่วยรักษาความเป็นกรดเป็นด่างของดินให้อยู่
ในระดบั ทเ่ี ป็นกลาง สง่ ผลให้ดนิ มีความเหมาะสมต่อการเจริญของพชื และใหผ้ ลผลติ สูงข้ึน

ปุ๋ยหมักเป็นส่ิงที่ได้จากการนำเศษวัสดุจากธรรมชาติที่เหลือใช้และมีอยู่ตามธรรมชาติ
มาผลิตเป็นปุ๋ยในการปรับปรุงดินและในปุ๋ยหมักยังมีอาหารของพืชอย่างครบถ้วน ทั้งธาตุอาหารหลัก
ธาตุอาหารรองและจุลธาตุ อกี ทั้งการทำปยุ๋ หมกั ยังสามารถช่วยลดต้นทุนทางด้านการเกษตรอีกดว้ ย

ดงั นน้ั ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ไดเ้ หน็ ความสำคัญของการทำเกษตรธรรมชาติ จึงได้จัดทำหลกั สูตรการทำปุ๋ยหมกั ขึ้น

จุดมงุ่ หมาย
1. เพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำป๋ยุ หมกั การดแู ลกองปยุ๋ หมัก การใชป้ ุ๋ยหมัก

และประโยชน์ของปุ๋ยหมกั
2. เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนฝึกปฏิบัตกิ ารทำปุ๋ยหมกั

กลุม่ เป้าหมาย
ประชาชนทัว่ ไปและเกษตรกร จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 3 ชั่วโมง

โครงสร้างหลักสูตร

เรื่อง จดุ ประสงค์ เน้ือหา การจัด จำนวนช่ัวโมง
1. การทำปยุ๋ หมัก การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ
1. วัสดุท่ีใชใ้ นการ 30 นาที 90 นาที
เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นมี ทำป๋ยุ หมัก 1. อธบิ าย
ความรู้ความเข้าใจ 2. ประเภทของการ 2. วสั ดุ อปุ กรณ์
เกยี่ วกบั การทำ ทำป๋ยุ หมกั จรงิ
ปุ๋ยหมกั 2.1 ปุ๋ยหมกั ทั่วไป 3. ฝกึ ปฏิบัติ
2.2 ป๋ยุ หมกั เจ
3. วธิ ีการทำปยุ๋ หมัก

หลักสูตรการศึกษาตอ่ เน่อื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

8

เรอ่ื ง จดุ ประสงค์ เน้อื หา การจดั จำนวนชวั่ โมง
2. การดแู ลกอง การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
ปุ๋ยหมกั เพ่ือใหผ้ ู้เรยี นมี 20 นาที -
ความรู้ความเข้าใจ 1. การกลบั กอง 1. อธบิ าย
3. การใช้ปยุ๋ หมัก เกย่ี วกบั การดแู ล 20 นาที -
กองปยุ๋ หมกั ปุย๋ หมกั 2. ตวั อย่างของจรงิ
4. ประโยชนข์ อง 20 นาที -
ปุ๋ยหมกั เพื่อให้ผูเ้ รียนมี 2. การควบคมุ
ความรูค้ วามเข้าใจ 1 ชั่วโมง 1 ช่วั โมง
เกย่ี วกับการใช้ อณุ หภูมิ 30 นาที 30 นาที
ป๋ยุ หมัก
เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมี 3. การสงั เกตปุย๋ หมัก
ความรคู้ วามเข้าใจ
เกยี่ วกับประโยชน์ ท่หี มักสมบูรณ์แล้ว
ของป๋ยุ หมัก
1. ลักษณะการใช้ - อธบิ าย

ปุย๋ หมกั

2. ปริมาณการใช้

1. ประโยชนต์ อ่ ดิน - อธบิ าย
2. ประโยชน์ตอ่ พืช
3. ประโยชนต์ ่อ

สภาพแวดล้อม

รวม

ส่ือการเรยี นรู้
1. เอกสารประกอบการเรยี น
2. วสั ดุ อุปกรณจ์ ริง

การวดั และประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการฝึกปฏบิ ัติ
2. สงั เกตการตอบคำถามระหว่างการอธบิ าย

เงือ่ นไขการจบหลกั สตู ร
1. ระยะเวลาเขา้ รบั การอบรมไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มคี วามร้แู ละผ่านการปฏิบัตกิ ารทำปุ๋ยหมกั

หลกั สูตรการศึกษาต่อเน่อื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

9

หลกั สูตรการทำพายผลไม้ จำนวน 5 ช่วั โมง

ศูนยฝ์ ึกและพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ
อำเภอบางละมงุ จังหวดั ชลบรุ ี

ความเป็นมา
พาย คือ อาหารชนิดหน่ึงที่ผ่านกระบวนการอบ โดยปกติพายจะบรรจุไส้ต่างๆ ไว้ด้านใน

เช่น เนื้อปลา ผัก ผลไม้ ชีส ครีม ช็อกโกแลต คัสตาร์ด ถ่ัว หรือของหวานอื่นๆ พายจะมี 2 ลักษณะคือ

แบบทีม่ ีแปง้ ประกบทั้งสองด้าน เชน่ พายไก่ หรือพายสับปะรด หรอื อีกประเภททว่ี างอย่บู นแป้งด้านหนึ่ง เช่น
พายท่ีเป็นขนมหวาน โดยไสท้ เี่ ป็นของหวานหรอื ผลไม้ จะวางบนแผ่นแป้งทเ่ี รียกวา่ ครสั ต์ พายประเภทที่เป็น

ของหวานมักจะผ่านกระบวนการอบเฉพาะส่วนของแป้งเท่าน้ัน สว่ นไส้ในจะมาใส่ภายหลัง ซึ่งเป็นอาหารวา่ ง
ชนดิ หนงึ่ ที่นำมาเสริ ์ฟค่กู ับชา กาแฟ ในการจัดอบรม ประชุม สัมมนา

ดังนนั้ ศูนย์ฝกึ และพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนือ่ งมาจาก

พระราชดำริ ได้เห็นความสำคัญของการนำผลผลติ ทางการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพ่ิมและช่วยเหลือเกษตรกร
จึงได้จดั ทำหลักสตู รการทำพายผลไมข้ น้ึ

จุดมุง่ หมาย

1. เพ่ือให้ผู้เรยี นมีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการทำพายผลไม้ การบรรจุหีบห่อและการตลาด
2. เพื่อให้ผเู้ รยี นไดร้ ับการฝึกปฏิบัตกิ ารทำพายผลไม้

กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทว่ั ไปและเกษตรกร จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชว่ั โมง

โครงสร้างหลักสูตร

เรอื่ ง จดุ ประสงค์ เนอื้ หา การจัด จำนวนชั่วโมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
30 นาที -
1. ความรูเ้ กีย่ วกบั การ เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมี 1. ความรูท้ วั่ ไปเกยี่ วกับ 1. อธิบาย
30 นาที 3 ชวั่ โมง
ทำพายผลไม้ ความรูค้ วามเข้าใจ พาย 2. วสั ดุ อุปกรณ์ 30 นาที

เก่ยี วกบั การทำ 2. ประโยชนข์ องผลไม้ที่ จรงิ

พายผลไม้ นำมาทำพาย 3. ภาพ

2. การทำพายผลไม้ เพ่อื ให้ผเู้ รียนได้ 1. วสั ดุ อุปกรณ์และ 1. อธบิ าย

ฝึกปฏบิ ตั ใิ นการทำ วตั ถุดบิ ที่ใช้ในการทำพาย 2. สาธติ

พายผลไม้ 2. วิธกี ารและข้ันตอนการ 3. ฝึกปฏิบตั ิ

ทำพายผลไม้ เช่น พายลูก

หม่อน พายสบั ปะรด

เปน็ ตน้

3. การทำแป้ง

4. การทำไส้

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

10

เร่อื ง จดุ ประสงค์ เน้อื หา การจดั จำนวนชวั่ โมง
การเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
1. การทำภาชนะ 30 นาที -
3. การบรรจหุ บี หอ่ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียน สำหรบั บรรจหุ บี ห่อ 1. อธิบาย
2. การตลาด 2. แลกเปลี่ยน
และการตลาด สามารถจัดทำ เรยี นรู้
3. ภาพ
ภาชนะสำหรบั

บรรจุหบี ห่อและ

จดั หาตลาด

จำหนา่ ยผลผลติ ได้

รวม 1 ช่ัวโมง 3 ชว่ั โมง
30 นาที 30 นาที

ส่อื การเรยี นรู้
3. เอกสารประกอบการเรยี น
2. วัสดุ อุปกรณ์จรงิ
3. ภาพ

การวดั และประเมินผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการฝึกปฏิบตั ิ
2. สังเกตการตอบคำถามระหวา่ งการอธบิ าย

เงือ่ นไขการจบหลกั สตู ร
1. ระยะเวลาเข้ารับการอบรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มีความรแู้ ละผา่ นการปฏิบัตกิ ารทำพายผลไม้

หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

11

หลกั สูตรการทำขา้ วเกรยี บปากหม้อ จำนวน 5 ชว่ั โมง
ศนู ยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อันเน่อื งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวัดชลบรุ ี

ความเปน็ มา

ข้าวเกรียบปากหม้อ เป็นอาหารว่างแบบไทยๆ และสามารถทำเป็นอาชีพหลักหรืออาชีพเสริมได้
ประกอบอาหารโดยนำผ้ามาขึงให้ตึงบนหม้อแล้วนำแป้งมาทาด้านบนให้ความร้อนและไอน้ำจากหม้อทำให้
ตัวแป้งพอง มีไส้หลากหลายทั้งไส้เค็มและไส้หวาน ซ่ึงข้าวเกรียบปากหม้อไส้หวาน เรียกว่า “ข้าวเกรียบ
ปากหม้ออ่อน” ซึ่งในปัจจุบันมีการนำพืชผักต่างๆ มาทำเป็นไส้ข้าวเกรียบปากหม้อ สำหรับคนรักษาสุขภาพ
มากย่งิ ข้ึน

ดงั น้ัน ศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวดั ญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ
ได้เห็นความสำคัญของการนำผลผลิตทางการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพิ่มและช่วยเหลือเกษตรกร นอกจากน้ี
การทำข้าวเกรียบปากหม้อ ยังสามารถนำความรู้มาใช้ทำเพื่อรับประทานในครอบครัวและเพ่ือสร้างรายได้
ใหก้ ับตนเองและครอบครวั อีกดว้ ย จึงได้จดั ทำหลกั สตู รขา้ วเกรยี บปากหมอ้ ข้นึ

จุดมงุ่ หมาย เพ่ือให้ผ้เู รยี น
1. มีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการทำขา้ วเกรยี บปากหมอ้ การบรรจุหบี ห่อ และการตลาด
2. ไดร้ บั การฝึกปฏบิ ัตกิ ารทำข้าวเกรียบปากหม้อ

กลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนทัว่ ไปและเกษตรกร จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชว่ั โมง

โครงสรา้ งหลกั สูตร

เรอื่ ง จุดประสงค์ เน้ือหา การจดั จำนวนชั่วโมง
การเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1. ความรู้
เกี่ยวกบั เพื่อใหผ้ ้เู รียนมีความรู้ - ความเปน็ มาของ 1. อธิบาย 30 นาที -
ข้าวเกรยี บ
ปากหมอ้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับ ข้าวเกรียบปากหมอ้ 2. วัสดุ อุปกรณ์
2. การทำ
ข้าวเกรยี บ ความเป็นมาของ จริง
ปากหม้อ
ขา้ วเกรียบปากหมอ้ 3. ภาพ

เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียน 1. วัสดุ อุปกรณ์ทีใ่ ช้ใน 1. อธบิ าย 30 นาที 3 ชวั่ โมง

ฝึกปฏบิ ัตกิ ารทำ การทำข้าวเกรยี บปากหมอ้ 2. สาธติ 30 นาที

ข้าวเกรียบปากหมอ้ 2. วธิ กี ารและขน้ั ตอนการ 3. ฝึกปฏิบตั ิ

และนำ้ จิ้ม ทำขา้ วเกรียบปากหม้อไส้

ต่างๆ เช่น การทำข้าว

เกรียบปากหม้อไสก้ ุยชา่ ย

หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

12

เรือ่ ง จดุ ประสงค์ เน้ือหา การจดั กระบวน จำนวนชวั่ โมง
2. (ต่อ) การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

3. การบรรจุ การทำขา้ วเกรียบปาก 30 นาที -
หีบห่อและ
การตลาด หมอ้ ไส้เห็ด เปน็ ต้น 1 ช่ัวโมง 3 ชว่ั โมง
30 นาที 30 นาที
3. การทำนำ้ จ้มิ ข้าวเกรียบ

ปากหม้อ

เพื่อให้ผเู้ รยี นสามารถ 1. การทำบรรจุหบี หอ่ 1. อธบิ าย

จดั ทำ บรรจุหีบหอ่ 2. การตลาด 2. แลกเปลี่ยน

จัดหาตลาด จำหนา่ ย 3. การคำนวณต้นทนุ และ เรียนรู้

ผลผลติ และกำหนด กำหนดราคา 3. ภาพ

ราคาได้

รวม

สอ่ื การเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียน
2. วสั ดุ อุปกรณจ์ ริง
3. ภาพ

การวดั และประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤติกรรมการฝึกปฏบิ ตั ิ
2. สังเกตการตอบคำถามระหวา่ งการอธบิ าย

เง่อื นไขการจบหลักสตู ร
1. ระยะเวลาเข้ารับการอบรมไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ 80
2. มคี วามรแู้ ละผา่ นการปฏิบัตกิ ารทำข้าวเกรียบปากหมอ้

หลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่ือง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

13

หลกั สตู รการแปรรปู ลกู หมอ่ น จำนวน 5 ช่ัวโมง
ศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวดั ญาณสงั วรารามวรมหาวิหาร อันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมงุ จังหวดั ชลบุรี

ความเปน็ มา
ลูกหม่อน หรือ มัลเบอร์รี เป็นหน่ึงในพืชตระกูลเบอร์รี เป็นผลของต้นหม่อนที่ใช้ในการ

เลี้ยงหนอนไหม มีลักษณะเป็นผลรวมทรงกระบอก สีของผลเป็นสีเขียวอ่อน แต่เม่ือแก่เต็มท่ีจะมีสีแดงเข้ม
ไปจนเกอื บดำ มีรสหวานอมเปรย้ี วและจะเนา่ ไปในท่สี ุด ลูกหม่อนมที ้งั หมด 3 สายพันธุ์ ไดแ้ ก่ ลูกหม่อนสีขาว
ลูกหม่อนสีแดงและลูกหม่อนสีดำ ซ่ึงมีประโยชน์มากมาย เช่น ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด บำรุงสมอง
กระตุ้นการไหลเวียนของเลือด เสริมสรา้ งภูมิคุ้มกัน และป้องกันมะเร็ง เปน็ ต้น เกษตรกรนิยมปลูกต้นหม่อน
และมผี ลของลกู หม่อนเป็นจำนวนมา จงึ ควรนำมาแปรรปู เพือ่ เปน็ การถนอมอาหาร

ดังนนั้ ศูนย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวัดญาณสงั วรารามวรมหาวิหาร อันเนอ่ื งมาจาก
พระราชดำริ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการนำผลผลิตทางการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพ่ิมและช่วยเหลือ
เกษตรกรจงึ ได้จัดทำหลกั สูตรการแปรรูปลูกหมอ่ นขึ้น

จดุ มุ่งหมาย เพ่ือให้ผเู้ รียน
1. มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับการแปรรปู ลกู หมอ่ น การบรรจุหีบห่อและการตลาด
2. ได้รับการฝึกปฏบิ ัติการแปรรูปลกู หมอ่ น

กลมุ่ เปา้ หมาย
ประชาชนทว่ั ไปและเกษตรกร จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชว่ั โมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร

เร่อื ง จดุ ประสงค์ เนือ้ หา การจัด จำนวนชัว่ โมง
การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้
1. ความรู้ 1. ประเภทของ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
เก่ียวกับ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมี ลูกหม่อน 1. อธบิ าย
ลกู หมอ่ น ความรคู้ วามเข้าใจ 2. ลกั ษณะลูกหมอ่ น 2. วสั ดุ อปุ กรณ์ 30 นาที -
เกีย่ วกับลูกหม่อน ทใ่ี ช้ในการแปรรปู จริง
3. ประโยชนข์ อง 3. ภาพ
ลกู หม่อน

หลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่อื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

14

เรอื่ ง จดุ ประสงค์ เนอ้ื หา การจดั จำนวนชวั่ โมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้
2. การแปรรูป ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
ลูกหมอ่ น เพื่อให้ผู้เรยี นได้ 1. วสั ดุ อปุ กรณ์และ 1. อธิบาย
ฝึกปฏบิ ัติการ 30 นาที 3 ช่วั โมง
แปรรูปลกู หมอ่ น วตั ถดุ บิ ท่ีใช้ในการ 2. สาธิต 30 นาที

แปรรปู ลูกหมอ่ น 3. ฝกึ ปฏิบตั ิ

2. วิธกี ารและ

ข้ันตอนแปรรูป

ลูกหมอ่ น เชน่

การทำแยมลกู หมอ่ น

การทำลูกหมอ่ นกวน

เป็นตน้

3. การบรรจุ เพื่อใหผ้ ูเ้ รียน 1. การทำบรรจุ 1. อธบิ าย 30 นาที -
หบี ห่อและ สามารถจัดทำ หบี ห่อ
2. แลกเปลีย่ นเรียนรู้
การตลาด บรรจหุ บี ห่อและ 2. การตลาด
จดั หาตลาด 3. ภาพ
จำหนา่ ยผลผลิตได้

รวม 1 ชวั่ โมง 3 ช่วั โมง
30 นาที 30 นาที

สื่อการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรยี น
2. วัสดุ อปุ กรณจ์ รงิ
3. ภาพ

การวดั และประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการฝกึ ปฏิบตั ิ
2. สงั เกตการตอบคำถามระหวา่ งการอธบิ าย

เงือ่ นไขการจบหลักสูตร
1. ระยะเวลาเข้ารับการอบรมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีความรู้และผ่านการปฏิบัติการแปรรปู ลูกหมอ่ น

หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนื่อง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

15

หลกั สูตรการทำเต้าหู้นมสด จำนวน 5 ช่วั โมง
ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวดั ญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวัดชลบรุ ี

ความเปน็ มา

เต้าหู้นมสดเป็นอาหารว่างที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ และเป็นที่นิยมของผู้ท่ีรักสุขภาพ ตลอดจนเป็น
อาหารสำหรับผทู้ ่ีต้องการลดนำ้ หนักหรือควบคุมน้ำหนัก ซ่ึงอุดมไปด้วยสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย ได้แก่
โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ วิตามิน นอกจากนี้ยังมีการเพ่ิมธัญพืชต่างๆ เพื่อเพ่ิมคุณค่าให้กับ
ผลิตภัณฑ์ มกี ารตกแต่งสสี ันใหส้ วยงามโดยใชส้ ีธรรมชาติ เพิ่มคุณคา่ ทางอาหาร การทำเต้าหู้นมสดมีข้ันตอน
การทำไมย่ ุ่งยาก วัตถุดิบสามารถหาได้งา่ ย

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ไดเ้ ห็นถึงความสำคัญของการสร้างอาชีพเสริมรายได้ ลดค่าใช้จ่าย รวมทั้งสุขภาพของผ้บู ริโภค
จึงไดจ้ ดั ทำหลกั สูตรการทำเตา้ หนู้ มสดขึน้

จุดมุ่งหมาย เพ่อื ให้ผู้เรียน
1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั ความรเู้ บอื้ งต้นเกี่ยวกับเต้าหู้นมสด การทำเต้าหนู้ มสด การบรรจุ

และการตลาด
2. ได้รบั การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารทำเต้าหู้นมสด

กลมุ่ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทวั่ ไป จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชว่ั โมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร

เร่อื ง จุดประสงค์ เนือ้ หา การจดั จำนวนชว่ั โมง
การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
30 นาที -
1. ความรู้ เพ่ือให้ผเู้ รยี นมี 1. ประวัติ และลกั ษณะ 1. อธบิ าย
เบือ้ งต้น ความรคู้ วามเข้าใจ ของเตา้ หนู้ มสด 2. วัสดุ อปุ กรณ์
จรงิ
เกยี่ วกบั เตา้ หู้ เก่ยี วกบั เต้าหนู้ มสด 2. ประโยชน์ของเตา้ หู้
นมสด นมสด

หลักสูตรการศึกษาต่อเนอื่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

16

เรอ่ื ง จุดประสงค์ เนอื้ หา การจดั จำนวนช่ัวโมง
2. การทำเต้าหู้ การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ
นมสด เพื่อใหผ้ เู้ รียนได้รับ 30 นาที 3 ช่ัวโมง
การฝกึ ปฏบิ ัติใน 1. วัสดุ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ 1. อธบิ าย
3. การตลาด การทำเตา้ ห้นู มสด 20 นาที
ในการทำเตา้ หูน้ มสด 2. สาธิต
เพื่อใหผ้ ู้เรยี นเหน็ 40 นาที -
ชอ่ งทางการ 2. วธิ ีการการทำขนม 3. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
จำหนา่ ยผลผลิตได้ 1 ช่ัวโมง 3 ชว่ั โมง
เต้าหนู้ มสด 40 นาที 20 นาที

2.1 การทำตัวเต้าหู้

นมสด

2.2 การทำหน้าเต้าหู้

นมสด

3. วิธกี ารบรรจุในภาชนะ

ช่องทางการจำหนา่ ย 1. อธบิ าย

เตา้ หูน้ มสด 2. แลกเปลยี่ น

เรียนรู้

รวม

สื่อการเรยี นรู้
1. เอกสารประกอบการเรยี น
2. วัสดุ อุปกรณจ์ ริง

การวัดและประเมินผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการฝึกปฏบิ ัติ
2. สงั เกตการตอบคำถามระหว่างการอธิบาย

เงื่อนไขการจบหลกั สูตร
1. ระยะเวลาเขา้ รับการอบรมไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80
2. มีความรู้และผ่านการปฏิบัตกิ ารทำเต้าหูน้ มสด

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

17

หลกั สูตรการทำพริกแกง จำนวน 5 ชั่วโมง
ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวัดญาณสงั วรารามวรมหาวิหาร อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบรุ ี

ความเป็นมา

แกงเป็นอาหารไทยท่ีมีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จักกันทั่วโลก และเป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมด้านอาหาร
ของไทยมายาวนาน โดยในแกงจะอุดมไปดว้ ยเครอื่ งเทศทีม่ ีสรรพคุณทางยาหลากหลายชนิด ซึ่งส่วนประกอบ
ที่เป็นเครื่องเทศต่างๆ ส่วนประกอบท่ีใช้ในการทำพริกแกงและแต่งกลิ่นรส เช่น พริกสด พริกแห้ง ตะไคร้
ผิวมะกรูด หัวหอม กระเทียม ขิง ขา่ รากผักชี ลูกผักชี ยี่หร่า พริกไทย เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีเครื่องปรุงรส
เชน่ เกลือ น้ำปลา น้ำซอส น้ำตาล มะขามเปียก หรืออื่นๆ พริกแกงสามารถทำได้งา่ ย แตย่ ุคปัจจบุ นั ผบู้ ริโภค
มีความเร่งรีบในการดำเนินชีวิต จึงนิยมซ้ือพริกแกงสำเร็จรูปพร้อมปรุง ส่วนผู้บริโภคที่ ทำพริกแกงเอง
ไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปใช้การบด การป่นั แทนการตำ เพือ่ ลดเวลาในการทำพริกแกง ซ่ึงสง่ ผลให้รสชาติของอาหาร
มคี วามอร่อยลดลง ดงั น้ันการทำพรกิ แกงให้อรอ่ ยจะต้องมคี วามรู้ความเข้าใจในเทคนิคกระบวนการ

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ได้เห็นถึงความสำคัญของการสร้างอาชีพเสริมรายได้ ลดค่าใช้จ่าย จึงได้จัดทำหลักสูตรการทำ
พรกิ แกงข้ึน

จุดมงุ่ หมาย เพ่อื ให้ผู้เรยี น

1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั ประวตั คิ วามเปน็ มา ความสำคัญ สรรพคณุ ทางยา การบรรจุหบี หอ่

และการตลาด

2. ได้รบั การฝึกปฏบิ ัติการทำพรกิ แกง

กลมุ่ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทว่ั ไป จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชัว่ โมง

โครงสร้างหลกั สตู ร

เร่ือง จดุ ประสงค์ เนอื้ หา การจัด จำนวนชว่ั โมง
การเรียนรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
1. ประวตั คิ วามเป็นมา 30 นาที -
1. ความรเู้ บื้องต้น เพอื่ ให้ผเู้ รียนมี ของพริกแกง เรยี นรู้
เกีย่ วกบั พริกแกง ความรคู้ วามเข้าใจ 2. ความสำคัญของ
พริกแกง 1. อธบิ าย
เก่ยี วกับพริกแกง 3. สรรพคุณทางยาของ 2. วสั ดุ
สมุนไพรทใี่ ชท้ ำพริกแกง อุปกรณจ์ ริง

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

18

เรอื่ ง จุดประสงค์ เนื้อหา การจดั จำนวนชัว่ โมง
การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
1. วัสดุ อุปกรณ์ท่ีใช้ 30 นาที 3 ชัว่ โมง
2. การทำพรกิ แกง เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นได้รับ ในการทำพรกิ แกง เรยี นรู้
การฝึกปฏิบตั กิ าร 2. สว่ นผสม และ 1. อธบิ าย 20 นาที
ทำพริกแกง วธิ กี ารทำพริกแกง 2. สาธติ
3. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ 40 นาที -
3. การบรรจหุ บี หอ่ เพ่อื ให้ผู้เรยี น 2.1 พรกิ แกงเผด็
และการตลาด สามารถจัดทำ 2.2 พริกแกง 1.อธิบาย 1 ชวั่ โมง 3 ชัว่ โมง
เขยี วหวาน 2.แลกเปลย่ี น 40 นาที 20 นาที
บรรจหุ ีบห่อและ 1. การทำบรรจุหีบหอ่ เรยี นรู้
จดั หาตลาดได้ 2. การคิดต้นทุนและ
การกำหนดราคาขาย
3. การตลาด

รวม

ส่ือการเรยี นรู้
1. เอกสารประกอบการเรยี น
2. วัสดุ อุปกรณจ์ ริง

การวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤติกรรมการฝกึ ปฏิบตั ิ
2. สังเกตการตอบคำถามระหวา่ งการอธิบาย

เงอื่ นไขการจบหลกั สตู ร
1. ระยะเวลาเขา้ รับการอบรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80
2. มคี วามรู้และผ่านการปฏิบัติการทำพริกแกง

หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

19

หลกั สตู รการทำไส้กรอกสมุนไพร จำนวน 5 ชั่วโมง
ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

ความเป็นมา

ไส้กรอก เป็นการถนอมอาหารชนิดหน่ึง โดยการนำเนื้อสัตว์มาบดผสมกับเกลือและเคร่ืองปรุง
แล้วบรรจุในไสเ้ พื่อทำให้มีรูปรา่ งเป็นรูปทรงกระบอก ไส้กรอกมีหลากหลายชนดิ อาทเิ ชน่ ไส้กรอกสุก ไส้กรอกสด
ไส้กรอกก่ึงแห้ง ไส้กรอกแห้ง เป็นต้น สำหรับประเทศไทย ไส้กรอกท่ีนิยมบริโภคคือ ไส้กรอกสด ก่อน
รับประทานจะต้องทำให้สุกก่อน ปัจจุบันคนไทยให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพมากข้ึน จึงได้มีการนำ
พชื ผกั และสมุนไพรต่างๆ มาใชเ้ ปน็ สว่ นผสมหลักในการทำไสก้ รอก

ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ได้เห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ และนำพืชผัก สมุนไพรต่างๆ มาประกอบอาหารเพื่อบริโภคและ
สร้างอาชีพเสริมรายได้ ลดคา่ ใช้จา่ ย จึงไดจ้ ัดทำหลกั สูตรการทำไสก้ รอกสมนุ ไพรข้นึ

จดุ มุ่งหมาย เพ่อื ให้ผเู้ รียน
1. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั การทำไสก้ รอกสมุนไพร
2. ได้รับการฝกึ ปฏบิ ัติการทำไส้กรอกสมุนไพร

กลุม่ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทั่วไป จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชว่ั โมง

โครงสร้างหลักสูตร

เรอื่ ง จดุ ประสงค์ การจดั จำนวนช่วั โมง
การเรยี นรู้ เน้ือหา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
30 นาที -
เรยี นรู้

1. ความรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รียนมี 1. ประวัติความเป็นมาของไส้ 1. อธิบาย

เบอื้ งต้นเกย่ี วกบั ความรคู้ วามเข้าใจ กรอก 2. วัสดุ

ไส้กรอก เกย่ี วกบั ไสก้ รอก 2. พชื ผักและสมนุ ไพรทีใ่ ช้ทำ อุปกรณจ์ ริง
ไส้กรอก

3. คุณค่าทางอาหารและ

สรรพคุณทางยาของพชื ผกั
สมนุ ไพร และไส้กรอกสมุนไพร

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

20

จดุ ประสงค์ การจัด จำนวนชั่วโมง
การเรยี นรู้
เร่อื ง เน้ือหา กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
เพื่อให้ผู้เรยี น
2. การทำไส้ ไดร้ ับการฝึก เรียนรู้ 30 นาที 3 ชว่ั โมง
กรอกสมนุ ไพร ปฏบิ ตั ิการทำไส้ 20 นาที
กรอกสมนุ ไพร 1. วัสดุ อปุ กรณ์ และวัตถดุ ิบ 1. อธบิ าย

ท่ีใช้ในการทำไสก้ รอก 2. สาธติ

2. วธิ ีการทำไส้กรอกสมุนไพร 3. ฝกึ ปฏิบตั ิ

3. การบรรจุ เพื่อให้ผูเ้ รียน 1. การทำบรรจุภัณฑ์ 1. อธบิ าย 40 นาที -
ภณั ฑแ์ ละ สามารถจัดทำ 2. การตลาด 2. แลกเปล่ียน
การตลาด เรียนรู้
บรรจุภัณฑแ์ ละ รวม
จดั หาตลาดได้

1 ชวั่ โมง 3 ชัว่ โมง
40 นาที 20 นาที

สอื่ การเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียน
2. วสั ดุ อุปกรณ์จริง

การวดั และประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมการฝึกปฏบิ ตั ิ
2. สังเกตการตอบคำถามระหวา่ งการอธิบาย

เง่ือนไขการจบหลกั สูตร
1. ระยะเวลาเข้ารบั การอบรมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีความรแู้ ละผา่ นการปฏิบัตกิ ารทำไสก้ รอกสมุนไพร

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

21

หลักสตู รการทำขนมตะโก้ จำนวน 5 ชว่ั โมง
ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวดั ชลบุรี

ความเป็นมา

ตะโก้ เป็นขนมอย่างหนึ่งมีหน้าตาคล้ายกับขนมถ้วย ทำด้วยแป้งข้าวเจา้ ผสมน้ำตาล แล้วกวนให้สุก
ส่วนหน้าตะโก้ทำด้วยกะทิ จะผสมแป้งเพียงเล็กน้อยเพื่อให้อยู่ตัว และใส่เกลือพอมีรสเค็มเพื่อให้ชูรสกัน
โดยปจั จบุ นั มีการนำผลผลติ ทางการเกษตรมาเป็นสว่ นผสมเป็นตวั ตะโก้ อาทิเช่น มะพรา้ วอ่อน ขา้ วโพด ลำไย
จาวตาล เผอื ก เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี ังเพม่ิ กล่นิ ของตะโกโ้ ดยใชน้ ้ำดอกไม้สด ได้แก่ นำ้ ดอกมะลิ นำ้ ใบเตยหอม

การทำขนมตะโกใ้ ห้มีลกั ษณะน่าดู รสชาติอร่อยและคนท่ัวไปนิยม ไม่ใช่ขึ้นอยู่ทีว่ ิธีปรุง แต่ขน้ึ อยู่กับ
ข้ันตอนการปรุง สัดส่วนของเครื่องปรุง และคุณภาพของเคร่ืองปรุง การทำขนมตะโก้ทำได้ง่ายสามารถ
นำมาใช้ในการเป็นอาชีพเสริมให้กับผู้สนใจได้ ประกอบกับปัจจุบันผู้บริโภคให้ความสำคัญเรื่องของสุขภาพ
และบริโภคขนมไทยมากขน้ึ

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ได้เห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ และการสร้างอาชีพเสริมรายได้ ลดค่าใช้จ่าย จึงได้
จัดทำหลักสูตรการทำขนมตะโก้ขน้ึ

จุดม่งุ หมาย เพอื่ ให้ผเู้ รยี น
1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับการทำขนมตะโก้ การบรรจหุ ีบหอ่ และการตลาด
2. ได้รับการฝกึ ปฏิบัติการทำขนมตะโก้

กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน 10 คน
เกษตรกรและประชาชนทั่วไป

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชว่ั โมง

โครงสร้างหลักสูตร

เรอื่ ง จดุ ประสงค์ เนื้อหา การจดั จำนวนชั่วโมง
การเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ
1. ความรู้เบือ้ งต้น 30 นาที -
1. ความร้เู กีย่ วกบั เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมี เก่ยี วกับขนมตะโก้ 1. อธบิ าย
2. วัสดุ อปุ กรณ์
ขนมตะโก้ ความรูค้ วามเข้าใจ จรงิ

เกยี่ วกบั ขนมตะโก้

หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

22

เรอื่ ง จุดประสงค์ เน้ือหา การจดั จำนวนชวั่ โมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
2. การทำขนม 1. วัสดุ อุปกรณ์ทใี่ ช้ 1. อธบิ าย 30 นาที 3 ช่ัวโมง
ตะโก้ เพอื่ ให้ผู้เรยี นมี ในการทำขนมตะโก้ 2. สาธิต
ทกั ษะในการทำ 2. วิธีการทำขนม 3. ฝกึ ปฏบิ ัติ 20 นาที
ขนมตะโก้ ตะโก้ตา่ งๆ เชน่
1. อธบิ าย 40 นาที -
3. การบรรจหุ บี หอ่ เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี น 2.1 ขนมตะโก้ 2. แลกเปลีย่ น
และการตลาด สามารถจัดทำ เผือก เรียนรู้ 1 ชั่วโมง 3 ช่ัวโมง
40 นาที 20 นาที
บรรจุหีบห่อและ 2.2 ขนมตะโก้
จัดหาตลาด ข้าวโพด
จำหน่ายผลผลติ ได้
2.3 ขนมตะโก้
สาคู
1. การทำบรรจุ
หบี ห่อ
2. การคิดต้นทนุ และ
การกำหนดราคาขาย
3. การตลาด

รวม

สอื่ การเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียน
2. วัสดุ อปุ กรณ์จริง

การวัดและประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการฝกึ ปฏิบัติ
2. สังเกตการตอบคำถามระหวา่ งการอธบิ าย

เง่อื นไขการจบหลักสตู ร
1. ระยะเวลาเข้ารับการอบรมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มีความรู้และผา่ นการปฏบิ ัตกิ ารทำขนมตะโก้

หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

23

หลักสตู รการทำขนมจากมะพรา้ วออ่ น จำนวน 5 ชัว่ โมง
ศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวัดญาณสงั วรารามวรมหาวิหาร อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบรุ ี

ความเป็นมา

น้ำและเน้ือมะพร้าว อุดมไปด้วยสารอาหารและวิตามินท่ีจำเป็นต่อร่างกาย ช่วยดับกระหาย คลายร้อน
เป็นเกลือแร่จากธรรมชาติ เพิ่มนำ้ ในคนทม่ี ีภาวะขาดน้ำ ชว่ ยให้กระเพาะปัสสาวะทำงานดีข้นึ บำรงุ ผวิ ชะลอ
ร้ิวรอย บำรุงกระดูก ปรับฮอร์โมนในร่างกายของผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน เป็นไขมันอิ่มตัวที่ดีกว่าไขมัน
อ่ิมตัวชนิดอ่ืน รักษาอาการอัลไซเมอร์ ช่วยลดความดันโลหิต ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้สมดุลและ
ลดความเส่ียงโรคหัวใจ ซ่ึงสภาพปัจจุบันคนไทยสว่ นใหญ่ให้ความสำคัญกับการดูแลสขุ ภาพ บริโภคอาหารที่มี
คณุ คา่ ทางอาหารและเนน้ วตั ถุดบิ ทีไ่ ดจ้ ากธรรมชาติมากขึน้ ผู้บริโภคจงึ นยิ มรบั ประทานน้ำและเนื้อมะพรา้ วออ่ น
ท้ังสดและนำมาแปรรูปเป็นอาหารและขนมต่างๆ มากมาย

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ได้เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ และคุณค่าของมะพร้าว จึงได้จัดทำหลักสูตรการทำ
ขนมจากมะพรา้ วอ่อนข้นึ

จดุ มุ่งหมาย เพอ่ื ให้ผ้เู รยี น

1. มคี วามรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับมะพรา้ วอ่อน การทำขนมจากมะพร้าวอ่อน การบรรจุหีบห่อและ

การตลาด

2. ได้รับการฝกึ ปฏิบตั กิ ารเพ่มิ มูลค่ามะพร้าวอ่อน

กลมุ่ เป้าหมาย
เกษตรกรและประชาชนท่ัวไป จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชว่ั โมง

โครงสร้างหลักสูตร

เรื่อง จดุ ประสงค์ เนอ้ื หา การจดั จำนวนช่ัวโมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
1. ความรู้เกยี่ วกับ 1. ลกั ษณะ และวิธี 30 นาที -
มะพรา้ วอ่อน เพ่อื ให้ผ้เู รียนมี เลือกมะพร้าวออ่ น 1. อธบิ าย
ความรคู้ วามเข้าใจ 2. ประโยชน์ของ 2. วัสดุ อุปกรณ์จริง
เกย่ี วกบั มะพร้าว มะพรา้ วออ่ น 3. ภาพ
อ่อน 3. การแปรรูป
มะพรา้ วออ่ น

หลกั สูตรการศึกษาต่อเน่ือง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

24

เรื่อง จดุ ประสงค์ เน้ือหา การจดั จำนวนช่วั โมง
การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
1. อธบิ าย 30 นาที 3 ช่วั โมง
2. การทำขนมจาก เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นได้ 1. วัสดอุ ุปกรณแ์ ละ 2. สาธิต
3. ฝกึ ปฏิบตั ิ 30 นาที
มะพร้าวออ่ น ฝกึ ปฏิบตั กิ ารทำ วัตถดุ บิ ในการทำ
1. อธิบาย 30 นาที -
มะพร้าวอ่อน ขนมจากมะพร้าว 2. แลกเปลยี่ น
เรยี นรู้ 1 ชั่วโมง 3 ชว่ั โมง
อ่อน 30 นาที 30 นาที

2. สว่ นผสมและ

วิธีการทำขนมจาก

มะพรา้ วอ่อน เชน่

ขนมปุยฝ้ายมะพรา้ ว

อ่อน ขนมสาล่ี

มะพรา้ วออ่ น เป็นต้น

3. การบรรจุหบี ห่อ เพื่อให้ผเู้ รยี นจดั ทำ 1. การทำภาชนะ

และการตลาด ภาชนะสำหรบั สำหรับบรรจหุ บี ห่อ

บรรจุหบี หอ่ และ 2. การตลาด

จดั หาตลาด

จำหนา่ ยผลผลติ ได้

รวม

สื่อการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียน
2. วัสดุ อุปกรณ์จรงิ
3. ภาพ

การวัดและประเมนิ ผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
2. สังเกตการตอบคำถามระหว่างการอธิบาย

เง่ือนไขการจบหลักสตู ร
1. ระยะเวลาเข้ารบั การอบรมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีความร้แู ละผ่านการปฏิบัติการทำขนมจากมพะร้าวออ่ น

หลักสตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

25

หลกั สตู รการสานหมวกจากใบมะพรา้ ว จำนวน 5 ชั่วโมง
ศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวัดญาณสงั วรารามมหาวรวหิ าร อันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบุรี

ความเป็นมา

จังหวัดชลบุรีเป็นแหล่งที่มีการเพาะปลูกมะพร้าวเป็นจำนวนมาก ซึ่งสามารถนำไปใช้ประโยชน์
ได้ทุกส่วน ทั้งผลสด ผลแก่ เปลือก กะลา ทางมะพร้าว รวมไปถึงใบมะพร้าว ที่สามารถนำไปสานเป็นวัสดุ
ตา่ งๆ ได้แก่ ตะกร้า กระจาดผลไม้ และหมวก เป็นต้น เพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่าและได้สงิ่ ของ
เคร่ืองใช้ที่มีความสวยงามด้วยวัสดุธรรมชาติ ใบมะพร้าวเป็นวัสดุที่สามารถหาได้ง่ายในท้องถ่ิน จึงเสีย
ค่าใช้จ่ายน้อยในการลงทุนผลิตหมวกสานจากใบมะพร้าว โดยท่หี มวกสานจากใบมะพร้าว สามารถคลายรอ้ น
ให้แก่ผู้ใช้งานได้เป็นอยา่ งดีอกี ด้วย

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามมหาวรวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดหลักสูตรการสานหมวกจากใบมะพร้าวขึ้น
เพ่ือเป็นการส่งเสริมให้เกษตรกรและประชาชนท่ีมีความสนใจมีความรู้และนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ตอ่ ตนเองและครอบครวั รวมทง้ั เปน็ การใช้ทรัพยากรในทอ้ งถนิ่ ให้คุม้ คา่ และเปน็ มติ รต่อสิ่งแวดล้อม

จุดมงุ่ หมาย เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี น
1. มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั การสานหมวกจากใบมะพรา้ ว
2. ได้รับการฝกึ ปฏบิ ัติการทำหมวกสานจากใบมะพร้าว

กล่มุ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทส่ี นใจ จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ช่ัวโมง

โครงสร้างหลักสูตร จดุ ประสงค์ เน้ือหา การจัด จำนวนชวั่ โมง
เรือ่ ง การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ

1. ความรเู้ บอื้ งตน้ 1. อธิบายความรู้ 1. สถานการณ์มะพร้าว 1. อธิบาย 20 นาที -
2. แลกเปลย่ี น
เกย่ี วกับมะพรา้ ว ทั่วไปเก่ยี วกบั ในประเทศไทย
เรยี นรู้
มะพรา้ วได้ 2. ลักษณะท่ัวไปของ

2. บอกประโยชน์ มะพรา้ ว

ของมะพรา้ วได้ 3. ประโยชน์ของ

มะพรา้ ว

หลกั สตู รการศึกษาต่อเนือ่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

26

เรอื่ ง จดุ ประสงค์ เนอื้ หา การจัดกระบวนการ จำนวนชว่ั โมง
การเรยี นรู้ เรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

2. การสานหมวก 1. บอกวสั ดุ 1. วัสดุ อปุ กรณ์ใน 1. อธิบาย 10 4 ชัว่ โมง
จากใบมะพร้าว อปุ กรณ์ทใี่ ช้ใน การสานหมวกจาก 2. สาธิต นาที 30 นาที
การสานหมวก ใบมะพรา้ ว 3. ฝึกปฏิบัติ

2. ฝึกปฏบิ ตั ิสาน 2. ขั้นตอนการสาน
หมวกจากใบ หมวกจากใบมะพรา้ ว

มะพรา้ ว

รวม 30 นาที 4 ช่ัวโมง
30 นาที

สื่อการเรยี นรู้
1. เอกสารประกอบการเรียน
2. วัสดุฝึกปฏิบัติ

การวดั และประเมินผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมการฝึกปฏิบตั ิ
2. ชิน้ งาน/ผลงานที่ฝึกปฏิบตั ิ

เงอื่ นไขการจบหลักสตู ร
1. ระยะเวลาเข้ารบั การอบรมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
2. มีความรู้และผ่านการฝึกปฏิบตั ิการสานหมวกจากใบมะพรา้ ว

หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

27

หลักสตู รการทำกระถางไมเ้ ทยี ม จำนวน 5 ชว่ั โมง
ศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสงั วรารามวรมหาวิหาร อนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี

ความเป็นมา

กระถางไม้เทียม เป็นกระถางปลูกต้นไม้ด้วยรูปทรงต่างๆ ที่ทำมาจากปูนซีเมนต์ ซ่ึงทำเลียนแบบ
ตอไม้ตามธรรมชาติ สามารถนำไปใช้ในการประดับตกแต่งสวนให้ดูสวยงามเสมือนธรรมชาติ หรือใช้ในการ
เพาะปลกู พชื ให้ความคงทนมากกว่ากระถางพลาสตกิ การทำกระถางไม้เทียม สามารถทำเป็นอาชีพเสริมรายได้
เสริมสร้างจิตใจให้สงบ เพลินเพลิน ผอ่ นคลายไดอ้ กี ทางหน่ึงดว้ ย

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของจิตใจ และการเสริมสร้างรายได้ จึงได้จัดทำหลักสูตรการทำ
กระถางไม้เทียมขนึ้

จุดมงุ่ หมาย เพื่อให้ผเู้ รยี น

1. มีความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการทำกระถางไมเ้ ทยี ม

2. ไดร้ ับการฝึกปฏบิ ัตกิ ารทำกระถางไม้เทยี ม

3. เกดิ ความเพลิดเพลนิ กับการฝกึ ปฏิบตั ิการทำกระถางไม้เทียม

กลมุ่ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทว่ั ไป จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ชัว่ โมง

โครงสร้างหลักสูตร

เร่ือง จุดประสงค์ เนอื้ หา การจัด จำนวนชัว่ โมง
1. ความรู้ การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
เกย่ี วกับกระถาง 30 นาที -
ไม้เทยี ม เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนมี 1. ลักษณะของ 1. อธิบาย
30 นาที 3 ช่ัวโมง
2. การทำ ความรูค้ วาม กระถางไมเ้ ทียม 2. วัสดุ อปุ กรณ์จริง 30 นาที
กระถางไม้เทียม
เข้าใจเกี่ยวกบั 2. แหล่งจำหนา่ ย 3. ภาพ

กระถางไม้เทียม กระถางไม้เทียมใน

ปจั จุบัน

เพ่อื ให้ผูเ้ รยี นได้ 1. วสั ดุ อปุ กรณ์ท่ีใช้ใน 1. อธบิ าย

ฝึกปฏิบัติการ การทำกระถางไมเ้ ทียม 2. สาธติ

ทำกระถาง 2. การออกแบบ 3. ฝึกปฏิบตั ิ

ไมเ้ ทยี ม รปู ทรงกระถาง

หลักสตู รการศึกษาต่อเนอ่ื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

28

เร่อื ง จุดประสงค์ เน้อื หา การจดั จำนวนชวั่ โมง
2. (ต่อ) การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

3. การตลาด เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนมี 3. การทำโครงกระถาง 30 นาที -
ชอ่ งทางในการ 1 ชั่วโมง 3 ช่วั โมง
จดั หาตลาดได้ 4. การเทและฉาบ 30 นาที 30 นาที

ปนู ซเิ มนต์

5. การตกแต่งลวดลาย

ใหค้ ล้ายไมธ้ รรมชาติ

6. การทำความสะอาด

และเก็บวัสดุอุปกรณ์

หลงั ใช้งาน

1. ชอ่ งทางในการ 1. อธิบาย

จัดหาตลาด 2. แลกเปล่ยี นเรยี นรู้

2. คำนวณราคาตน้ ทนุ

และกำหนดราคาขาย

รวม

สื่อการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรยี น
2. วสั ดุ อปุ กรณจ์ ริง
3. ภาพ

การวัดและประเมนิ ผล
1. สงั เกตการตอบคำถามระหวา่ งการอธิบาย
2. สงั เกตพฤตกิ รรมการฝึกปฏบิ ตั ิ

เงอื่ นไขการจบหลกั สูตร
1. ระยะเวลาเข้ารบั การอบรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีความร้แู ละผา่ นการปฏิบัติการทำกระถางไมเ้ ทียม

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

29

หลักสูตรการทำเค้กลูกหมอ่ น จำนวน 5 ชว่ั โมง
ศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวดั ญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวัดชลบรุ ี

ความเป็นมา

ลกู หม่อน หรือ มัลเบอรร์ ี เป็นหน่ึงในพชื ตระกูลเบอร์รี เป็นผลของตน้ หม่อนท่ีใช้ในการเลี้ยงหนอนไหม
มีลักษณะเป็นผลรวมทรงกระบอก สีของผลเป็นสีเขียวอ่อน แต่เม่ือแก่เต็มที่จะมีสีแดงเข้ม ไปจนเกือบดำ
มีรสหวานอมเปร้ียวและจะเน่าไปในท่ีสุด ลูกหม่อนมีทั้งหมด 3 สายพันธุ์ ได้แก่ ลูกหม่อนสีขาว ลูกหม่อนสีแดง
และลกู หมอ่ นสดี ำ ซ่งึ มีประโยชน์มากมาย เช่น ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด บำรุงสมอง กระตุ้นการไหลเวยี น
ของเลือด เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน และป้องกันมะเร็ง เป็นต้น ซ่ึงเกษตรกรนิยมปลูกต้นหม่อนและนำลูกหม่อน
มาแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า เนื่องจากสภาวะการในปัจจุบันท่ีคนส่วนใหญ่ไม่มีเวลาทานอาหารเช้าแต่นิยมทาน
อาหารจำพวกเบเกอรี่คกู่ บั ชา กาแฟแทน

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ได้เห็นความสำคัญของการนำลูกหม่อนมาแปรรูปผลผลิต สร้างมูลค่าเพ่ิมและช่วยเหลือ
เกษตรกร สามารถสร้างรายไดเ้ สริมให้กบั ครวั เรือน จงึ ได้จดั ทำหลกั สตู รการทำเคก้ ลูกหม่อนข้นึ

จุดมุ่งหมาย เพ่อื ให้ผเู้ รียน

1. มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การทำเค้กลกู หม่อน

2. ไดร้ บั การฝกึ ปฏิบัตกิ ารทำเคก้ ลูกหม่อน

กล่มุ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนท่ัวไป จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 5 ช่ัวโมง

โครงสรา้ งหลกั สูตร

เร่อื ง จดุ ประสงค์ เนอ้ื หา การจดั จำนวนชว่ั โมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ
1. ความรู้ เพอ่ื ให้ผู้เรียนมี 1. ความร้ทู ่วั ไป 30 นาที -
เกย่ี วกับการทำ ความรคู้ วามเข้าใจ เกีย่ วกับเค้ก 1. อธิบาย
เค้ก เกย่ี วกบั การทำเค้ก 2. ผลไม้ท่ีสามารถ 2. วัสดุ อปุ กรณ์ 30 นาที 3 ชั่วโมง
นำมาทำเค้กได้ จริง 30 นาที
2. การทำเค้ก เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนได้ฝึก 1. วสั ดุ อุปกรณ์และ 3. ภาพ
ลูกหม่อน ปฏิบัตใิ นการทำ วัตถดุ บิ ที่ใชใ้ นการทำ
เค้กลูกหม่อน เค้กลูกหม่อน 1. อธบิ าย
2. สาธิต
3.ฝกึ ปฏบิ ัติ

หลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

30

เรอ่ื ง จุดประสงค์ เนื้อหา การจดั จำนวนชวั่ โมง
2. การทำเคก้ ลูก การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
หมอ่ น (ตอ่ ) 2. วธิ ีการและ
เพื่อใหผ้ เู้ รียน ขัน้ ตอนการทำเคก้ 1. อธบิ าย 30 นาที -
3. การบรรจุหีบ สามารถจัดทำ ลกู หม่อน 2. แลกเปล่ยี น
ห่อและการตลาด ภาชนะสำหรบั 3. การทำความ เรียนรู้ 1 ช่ัวโมง 3 ชัว่ โมง
บรรจหุ บี หอ่ และ สะอาด และเกบ็ วัสดุ 3. ภาพ 30 นาที 30 นาที
จดั หาตลาด อุปกรณห์ ลังใช้งาน
จำหน่ายผลผลติ ได้ 1. การทำภาชนะ
สำหรับบรรจุหีบหอ่
2. การตลาด
3. การคำนวณราคา
ต้นทุน เพอ่ื กำหนด
ราคาจำหนา่ ย

รวม

ส่ือการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียน
2. วสั ดุ อปุ กรณ์จรงิ
3. ภาพ

การวดั และประเมินผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมการฝกึ ปฏิบตั ิ
2. สงั เกตการตอบคำถามระหว่างการอธบิ าย

เงื่อนไขการจบหลกั สูตร
1. ระยะเวลาเขา้ รับการอบรมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มีความรแู้ ละผา่ นการปฏบิ ัตกิ ารทำเคก้ ลกู หม่อน

หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

31

หลักสตู รการจดั และตกแต่งสวนหย่อม จำนวน ๘ ชว่ั โมง

ศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสงั วรารามวรมหาวหิ าร อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ
อำเภอบางละมุง จงั หวดั ชลบรุ ี

ความเปน็ มา
การจัดสวนหย่อมถอื เปน็ อาชีพหน่ึง ท่ีไดร้ ับความนิยมในปัจจบุ ัน เพราะสวนหย่อมเป็นส่วนหนงึ่ ของ

การตกแต่งอาคารสถานท่ที ้ังภายในและภายนอกบ้าน ท่ีทำงาน สถานประกอบการ สวนสาธารณะ เพอ่ื เปน็ แหล่ง

พกั ผอ่ นหย่อนใจใหแ้ กเ่ จา้ ของสถานที่และผู้เขา้ มาเย่ียมชม หรอื ตดิ ต่องานในสถานทนี่ ัน้
การจัดตกแต่งสวนหย่อมมหี ลายรูปแบบ มีความหลากหลายขึ้นอยกู่ ับการจนิ ตนาการ และความคิด

สร้างสรรคใ์ ห้เกิดความสวยงาม เปน็ แหล่งทพ่ี กั ผ่อนหยอ่ นใจ และสามารถนำความรูน้ ้ีมาใชใ้ นการประกอบอาชีพ
เพื่อสรา้ งรายได้ให้กบั ตนเองและครอบครวั ได้

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก

พระราชดำริ ได้จัดทำหลักสูตรน้ีข้ึนมาเพ่ือให้ผทู้ ่ีสนใจจะประกอบอาชีพนี้ ได้มีช่องทางและสามารถตัดสนิ ใจ
เลือกประกอบอาชีพการจัดและตกแต่งสวนหย่อมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

จุดมุง่ หมาย เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน
๑. มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดและตกแตง่ สวนหยอ่ ม

๒. มที กั ษะในการจดั และตกแตง่ สวนหยอ่ ม

กลุม่ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทม่ี ีความสนใจทว่ั ไป จำนวน ๑๕ คน

ระยะเวลา
จำนวน ๘ ชว่ั โมง

โครงสรา้ งหลักสูตร

เร่อื ง จดุ ประสงค์ เนือ้ หา การจดั จำนวนช่ัวโมง
การเรยี นรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

1. การ - ออกแบบ ๑. ประโยชน์ของสวนหยอ่ ม - การบรรยาย ๑ ชั่วโมง -
ออกแบบ สวนหย่อมได้
สวนหย่อม เหมาะสมกบั พื้นที่ ๒. การวิเคราะห์ความ - การแลกเปลยี่ น
และวัตถุประสงค์
การใชง้ าน ตอ้ งการใชง้ านสวนหยอ่ ม เรียนรู้
สวนหยอ่ ม
ของเจา้ ของสถานที่ - การวิเคราะห์

๓. หลักการออกแบบ ขอ้ มูลรว่ มกัน

สวนหยอ่ ม

4. รูปแบบการจัด

สวนหย่อม

หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

32

เรอื่ ง จดุ ประสงค์ เนื้อหา การจดั จำนวนชว่ั โมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ

2. การเลอื ก ๑. เลือกพนั ธ์ุไมไ้ ด้ 1. พันธุ์ไม้ตา่ งๆที่นำมาใชใ้ น - การสาธิต - 1 ชั่วโมง
- 4 ชั่วโมง
ของตกแต่ง เหมาะสม การจัดและตกแตง่ - การฝึกปฏบิ ัติ
- 1 ช่ัวโมง
สวนหย่อม ๒. เลือกวัสดุ สวนหยอ่ ม 2 ชั่วโมง 6 ชวั่ โมง

ตกแต่งไดเ้ หมาะสม 2. การเลอื กใช้ตน้ ไมแ้ ละ

และสวยงาม วัสดุในการตกแตง่

สวนหยอ่ ม

3. การจัดและ 1. อธิบายวิธกี าร 1. วธิ ีการจดั และตกแต่ง - สาธติ

ตกแต่ง จัดและตกแต่ง สวนหย่อมในร่มและ - การฝึกปฏบิ ัติ

สวนหย่อม สวนหย่อม กลางแจง้

2. จดั และตกแตง่ 2. การจัดแนวรั้ว

สวนไดอ้ ย่าง 3. การจดั ทางเดนิ

สวยงาม 4. การจดั วางหิน

5. การกำหนดโทนสี

4. การจดั การ ๑. อธิบายวิธกี าร 1. การให้นำ้ - การสาธิต

ดแู ลรกั ษา ดแู ลสวนหยอ่ ม 2. การใส่ป๋ยุ บำรุง - การฝึกปฏบิ ัติ

สวนหย่อม ๒. อธิบายการให้ 3. การตัดแตง่

น้ำ ดแู ลรกั ษาต้นไม้

รวม

สอื่ การเรียนรู้
๑. ศึกษาดงู านแหล่งเรยี นรู้
๒. ส่ืออเิ ลค็ ทรอนกิ ส์ต่างๆ เช่น VCD, DVD, อินเทอร์เน็ต
๓. ฝึกปฏิบัตจิ ากสถานทจ่ี รงิ

การวดั และประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการฝึกปฏิบตั ิ
2. สงั เกตการตอบคำถามระหว่างการจัดกจิ กรรม

เงื่อนไขการจบหลกั สตู ร
๑. มีเวลาเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐
๒. มีความรู้และผ่านการฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารจัดและตกแตง่ สวนหย่อม

หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

33
หลกั สตู รการเสริมสร้างสมดุลกายและใจ จำนวน 10 ช่ัวโมง
ศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามมหาวรวิหาร อันเน่อื งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบรุ ี
ความเปน็ มา

ปัจจุบันคนไทยมีความต่ืนตัวในเร่ืองสุขภาพสูงมาก ท้ังเร่ืองของอาหารเพ่ือสุขภาพ หรือการออก
กำลงั กาย รวมทง้ั กจิ กรรมต่างๆ เพ่ือความผ่อนคลายทางจิตใจ จึงควรมีการใหค้ วามร้ดู า้ นโภชนาการเพอ่ื จะได้
ดูแลร่างกาย รู้ว่าการรับประทานอาหารที่สดสะอาด ปลอดสารพิษ ลดหวานมันเค็ม กินรสจืด เน้นผักผลไม้
และรับประทานแบบหมุนเวียนเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ก็จะเป็นดูแลร่างกายตั้งแต่ต้นทาง เพราะนำส่ิงดีๆ
เป็นประโยชนเ์ ขา้ รา่ งกาย ช่วยใหม้ สี ขุ ภาพดี หลีกเลีย่ งโรคภัยไขเ้ จบ็ ได้ ตามแนวคิดท่วี ่ากินอาหารใหเ้ ป็นยา

นอกจากสุขภาพดีทางกาย การดูแลรักษาสุขภาพใจก็เป็นสิ่งสำคัญเช่นกัน สุขภาวะทางร่างกาย
ประกอบด้วย ร่างกายท่ีแข็งแรง สุขภาวะทางจิตใจ ประกอบด้วย จิตใจที่เปี่ยมความดี มีเมตตากรุณา
มคี วามสงบ มสี ติ ซงึ่ ความรแู้ ละประสบการณด์ ้านศลิ ปะบำบัด เชน่ การจัดดอกไม้ สามารถดูแลจติ ใจได้

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ไดจ้ ดั ทำหลักสตู รนี้ขนึ้ มาเพ่อื ใหผ้ ้ทู ี่สนใจมสี ขุ กาย และสุขภาพจิตทีส่ มดุล เพอ่ื ให้มีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ี
จุดมงุ่ หมาย เพอื่ ใหผ้ ู้เรียน

1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั สภาวะที่เป็นสขุ ท้งั ดา้ นร่างกายและจิตใจ
2. ไดฝ้ ึกปฏิบตั เิ พอื่ เสรมิ ความรูค้ วามเขา้ ใจด้านโภชนาการ และศลิ ปะบำบัด
3. ได้มีความตระหนักถึงความสำคัญของสมดุลกายใจ และมีเจตคติท่ีดีต่อความสำคัญของการดูแล
กายใจ
กล่มุ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนที่สนใจ จำนวน 10 คน
ระยะเวลา
จำนวน 10 ช่ัวโมง

หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนอื่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

34

โครงสรา้ งหลกั สูตร

เรือ่ ง จดุ ประสงค์ เนอื้ หา การจัด จำนวนช่ัวโมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

1. การใช้ เพ่อื ให้ผู้เรยี นมี 1. ความรู้เบื้องตน้ 1. อธิบาย 3 ช่วั โมง 2 ชวั่ โมง
อาหารเปน็ ยา ความรเู้ บอื้ งตน้ 3 ชวั่ โมง 2 ชวั่ โมง
เกย่ี วกบั การใช้ เกย่ี วกับโภชนาการ 2. ชมคลิป 6 ชั่วโมง 4 ชวั่ โมง
อาหารเป็นยา และ
โภชนาการของ ของอาหารประเภท 3. สาธิตและฝึก
อาหารประเภทตา่ งๆ
ต่างๆ รวมท้ังสมุนไพร ปฏิบตั ิด้วยวัสดุ

2. เรยี นรทู้ กั ษะการ อปุ กรณ์จรงิ

ทำอาหารคลีนท่ีมี

ประโยชนต์ ่อรา่ งกาย

เชน่ นำ้ ผักป่ัน ยำ

สมุนไพร เปน็ ตน้

2. การ เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมี 1. ความรู้เบอื้ งต้น 1. อธิบาย
เสรมิ สรา้ งสุข ความรูเ้ บอื้ งตน้
ภาวะด้านจติ ใจ เกี่ยวกับการ เก่ยี วกบั การ 2. ชมคลิป
และอารมณ์ เสรมิ สรา้ งสุขภาวะ
เสรมิ สร้างสุขภาวะ 3. สาธิตและฝึก
ดา้ นจิตใจและ
อารมณ์ ด้านจิตใจและอารมณ์ ปฏบิ ัติด้วยวัสดุ

2. เรยี นรู้ศลิ ปะบำบัด อปุ กรณ์จริง

ด้วยการจัดดอกไม้

เพอื่ ความเพลดิ เพลนิ

และผ่อนคลายจติ ใจ

รวม

หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

35
สือ่ การเรยี นรู้

1. เอกสารประกอบการเรียน
2. เพาเวอรพ์ อยท์และคลิป
3. วสั ดุอปุ กรณ์ในการทำอาหารคลีน เช่น เต้าหู้ น้ำผ้ึง เกลอื มะนาว มดี เขียง ชาม ช้อน ถ้วยตวง
4. วสั ดอุ ุปกรณ์ในการจดั ดอกไม้เพือ่ ศลิ ปะบำบัด เช่น ผา้ เช็ดมือ เหยอื กน้ำ ถงั น้ำ กรรไกรตดั กงิ่

ถงั ขยะ แผ่นรองแจกัน
การวัดและประเมนิ ผล

1. สังเกตพฤติกรรมการฝกึ ปฏบิ ัติ
2. สังเกตการตอบคำถามระหว่างการจดั กิจกรรม
เงื่อนไขการจบหลกั สูตร
1. ระยะเวลาเขา้ รับการอบรมไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80
2. มีความรแู้ ละผ่านการฝึกปฏิบัติการทำอาหารและการจดั ดอกไม้

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

36

หลกั สูตรการปลกู พืชผักโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ จำนวน ๑๕ ชว่ั โมง
ศนู ยฝ์ กึ และพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จังหวดั ชลบุรี

ความเปน็ มา
เกษตรธรรมชาติ นับว่าเป็นการทำการเกษตรที่มีความสำคัญมาก เน่ืองจากมีประโยชน์มากมาย

ได้แก่ สามารถช่วยรักษาสภาพแวดล้อมช่วยปรับปรุงและพัฒนาดินให้มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการ
เพาะปลูก จึงช่วยคุ้มครองพ้ืนที่ในการทำการเกษตร ช่วยรักษาความสมดุลของระบบนิเวศและความสมดุล
ของสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทำให้ได้ผลผลิตทางการเกษตรท่ีบริสุทธ์ิทั้งปริมาณและมีคุณภาพดี เกษตรกร
สามารถพึ่งตนเองได้ โดยมีการใช้ทรัพยากรภายในแปลงเกษตรมาหมุนเวียนใช้ให้เกิดประโยชน์มากท่ีสุด
ลดการใชป้ ัจจัยภายนอก จึงเป็นการลดต้นทุนการผลิตทำให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตท่ีดี เกษตรกรปลอดภัย
จากพิษภัยของสารเคมี สามารถประกอบอาชีพที่ปลอดภัยมีรายได้เลี้ยงครอบครัวได้อย่างม่ันคงและการทำ
เกษตรของไทยในปัจจุบนั เกิดกระแสต่อตา้ นการใช้สารเคมีคอ่ นข้างมาก โดยเรมิ่ มีกระแสของเกษตรธรรมชาติ
หรือเกษตรอินทรียเ์ ข้ามา แตก่ ารยอมรบั ของเกษตรกรยงั ไม่มาก ซ่ึงอาจเป็นเพราะเกษตรกรขาดความเข้าใจ
ในหลักการ วธิ ีการทำความเช่ือมนั่ ในการทำว่าสามารถทดแทนเกษตรเคมไี ดจ้ รงิ

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ จึงจัดการเรียนรู้เก่ียวกับการเพาะปลูกเบ้ืองต้นโดยวิธีเกษตรธรรมชาติ เพ่ือให้เกิดความรู้
ความเขา้ ใจ มีทักษะในการปลูกผัก การทำปุ๋ยอินทรีย์และสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ เป็นการสร้าง
รายไดแ้ ละสรา้ งความย่ังยืนใหเ้ กดิ แกค่ รอบครวั ชมุ ชนและสังคม

จุดมุ่งหมาย เพอื่ ให้ผู้เรยี น
๑. มีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเพาะปลกู พืช และการทำปุ๋ยอินทรยี โ์ ดยวิธีเกษตรธรรมชาติ
๒. มคี วามสามารถในการทำแปลง การปลูกผกั และการทำปุย๋ อนิ ทรียโ์ ดยวิธเี กษตรธรรมชาติ

กลุม่ เป้าหมาย
เกษตรกรและประชาชนท่ีสนใจ จำนวน ๑๕ คน

ระยะเวลา
จำนวน ๑๕ ชั่วโมง

หลักสูตรการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

37

โครงสร้างหลักสูตร

เรอ่ื ง จดุ ประสงค์ เนอ้ื หา การจัด จำนวนชั่วโมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

1. การเตรียม - สามารถอธบิ าย 1. หลักการทำเกษตร - อธบิ าย ๑ ช่วั โมง ๔ ชัว่ โมง
แปลงปลกู ความรูท้ ัว่ ไป ๑ ช่ัวโมง ๔ ช่ัวโมง
เกีย่ วกับการทำ ธรรมชาติ - สาธติ ๑ ชว่ั โมง ๔ ชั่วโมง
2. การปลูกผกั เกษตรโดยวธิ ี
โดยวธิ ีเกษตร เกษตรธรรมชาติ 2. การนำไปใช้
ธรรมชาติ 1. อธิบายวิธกี าร
เตรยี มแปลงปลูก ประโยชน์
ผกั ชนดิ ตา่ งๆ
2. การปลูกผกั โดย 1. การเตรียมดนิ / - สาธติ
วธิ ีเกษตรธรรมชาติ เตรยี มแปลงปลูกผัก - ฝึกปฏิบตั ิ

2. การเพาะเมลด็ /
เพาะกลา้
3. การดแู ลรักษา

3. ความรเู้ รือ่ ง 1. อธิบายความรู้ 1. วัสดุ อุปกรณ์ และ - สาธติ
การใช้ป๋ยุ
อินทรีย์โดยวธิ ี ทัว่ ไปเกี่ยวกบั เคร่ืองมือในการจดั ทำ - ฝึกปฏบิ ัติ
เกษตร ปุ๋ยอนิ ทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์
ธรรมชาติ 2. ประโยชนข์ องการ
2. บอกประโยชน์ ใชป้ ยุ๋ อินทรีย์
ของการใช้ 3. ข้นั ตอนการทำ
ปุ๋ยอินทรยี ์ ปุ๋ยอินทรยี ์ เช่น
ปยุ๋ หมกั ป๋ยุ น้ำชวี ภาพ
3. ปฏิบัตกิ ารทำ เป็นตน้
ปุ๋ยอนิ ทรีย์

รวม 3 ช่ัวโมง 12 ช่ัวโมง

หลักสูตรการศกึ ษาต่อเน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

38
ส่ือการเรยี นรู้

1. เอกสารประกอบการอบรม
๒. วสั ดอุ ปุ กรณ์ และเคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการทำแปลงปลูกผัก การปลกู ผกั และการทำปุย๋ อนิ ทรีย์
๓. แหลง่ เรยี นรู้
การวัดและประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการฝกึ ปฏบิ ตั ิ
2. สังเกตการตอบคำถามระหวา่ งการจัดกจิ กรรม
เงอื่ นไขการจบหลักสูตร
1. ระยะเวลาเขา้ รับการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. มคี วามรแู้ ละผา่ นการฝึกปฏิบตั ิ

หลกั สตู รการศึกษาต่อเนอื่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

39

หลกั สตู ร ซาลาเปาเพ่อื สขุ ภาพ จำนวน 20 ช่วั โมง
ศูนย์ฝึกและพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสงั วรารามวรมหาวหิ าร อันเน่อื งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบุรี

ความเปน็ มา
เนอื่ งจากรายได้ของคนไทยในยุคปจั จุบันเพ่ิมข้ึน ทำให้เร่ิมให้ความสำคัญกับสุขภาพของตนเองมากขึ้น

จงึ ทำให้เกิดกระแสสุขภาวะร่างกาย อารมณ์และสุขภาพจิตใจ นอกจากจะหลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ แล้ว
ยังหันมาใส่ใจในเร่ืองของการบริโภค ตระหนักถึงส่ิงท่ีจะรับประทานมากยิ่งข้ึน ซ่ึงผู้บริโภคชาวไทยเริ่มปรับ
ความชอบไปในทางการบรโิ ภคพืชผักมากข้ึน และลดการบริโภคเน้อื สัตว์ แต่จะเลือกรับประทานโปรตีนจาก
พืชแทน เช่น ผักใบเขียว และถ่ัว มากกว่าการบริโภคโปรตีนจากสัตว์ท่ีมาจากเนื้อสัตว์ หรือไข่ นอกจากนี้
พบว่า ผ้บู ริโภคส่วนใหญช่ ื่นชอบสนิ ค้าจากเกษตรธรรมชาติ ซึ่งมคี วามง่าย และมโี ภชนาการท่ีดี ดังนน้ั คนไทย
ในยคุ ปจั จุบนั จึงเรม่ิ การกา้ วเข้าสู่ความเปน็ ธรรมชาติมากข้นึ

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ได้เลง็ เหน็ ถึงสขุ ภาพท่ดี ีท้ังกายและจติ ของคนไทย จึงไดจ้ ัดทำหลกั สูตรซาลาเปาเพ่ือสุขภาพข้นึ

จดุ มงุ่ หมาย เพ่ือให้ผู้เรยี น
1. มีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั การทำซาลาเปาไส้ตา่ งๆ และการตลาด
2. ได้รบั การฝึกปฏิบัตกิ ารทำซาลาเปาไสต้ ่างๆ

กลมุ่ เป้าหมาย
ประชาชนทั่วไปและเกษตรกร จำนวน 10 คน

ระยะเวลา
จำนวน 20 ชัว่ โมง

โครงสร้างหลกั สูตร

เร่อื ง จดุ ประสงค์ เนื้อหา การจัด จำนวนช่ัวโมง
การเรยี นรู้
กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ

1. ความรู้ 1. บอกความเป็นมา 1. ความเปน็ มา 1. อธิบาย 30 นาที -

เกี่ยวกับซาลาเปา ลักษณะของซาลาเปา 2. ลักษณะของ 2. ชมคลิป/

2. อธบิ ายสารอาหาร ซาลาเปา ภาพประกอบ

และคณุ คา่ ทาง 3. สารอาหารและ

โภชนาการของ คุณค่าทาง

ซาลาเปาแตล่ ะไส้ โภชนาการของ

ซาลาเปา

หลักสตู รการศกึ ษาต่อเนื่อง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

40

เร่ือง จดุ ประสงค์ เน้ือหา การจดั จำนวนช่วั โมง
2. การเตรยี ม การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
วสั ดุ อุปกรณ์
และวตั ถดุ ิบใน 1. เลอื กใชว้ ัสดุ 1. วสั ดุ อปุ กรณ์และ 1. อธิบาย 30 นาที -
การทำซาลาปา
อปุ กรณ์ได้เหมาะสม วัตถุดิบที่ใชใ้ นการทำ 2. ใหเ้ รยี นร้จู าก
3. การทำ
ซาลาเปา และถูกต้อง ซาลาเปา วัสดุ อุปกรณ์ และ

4. การตลาด 2. จดั เตรยี มวัตถุดิบ 2. สารอาหารและ วัตถุดิบ

ได้ครบถ้วน คณุ ค่าทางโภชนาการ

3. บอกสารอาหาร ของวตั ถุดิบในการทำ

และคุณค่าทาง ซาลาเปา

โภชนาการของ

วัตถุดิบท่ีใชท้ ำ

ซาลาเปา

1. ฝกึ ปฏิบตั ิทำไส้ 1. ขัน้ ตอนการทำไส้ 1. อธิบาย 1 ช่วั โมง 17 ช่ัวโมง

ซาลาเปา ซาลาเปาชนิดตา่ งๆ 2. สาธิต 30 นาที

2. ฝกึ ปฏิบตั ิทำแปง้ เชน่ ไส้เผือก ไสฟ้ กั ทอง 3. ให้ฝกึ ปฏิบตั ิ

ซาลาเปา และไสเ้ ห็ด 3 อย่าง

3. ฝึกปฏิบตั หิ ่อ นง่ึ เป็นต้น

และเก็บรกั ษา 2. ขนั้ ตอนการทำ

ซาลาเปา แปง้ ซาลาเปา

3. การหอ่ ซาลาเปา

แบบตา่ งๆ เชน่ แบบ

ญีป่ ุ่น เปน็ ตน้

4. การเกบ็ รกั ษา

ซาลาเปาให้อยู่

ยาวนาน

1. กำหนดราคาขาย 1. การคำนวณต้นทนุ 1. อธิบาย 30 นาที -

ปลีกและขายสง่ และการกำหนด 2. แลกเปล่ียน

2. บอกแหล่ง/ ราคาขาย เรยี นรู้

ชอ่ งทางจำหนา่ ย 2. การตลาด/ช่องทาง

ซาลาเปา การจำหนา่ ยซาลาเปา

รวม 3 17
ชัว่ โมง ชว่ั โมง

หลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ือง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

41
สื่อการเรยี นรู้

1. เอกสารประกอบการเรยี น
2. วัสดุ อปุ กรณ์ และวตั ถดุ บิ
3. คลิป/ภาพ
การวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมการฝึกปฏิบัติ
2. สงั เกตการตอบคำถามระหวา่ งการเขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
เง่อื นไขการจบหลกั สตู ร
1. ระยะเวลาเข้ารบั การอบรมไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มีความรู้และผา่ นการปฏบิ ัติการทำซาลาเปา

หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

42

หลักสตู รการวาดภาพเหมอื น จำนวน 30 ชวั่ โมง
ศนู ย์ฝกึ และพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวดั ญาณสงั วรารามวรมหาวิหาร อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จังหวดั ชลบรุ ี

ความเป็นมาของหลักสูตร
ศิลปะมีความสำคัญต่อมนุษย์ทุกเพศทุกวัยอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นทางด้านความรู้สึกและความคิด

เป็นกิจกรรมยามว่าง สามารถสร้างความเพลดิ เพลินผ่อนคลายความเครยี ด ฝึกความรบั ผิดชอบนำไปประยุกต์
กับศาสตร์แขนงอื่นๆ ได้ นอกจากนีย้ งั สามารถทำรายได้ให้แกผ่ ้ทู ี่สรา้ งสรรค์งานได้

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก

พระราชดำริ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสรมิ ให้ประชาชนมีสุขภาพจิตท่ีดี จึงได้จัดทำหลักสูตรการ

วาดภาพเหมือนขนึ้ เพ่อื ใหผ้ ู้เรียนมีความสุข ผ่อนคลายความเครียด มีอารมณ์สุนทรีย์ มีความเพลิดเพลินใจ

จดุ มุ่งหมาย เพือ่ ให้ผเู้ รยี น
๑. มีความร้คู วามเข้าใจเกีย่ วกบั ความร้เู บือ้ งต้นเก่ียวกับการวาดภาพ

๒. มที ักษะเบื้องต้นในการวาดภาพเหมือน
3. มีความผอ่ นคลายทางจิตใจจากการได้วาดภาพ

กลมุ่ เป้าหมาย
ประชาชนท่มี ีความสนใจ จำนวน ๒๐ คน

ระยะเวลา
จำนวน 3๐ ชัว่ โมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร

เรื่อง จุดประสงค์ เนือ้ หา การจดั จำนวนชั่วโมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้
1. ความรู้ ๑. ประเภทของภาพวาด ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
เบอื้ งต้น ๑. บอกประเภทของ 2. ประโยชนข์ องการ ๑. บรรยาย
เก่ยี วกับการ ภาพวาดได้ วาดภาพ 2. แลกเปลยี่ นเรียนรู้ 15 นาที -
วาดภาพ 2. บอกประโยชน์ 3. วัสดอุ ุปกรณ์ในการ 3. ให้บนั ทึกผลการ
ของการวาดภาพได้ วาดภาพ เรยี นรู้
3. เลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในการวาด
ภาพได้

2. การเตรยี มตัว - บริหารมอื และนิ้ว 1. ความสำคัญของการ ๑. อธบิ าย 5 นาที 10 นาที
กอ่ นวาดภาพ เพือ่ เตรียมตวั วาดภาพ บริหารมือและนิว้ 2. ฝึกปฏิบตั ิ

ได้ 2. ข้นั ตอนการบริหาร 3. สาธิต
มอื และน้วิ 4. ให้บันทกึ ผลการ
เรยี นรู้

หลักสตู รการศึกษาตอ่ เน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

43

เร่ือง จุดประสงค์ เน้ือหา การจัด จำนวนชวั่ โมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
3. การฝึก 30 นาที 90 นาที
ทกั ษะในการใช้ - ลากเส้นพื้นฐานได้ 1. เสน้ พน้ื ฐาน ได้แก่ 1. บรรยาย
ดินสอ 30 นาที 30 นาที
เสน้ ตรงแนวตัง้ เสน้ ตรง 2. สาธิต
5 ชัว่ โมง 21 ช่ัวโมง
แนวนอน เส้นหยัก 3. แลกเปลีย่ นเรียนรู้

เส้นโคง้ เสน้ ทแยง และ

วงกลม

2. วิธีการลากเสน้

พน้ื ฐาน

4. หลกั การ - เลอื กภาพสำหรบั หลักการเลือกภาพ ไดแ้ ก่ 1. อธิบาย
เลอื กภาพ วาดภาพเหมอื นได้
1. แสงเงาของภาพ 2. อภปิ ราย
สำหรับวาด ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ า
ภาพเหมอื น 2. ความคมชดั และ แลกเปลย่ี นเรียนรู้

ความละเอียดของภาพ 3. ยกตวั อยา่ ง

4. ใหบ้ ันทกึ ผลการ

เรียนรู้

5. ขั้นตอน การ - วาดภาพเหมือนได้ 1. การแบ่งสัดสว่ นของ 1. บรรยาย
วาดภาพเหมือน
ภาพจรงิ 2. สาธิต

2. การรา่ งภาพตาม 3. แลกเปล่ยี นเรยี นรู้

สัดสว่ นของภาพจรงิ 4. ใหบ้ นั ทกึ ผลการ

3. การร่างแสงเงาของ เรียนรู้

ภาพเหมอื น

3.1แสงเงา

3.2 แสงตกทอด

4. การลงแสงเงาโดย

ละเอียด

6. การดูแล บอกวธิ กี ารดแู ลรักษา วิธีดูแลภาพเหมอื น 1. บรรยาย 30 นาที -
รักษา ภาพเหมอื นได้ 2. อภิปราย
แลกเปล่ียนเรียนรู้
ภาพเหมอื น 3. ให้บนั ทกึ ผลการ

เรียนรู้

รวม 6 ช่วั โมง 23 ช่วั โมง
50 นาที 10 นาที

หลกั สตู รการศึกษาต่อเนือ่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

44
สอื่ การเรยี นรู้

๑. ภาพถ่าย ภาพวาด
๒. สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกสต์ า่ งๆ เชน่ VCD, DVD, อินเทอรเ์ น็ต
การวดั และประเมินผล
๑. การประเมินความรู้ภาคทฤษฎรี ะหวา่ งเรียนและจบหลักสตู ร
๒. การประเมนิ ผลงานระหว่างเรียนจากการฝึกปฏิบัติ
เงือ่ นไขการจบหลกั สตู ร
๑. มเี วลาเรียนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐
๒. มคี วามร้แู ละผ่านการฝกึ ปฏิบตั ิ

หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนื่อง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

45

หลักสตู รการทำปยุ๋ หมัก จำนวน 40 ชว่ั โมง
ศนู ย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสงั วรารามวรมหาวิหาร อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวดั ชลบรุ ี

ความเปน็ มา
ในสภาพปจั จุบนั การบริโภคอาหารท่ีไดจ้ ากพืช มีการต่ืนตัวจากผลกระทบท่ีจะได้รับจากการบรโิ ภค

พชื ผัก ผลไม้ ที่ปนเป้ือนด้วยสารเคมี ยาฆ่าแมลงสะสมอยู่เป็นจำนวนมาก การใช้สารเคมใี นกระบวนการผลิต
นอกจากจะมีอันตรายจากการบริโภคแล้วยังส่งผลถึงต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นด้วย จึงมีความจำเป็นอย่างย่ิงที่
ต้องลงลึกไปถึงกระบวนการผลิตตั้งแต่เริ่มแรกคือ การเตรียมดินให้ดีท่ีสุดและเหมาะสมต่อการผลิต ไม่เป็น
อันตรายต่อมนุษย์และมีต้นทุนต่ำ ดังน้ันในการเตรียมดินให้ดี ปุ๋ยหรือธาตุอาหารจึงเป็นส่ิงจำเป็นท่ีต้อง
คำนึงถึง ซ่งึ การใชป้ ุ๋ยหมกั เป็นวธิ กี ารหนึง่ ในการช่วยทำใหด้ นิ ดีข้ึน

ปุย๋ หมักเปน็ สิ่งที่ได้จากการนำเศษวัสดุจากธรรมชาติทเี่ หลือใช้และมีอยู่ตามธรรมชาติมาผลิตเป็นปุ๋ย
ในการปรับปรุงดินและเป็นอาหารของพืชท่ีได้จากธาตุอาหารหลัก ธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม ทจี่ ำเป็น
ต่อการปลูกพชื อีกดว้ ย

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ได้ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงดิน และการทำเกษตรธรรมชาติ จึงได้จัดทำหลักสูตรการทำ
ปุ๋ยหมกั ข้ึน

จดุ มุ่งหมาย เพือ่ ให้ผ้เู รยี น
1. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกับประโยชนข์ องป๋ยุ หมัก
2. ไดร้ ับการฝกึ ปฏบิ ัตเิ กี่ยวกบั การทำป๋ยุ หมกั

กลมุ่ เป้าหมาย
เกษตรกรและประชาชนทสี่ นใจ จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ชั่วโมง

โครงสร้างหลกั สูตร

เรอื่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา การจดั จำนวนชว่ั โมง
กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
3 ชว่ั โมง -
1. ช่องทางการ 1. อธบิ ายความสำคัญ 1. ความสำคัญใน 1. ศกึ ษาจาก

ประกอบอาชีพ ในการประกอบอาชีพ การ ประกอบอาชพี สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์

การทำปุ๋ยหมัก การทำป๋ยุ หมักได้ การทำป๋ยุ หมกั ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ

2. วเิ คราะห์ความ 2. ความเป็นไปได้ใน ใบความรู้

เปน็ ไปไดใ้ นการ การประกอบอาชีพ 2. บรรยาย

ประกอบอาชพี การทำ การทำปุ๋ยหมกั

ปุ๋ยหมกั ได้

หลักสูตรการศึกษาตอ่ เน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

46

เร่ือง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจดั จำนวนชวั่ โมง
1. (ต่อ) กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

3. สำรวจทรพั ยากรใน 3. ทรัพยากรใน 3. แลกเปลีย่ นเรียนรู้

ครัวเรอื นและชุมชนใน ครัวเรือนและชมุ ชนที่ 4. สรปุ องคค์ วามรู้ท่ี

การทำปุ๋ยหมกั สามารถใช้ทำปุย๋ หมกั ไดจ้ ากการ

4. บอกทศิ ทางในการ 4. ทิศทางในการ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้

ประกอบอาชพี การทำ ประกอบอาชพี การ

ปยุ๋ หมกั ได้ ทำปุ๋ยหมกั

2. ทักษะการ 1. บอกประเภทของ 1. ประเภทของการ 1. บรรยาย 1 ชว่ั โมง -
ประกอบอาชพี -
การทำปุย๋ หมกั แบบ ทำป๋ยุ หมัก 2. ศึกษาจาก
การทำปยุ๋ หมกั
ตา่ งๆ และประโยชน์ - ปยุ๋ หมักทั่วไป ส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์

ของปุย๋ หมักได้ - ปุย๋ หมักเจ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ

- ปยุ๋ หมักชวี ภาพ ใบความรู้

2. ประโยชนข์ อง 3. สรปุ องค์ความรู้

ปยุ๋ หมกั

2. อธบิ ายเปรียบเทียบ 1. วัสดทุ ใ่ี ชใ้ นการทำ 1. บรรยาย 1 ช่วั โมง

ขอ้ ดีขอ้ ดอ้ ยของวสั ดุใน ปยุ๋ หมกั 2. ศึกษาจาก

การทำปุ๋ยหมักได้ - ใบไม้ เศษหญ้า สื่ออิเลก็ ทรอนกิ ส์

- ฟางข้าว ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิ่น

- ขุยมะพรา้ ว ใบความรู้

- มลู สตั ว์ 3. แลกเปล่ยี นเรียนรู้

2. ขอ้ ดีและข้อดอ้ ย 4. สรปุ องค์ความรู้

ของวสั ดแุ ต่ละชนิดใน

การทำปยุ๋ หมัก

3. อธบิ ายขน้ั ตอนและ 1. วธิ กี ารทำปยุ๋ หมกั 1. บรรยาย/สาธิต 4 ช่ัวโมง 25 ช่วั โมง
สามารถปฏิบตั ิการทำ แบบตา่ งๆ 2. ฝึกปฏิบตั ิ 3 ชั่วโมง -
ปุ๋ยหมกั ได้ - ปุ๋ยหมักทั่วไป 3. สรุปองค์ความรู้
- ปุย๋ หมักเจ
4. ใช้ปุย๋ หมกั ไดถ้ ูกต้อง - ป๋ยุ หมักชวี ภาพ 1. บรรยาย
2. การดูแลกลับกอง 2. แลกเปลยี่ นเรียนรู้
3. สรุปองคค์ วามรู้
1. ปรมิ าณการใช้
2. บรรจภุ ณั ฑ์

หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

47

เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา การจดั กระบวนการ จำนวนชว่ั โมง
เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ
3. การบริหาร 3 ชวั่ โมง -
จดั การในอาชพี 1. วเิ คราะหค์ วาม 1. ความตอ้ งการ 1. ศึกษาจาก
การทำปุย๋ หมัก 15 25
ต้องการของตลาดได้ ปยุ๋ หมกั ของตลาด สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชั่วโมง ชวั่ โมง

2. คำนวณตน้ ทนุ ผล 2. การคำนวณต้นทนุ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่

กำไร/ขาดทุนได้ การทำปุย๋ หมกั ใบความรู้

3. วางแผนการ 3. การควบคุม 2. บรรยาย

จำหน่ายปุ๋ยหมกั ได้ คุณภาพปุย๋ หมัก 3. สรุปองค์ความรู้

4. ตลาดและการ

จำหน่าย

รวม

สอ่ื การเรียนรู้
1. ใบความรู้

2. สือ่ อิเลก็ ทรอนิกส์
3. ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ /ผ้รู ู้

การวัดและประเมนิ ผล
1. การสงั เกต/การซักถาม
2. ตรวจผลการปฏิบัติงาน

เงอ่ื นไขการจบหลักสตู ร
1. ระยะเวลาการเขา้ เรียนไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80
2. มคี วามรแู้ ละผ่านการฝกึ ปฏิบัติ

หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

48

หลักสูตรการแปรรปู สับปะรด จำนวน 40 ชั่วโมง

ศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ
อำเภอบางละมุง จงั หวัดชลบรุ ี

ความเปน็ มา
สบั ปะรด เป็นพืชใบเล้ียงเด่ียว พืชล้มลุกชนิดหนึ่ง ปลูกได้ง่ายโดยการฝังกลบหน่อหรือส่วนยอดของ

ผลที่เรียกว่า จุก สามารถทนต่อสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ชอบขึ้นในดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินปนลูกรัง
ดินทรายชายทะเลและชอบท่ีลาดเท เช่น ท่ีลาดเชิงเขาสภาพความเป็นกรดด่าง (PH) ของดินควรเป็นกรด
เล็กน้อย คือตั้งแต่ 4.5-5.5 สับปะรดมีสรรพคุณทางสมุนไพร อาทิเช่น ช่วยขับปัสสาวะ แก้ร้อน
กระสบั กระส่าย กระหายน้ำ ชว่ ยยอ่ ยอาหารพวกโปรตีน แก้ท้องผกู เป็นยาแกโ้ รคนวิ่ เป็นต้น

จังหวัดชลบุรี เป็นแหล่งปลูกสับปะรดที่สำคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย โดยมีพ้ืนที่ปลูกในอำเภอ
ศรีราชา อำเภอบ่อทอง อำเภอบางละมุง อำเภอหนองใหญ่ อำเภอบ้านบึง อำเภอเกาะจันทร์ อำเภอพนัส
นิคมและอำเภอสัตหีบ แต่เนื่องจากในช่วงหลายปีท่ีผ่านมาสับปะรดมีราคาถูก ทำให้เกิดผลผลิตล้นตลาด
สร้างความเดือนรอ้ นใหก้ ับเกษตรกรผู้ปลูกสบั ปะรดจำนวนมาก

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ได้เล็งเห็นความเดือดร้อนของเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรและผู้สนใจนำความรู้ไปใช้ในการแปรรูป
ผลผลติ เพื่อเพมิ่ รายได้ สามารถพ่ึงพาตนเองได้จึงไดจ้ ัดทำหลกั สูตรการแปรรูปสบั ปะรดขึน้

จุดมงุ่ หมาย เพ่อื ให้ผูเ้ รียน
1. มีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การแปรรปู สบั ปะรด
2. ได้รับการฝึกปฏิบัติเกยี่ วกับการแปรรูปสับปะรด

กลุม่ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทส่ี นใจ จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ชัว่ โมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร

เรื่อง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา การจัด จำนวนชว่ั โมง
กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
2 ช่วั โมง -
1. ช่อง 1. อธบิ ายความสำคญั 1. ความสำคัญในการ 1. ศกึ ษาจาก

ทางการ ในการประกอบอาชพี ประกอบอาชพี การแปรรปู สือ่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์

ประกอบ การแปรรูปสบั ปะรดได้ สบั ปะรด ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่

อาชีพ 2. วิเคราะหค์ วาม 2. ความเปน็ ไปได้ในการ ใบความรู้

การแปรรูป เปน็ ไปได้ในการ ประกอบอาชีพการแปรรูป 2. บรรยาย

สบั ปะรด ประกอบอาชีพการ สับปะรด 3. แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

แปรรูปสบั ปะรดได้

หลักสูตรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

49

เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หา การจัด จำนวนชวั่ โมง
1. (ต่อ) กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

2. ทักษะการ 3. บอกทศิ ทางในการ 3. ทศิ ทางในการประกอบ 4. สรุปความรู้ทไี่ ด้ 4 ช่ัวโมง 32 ชว่ั โมง
ประกอบ
อาชพี การแปร ประกอบอาชีพ อาชพี การการแปรรูป จากการแลกเปลย่ี น
รปู สบั ปะรด
การแปรรูปสับปะรดได้ สบั ปะรด เรียนรู้
3. การบรหิ าร
จดั การ 1. อธิบายข้ันตอนใน การแปรรปู สับปะรด 1. บรรยาย
ในอาชีพการ
การแปรรปู การแปรรปู สับปะรด 1. พันธสุ์ บั ปะรด 2. แลกเปลีย่ น
สับปะรด
ชนดิ ต่าง ๆ ได้ 2. การเลอื กสับปะรดใน เรียนรู้

2. ปฏิบัติการแปรรูป การแปรรูปชนิดตา่ งๆ 3. ฝึกปฏิบัติ

สับปะรดชนดิ ต่าง ๆ ได้ 3. ประโยชน์ของสับปะรด 4. สรปุ ความรู้จาก

4. วัสดุอปุ กรณใ์ นการแปร การปฏบิ ตั ิ

รปู สบั ปะรดตา่ งๆ

5. วธิ กี ารแปรรูปสบั ปะรด

ชนดิ ต่างๆ

- สับปะรดกวน

- สับปะรดหยี

- น้ำสบั ปะรด

- สับปะรดเช่ือม

- ทอ๊ ฟฟีส่ บั ปะรด

- สับปะรดกระป๋อง

- แยมสับปะรด

- สับปะรดฉาบ

1. สามารถจัดทำบญั ชี 1. การทำบญั ชรี ายรับ- 1. ศกึ ษาจาก 2 ชว่ั โมง -
การจำหนา่ ยผลผลิตได้ รายจา่ ย สื่ออเิ ล็กทรอนกิ ส์
2. การทำบรรจุภณั ฑ์ ใบความรู้
2. สามารถจดั ทำบรรจุ
ภณั ฑ์ได้ 3. การตลาดและการ 2. บรรยาย
จำหนา่ ย 3. ฝึกปฏบิ ัติ
3. สามารถจัดหาตลาด
4. แลกเปลย่ี น
จำหน่ายผลผลิตได้ เรียนรู้

รวม 8 ช่ัวโมง 32 ชั่วโมง

หลักสูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562


Click to View FlipBook Version