The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องปีงบประมาณ 2562 ผู้แต่ง : ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องปีงบประมาณ 2562

หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องปีงบประมาณ 2562 ผู้แต่ง : ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Keywords: กศน.

50
สื่อการเรียนรู้

1. ใบความรู้
2. สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์
3. ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ
การวดั และประเมนิ ผล
1. การสงั เกต/การซกั ถาม
2. ตรวจผลการปฏิบตั ิงาน
เง่อื นไขการจบหลักสูตร
1. ระยะเวลาการเข้าเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มคี วามร้แู ละผา่ นการฝึกปฏิบตั ิ

หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนอื่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

51

หลกั สตู รการแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรเพื่อใชใ้ นครวั เรอื น จำนวน 40 ชัว่ โมง

ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ
อำเภอบางละมงุ จงั หวัดชลบรุ ี

ความเปน็ มา
ปญั หาเร่ืองของรายได้และรายจ่ายไม่สมดุลกันของประชาชน สง่ ผลต่อปัญหาต่างๆ มากมาย แม้แต่

ผลผลิตทางการเกษตรก็นับวันจะมีราคาตกต่ำ แนวทางท่ีจะทำให้ประชาชนดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้

อย่างมีความสุข คือการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้
สร้างภูมิคุม้ กนั ใหก้ ับตนเอง ครอบครัว

ปัจจุบันประชาชนให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพมากขึ้น นิยมใช้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่ได้จาก
สมุนไพรหรอื ผลผลิตทางการเกษตรท่ีปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ในครัวเรือนก็เป็นส่ิงหนึ่งท่ีทุกครัวเรือนต้องใช้อยู่
ประจำ และเป็นผลิตภัณฑ์ส้ินเปลือง หากเราสามารถนำผลผลิตทางการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการ

แปรรปู ผลผลิตเพื่อใชใ้ นครัวเรือนได้ กจ็ ะทำใหส้ ามารถลดรายจา่ ย เพ่มิ รายได้อีกชอ่ งทางหนึ่งด้วย
ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก

พระราชดำริ ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสริมให้ประชาชนและเกษตรกร สามารถพึ่งพาตนเองได้
ลดรายจ่าย เพมิ่ รายได้ จงึ ได้จัดทำหลกั สูตรการแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรเพอื่ ใช้ในครัวเรอื นข้นึ

จุดมุง่ หมาย เพือ่ ให้ผเู้ รยี น
1. มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับการแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตรเพอ่ื ใช้ในครวั เรือน
2. ได้รับการฝกึ ปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับการแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตรเพอื่ ใชใ้ นครัวเรอื น

กลุ่มเป้าหมาย
เกษตรกรและประชาชนท่สี นใจ จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ชว่ั โมง

โครงสร้างหลักสตู ร

เร่ือง จดุ ประสงค์ เน้ือหา การจัด จำนวนช่ัวโมง
การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ
1. ความสำคญั ในการ
1. ช่องทางการ 1. อธิบาย ประกอบอาชพี การ 1. ศึกษาข้อมูลจาก 3 ชวั่ โมง -
แปรรปู ผลผลติ ทาง ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์
ประกอบอาชพี ความสำคัญในการ การเกษตรเพือ่ ใช้ใน ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น
ครัวเรือน เอกสาร
การแปรรูปผลผลิต ประกอบอาชีพการ 2. บรรยาย
3.แลกเปลี่ยน
ทางการเกษตรเพ่ือ แปรรปู ผลผลติ ทาง เรยี นรู้

ใชใ้ นครัวเรอื น การเกษตรเพ่อื ใชใ้ น

ครัวเรอื นได้

หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

52

เรือ่ ง จุดประสงค์ เน้ือหา การจดั จำนวนช่วั โมง
1. (ตอ่ ) การเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ
2. ความเปน็ ไปไดใ้ น 4. สรุปความรู้ที่ได้
2. ทักษะการ 2. วิเคราะห์ความ การประกอบอาชพี การ จากการแลกเปลีย่ น 4 ชว่ั โมง 32 ชวั่ โมง
ประกอบอาชพี การ เปน็ ไปไดใ้ นการการ แปรรูปผลผลติ ทาง เรยี นรู้
แปรรปู ผลผลิตทาง แปรรปู ผลผลติ ทาง การเกษตรเพ่อื ใช้ใน
การเกษตรเพอื่ ใช้ การเกษตรเพื่อใช้ใน ครวั เรอื น 1. บรรยาย
ในครัวเรอื น ครัวเรือน 3. ทรัพยากรในชมุ ชน 2. ฝกึ ปฏบิ ัติ
3. สำรวจทรัพยากร ทีส่ ามารถใช้การแปร 3. สรปุ ความรู้จาก
ในชมุ ชนในการแปร รูปผลผลติ ทาง การปฏิบัติ
รูปผลผลิตทาง การเกษตรเพอื่ ใชใ้ น
การเกษตรเพอ่ื ใชใ้ น ครัวเรอื น
ครัวเรอื นได้ 4. ทศิ ทางในการ
4. บอกทศิ ทางใน ประกอบอาชีพการการ
การ ประกอบอาชพี แปรรูปผลผลิตทาง
การแปรรูปผลผลิต การเกษตรเพ่อื ใชใ้ น
ทางการเกษตรเพื่อใช้ ครวั เรอื น
ในครัวเรอื นได้
ขั้นตอนและวธิ กี าร
1. อธบิ ายขัน้ ตอนใน แปรรูปผลผลติ ทาง
การแปรรูปผลผลิต การเกษตรเพ่อื ใช้ใน
ทางการเกษตรเพ่ือใช้ ครวั เรือน
ในครวั เรือนชนดิ 1. สบ่เู หลวขมน้ิ
ต่างๆ ได้ 2. แชมพวู า่ นหาง-
2. ปฏบิ ตั ิการแปรรปู จระเข้
ผลผลติ ทาง 3. ครมี นวดวา่ นหาง-
การเกษตรเพอ่ื ใช้ใน จระเข้
ครัวเรอื นชนดิ ตา่ งๆ 4. ยาหม่องครมี
ได้ ตะไครห้ อม
5. สเปรยไ์ ล่ยงุ
ตะไคร้หอม
6. แชมพูมะกรูด
7. ครมี นวดมะกรูด
8. นำ้ ยาลา้ งจาน
9. นำ้ ยาถพู นื้
10. นำ้ ยาซักผ้า

หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

53

เรื่อง จุดประสงค์ เน้ือหา การจัด จำนวนช่วั โมง
การเรียนรู้ 1. การทำบัญชี กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ
รายรับ-รายจา่ ย 1 ชั่วโมง -
3. การบริหาร 1. สามารถจัดทำ 2. การทำบรรจุภัณฑ์ 1. ศึกษาขอ้ มลู จาก
3.ชอ่ งทางการตลาด ส่ืออเิ ล็กทรอนกิ ส์
จดั การในอาชพี การ บัญชี รายรับ- เอกสาร
รวม 2. บรรยาย
การแปรรปู ผลผลติ รายจ่ายได้ 3. ฝึกปฏิบตั ิ
4. แลกเปล่ียน
ทางการเกษตรเพือ่ 2. สามารถจดั ทำ เรียนรู้

ใช้ในครวั เรือน บรรจภุ ัณฑไ์ ด้

3. สามารถจัดหา

ตลาด จำหนา่ ย

ผลผลิตได้

8 ชวั่ โมง 32 ชั่วโมง

สอ่ื การเรยี นรู้
1. ใบความรู้
2. ส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์
3. การฝกึ ปฏิบัตจิ รงิ

การวัดและประเมินผล
1. การสังเกต/การซักถาม
2. ตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน

เงื่อนไขการจบหลักสตู ร
1. ระยะเวลาการเข้าเรียนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80
2. มีความรู้และผ่านการฝกึ ปฏิบตั ิ

หลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

54

หลกั สตู รการนวดสมนุ ไพรเบือ้ งต้น จำนวน 40 ชั่วโมง
ศนู ยฝ์ กึ ละพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบุรี

ความเปน็ มา

การนวดไทย หรือการนวดแผนโบราณ เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่เกิดจากการสังเกตผลท่ีเกิดจาก
การบีบนวดแล้วลดอาการปวดเม่ือยได้ ท่ีเน้นการบำบัด รักษาอาการด้วยการกด คลึง บีบ ดัด ดึง อบ และ
ประคบสมุนไพร นอกจากการบำบัด รักษาความเจบ็ ปวด เมื่อยล้าของรา่ งกายแล้ว ยงั มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
สามารถรักษาโรคบางชนิดได้ เน่ืองจากการนวดส่งผลโดยตรงต่อร่างกายและจิตใจ โดยอาศัยการสัมผัส
นอกจากนี้ยังช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตส่งผลให้เกิดความผ่อนคลาย สบายเนื้อสบายตัวได้เป็นอย่างดี
ในขณะที่มขี ้อเสียเชน่ กนั ซึ่งไม่เหมาะแก่การรบั บรกิ ารนวดไทย โดยเฉพาะกบั ผู้ป่วยบางโรค เชน่ ผ้ปู ่วยที่เป็น
โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคกระดกู พรุน โรคเบาหวาน เปน็ ต้น ในปัจจุบนั ผูส้ งู อายมุ ีจำนวนมากขน้ึ

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก

พระราชดำริ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการนวดที่ถูกต้อง เกิดผลดีต่อร่างกาย เพ่ือให้ประชาชนมีสุขภาพ

กายท่ีดี อันส่งผลต่อสุขภาพจติ ทดี่ ตี ่อไป จงึ ได้จดั ทำหลักสูตรการนวดสมุนไพรเบือ้ งต้นขึ้น

จดุ มงุ่ หมาย เพอื่ ให้ผ้เู รยี น
1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั สมุนไพร และการนวดสมนุ ไพร
2. ไดฝ้ กึ ปฏิบัตกิ ารนวดสมนุ ไพรเบ้อื งต้น

กลุ่มเปา้ หมาย
ประชาชนท่วั ไปและเกษตรกร จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ช่ัวโมง

โครงสร้างหลกั สตู ร

จุดประสงค์ การจดั จำนวนชั่วโมง
การเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
เร่ือง เน้ือหา กระบวนการ 2 ช่วั โมง 5 ชว่ั โมง

เรียนรู้

1. ความรู้เบอ้ื งตน้ เพ่อื ให้ผู้เรียนมี 1. การวิเคราะหอ์ าการ 1. อธบิ าย
เกย่ี วกับการนวด ความรู้ความเข้าใจ
ไทย ของผ้รู ับบริการ 2. วัสดุ
เกย่ี วกบั การนวด
เบ้ืองตน้ ได้ 2. สมุนไพรสำหรบั อุปกรณ์จริง

การนวดประคบ 3. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ

3. การเตรียมตัวของ

ผ้นู วดกอ่ นนวด

หลกั สูตรการศึกษาต่อเนื่อง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

55

เรือ่ ง จดุ ประสงค์ เนอ้ื หา การจัด จำนวนชว่ั โมง
1. (ต่อ) การเรยี นรู้ กระบวนการ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

2. ขัน้ ตอนการนวด 4. การเตรียมวสั ดุ เรยี นรู้ 3 ชว่ั โมง 9 ช่ัวโมง
เบ้อื งตน้ อปุ กรณใ์ นการนวด
5. การแต่งกายของ 1. อธิบาย
ผูร้ บั บริการ 2. สาธิต
3. ฝกึ ปฏิบัติ
เพือ่ ให้ผเู้ รียนมี 1. ท่านวดไทย
ความรแู้ ละสามารถ เบอ้ื งต้น
นวดท่าเบือ้ งต้นได้ 2.ขอ้ ควรระวังใน
ถกู ตอ้ ง แตล่ ะทา่

3. ข้นั ตอนการนวด เพื่อใหผ้ เู้ รียนมี - ขั้นตอนการนวด 1. อธิบาย 3 ชัว่ โมง 18 ชั่วโมง
ความรู้ความเข้าใจ ประคบสมุนไพร เพอ่ื 8 ชวั่ โมง 32 ช่ัวโมง
เพ่อื คลายเครียดและ และสามารถนวด คลายเครยี ด และ 2. สาธิต
รักษา ประคบสมนุ ไพรได้ รักษา 3. ฝึกปฏบิ ตั ิ
4. แลกเปลี่ยน
รวม เรยี นรู้

ลื่อการเรยี นรู้
1. รูปภาพ
2. วสั ดุ อปุ กรณจ์ รงิ

การวัดและประเมินผล
1. สังเกตพฤตกิ รรมการฝึกปฏิบตั ิ
2. สงั เกตการตอบคำถามของผู้เรยี น

เงื่อนไขการจบหลักสูตร
1. ระยะเวลาเข้ารบั การอบรมไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มคี วามรแู้ ละผ่านการฝกึ ปฏิบัติ

หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เน่ือง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

56

หลกั สตู รการทำน้ำพริก จำนวน 40 ชัว่ โมง
ศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวัดชลบุรี

ความเป็นมา
น้ำพรกิ เป็นอาหารพ้นื บ้านท่ีมมี าต้ังแต่สมยั อดตี เปน็ อาหารคู่ครวั ของคนไทยทกุ ภาค โดยใช้วัตถดุ ิบ

ท่มี ีตามท้องถน่ิ ส่วนประกอบหลัก ได้แก่ พริก หอมแดง กะเทยี ม และสว่ นประกอบอืน่ ๆตามแต่ละทอ้ งถ่นิ ทีม่ ี
ใช้รับประทานคู่กับผักพื้นบ้าน ทั้งผกั สด ผกั ลวก ผักทอด แล้วแต่ประเภทของน้ำพริก โดยมีช่ือเรียกแตกต่าง
กันตามส่วนประกอบ วิธีปรุงน้ำพริก และภาษาของแต่ละภูมิภาค คือ ภาคใต้ เรียกน้ำพริกว่า “น้ำชุบ”
มีส่วนประกอบหลักคือ พริก หอม และกะปิ ถ้าผสมให้เข้ากันด้วยมือเรียกว่า “น้ำชุบหยำหรือน้ำชุบโจร”
ถา้ ตำให้เข้ากันเรียกว่า “น้ำชุบเยาะ” ถ้าตำแล้วผัดให้สุกเรียกว่า “น้ำชุบผัดหรือน้ำชุบค่ัวเคี่ยว” น้ำชุบของ
ภาคใต้น้ีกินกับผักหลายชนิดทั้งผักสดและผักลวก น้ำพริกของภาคเหนือ เครื่องปรุงทุกอย่างต้องย่างหรือ
เผาให้สุกก่อน ปรุงรสด้วยเกลือเป็นหลัก ส่วนน้ำพริกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สำคัญมีสามอย่างคือ
1) “ป่น” เป็นน้ำพริกท่ีประกอบด้วยพริกแห้ง หอมแดง กระเทียม โขลกผสมกับปลา เห็ด หรือเนื้อสัตวอ์ ่ืน
ใสน่ ้ำปลารา้ ลกั ษณะค่อนขา้ งขน้ เพื่อใหจ้ ้มิ ผกั 2) “แจ่ว” เป็นนำ้ พริกพื้นฐานของภาคอสี าน สว่ นผสมหลักคือ
น้ำปลาร้าผสมกบั พริก ใช้จ้ิมท้ังผักและเน้ือสัตว์ ต่อมาจึงเพ่ิมเครื่องปรุงอื่นเพื่อดบั กลิ่นคาวของเนื้อสัตว์ เช่น
หอม กระเทียม ข่า ตะไคร้ 3) “ซุบ” เป็นอาหารท่ีพัฒนามาจากแจ่ว โดยมาจากคำว่า “ชุบ” ซึ่งหมายถึง
จุม่ หรือจ้ิมมาจากการที่นำผกั ทใ่ี ช้จิม้ แจว่ มาผสมลงในแจว่ แลว้ เตมิ ข้าวค่วั

ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ได้เล็งเห็นความสำคัญในการส่งเสรมิ ให้ประชาชนและเกษตรกรนำผลผลิตมาสร้างมูลค่าเพิ่ม สามารถพึ่งพา
ตนเองได้ ลดรายจ่าย จงึ ได้จัดทำหลกั สูตรการทำนำ้ พริกขึน้
จุดมุง่ หมาย เพ่อื ให้ผู้เรียน

1. มีความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั การทำนำ้ พรกิ ชนิดต่างๆ และการประกอบอาชพี การทำนำ้ พริก
2. มีทักษะในการทำนำ้ พริก
กลมุ่ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทส่ี นใจ จำนวน 20 คน
ระยะเวลา
จำนวน 40 ชวั่ โมง

หลักสตู รการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

57

โครงสรา้ งหลกั สตู ร

เร่อื ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา การจัดกระบวนการ จำนวนชั่วโมง
เรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

1. ช่อง 1. อธบิ ายความสำคญั ใน 1. ความเปน็ มาและ 1. ศึกษาขอ้ มลู จาก 3 ชว่ั โมง -

ทางการ การประกอบอาชีพการทำ ความสำคัญของนำ้ พริก สอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์

ประกอบ น้ำพริก 2. ความเปน็ ไปไดใ้ นการ ภูมปิ ัญญาท้องถิน่

อาชีพ 2. วิเคราะหค์ วามเป็นไปได้ ประกอบอาชีพการทำ เอกสาร

การทำนำ้ พรกิ ในการทำน้ำพริกชนิดตา่ งๆ นำ้ พริก 2.บรรยาย

3. สำรวจทรพั ยากร 3. ทรพั ยากร ผลผลติ ใน 3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ผลผลิตในชมุ ชน เพือ่ การ ชุมชนท่ีสามารถใชก้ ารทำ 4. สรปุ ความรทู้ ไี่ ด้

ทำนำ้ พรกิ ชนดิ ตา่ งๆ น้ำพรกิ จากการแลกเปลย่ี น

4. บอกทศิ ทางในการ 4. ทศิ ทางในการประกอบ เรียนรู้

ประกอบอาชพี การทำ อาชพี การทำนำ้ พรกิ

นำ้ พริก

2. ทักษะการ 1. อธิบายการทำน้ำพรกิ 1. ความรู้เบื้องตน้ ของการ 1. บรรยาย 3 ชั่วโมง 32

ประกอบ เบ้ืองต้นได้ ทำน้ำพริก 2. ฝกึ ปฏิบตั ิ ชว่ั โมง

อาชีพการทำ 2. บอกชนดิ และสรรพคุณ 1.1 ส่วนประกอบกลัก 3. สรปุ ความรู้จาก

น้ำพรกิ ของของพรกิ ได้ ของการทำน้ำพรกิ การปฏิบตั ิ

3. บอกความแตกต่างของ 1.2 ชนดิ และสรรพคณุ

นำ้ พรกิ แตล่ ะชนิดได้ ของพริก

4. อธิบายขนั้ ตอนในการ 2. ข้ันตอนและวธิ กี ารทำ

ทำน้ำพรกิ ชนิดตา่ งๆ ได้ นำ้ พริกชนดิ ต่างๆ

5.ปฏบิ ัตกิ ารทำนำ้ พริก 2.1 นำ้ พรกิ กะปิ

ชนดิ ตา่ งๆ ได้ 2.2 น้ำพริกเผา

2.3 นำ้ พริกกุง้ เสยี บ

2.4 นำ้ พริกมะขาม

2.5 น้ำพรกิ ตาแดง

2.6 นำ้ พรกิ นรก

2.7 นำ้ พรกิ แมงดา

2.8 น้ำพรกิ ปลาแหง้

2.9 น้ำพรกิ ออ่ ง

2.10 นำ้ พริกมะเขือ

2.11 นำ้ พรกิ หนมุ่

2.12 นำ้ พรกิ ลงเรอื

หลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

58

เรื่อง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอ้ื หา การจดั จำนวนช่ัวโมง
กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ

3. (ตอ่ ) 1. คำนวณราคาต้นทนุ 2.13 นำ้ พรกิ ตะไคร้ 1. ศกึ ษาขอ้ มลู จาก 2 ชั่วโมง -
และกำหนดราคาขายได้ 2.14 น้ำพรกิ เหด็ ส่อื อเิ ล็กทรอนิกส์
3. การบริหาร 2. อธิบายการจัดทำ 2.15 น้ำพริกกากหมู เอกสาร
จดั การ 2.16 นำ้ พริกมะมว่ ง
ในอาชพี การทำ บัญชี รายรับ-รายจ่ายได้ 2. บรรยาย
น้ำพริก 3. บอกบรรจภุ ณั ฑ์ที่ 1. การกำหนดราคา 3. แลกเปล่ียนเรยี นรู้
2. การทำบญั ชี
เหมาะสมได้ รายรับ-รายจ่าย
4. บอกตลาดจำหนา่ ย 3. การทำบรรจภุ ัณฑ์
น้ำพริกได้ 4. ช่องทางการตลาด

รวม 8 32
ชวั่ โมง ชัว่ โมง

สอื่ การเรียนรู้
1. ใบความรู้

2. สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
3. การฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริง

การวัดและประเมินผล
1. การสงั เกต/การซกั ถาม

2. ตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน

เงื่อนไขการจบหลกั สตู ร
1. ระยะเวลาการเขา้ เรยี นไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 80
2. มคี วามรแู้ ละผา่ นการฝกึ ปฏิบัติ

หลักสตู รการศึกษาต่อเน่ือง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

59

หลักสูตรการทำอาหารวา่ ง จำนวน 40 ชวั่ โมง

ศนู ยฝ์ ึกและพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
อำเภอบางละมุง จังหวดั ชลบรุ ี

ความเปน็ มา
อาหารว่าง คืออาหารระหว่างม้ือ เปน็ อาหารที่มปี ริมาณนอ้ ยกวา่ อาหารประจำมื้อ อาจจะเปน็ อาหาร

น้ำหรืออาหารแห้ง มีท้ังคาวและหวาน หรือเป็นอาหารช้ินเล็กๆ ขนาดพอคำ จัดให้สวยงามน่ารับประทาน

เป็นทั้งอาหารไทยและอาหารนานาชาติ หรือรบั ประทานควบคกู่ บั เครื่องด่มื หรือนำ้ ผลไม้อย่างใดอย่างหน่ึง
อาหารว่างของไทยมีมานานต้ังแต่สมัยโบราณ แมบ่ ้านสมัยโบราณจะใชเ้ วลาว่างในการทำอาหารว่าง

เก็บไว้ โดยใช้วัสดุท่ีเหลือจากอาหารมื้อหลักให้เป็นประโยชน์ และใช้วัสดุท่ีมีมากในฤดูกาลมาประกอบเป็น
อาหารว่าง เช่น ข้าวตงั หนา้ ตั้ง ขา้ วตู ข้าวเม่า ขนมจีบ ป้ันสบิ ทอด ฯลฯ เมื่อมีการต้อนรับแขกกจ็ ะนำอาหาร
มาเล้ยี งแขกพร้อมกับเสริ ฟ์ นำ้ ผลไม้หรอื นำ้ เยน็

นอกจากน้ี ในปัจจุบันอาหารว่างมีความจำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิตสำหรับผู้ท่ีต้องเดินทางไกล
ระหวา่ งบ้านกับท่ีทำงาน/สถานศึกษา ทำใหไ้ ม่ได้รับประทานอาหารม้ือเช้า จึงได้รับประทานอาหารระหว่าง

มือ้ ซ่ึงควรเป็นอาหารที่ย่อยง่าย รับประทานแล้วไม่อิ่มจนเกินไป ประกอบกับการจดั อบรม ประชุม สัมมนา
ของหน่วยงานตา่ งๆ ท้งั ภาครฐั และเอกชน มีการจัดอาหารว่างและเครื่องดม่ื สำหรับบริการผู้เข้ารว่ มกิจกรรม

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก

พระราชดำริ ไดเ้ ล็งเห็นความสำคัญและช่องทางในการประกอบอาชีพการทำอาหารว่าง เพื่อใหเ้ กษตรกรและ
ผู้สนใจ นำความรู้ไปใช้ในการพิจารณาและมองเห็นช่องทางการประกอบอาชีพ พัฒนา/ต่อยอดอาชีพ หรือ

ขยายอาชีพ จึงไดจ้ ัดทำหลกั สตู รการทำอาหารวา่ งขนึ้

จดุ ม่งุ หมาย เพื่อให้ผู้เรยี น
1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั การนำผลผลติ ทางการเกษตรมาแปรรูปเปน็ อาหารวา่ ง
2. ได้รบั การฝึกปฏิบัตเิ กี่ยวกับการทำอาหารวา่ งชนดิ ต่าง ๆ

กล่มุ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนทส่ี นใจ จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ชั่วโมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร

เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา การจัด จำนวนช่วั โมง
กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
1. ช่องทางการ 1. อธบิ ายความสำคญั ใน 1. ความสำคญั ในการ 2 ช่วั โมง -
1. ศึกษาข้อมูลจาก
ประกอบอาชพี การประกอบอาชีพการ ประกอบอาชีพการ ส่อื อิเล็กทรอนกิ ส์
ภูมิปัญญาทอ้ งถิน่
การทำอาหารว่าง ทำอาหารวา่ งได้ ทำอาหารว่าง เอกสาร
2. บรรยาย

หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

60

เรื่อง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนอ้ื หา การจัด จำนวนช่ัวโมง
1. (ตอ่ ) กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ

2. ทักษะการ 2. วเิ คราะหค์ วามเป็นไป 2. ความเป็นไปไดใ้ น 3. แลกเปล่ียนเรียนรู้ 4 ชว่ั โมง 32
ประกอบอาชีพ ช่ัวโมง
การทำอาหารวา่ ง ไดใ้ นการประกอบอาชพี การประกอบอาชีพการ 4. สรปุ ความรู้ที่ได้

3. การบริหาร การทำอาหารวา่ งได้ ทำอาหารวา่ ง จากการแลกเปลี่ยน
จัดการ
ในอาชพี การ 3. สำรวจผลผลติ 3. ผลผลติ ทาง เรียนรู้
ทำอาหารวา่ ง
ทางการเกษตรที่ใช้ใน การเกษตรทสี่ ามารถใช้

การแปรรูปเปน็ ในการแปรรปู เป็น

อาหาวา่ งได้ อาหารวา่ ง

4. บอกทศิ ทางในการ 4. ทิศทางในการ

ประกอบอาชีพ ประกอบอาชพี การ

การทำอาหารวา่ งได้ ทำอาหารว่าง

1.อธิบายขัน้ ตอนในการ ขนั้ ตอนและวธิ ีการ 1. บรรยาย

ทำอาหารว่างชนดิ ทำอาหารว่าง 2. ฝึกปฏบิ ัติ

ตา่ งๆ ได้ 1. การทำขนมชั้น 3. สรปุ ความร้จู าก

2.ปฏิบตั ิการทำอาหาร 2. การทำขนมชอ่ ม่วง การปฏิบัติ

ว่างชนดิ ต่างๆ ได้ 3. การทำปั้นสิบ

4. การทำพุดดิง้

มะพรา้ วออ่ น

5. การทำขนมข้ีหนู

6. การทำขนมรังไร

7. การทำเต้าฮวยฟรุต

สลัด

8. การทำทบั ทิมกรอบ

มะพร้าวออ่ น

1. สามารถจัดทำบัญชี 1. การทำบญั ชคี มุ 1. ศกึ ษาข้อมลู จาก 2 ชั่วโมง -

คุมการจำหนา่ ยผลผลิต รายรบั -รายจา่ ย สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ได้ 2. การทำบรรจภุ ณั ฑ์ เอกสาร

2. สามารถจดั ทำบรรจุ 3. ชอ่ งทางการตลาด 2. บรรยาย

ภณั ฑไ์ ด้ 3. ฝึกปฏิบตั ิ

3. สามารถจดั หาตลาด 4. แลกเปลย่ี นเรียนรู้

จำหน่ายผลผลิตได้

รวม 8 ชั่วโมง 32
ชว่ั โมง

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

61
ส่ือการเรยี นรู้

1. ใบความรู้
2. สอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์
การวดั และประเมินผล
1. การสังเกต/การซักถาม
2. ตรวจผลงานจากการปฏบิ ัต/ิ ตรวจชน้ิ งาน
เงื่อนไขการจบหลักสตู ร
1. ระยะเวลาการเขา้ เรยี นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80
2. มคี วามรู้และผา่ นการฝึกปฏิบตั ิ

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

62
หลักสูตรธรรมชาติบำบัดด้วยสมุนไพรไทย จำนวน 40 ชวั่ โมง
ศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวดั ญาณสงั วรารามมหาวรวหิ าร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวดั ชลบุรี
ความเป็นมา

ธรรมชาติบำบัด (Naturopathy) เป็นการดูแลสุขภาพด้วยวิธีทางธรรมชาติ ซ่ึงมีหลากหลายวิธี
โดยธรรมชาติบำบัดที่มีแนวโน้มได้รบั ความนิยมมาก ได้แก่ การใช้สมุนไพรและผลิตภัณฑ์จากสมนุ ไพรในการ
ดูแลรักษาสุขภาพ เพ่ือส่งเสริมเศรษฐกิจของประเทศทั้งการซ้ือใช้ในประเทศและการส่งออก รวมไปถึงการ
อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นมิให้สูญหาย นอกจากนั้นยังมีการนำสมุนไพรมาประกอบเป็นอาหารรับประทาน
เพราะสมนุ ไพรแตล่ ะอย่างมสี รรพคณุ ทแี่ ตกต่างกนั

ในระดับนโยบายของรัฐบาล มีความชัดเจนท่ีจะส่งเสริมให้คนไทยใช้สมุนไพรไทยในการดูแลตัวเอง
และการรักษาพยาบาลเพิ่มข้ึน รวมไปถงึ การจัดสวดมนต์ทำสมาธิบำบัด ธาราบำบัด และการจดั ส่ิงแวดล้อม
ให้เอื้อตอ่ การดแู ลสขุ ภาพดว้ ยธรรมชาติ

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ได้เลง็ เห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพดว้ ยวิธีทางธรรมชาติ เพือ่ ให้เกษตรกรและประชาชน
มีสุขภาพที่แข็งแรง มีชีวิตท่ีดีท้ังร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ รวมทั้งเป็นการตอบสนองนโยบาย
ดงั กล่าว จึงได้จัดทำหลักสตู รธรรมชาติบำบัดด้วยสมนุ ไพรไทยนี้
จดุ มุ่งหมาย เพ่อื ใหผ้ เู้ รียน

1. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั สมุนไพรไทย สภาวะท่เี ป็นสขุ ทงั้ ร่างกาย จติ ใจ สงั คมและจติ วญิ ญาณ
2. ฝึกปฏบิ ัตเิ พอ่ื เสริมความรคู้ วามเขา้ ใจด้านการออกกำลังกาย อาหาร และอารมณ์
3. มคี วามตระหนกั เหน็ ความสำคญั และมเี จตคติท่ดี ีตอ่ ธรรมชาตบิ ำบัดด้วยสมุนไพร
กล่มุ เป้าหมาย
เกษตรกรและประชาชนที่สนใจ จำนวน 20 คน
ระยะเวลา
จำนวน 40 ชั่วโมง

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

63

โครงสร้างหลักสูตร จดุ ประสงค์ เน้อื หา การจัด จำนวนชั่วโมง
เรื่อง การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

1. ความรเู้ บ้อื งต้น เพื่อใหผ้ ู้เรียนมี 1. ความรเู้ บ้ืองต้น 1. อธิบาย 3 ชวั่ โมง 2 ช่วั โมง
4 ชวั่ โมง
เกย่ี วกบั กายและจิต ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกับร่างกายและ 2. ชมคลิป
2 ช่วั โมง
เก่ยี วกับกายและจติ จติ ใจ 3. ฝึกปฏบิ ัติเพ่ือทำ

2. ความสมั พันธ์ ความรู้จักการทำงาน

ระหว่างรา่ งกายและ ของร่างกายและ

จิตใจ จิตใจ

2. ความรเู้ บอ้ื งตน้ เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนมี 1. ความรเู้ บอ้ื งตน้ 1. อธบิ าย 6 ชั่วโมง

เกีย่ วกบั สมนุ ไพรไทย ความร้เู บอ้ื งต้น เกย่ี วกบั สมนุ ไพรใน 2. ชมคลปิ

เก่ียวกบั สมนุ ไพรใน ทอ้ งถนิ่ 3. ฝึกปฏบิ ัตกิ ารใช้

ท้องถนิ่ 2. การใชป้ ระโยชน์ ประโยชนจ์ าก

จากสมนุ ไพรใน สมุนไพรใน

ครัวเรอื น เชน่ ครวั เรอื น

การทำชาสมนุ ไพร

การทำน้ำสมนุ ไพร

การทำนำ้ มนั นวด

3. ประเภทของ เพ่ือให้ผเู้ รียนมี 1. ความรู้เบอ้ื งต้น 1. อธิบาย 3 ชัว่ โมง
2. ชมคลิป
อาหารและ ความรูเ้ บือ้ งต้น เกีย่ วกบั อาหารและ 3. สาธิตและฝึก
ปฏบิ ตั ิเก่ียวกับ
โภชนาการ เกยี่ วกบั อาหารและ โภชนาการ อาหารและ
โภชนาการของ
โภชนาการ 2. ความรู้เบอ้ื งต้น อาหาร

เก่ียวกบั การใช้

สมุนไพรเปน็ อาหาร

เช่น การทำยำ

สมุนไพร การทำ

น้ำผกั ป่นั

หลักสูตรการศึกษาต่อเนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

64

เรือ่ ง จดุ ประสงค์ เนื้อหา การจัด จำนวนชว่ั โมง
การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ัติ

4. การเสรมิ สรา้ ง เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมี - ความร้เู บอ้ื งต้น 1. อธิบาย 3 ชัว่ โมง 2 ช่ัวโมง
6 ชว่ั โมง 4 ชว่ั โมง
สุขภาวะดว้ ยการ ความรูเ้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกับการ 2. ชมคลปิ 3 ชว่ั โมง 2 ชัว่ โมง

ออกกำลังกาย เกยี่ วกบั การ เสรมิ สร้างสขุ ภาวะ 3. ฝึกปฏิบัตกิ าร 24 16
ชว่ั โมง ชว่ั โมง
เสริมสร้างสุขภาวะ ด้วยการออกกำลัง ออกกำลงั กายเพอ่ื

ด้วยการออกกำลงั กายเพอ่ื ความสมดุล ความสมดุลของ

กายเพือ่ ความ ของร่างกายและจติ ใจ ร่างกายและจิตใจ

สมดุลของร่างกาย

และจติ ใจ

5. การเสริมสร้าง เพ่ือให้ผเู้ รียนมี - ความรเู้ บือ้ งต้น 1. อธบิ าย

สุขภาวะด้านจิตใจ ความร้เู บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั การ 2. ชมคลิป

และอารมณ์ เกีย่ วกบั การ เสรมิ สร้างสขุ ภาวะ 3. สาธิตและฝึก

เสริมสรา้ งสขุ ภาวะ ด้านจิตใจและอารมณ์ ปฏิบตั ิ

ดา้ นจิตใจและ ดว้ ยกิจกรรมศิลปะ

อารมณ์ บำบดั เช่น การจัด

ดอกไมเ้ พือ่ ความผอ่ น

คลายจิตใจ

6. การเสรมิ สรา้ ง เพื่อให้ผู้เรียนมี - ความรู้เบื้องตน้ 1. อธบิ าย
สขุ ภาวะดว้ ย ความรู้เบอ้ื งต้น
ธรรมชาติ เกีย่ วกับการ เก่ียวกบั การ 2. ชมคลปิ
เสริมสรา้ งสขุ ภาวะ
ดว้ ยธรรมชาติ เสริมสรา้ งสุขภาวะ 3. ฝึกปฏิบัติ

ดว้ ยความงามของ นอกห้องเรียน

ธรรมชาติ และผลของ

ความงามตาม

ธรรมชาติทีม่ ตี ่อ

สุขภาพกายและใจ

เชน่ การเดินป่า

การทำงานศลิ ปะจาก

ธรรมชาติ

รวม

หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

65
ส่ือการเรียนรู้

1. เอกสารประกอบการเรยี น
2. เพาเวอร์พอยท์และคลิป
3. วัสดุอุปกรณ์จริง เช่น หม้อต้มน้ำ ทัพพี แก้วน้ำ ขวดบรรจุน้ำมันนวด ขวดบรรจุน้ำสมุนไพร
สมุนไพรชนิดต่างๆ พิมเสน การบูร เมนทอล น้ำตาลทรายแดง น้ำดื่ม จาน ถ้วย ช้อน เส่ือโยคะ ดอกไม้
แจกัน กรรไกร ผา้ ขนหนู ถ้วยตวง ถังน้ำพลาสตกิ เปน็ ตน้
การวดั และประเมนิ ผล
1. สงั เกตพฤตกิ รรมการฝกึ ปฏิบัติ
2. สงั เกตการตอบคำถามระหว่างการจดั กจิ กรรม
3. ประเมนิ ความร้สู กึ เจตคตขิ องผ้เู รียน
เง่ือนไขการจบหลกั สตู ร
1. ระยะเวลาเข้ารับการอบรมไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มคี วามรู้และผา่ นการฝกึ ปฏิบัติ

หลักสตู รการศึกษาต่อเนือ่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

66

หลักสูตรการทำอาหารวา่ งสรา้ งอาชีพ จำนวน 40 ช่ัวโมง
ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมุง จงั หวัดชลบุรี

ความเป็นมา
อาหารว่าง หมายถึง อาหารระหว่างมื้อ เป็นอาหารประเภทเบาๆ มีปริมาณอาหารน้อยกว่า อาหาร

ประจำม้ืออาจจะเป็นอาหารน้ำหรืออาหารแห้ง มีท้ังคาวและหวาน หรือเป็นอาหารชิ้นเล็กๆ ขนาดพอคำ
รับประทานควบคู่กับเคร่ืองด่ืมร้อน หรือน้ำผลไม้อย่างใดอย่างหน่ึง มีประโยชน์ช่วยเติมพลังให้กับยามบ่าย
ของเรา ทำใหเ้ ราพรอ้ มรับมอื กับทกุ สถานการณ์ระหว่างวันได้เป็นอยา่ งดี

อาหารว่างกับคนไทยเป็นของคู่กันมาช้านาน มีทั้งท่ีเป็นอาหารว่างที่เป็นขนมไทยและขนมที่ได้รับ
อิทธพิ ลวัฒนธรรมการทำขนมจากต่างชาติ แม่บ้านในสมัยโบราณใช้เวลาว่างในการทำอาหารวา่ งเก็บไว้โดย
ใช้วัสดุท่ีเหลือจากอาหารม้ือหลักให้เป็นประโยชน์ และใช้วัสดุที่มีมากในฤดูกาลมาประกอบเป็นอาหารว่าง
เพอื่ ตอ้ นรบั แขก พรอ้ มกบั เสิร์ฟน้ำผลไมห้ รอื น้ำเย็นลอยดอกมะลิ

การทำขนมเพ่ือเป็นอาหารว่างให้ได้คุณภาพดีเพ่ือการสร้างอาชีพ จำเป็นต้องรู้เคล็ดลับการทำ
มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ มีความประณตี และขยนั จึงจะทำให้ทำอาหารว่างไดค้ ณุ ภาพดีถูกต้องตามลักษณะ
ของอาหารชนดิ นนั้

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ได้เล็งเห็นความสำคัญและเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพการทำอาหารว่าง จึงได้จัดทำ
หลักสูตรการทำอาหารว่างสร้างอาชีพข้ึน เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนผู้สนใจนำความรู้ไปใช้ในการ
พิจารณาและมองเห็นช่องทางการประกอบอาชพี พัฒนา/ต่อยอดอาชีพ หรอื ขยายอาชีพ

จุดมงุ่ หมาย เพ่อื ให้ผู้เรยี น
1. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการประกอบอาชพี การทำอาหารว่าง
2. ได้รับการฝกึ ปฏบิ ัติเกี่ยวกับการทำอาหารว่างชนิดต่าง ๆ

กลุ่มเป้าหมาย
เกษตรกรและประชาชนทสี่ นใจ จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ช่ัวโมง

โครงสรา้ งหลักสตู ร

เร่อื ง จุดประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา การจัด จำนวนช่ัวโมง

กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

1. ช่องทางการ 1. อธบิ ายความสำคัญใน 1. ความสำคัญในการ 1. ศกึ ษาขอ้ มลู จาก 1 -

ประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพการ ประกอบอาชีพการ แหลง่ เรียนรู้ ชัว่ โมง

การทำอาหารวา่ ง ทำอาหารว่างได้ ทำอาหารว่าง 2. บรรยาย

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

67

เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หา การจดั จำนวนช่วั โมง
กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

1. (ต่อ) 2. วิเคราะหค์ วามเป็นไป 2. ความเป็นไปได้ในการ 3. แลกเปลยี่ น

ไดใ้ นการประกอบอาชพี ประกอบอาชีพการ เรียนรู้

การทำอาหารวา่ งได้ ทำอาหารว่าง 4. สรปุ ความรูท้ ่ีได้

3. สำรวจผลผลติ 3. ผลผลติ ทางการเกษตร จากการแลกเปลย่ี น

ทางการเกษตรทีใ่ ช้ใน ท่สี ามารถใช้ในการแปรรปู เรยี นรู้

การแปรรปู เปน็ อาหาร เปน็ อาหารวา่ ง

ว่างได้ 4. ทิศทางในการประกอบ

4. บอกทศิ ทางในการ อาชีพการทำอาหารว่าง

ประกอบอาชพี

การทำอาหารวา่ งได้

2. ทกั ษะการ 1. อธบิ ายขน้ั ตอนในการ ข้ันตอนและวิธกี าร 1. บรรยาย 4 33

ทำอาหารว่าง ทำอาหารว่างชนิดต่างๆ ทำอาหารว่าง ดังน้ี 2. ฝึกปฏบิ ัติ ชั่วโมง ชว่ั โมง

ได้ 1. ขนมเปยี กปนู 3. สรุปความรจู้ าก

2. ปฏบิ ัตกิ ารทำอาหาร 2. ถ่วั กวน การปฏบิ ัติ

วา่ งชนดิ ตา่ งๆ ได้ 3. กะหรปี่ ๊ับ

4. ขนมเปย๊ี ะ

5. ขนมกยุ ช่าย

3. การบรหิ าร 1. คำนวณตน้ ทุนได้ 1. คำนวณตน้ ทนุ 1. ศกึ ษาขอ้ มูลจาก 2 -

จัดการ 2. จดั ทำบรรจหุ บี ห่อ 2. การทำบรรจุหีบหอ่ ด้วย สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์ ชว่ั โมง

ในอาชพี ด้วยวัสดธุ รรมชาตไิ ด้ วสั ดธุ รรมชาติ เอกสาร

การทำอาหารว่าง 3. จัดหาตลาดจำหนา่ ย 3. ช่องทางการตลาด 2. บรรยาย

ผลผลติ ได้ 3. ฝึกปฏิบัติ

4. แลกเปล่ยี น

เรียนรู้

รวม 8 32
ช่วั โมง ช่วั โมง

หลักสูตรการศึกษาต่อเน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

68
ส่ือการเรยี นรู้

1. ใบความรู้
2. สื่ออิเล็กทรอนกิ ส์
การวัดและประเมนิ ผล
1. การสังเกต/การซักถาม
2. ตรวจผลงานจากการปฏิบัต/ิ ตรวจชิน้ งาน
เง่อื นไขการจบหลักสูตร
1. ระยะเวลาการเขา้ เรียนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มีความรแู้ ละผ่านการฝกึ ปฏิบตั ิ

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

69

หลกั สตู รการแปรรปู เห็ด จำนวน 40 ชว่ั โมง

ศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ
อำเภอบางละมงุ จงั หวัดชลบุรี

ความเป็นมา
เห็ด เป็นแหล่งอาหารโปรตีนจากธรรมชาติ อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการและมีสรรพคุณ

ทางยา ชว่ ยเสริมภูมคิ ุ้มกันในรา่ งกายและช่วยลดอตั ราความเส่ียงจากโรคร้ายตา่ งๆ เชน่ โรคมะเร็ง เบาหวาน

อลั ไซเมอร์ หลอดเลอื ดหัวใจอุดตนั และความดันโลหิตสูง แต่เห็ดกม็ ีข้อเสียคอื เม่ือเจริญเติบโตเตม็ ที่ หากไม่
สามารถจำหนา่ ยได้หมด เหด็ จะเน่าเสยี ส่งผลให้ผทู้ ่ีทำการเพาะเหด็ หรอื เลี้ยงเห็ดประสบปญั หาการขาดทุน

ดังนั้น ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ได้เล็งเห็นความสำคัญและชอ่ งทางในการประกอบอาชีพ ช่วยเหลือเกษตรกรและผู้สนใจ ได้นำ
ความรู้ไปใช้ในการสร้างมูลค่าเพ่ิมของผลผลิตทางการเกษตร สามารถพึ่งพาตนเองได้ จึงได้จัดทำหลักสูตร

การแปรรปู เห็ดขน้ึ

จดุ มุ่งหมาย เพือ่ ให้ผ้เู รียน
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับช่องทางการประกอบอาชีพการแปรรูปเห็ด การแปรรูปเห็ดและ

การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพการแปรรปู เหด็
2. ได้รับการฝึกปฏบิ ัติเก่ียวกบั การแปรรปู เห็ดแบบต่างๆ

กลุม่ เป้าหมาย
เกษตรกรและประชาชนท่สี นใจ จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ชั่วโมง

โครงสรา้ งหลกั สตู ร

เร่ือง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หา การจดั จำนวนชว่ั โมง
กระบวนการเรียนรู้
1. ช่องทางการ 1. อธบิ ายความสำคัญใน 1. ความสำคัญในการ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
ประกอบอาชพี 1. ศึกษาขอ้ มลู จาก
การประกอบอาชพี การ ประกอบอาชีพ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ 2-
การแปรรูปเหด็ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ชว่ั โมง
เอกสาร
แปรรปู เหด็ ได้ การแปรรปู เหด็ 2. บรรยาย
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้
2. วิเคราะหค์ วามเป็นไป 2. ความเป็นไปได้ในการ 4. สรุปความรู้ท่ไี ด้
จากการแลกเปลีย่ น
ไดใ้ นการประกอบอาชพี ประกอบอาชพี การแปร เรยี นรู้

การแปรรปู เห็ดได้ รูปเหด็

3. บอกทิศทางในการ 3. ทศิ ทางในการ

ประกอบอาชพี ประกอบอาชพี การแปร

การแปรรปู เหด็ ได้ รปู เห็ด

หลกั สตู รการศึกษาต่อเนอ่ื ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

70

เรอ่ื ง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนื้อหา การจัด จำนวนชั่วโมง
2. ทักษะการ 1. อธบิ ายขน้ั ตอนใน กระบวนการเรียนรู้
ประกอบอาชีพ การการแปรรปู เห็ด ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
การแปรรปู เหด็ แบบต่างๆ ได้ ข้ันตอนและวิธีการการ 1. บรรยาย
2. ปฏบิ ัตกิ ารแปรรปู 4 ชว่ั โมง 32
3. การบรหิ าร เหด็ ทำแบบต่างๆ ได้ แปรรูปเห็ดแบบตา่ งๆ เช่น 2. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ชว่ั โมง
จัดการ
ในอาชีพการ 1. อธบิ ายการจัดทำ 1. การทำเห็ดสามรส 3. สรปุ ความรจู้ าก
แปรรปู เหด็ บัญชกี ารจำหน่าย
ผลผลติ ได้ 2. การทำเหด็ ทอด การปฏบิ ตั ิ
2. อธิบายการจัดทำ
บรรจหุ ีบหอ่ ได้ 3. การทำทอดมนั เห็ด
3.บอกช่องทางการ
จำหน่ายผลผลิตได้ 4. การทำเหด็ หยอง

สมนุ ไพร

5. การทำหอ่ หมกสด

6. การทำนำ้ ยาขนมจนี

เหด็

7. การทำเห็ดภูเขา

8. การทำยำเห็ดสมนุ ไพร

9. การทำแหนมเหด็

1. การทำบัญชีรายรับ- 1. ศึกษาขอ้ มลู จาก 2 ชว่ั โมง -

รายจา่ ย ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์

2. การทำบรรจุหีบหอ่ เอกสาร

3.ชอ่ งทางการตลาด 2. บรรยาย

3. ฝึกปฏบิ ตั ิ

4. แลกเปล่ียนเรียนรู้

รวม 8 ชั่วโมง 32
ช่วั โมง

ส่ือการเรยี นรู้
1. ใบความรู้
2. สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์
3. ภาพ

การวัดและประเมนิ ผล
1. การสังเกต/การซกั ถาม
2. ตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน

เงื่อนไขการจบหลกั สูตร
1. ระยะเวลาการเข้าเรียนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80
2. มีความร้แู ละผ่านการฝึกปฏิบัติ

หลกั สตู รการศกึ ษาตอ่ เนื่อง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

71

หลกั สตู รสขุ กาย สุขใจด้วยเกษตรธรรมชาติ จำนวน 40 ช่ัวโมง

ศูนย์ฝกึ และพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสงั วรารามวรมหาวิหาร อันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ
อำเภอบางละมงุ จังหวดั ชลบุรี

ความเปน็ มา
ชีวิตของคนเราประกอบด้วยเรื่องของกายและใจ ที่มีความกลมกลืนสมดุลกัน ไม่สุดโต่งไปทางใด

ทางหน่ึง โดยความสุขทางกายคือ ส่ิงที่คนส่วนใหญ่ยึดถือตามกระแสนิยม ซ่ึงหมายถึง ความสะดวกสบาย

ความสนุกสนาน ความเอร็ดอรอ่ ย ความเพลิดเพลิน และบ่อยคร้ังท่ีความสุขกายดงั กล่าวก่อให้เกดิ ความทกุ ข์
รวมท้ังความเครียดความขัดแย้ง และการเจ็บป่วย ส่วนความสุขทางใจ คือ ความปีติ เบิกบาน และสงบเย็น

ที่ดำรงอยูภ่ ายในส่วนลึกของจิตใจ เป็นสิ่งที่เกดิ ขึ้นดว้ ยการบริหารจิต เช่น การทำสมาธิ เจริญสติ ภาวนา การ
ออกกำลังกาย การร่วมกิจกรรมศลิ ปะ การทำอาหาร-ขนม การบำเพ็ญประโยชน์ การเรียนรู้สงิ่ ใหมๆ่ เป็นต้น
สามารถเกิดขนึ้ ฉบั พลันจากกิจกรรมตา่ งๆ มีผลต่อการหลั่งสารตา่ งๆ ภายในรา่ งกาย รวมทั้งสารเอนดอรฟ์ ีนส์

(สารสุข) และเพิ่มภมู ิต้านทานโรค ซึ่งมีผลดีต่อสขุ ภาพกายและใจ และการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ดงั นั้น ความสุข
ทางใจ จึงเปน็ ความสขุ แทม้ ากกว่าความสขุ ทางกาย

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริ ได้เล็งเห็นความสำคญั ของสุขภาพกายและสุขภาพจิต จึงไดจ้ ัดทำหลกั สูตรสุขกาย สขุ ใจด้วยเกษตร
ธรรมชาตขิ นึ้

จดุ มุ่งหมาย เพอื่ ให้ผูเ้ รยี น
1. มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับการคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เกษตรธรรมชาติ

เกษตรผสมผสาน โรคและแมลง ความสมดลุ ของกายและจิตใจ
2. ไดร้ บั การฝึกปฏบิ ตั เิ ก่ียวกับการเกษตร การทำอาหาร กจิ กรรมศลิ ปะบำบดั และการออกกำลังกาย

กลมุ่ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนที่สนใจ จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ช่ัวโมง

โครงสร้างหลกั สูตร

เรือ่ ง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา การจดั จำนวนช่วั โมง
กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ

1. หลกั 1. อธิบายหลกั ปรัชญา 1. หลักปรัชญาของ 1. ชมคลิป 1 ชวั่ โมง -

ปรชั ญาของ ของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง 2. แลกเปลยี่ น

เศรษฐกจิ 2. อธิบายการนำหลัก 2. การประยกุ ต์ใช้หลกั เรยี นรู้

พอเพยี ง ปรัชญาของเศรษฐกจิ ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงมาใช้ในการ พอเพยี งในอาชีพ

ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมดว้ ยวิธี

เกษตรกรรมดว้ ยวิธี เกษตรธรรมชาติ

เกษตรธรรมชาติ

หลักสตู รการศึกษาต่อเน่อื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

72

เรอ่ื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจดั จำนวนชวั่ โมง
กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏิบัติ

2. หลักการ 1. อธิบายหลักการของ 1. หลกั การของเกษตร 1. บรรยาย 3 ชั่วโมง 1 ชั่วโมง

ของเกษตร เกษตรธรรมชาติ ธรรมชาติ 2. แลกเปลี่ยน

ธรรมชาติ 2. บอกสภาพดินดีตาม 2. สภาพดนิ ดตี ามหลัก เรยี นรู้

หลกั เกษตรธรรมชาติ เกษตรธรรมชาติ

3. การเพาะ ปฏบิ ตั ิการเพาะต้นออ่ น 1. ลักษณะตน้ ออ่ นงอก 1. บรรยาย 10 นาที 1 ชั่วโมง

ตน้ ออ่ นงอก งอกได้ 2. ชนดิ ของพชื ทนี่ ำมา 2. ฝกึ ปฏบิ ัติ 50 นาที

เพาะต้นออ่ นงอก 3. สรุปความรูจ้ าก

3. วัสดุ อุปกรณ์ ใน การปฏบิ ตั ิ

การเพาะต้นออ่ นงอก

4. ข้ันตอนการเพาะ

ตน้ ออ่ นงอก

5. การดแู ลต้นอ่อนงอก

4. การปลูก - บอกขน้ั ตอนและฝกึ ขัน้ เตรยี มการ 1. อธบิ าย 1 ชว่ั โมง 4 ชัว่ โมง

ผักเกษตร ปฏิบัตกิ ารปลกู พืช เพาะปลูกพชื แบบ 2. สาธิต

ผสมผสาน ผสมผสาน ผสมผสาน 3. ฝึกปฏิบัติ

- การเตรียมดิน 4. แลกเปล่ยี น

- การเพาะเมล็ด/กล้า เรียนรู้

- การปลูกพืช

ผสมผสาน

- การดแู ลรักษา

- การเก็บเกยี่ วผลผลิต

5. โรคและ 1. บอกโรคและแมลง 1. ชนดิ ของโรคและ 1. บรรยาย 2 ช่วั โมง 3 ช่วั โมง

แมลง พร้อมทั้งอาการที่พบจาก แมลงของพชื 2. ฝึกปฏิบัติ

การสำรวจพน้ื ท่แี ปลงพชื 2. อาการของโรคและ 3. สรปุ ความรู้จาก

2. อธิบายการจดั การ แมลงแตล่ ะชนดิ การปฏบิ ัติ

พ้นื ที่ท่ีมีโรคหรือแมลง 3. การจัดการพนื้ ท่ี

3. ฝกึ ปฏิบตั ิจัดการพน้ื ท่ี

เพื่อปลอดโรคหรือแมลง

จากการสำรวจ

6. การทำปยุ๋ 1. บอกความแตกต่าง 1. ชนดิ และลกั ษณะ 1. อธิบาย 30 นาที 2 ชว่ั โมง

หมกั จากใบไม้ ของปุ๋ยแตล่ ะชนดิ ของปุ๋ยแตล่ ะชนดิ 2. สาธิต 30 นาที

2. ปฏิบัตกิ ารทำปุ๋ยหมกั 2. วธิ ีการทำปยุ๋ หมกั 3. ฝึกปฏบิ ัติ

จากใบไม้ จากใบไม้

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

73

เรอื่ ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหา การจดั จำนวนช่ัวโมง
กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
6. (ตอ่ ) 3. บอกประโยชนข์ องปยุ๋ 3. ประโยชนข์ อง 2 ชั่วโมง 3 ชว่ั โมง
1. อธิบาย
หมักจากใบไม้ ปุย๋ หมกั 2. ชมคลิป 1 ช่ัวโมง 4 ชวั่ โมง
3. สาธิตและ
7. อาหารและ 1. บอกอาหารและ 1. ความรูเ้ บ้ืองต้น ฝึกปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับ 3 ช่ัวโมง 2 ชัว่ โมง
อาหารและ
โภชนาการ คุณค่าทางโภชนาการ เกี่ยวกบั อาหารและ โภชนาการของ 3 ชัว่ โมง 2 ชั่วโมง
อาหาร
ของอาหาร โภชนาการ 16 ชั่วโมง 23 ชั่วโมง
1. อธิบาย 40 นาที 20 นาที
2. บอกช่ือและลักษณะ 2. ความรเู้ บอื้ งต้น 2. ชมคลิป
3. สาธิตและ
ของสมนุ ไพรท่สี ามารถ เกี่ยวกบั การใช้ ฝึกปฏิบัติ

นำมาทำเปน็ อาหาร สมุนไพรเปน็ อาหาร 1. อธิบาย
2. ชมคลิป
เชน่ การทำยำสมนุ ไพร 3. ฝึกปฏบิ ัติ

การทำน้ำผกั ปนั่ 1. อธบิ าย
2. ชมคลิป
เป็นต้น 3. ฝึกปฏิบัติ

8. การ 1. เลือกกิจกรรมศิลปะ ความรเู้ บอื้ งต้น

เสริมสรา้ งสขุ บำบดั ได้เหมาะสมกับ เกย่ี วกบั การเสริมสรา้ ง

ภาวะดา้ น ตนเอง สุขภาวะด้านจิตใจและ

จติ ใจและ 2. ปฏิบัตกิ ารทำ อารมณด์ ว้ ยกิจกรรม

อารมณ์ กจิ กรรมศิลปะบำบัด ศลิ ปะบำบัด เช่น การ

จัดดอกไม้เพือ่ ความ

ผอ่ นคลายจิตใจ

เป็นตน้

9. ความรู้ - อธิบายความสัมพันธ์ 1. ความรเู้ บอ้ื งต้น

เบื้องตน้ ระหว่างกายและจิต เกีย่ วกับร่างกายและ

เกี่ยวกับกาย จิตใจ

และจติ 2. ความสมั พนั ธ์

ระหวา่ งรา่ งกายและ

จิตใจ

10. การ 1. อธบิ ายประโยชน์ของ - ความรู้เบอ้ื งตน้

เสริมสรา้ งสขุ การออกกำลังกายทม่ี ตี ่อ เกย่ี วกบั การ

ภาวะดว้ ยการ ความสมดุลของร่างกาย เสริมสร้างสขุ ภาวะ

ออกกำลังกาย และจติ ใจ ดว้ ยการออกกำลัง

2.ปฏิบตั กิ ารออกกำลัง กายเพ่อื ความสมดุล

กายเพือ่ ความสมดุลของ ของร่างกายและจิตใจ

ร่างกายและจติ ใจ

รวม

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

74
สอ่ื การเรยี นรู้

1. ใบความรู้
2. ส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์
การวัดและประเมนิ ผล
1. การสังเกต/การซักถาม
2. ตรวจผลงานจากการปฏบิ ัติ/ตรวจช้นิ งาน
เงื่อนไขการจบหลกั สูตร
1. ระยะเวลาการเขา้ เรยี นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
2. มีความรู้และผ่านการฝึกปฏิบตั ิ

หลกั สูตรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

75

หลกั สตู รการทำน้ำมนั มะพรา้ วและสบนู่ ำ้ มนั มะพรา้ ว จำนวน 40 ชว่ั โมง
ศูนยฝ์ กึ และพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมวดั ญาณสังวรารามวรมหาวหิ าร อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

อำเภอบางละมงุ จังหวดั ชลบรุ ี

ความเปน็ มา
เกษตรกรในพ้ืนที่อำเภอบางละมุง นิยมปลูกมะพร้าวแกงเป็นจำนวนมาก แต่ช่วงเวลาท่ีผ่านมา

ประสบปัญหาราคาตกต่ำ เน่ืองจากมีการนำเข้ามะพรา้ วจากประเทศอินโดนีเซีย แม้รัฐบาลจะออกประกาศให้
มะพร้าวเป็นสินค้าควบคุมเมื่อต้นปี พ.ศ. 2562 แต่ราคามะพร้าวในประเทศก็ยังคงตกต่ำจนถึงปัจจุบัน
ทั้งนี้เพราะยังมีการลักลอบนำเข้ามาอยา่ งต่อเน่ือง ประกอบกบั ปัจจุบันมีผู้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพ
มากขึ้น การทำน้ำมันมะพร้าวและการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากน้ำมันมะพร้าว จึงเป็นชอ่ งทางหน่ึงในการสร้าง
มูลค่าเพ่ิมให้กับมะพร้าว จากงานวิจัยพบว่า น้ำมันมะพร้าวสกัดเย็น มีกรดลอริกทีม่ ีคุณค่าสูง ช่วยต้านเช้ือโรค
แบคทเี รียและเช้ือราได้ดี มีวิตามินอีสูงท่สี ดุ ในบรรดานำ้ มนั ทัง้ หลาย สามารถใช้กนิ และทาไดส้ ารพัดประโยชน์

ดังน้ัน ศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมวัดญาณสังวรารามวรมหาวิหาร อันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ ได้เล็งเห็นความสำคัญและช่องทางในการประกอบอาชีพการทำน้ำมันมะพร้าวและการทำ
สบู่นำ้ มันมะพร้าว ซ่ึงเป็นการสร้างมูลค่าเพมิ่ ของผลผลิตทางการเกษตร เพ่ิมรายได้ และสามารถพง่ึ พาตนเองได้
จงึ ไดจ้ ดั ทำหลักสูตรการทำนำ้ มนั มะพร้าวและการทำสบ่นู ้ำมันมะพรา้ วข้ึน

จดุ มุ่งหมาย เพ่อื ให้ผูเ้ รยี น
1. มคี วามรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกับช่องทางการประกอบอาชีพ การทำนำ้ มนั มะพร้าวและการแปรรปู

และการบรหิ ารจดั การอาชพี
2. ไดร้ ับการฝึกปฏิบัตเิ กยี่ วกับการทำนำ้ มนั มะพร้าวและการทำสบู่น้ำมนั มะพรา้ ว

กล่มุ เปา้ หมาย
เกษตรกรและประชาชนท่ีสนใจ จำนวน 20 คน

ระยะเวลา
จำนวน 40 ชวั่ โมง

โครงสร้างหลกั สตู ร

เรื่อง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เนอื้ หา การจดั จำนวนช่วั โมง
กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
1. ช่องทางการ 1. อธิบายความสำคญั ใน 1. ความสำคัญในการ 2 ชั่วโมง -
ประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพการทำ ประกอบการทำนำ้ มนั 1. ศกึ ษาข้อมลู จากสอื่
การทำนำ้ มนั น้ำมันมะพร้าวและการทำ มะพรา้ วและการทำสบู่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์
มะพรา้ วและ สบ่นู ำ้ มันมะพร้าว นำ้ มันมะพรา้ ว ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น
การทำสบ่นู ้ำมนั เอกสาร
มะพรา้ ว 2. บรรยาย
3. แลกเปล่ียนเรยี นรู้

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เน่ือง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

76

เรอ่ื ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เนอ้ื หา การจัด จำนวนชัว่ โมง
1. (ต่อ) กระบวนการเรียนรู้ ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

2. ทักษะการ 2. วิเคราะห์ความเปน็ ไปได้ 2. ความเป็นไปไดแ้ ละ 4. สรุปความรู้ท่ไี ดจ้ าก
ประกอบอาชพี
การทำนำ้ มนั ในการประกอบอาชพี การ ทิศทางในการประกอบ การแลกเปลีย่ นเรียนรู้
มะพร้าว
และการทำสบู่ ทำน้ำมนั มะพร้าวและการ อาชพี การทำนำ้ มัน
นำ้ มนั มะพร้าว
ทำสบ่นู ำ้ มันมะพร้าว มะพร้าวและการทำ

3. บอกทศิ ทางในการ สบ่นู ้ำมนั มะพรา้ ว

ประกอบอาชีพการทำ

น้ำมนั มะพร้าวและการทำ

สบนู่ ้ำมนั มะพร้าวได้

1. อธิบายขั้นตอนในการ 1. สรรพคุณ และ 1. บรรยาย 4 ชวั่ โมง 32

ทำน้ำมนั มะพรา้ วและการ ประโยชน์ของนำ้ มัน 2. ผลผลิตภัณฑ์ ชวั่ โมง

ทำสบู่น้ำมนั มะพร้าว มะพรา้ ว ตัวอยา่ ง

2. ฝกึ ปฏบิ ตั ิการทำน้ำมนั 2. ขัน้ ตอนและวิธกี าร 3. ฝกึ ปฏิบัติ

มะพร้าวและการทำสบู่ ทำนำ้ มันมะพรา้ ว ดงั น้ี 4. สรปุ ความรจู้ ากการ

นำ้ มนั มะพร้าวรูปแบบ 2.1 วัสดุ อุปกรณ์ ปฏิบตั ิ

ต่าง ๆ ได้ และวัตถดุ ิบที่ใช้ในการ

ทำนำ้ มันมะพรา้ ว

2.2 การทำน้ำมนั

มะพร้าวสกัดเย็นและ

สกัดรอ้ น

2.3 การทำน้ำมัน

มะพรา้ ว สกัดเย็นวธิ ี

จดุ เยอื กแข็ง

3. การทำสบนู่ ำ้ มัน

มะพร้าวรปู แบบตา่ ง ๆ

ดงั นี้

3.1 วัสดุ อปุ กรณ์

และวัตถดุ บิ ท่ีใช้ในการ

ทำสบูน่ ้ำมนั มะพรา้ ว

3.2 การทำสบู่

กลเี ซอรนี นำ้ มนั

มะพร้าวน้ำผึ้ง

3.3 การทำสบู่สครบั

กาแฟผสานน้ำมัน

มะพร้าว

หลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ศฝก. ปีงบประมาณ 2562

77

เรอื่ ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เน้ือหา การจัด จำนวนชว่ั โมง
2. (ต่อ) กระบวนการเรยี นรู้ ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

3. การบริหาร 3.4 การทำสบู่ CP 2 ช่วั โมง -
จดั การในอาชพี
การทำนำ้ มัน Cold Press 8 32
มะพรา้ ว และ ชวั่ โมง ชว่ั โมง
การทำสบู่นำ้ มัน 3.5 การทำสบู่ HP
มะพรา้ ว
Hot Press

3.6 การทำสบเู่ หลว

จากน้ำมนั มะพรา้ ว

1. ฝึกปฏบิ ัติทำบญั ชี 1. การทำบญั ชรี ายรบั - 1. ศกึ ษาข้อมลู จากสื่อ

จำหน่ายผลิตภัณฑ์อย่างง่าย รายจ่ายอยา่ งงา่ ย อเิ ล็กทรอนกิ ส์

2. ฝึกปฏบิ ตั ิทำบรรจุหบี ห่อ 2. การทำบรรจุหบี ห่อ เอกสาร

3. บอกแหล่งจำหน่าย 3. ช่องทางการตลาด 2. บรรยาย

ผลิตภัณฑ์ 3. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ

4. แลกเปลีย่ นเรยี นรู้

รวม

ส่อื การเรยี นรู้
1. ใบความรู้
2. ผลิตภัณฑต์ ัวอย่าง
3. ส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส์

การวัดและประเมินผล
1. การสงั เกต/การซกั ถาม
2. ตรวจสอบผลการปฏบิ ัติ

เงือ่ นไขการจบหลักสูตร
1. ระยะเวลาการเข้าเรียนไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
2. มคี วามรู้และผ่านการฝึกปฏิบตั ทิ กุ ขน้ั ตอน

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนือ่ ง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562

78

คณะผจู้ ดั ทำ

คณะท่ปี รึกษา ผอู้ ำนวยการ ศฝก.
1. นายสังข์ กาญจนเพมิ่ พูน รองผอู้ ำนวยการ ศฝก.
2. นางสาวไพจติ ร คงแก้ว หัวหนา้ กลมุ่ พัฒนาวิชาการ
3. นางทพิ วรรณ สทิ ธริ งั สรรค์

คณะให้ข้อมูล
1. นางสาวปยิ นุช สุวรรณประเสรฐิ
2. นายจรูญ ชุมศรี
3. นายดเิ รก บุญสร้าง
4. นางโบตน๋ั พลเพ็ง
5. นางสุกญั ญา จนั ทร์ทองแดง
6. นางสาวทพิ ยว์ ิมล หมืน่ เตยี ง
7. นายสราวธุ สขุ ประเสรฐิ
8. นางฉันทลกั ษณ์ พรานนทส์ ถติ ย์
9. นางนฤมล แสงมาศ
10. นางสาวพงษ์จันทร์ จันทยศ
11. นางสาวอญั ชสา กิมเลง้
12. นางสาววรรณดี แสงเดอื นสิริกลุ
13. นางกชกร การกั ษ์
14. นางสาวเปมกิ า เขม็ นาค
15. นางคณุ ัญญา นิลไธสง
16. นางรสรนิ ภานมุ าส
17. นางมาริสา ชมุ เกษยี ณ
18. นางพิชญส์ ินี เลน
19. นางอภญิ ญา นัทธี
20. นางสาววรลักษณ์ ไตรศุภโชค

คณะยกร่างหลักสูตร
1. นางสาวพงษจ์ ันทร์ จันทยศ
2. นางสาวจรรยา สิงหท์ อง
3. นายจรูญ ชุมศรี
4. นางสาวทพิ ยว์ มิ ล หม่ืนเตียง

ผรู้ วบรวม เรยี บเรยี งข้อมูล พมิ พ์ และออกแบบปก

นางสาวจรรยา สงิ ห์ทอง งานพฒั นาหลกั สูตร

ผเู้ ขา้ เลม่ เอกสาร พนักงานบริการส่อื
นายพรพิทกั ษ์ คณุ ความดี

หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนื่อง ศฝก. ปงี บประมาณ 2562


Click to View FlipBook Version