The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ครูดีสอนดี ศิษย์ดีเรียนดี มีความสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Phanom Lorsri, 2024-01-16 04:18:11

วันครู2567

ครูดีสอนดี ศิษย์ดีเรียนดี มีความสุข

49 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข นอกจากนี้้� จากการศึึกษากรณีีตััวอย่่างสถานศึึกษา 6 สัังกััด ที่่�จััดการเรีียนรู้้เชิิงรุุก มีีประสิิทธิิภาพ พบปััจจััยสู่่ความสำเร็็จ เช่่น ผู้้บริิหารสถานศึึกษามีีวิิสััยทััศน์์และ มีีความเป็็นผู้้นำวิิชาการ มีีการพััฒนาครูทัู้้�งสถานศึึกษาและนิิเทศการสอนให้ค้ำปรึึกษา แก่ครูู่ หลัักสููตรสถานศึึกษามีีความหลากหลาย มีีการใช้สื่้่�อและแหล่่งเรีียนรู้้ที่่�หลากหลาย เป็็นต้้น จากการสััมภาษณ์์ครููผู้้สอนกลุ่่มสาระการเรีียนรู้้ต่่างๆ พบว่่า ครููมีีการปรัับตััว ปรัับบทบาท และสนุุกในการจััดกิิจกรรมการเรีียนรู้้เชิิงรุุก จากการสััมภาษณ์์ผู้้เรีียน ทุุกช่่วงชั้้น� เกี่่�ยวกับคัวามพึึงพอใจในการจััดการเรีียนรู้้เชิิงรุุก พบว่่า ผู้้เรีียนชอบและสนุุก ที่่�ครููมีีเกมหรืือกิิจกรรม ชอบที่่�ได้้ลงมืือปฏิิบััติิจริิง ได้้ทดลองทำจริิง เห็็นของจริิง ทำให้้ เข้้าใจสิ่่�งที่่�เรีียนมากยิ่่�งขึ้้น�และทำให้ค้วามรู้้อยู่่คงทนมากขึ้้น� ชอบที่่�ครููสอนในสิ่่�งที่่�นำไปใช้้ ได้้จริิงในชีีวิิต ชอบที่่�ครููเปิิดโอกาสให้้ได้้ใช้้ความคิิดสร้้างสรรค์์อย่่างเต็็มศัักยภาพ และ ชอบที่่�ครูนูำแอปพลิิเคชันัและเทคโนโลยีีสมััยใหม่่มาใช้้ ซึ่่�งผู้้เรีียนได้้สะท้้อนผลที่่�เกิิดจาก การจััดการเรีียนรู้้เชิิงรุุกที่่�มีีต่่อการพััฒนาทัักษะต่่าง ๆ ของผู้้เรีียน เช่่น กล้้าพููดสื่่�อสาร และนำเสนอมากขึ้้น� ได้ฝึ้ึกการทำงานร่่วมกันั ฝึึกการคิิดวิิเคราะห์์เพิ่่�มขึ้้น�พััฒนาความคิิด สร้้างสรรค์์ ค้้นพบความถนััดของตนเองจากการได้้ฝึึกทัักษะอาชีีพต่่าง ๆ ทำให้้เห็็น คุุณค่่าในตนเองมากขึ้้�น เป็็นต้้น การเรยีนรู้เชิงรุก หรอ Active Learning จึงเ ื ปน็แนวทางสำำค� ัญหนงใึ่นการปฏิรูป การเรีียนรู้้ให้้บรรลุุผลสััมฤทธิ์์ที่่�คาดหวััง ตามเจตนารมณ์์ของนโยบายรััฐมนตรีีว่่าการ กระทรวงศึึกษาธิิการ “เรีียนดีีมีีความสุุข” ซึ่่�งหน่่วยงานที่่�เกี่่�ยวข้้องทุุกระดับัจำเป็็นต้้อง ร่่วมมืือขัับเคลื่่�อน เพื่่�อมุ่่งสู่่เป้้าหมายการพััฒนาทรััพยากรมนุุษย์์ของประเทศ ให้้มีีสมรรถนะสููงต่่อไป 1 Cambridge International Education. 2013. Getting Started with Active Learning. https:// www.cambridge-community.org.uk/ 2 Westbroek. G. 2023. Active Learning from Principles to Practices. การบรรยายผ่านระบบ ออนไลน์ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2566 จัดโดยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.


50 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข การปฏิิรููปกระบวนการเรีียนรู้้ที่่�ตอบสนองต่่อ การเปลี่่�ยนแปลงในศตวรรษที่่� 21 ที่่�มุ่่งเน้้นผู้้เรีียนให้้มีี ทัักษะการเรีียนรู้้และมีีใจใฝ่่เรีียนรู้้ตลอดเวลา แพลตฟอร์์มการเรีียนรู้้ออนไลน์์ (Online Learning Platform) นัับว่่ามีีบทบาทและมีีส่่วนสำคััญอย่่างมาก ในการกระจายโอกาสทางการศึึกษา เป็็นการสร้้างฐาน ความรู้้โดยอาศััยกระบวนการเทคโนโลยีีสารสนเทศ เป็็นตััวขัับเคลื่่�อน ทำให้้คนทั่่�วโลกสามารถเข้้าถึึง การศึึกษาได้้อย่่างทั่่�งถึึง ครอบคลุุม ทุุกที่่� ทุุกเวลา ซึ่่�งเกิิดจากการเปลี่่�ยนผ่่านสู่่ยุุคดิิจิิทััล ทั้้�งในแง่่ของ การพััฒนาเทคโนโลยีีสารสนเทศและการสื่่�อสาร และการที่่�ประชากรวััยเรีียนส่่วนใหญ่่เป็็นกลุ่่มคน Gen Z (ผู้้ที่่�เกิิดระหว่่างปีี พ.ศ. 2539-2553) ที่่�เกิิดมาพร้้อมกับั สมาร์์ทโฟน แวดล้้อมด้้วยเทคโนโลยีี และใกล้้ชิิดกัับ สื่่�อสัังคม มีีอิทิธิิพลต่่อรูปูแบบการเรีียนรู้้เกิิดเทรนด์์ใหม่่ ๆ NPCS : ฉากทััศน์์เพื่่ อการเรีียนรู้้�ตลอดชีีวิิต ของ สกร.น่่าน นางสาวฐิิติิพร บุุทธิิจัักร ผู้้�อำนวยการ สำนัักงาน กศน. จัังหวััดน่่าน ปฏิิบััติิหน้้าที่่� ผู้้�อำนวยการ สำนัักงาน สกร.จัังหวััดน่่าน


51 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข กรมส่่งเสริิมการเรีียนรู้้มีีหน้้าที่่�จะต้้องขัับเคลื่่�อนภาระงานตามพระราชบััญญััติิ ส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ พ.ศ. 2566 กำหนดให้้เกิิดเป็็นรููปธรรม สร้้างการเปลี่่�ยนแปลง ในมิติิการศึึกษาตลอดชีีวิิต ซึ่่�งเป็็นเป้้าหมายการพััฒนาประเทศที่่�ยั่่�งยืืน การพััฒนาระบบ การเรีียนรู้้ ตลอดจนการวางพื้้�นฐานระบบรองรัับการเรีียนรู้้โดยใช้้ดิิจิิทััลแพลตฟอร์์ม เพื่่�อส่่งเสริิมและสนัับสนุนุการเรีียนรู้้ ในมาตรา 6 (1) การเรีียนรู้้ตลอดชีีวิิต (2) การเรีียนรู้้ เพื่่�อพััฒนาตนเอง และ (3) การเรีียนรู้้เพื่่�อคุุณวุุฒิิตามระดัับ ให้้บรรลุุวััตถุุประสงค์์และ เป้้าหมายที่่�กำหนด โดยเฉพาะในมาตรา 7 การเรีียนรู้้ตลอดชีีวิิตมีีเป้้าหมายเพื่่�อจััดให้้มีี ระบบกระตุ้้น ชี้้�แนะ หรืืออำนวยความสะดวกด้้วยวิิธีีการใด ๆ ให้้บุุคคลสามารถเรีียนรู้้ ได้ด้้้วยตนเองในเรื่่�องที่่�ตนเองสนใจหรืือตามความถนััดของตน สามารถเข้้าถึึงแหล่่งเรีียนรู้้ ทุุกประเภทได้้ในเวลาใด ๆ ที่่�ตนสะดวกโดยไม่่มีีภาระค่่าใช้้จ่่ายเกิินสมควร และเพิ่่�มพููน ความรู้้ให้้กว้้างขวาง รู้้เท่่าทันพััฒนาการของโลกอย่่างต่่อเนื่่�องตลอดชีีวิิตรวมทั้้�งนำความรู้้ ไปเติิมเต็็มชีีวิิตให้้แก่่ตนเองหรืือเกิิดประโยชน์์ต่่อสัังคมโดยอาจได้้รัับการรัับรองคุุณวุุฒิิ ตามความเหมาะสมด้้วยก็็ได้้ เป็็นประเด็็นท้้าทายที่่�จะดำเนิินการอย่่างไร ให้้ตอบโจทย์์ โลกปััจจุุบัันอย่่างทัันท่่วงทีี ตามยุุทธศาสตร์์ชาติิกำหนด สำนัักงานส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ จัังหวััดน่่าน เป็็นหน่่วยงานในสัังกััด กรมส่่งเสริิมการเรีียนรู้้จัังหวััดน่่าน ที่่�ได้้ริิเริ่่�มสร้้าง และพััฒนาแอปพลิิเคชััน NPCS : NAN POLE Creative Space เป็็นแพลตฟอร์์มพื้้�นที่่�


52 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข สร้้างสรรค์์เพื่่�อการเรีียนรู้้ร่่วมกัันตลอดชีีวิิต โดยมาจากหลัักแนวคิิดพระราชบััญญััติิ ส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ พ.ศ. 2566 ที่่�ให้้ความสำคััญกัับการเข้้าถึึงแหล่่งเรีียนรู้้ทุุกประเภท ได้ง่้่ายในเวลาที่่�สะดวก ตามนโยบายกระทรวงศึึกษาธิิการ ปีีงบประมาณ 2567 ที่่�กำหนด นโยบายสร้้างโอกาสในการเข้้าถึึงการเรีียนรู้้อย่่างทั่่�วถึึงและเท่่าเทีียม ผ่่านแพลตฟอร์์ม การเรีียนรู้้ (Anywhere Anytime) รวมถึึงการพััฒนาแหล่่งเรีียนรู้้เพื่่�อให้้บุุคคลเรีียนรู้้ ตลอดชีีวิิตโดยไม่่มีีข้้อกำหนดหรืือเงื่่�อนไขใด ๆ ที่่�อาจเป็็นอุุปสรรคต่่อการเรีียนรู้้ และ เป็็นการเผยแพร่่ภููมิิปััญญาท้้องถิ่่�น เพื่่�อให้้เกิิดการเรีียนรู้้แบบเปิิดและเชื่่�อมโยงข้้อมููล สารสนเทศทางการศึึกษาสำหรัับเผยแพร่่ให้้ ครููกศน. ผู้้เรีียน และผู้้รัับบริิการ สามารถ เข้้าถึึงและใช้้สื่่�อการเรีียนรู้้ร่่วมกัันได้้ผ่่านแอปพลิิเคชัันที่่�พััฒนาขึ้้�นสามารถเข้้าถึึง และ เรีียนรู้้ได้้ง่่าย บนหลัักการตามบริิบทพหุุวััฒนธรรมที่่�หลากหลายของจัังหวััดน่่าน NAN POLE (P : Population, O : Online, L : Lifelong Learning, E : Easy) เน้น้การ ที่่�ประชากรทุุกช่่วงวััยสามารถเรีียนรู้้บนพื้้�นที่่�การเรีียนรู้้สร้้างสรรค์์รููปแบบเสมืือน ผ่่านสื่่�อออนไลน์์ ได้้ทุุกที่่�ทุุกเวลาตลอดชีีวิิต ที่่�สำคััญ คืือ เข้้าถึึงการใช้้บริิการที่่�ง่่าย สะดวก ไม่่มีีค่่าใช้้จ่่าย เหมาะสมกัับคนทุุกช่่วงวััย แอปพลิิเคชััน NPCS : NAN POLE Creative Space พื้้�นที่่�สร้้างสรรค์์ เพื่่�อการเรีียนรู้้ร่่วมกัันตลอดชีีวิิต ของสำนัักงานส่่งเสริิมการเรีียนรู้้จัังหวััดน่่าน มีีองค์์ประกอบสำคััญ 5 เมนููหลััก คืือ 1. คลัังข้้อสอบ (T - NPCS) เป็็นพื้้�นที่่�รวบรวมคลัังข้้อสอบออนไลน์์สำหรัับ ทบทวนความรู้้ เพื่่�อเตรีียมความพร้้อมในการเข้้าสอบ การทดสอบวััดผลสััมฤทธิ์์ ปลายภาคเรีียน และการทดสอบทางการศึึกษาระดับัชาติิการศึึกษานอกระบบโรงเรีียน (N-Net) ตามหลัักสููตรการศึึกษานอกระบบระดับัการศึึกษาขั้้นพื้้�น�ฐาน พุทธศัุักราช 2551 2. สื่่�อส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ (Quiz - NPCS) เป็็นพื้้�นที่่�รวบรวมแบบทดสอบ ในรูปูแบบของเกมการศึึกษา เพื่่�อกระตุ้้นให้ผู้้ ้เรีียนสนใจการเรีียนรู้้และอยากมีีส่่วนร่่วม ในการเรีียนรู้้ แบ่่งออกเป็็น 2 หมวดหมู่่ ได้้แก่่ เกมเพื่่�อการจััดการเรีียนรู้้ และ เกมส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ทุุกช่่วงวััย 3. ห้้องเรีียนสร้้างสรรค์์ (Classroom - NPCS) เป็็นพื้้น� ที่่�รวบรวมหลัักสููตร และ บทเรีียนส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ที่่�จะก่่อให้้เกิิดประโยชน์์แก่ผู้้่เรีียนและผู้้รับบริั ิการ แบ่่งออกเป็็น 5 หมวดหมู่่ ได้้แก่่ หมวดเสริิมทัักษะวััยเรีียน หมวดเสริิมทัักษะพััฒนาตนเอง หมวดเสริิมทัักษะวััยเก๋๋า หมวดเสริิมทัักษะกลุ่่มเป้้าหมายพิิเศษ (ผู้้พิิการ) และ หมวดคลิิปสั้้�นส่่งเสริิมการเรีียนรู้้


53 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข 4. นวััตกรรมท้้องถิ่่น� (Innovation - NPCS) เป็็นพื้้น� ที่่�รวบรวมและจััดแสดงผลงาน นวััตกรรมทางการศึึกษาของสถานศึึกษาในสัังกััดสำนัักงานส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ จัังหวััดน่่าน ซึ่่�งแบ่่งออกเป็็น 3 หมวดหมู่่ ได้้แก่่ นวััตกรรมผู้้เรีียน นวััตกรรมครูู และ นวััตกรรมคลัังภููมิิปััญญาท้้องถิ่่�น 5. แบบประเมินคิวามคิิดเชิิงสร้้างสรรค์์ (My Creative Type) เป็็นพื้้น� ที่่�รวบรวม แบบประเมิินเพื่่�อค้้นหาตนเอง จากหน่่วยงานต่่างๆ เพื่่�อส่่งเสริิมให้้นำความคิิด ในเชิิงสร้้างสรรค์์ที่่�มีีมาวััดความถนััดของตนเอง เพื่่�อหาแนวทางในการเลืือกศึึกษา เลืือกประกอบอาชีีพ หรืือสร้้างผลงานของตนเองได้้ตามความถนััดและความสนใจ ของแต่่ละบุุคคล ฉากทัศน์ั ์เพื่่�อการเรีียนรู้้ตลอดชีีวิิต สกร.จัังหวััดน่่าน ครั้้�งนี้้� นัับเป็็นความท้้าท้้าย เพื่่�อการก้้าวผ่่านจากบทบาทเดิิม สู่่บทบาทใหม่่ตามพระราชบััญญััติิส่่งเสริิมการเรีียนรู้้ พ.ศ. 2566 การเป็็นหน่่วยงานที่่�จััดการศึึกษาเพื่่�อประชาชนมาโดยตลอด จากผลงาน ที่่�ผ่่านมาในอดีีต การรณรงค์์ผู้้ไม่่รู้้หนัังสืือ การจััดการศึึกษาเพื่่�อยกระดัับวััยแรงงาน การจััดการศึึกษาให้กั้บักลุ่่มเป้้าหมายเฉพาะ เด็็กเร่ร่่ ่อน เด็็กชายขอบ กลุ่่มชนเผ่่าพื้้น� ที่่�สููง กลุ่่มปอเนาะ ฯลฯ การจััดการศึึกษาเพื่่�อพััฒนาอาชีีพ การจััดการศึึกษาเพื่่�อพััฒนาสัังคม ชุุมชน การจััดการศึึกษาเพื่่�อพััฒนาทัักษะชีีวิิต และการจััดการศึึกษาตามอััธยาศััย ที่่�มีีห้้องสมุุดประชาชน และแหล่่งเรีียนรู้้กระจายอยู่่เต็็มพื้้�นที่่� ก็็นัับได้้ว่่าเป็็นหน่่วยงาน ที่่�ผ่่านบทพิิสููจน์์ของการทำงานหนััก หลากหลายรููปแบบ แอปพลิิเคชััน NPCS : NAN POLE Creative Space พื้้�นที่่�สร้้างสรรค์์เพื่่�อการเรีียนรู้้ร่่วมกัันตลอดชีีวิิต จึึงถืือเป็็น กลไกสำคััญอีีกระบบหนึ่่�งที่่�มีีคุุณลัักษณะในการสนัับสนุุน ส่่งเสริิม ประสิิทธิิภาพ การเรีียนรู้้ของผู้้เรีียนได้้อย่่างอิิสระ ช่่วยให้้เข้้าถึึงแหล่่งความรู้้ที่่�หลากหลาย ได้้อย่่าง รวดเร็็วและสามารถเรีียนรู้้ได้้ด้้วยตนเองควบคุุมกระบวนการเรีียนรู้้ได้้ด้้วยตััวเอง (Self-Directed Learning) กระตุ้้นให้ผู้้ ้เรีียนสามารถเรีียนรู้้และแก้ปั้ ัญหาได้้อย่่างอิิสระ เป็็นการเรีียนรู้้ได้้ทุุกเวลา เข้้าถึึงสาระเนื้้�อหาได้้ในทุุกสถานที่่� (Anywhere Anytime) เพื่่�อก้้าวไปสู่่สัังคมแห่่งการเรีียนรู้้มุ่่งสู่่ปลายทาง คืือ “เรีียนดีีมีีความสุุข” ต่่อไป.....


54 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข พระบาทสมเด็็จพระบรมชนกาธิิเบศร มหาภููมิิพลอดุุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิิตร ทรงพระราชทานพระราชดำรััสว่่า “เศรษฐกิิจพอเพียีง เป็็นเสมืือนรากฐานของชีีวิิต รากฐานความมั่่�นคง ของแผ่่นดิิน เปรียีบเสมืือนเสาเข็็มที่่ถูู�กตอกรองรัับ บ้้านเรืือนตััวอาคารไว้นั่่้ �นเอง สิ่่�งก่่อสร้้างจะมั่่�นคงได้้ ก็็อยู่่�ที่่�เสาเข็็ม แต่่คนส่่วนมากมองไม่่เห็็นเสาเข็็ม และลืืมเสาเข็็มเสีียด้้วยซ้้ำ” และดร.สุุเมธ ตัันติิเวชกุุล เลขาธิิการมููลนิิธิิชััยพััฒนา กล่่าวว่่า คำสอนของในหลวงรััชกาลที่่� 9 ไม่่มีีกาลเวลา สามารถขยายและนำมาประยุุกต์์ใช้้ให้้เกิิด “ครุุศาสตร์์ สวนดุ ุ สิิต” สร้้างครููดีี มีียุทุธศาสตร์์ ฉลาดใช้้ภููมิิปััญญา มุ่่งพััฒนาสู่่ความเป็็นสากล ผศ.ดร.วีีณััฐ สกุุลหอม คณบดีีคณะครุุศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยสวนดุุสิิต


55 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ประโยชน์์ได้้มากมาย...พระองค์์ทรงสอนถึึงความพอเพีียง ซึ่่�งหมายถึึง ความพอ ประมาณ ความมีีเหตุุผล รวมถึึงความจำเป็็นที่่�จะต้้องสร้้างระบบภููมิิคุ้้มกัันในตััวที่่�ดีี พอสมควรต่่อการกระทบใด ๆ อันัเกิิดจากการเปลี่่�ยนแปลง ไม่่ใช่มุ่่ ่งสร้้างความร่่ำรวย เวลานี้้�หลัักสููตรการเรีียนการสอนต่่าง ๆ กลับัเน้น้สอนการสร้้างความร่่ำรวย ซึ่่�งเป็็นต้น้เหตุุ ให้้ต้้องแย่่งชิิง ทำให้้ทุุกอย่่างสููญสิ้้�น นััยที่่�พระองค์์ทรงเตืือนและสอนเรามาทุุกมิิติิ เหลืืออย่่างเดีียวว่่า พวกเราจะน้้อมนำไปสู่่การปฏิิบััติิเพื่่�อความอยู่่รอดและมีีความสุุข อย่่างยั่่�งยืืนที่่�ส่่งต่่อถึึงลููกหลานรุ่่นต่่อไป (ไทยรััฐ, 2565) สถาบัันการศึึกษา เป็็นแหล่่งรวมขององค์์ความรู้้ทางวิิชาการและภารกิิจ การเรียีนการสอน การวิจัิยั การบริิการวิิชาการ และการทำนุุบำรุุงศิิลปวััฒนธรรม คณาจารย์์เป็็นองค์ป์ระกอบสำคััญในการผลิิตบััณฑิิตและบุคุลากรที่่�มีีคุุณภาพ จึึงต้้อง เป็็นผู้้ที่่�มีีศัักยภาพสููงในการใฝ่่หาความรู้้ทัักษะการสื่่�อสารและสามารถถ่่ายทอดความรู้้ แก่่ผู้้อื่่� นให้้เข้้าใจได้้ มีีคุุณธรรม จริิยธรรม เพื่่�อเป็็นแบบอย่่างที่่�ดีีแก่่นัักศึึกษาหรืือ ผู้้เรีียนได้้ และเป็็นผู้้ที่่�สัังคมคาดหวัังสููงว่่าจะชี้้�นำสัังคมไปตามทิิศทางที่่�พึึงประสงค์์ บทบาทของคณาจารย์์ จึึงต้้องเปลี่่�ยนแปลงไปจากเดิิมที่่�เคยเป็็นผู้้ให้้ความรู้้ มาเป็็นผู้้สร้้างองค์์ความรู้้และพััฒนาการสอน โดยเน้้น Innovative Styles ให้้มากขึ้้�น เน้้นการสอนเชิิงสร้้างสรรค์พั์ ัฒนา การมีส่่ ีวนร่่วมในการบริิหารจััดการ และคุุณภาพมาตรฐานการศึึกษา ครุุศาสตร์์ สวนดุุสิิต ... มีีจุุดเน้้น สร้้างครููดีี มีียุุทธศาสตร์์ ฉลาดใช้้ภููมิิปััญญา มุ่่�งพััฒนาสู่่�ความเป็็นสากล เพิ่่�มความตระหนัักถึึงโอกาสที่่�นัักศึึกษาสามารถเรีียนรู้้ สิ่่�งต่่าง ๆ ได้้ และให้้ความสำคััญต่่อการพััฒนาตนเองอย่่างต่่อเนื่่�อง การสนัับสนุุน กิิจกรรมต่่าง ๆ ที่่�เป็็นประโยชน์์ ดัังเช่น่ การประยุุกต์์ใช้้หลัักปรััชญาของเศรษฐกิิจพอเพีียง ในการจััดการเรีียนสอนในหลัักสููตรอุุดมศึึกษา เพื่่�อที่่�จะได้้นำความรู้้ความสามารถ มาถ่่ายทอดให้้แก่่นัักศึึกษาหรืือผู้้เรีียนได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ หากเป็็นได้้เช่่นนี้้� การพััฒนาการเรีียนการสอนของสถาบัันอุุดมศึึกษาก็็จะบรรลุุเป้้าหมายและ ประสบความสำเร็็จได้้ ด้้วยเหตุุที่่�การประยุุกต์์หลัักปรััชญาของเศรษฐกิิจพอเพีียง ในการจััดการเรีียนการสอนระดัับอุุดมศึึกษา เริ่่�มต้้นจากการเสริิมสร้้างคนให้้มีี การเรีียนรู้้วิิชาการและทัักษะต่่าง ๆ ที่่�จำเป็็น เพื่่�อให้้สามารถรู้้เท่่าทันัการเปลี่่�ยนแปลง ในด้้านต่่าง ๆ พร้้อมทั้้�งเสริิมสร้้างคุุณธรรม จนมีีความเข้้าใจและตระหนัักถึึงคุุณค่่า ของการอยู่่�ร่่วมกัันของคนในสัังคม คณาจารย์ต้์ ้องเข้้าใจหลัักปรััชญาของเศรษฐกิิจ พอเพีียงก่่อน


56 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข การวิิเคราะห์์ปััญหา เข้้าใจปััญหาที่่�เกิิดจากความไม่่พอเพีียง แล้้วคิิดหาวิิธีี ดำเนิินกิิจกรรมการเรีียนรู้้และให้้นัักศึึกษาหรืือผู้้เรีียนมีีส่่วนร่่วม มีีสติิยั้้�งคิิดพิิจารณา อย่่างรอบคอบก่่อนตััดสิินใจหรืือกระทำการใด ๆ จนกระทั่่�งเกิิดเป็็นภููมิิคุ้้มกัันที่่�ดีี ในการดำรงชีีวิิต โดยสามารถคิิดและทำทัันทีีบนพื้้�นฐานของความมีีเหตุุ มีีผล พอเหมาะ พอประมาณกัับสถานภาพ บทบาทและหน้้าที่่�ของแต่่ละบุุคคล การดำเนิินการจััดการเรีียนการสอนระดัับอุุดมศึึกษาตามหลัักปรััชญาของเศรษฐกิิจ พอเพีียงให้้ประสบผลสำเร็็จและเกิิดประสิิทธิิภาพอย่่างมั่่�นคงมั่่�งคั่่�ง และยั่่�งยืืน ควรดำเนินิการให้ต่้ ่อเนื่่�องและครอบคลุุมกับัหลัักการและเหตุุผล วััตถุุประสงค์์ เนื้้�อหา กระบวนการจััดการเรีียนการสอน และการนำไปปฏิิบััติิให้้สามารถเสริิมสร้้างพััฒนา ความสมบููรณ์์อย่่างยิ่่�งจริิงจัังต่่อไป เพื่่�อร่่วมกัันสร้้าง “ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข”


57 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข กว่่า 90 ปีีจากโรงเรีียนการเรืือนแห่่งแรก ของประเทศไทยสู่่มหาวิิทยาลััยสวนดุุสิิตในปััจจุุบััน ถ้้าจะกล่่าวถึึงมหาวิิทยาลััยสวนดุุสิิตหรืือที่่�คน ยุคกุ่่อนมัักเรีียกว่่า “วิทิยาลััยครููสวนดุสิุิต” การสร้้าง อััตลัักษณ์์ที่่�เข้้มแข็็งในศาสตร์์ของการศึึกษามาอย่่าง ยาวนานโดยเฉพาะศาสตร์์ทางการศึึกษาปฐมวััย คงไม่่มีีใครที่่�อยู่่แวดวงทางการศึึกษาไม่่รู้้จััก มหาวิทิยาลััยสวนดุสิุิต และโรงเรีียนสาธิิตละอออุทิุศิ ที่่�เป็็นแหล่่งบ่่มเฉพาะองค์ค์วามรู้้และความเชี่่�ยวชาญ ทางการศึึกษาปฐมวััย จึึงได้้ครองใจและได้้รัับการ ไว้้วางใจของผู้้ใช้้บััณฑิิตในหลายทศวรรษ แม้้ในปััจจุุบััน สถาบัันในการผลิิตบััณฑิิตครููจะมีีมากมาย และมีีสาขา ที่่�เหมืือนกัันในทุุกๆ ที่่� แต่่มหาวิิทยาลััยสวนดุุสิิต กระบวนการสร้างคร ู ดีเพื่อศิษย์ดีแบบสวนด ุ สิต ทำ�ำอย่างไรจึงครองใจผู้ใช้บัณฑิต ผศ.นิศารัตน์ อิสระมโนรส คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต


58 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ยัังคงความโดดเด่น่ ในการผลิิตครููในสาขาวิิชาการศึึกษาปฐมวััย และการประถมศึึกษา ที่่�ได้้รัับความนิิยมอย่่างต่่อเนื่่�อง อาจมีีคำถามว่่าเราผลิิตบััณฑิิตอย่่างไร แตกต่่าง อย่่างไร เพราะอะไรถึึงได้้รัับความนิิยม คณะครุุศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยสวนดุุสิิต ให้้ความสำคััญต่่อการพััฒนาบััณฑิิต ทางการศึกษาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบนัเพอสร้างลูก ื่ ศิษย์ที่จะเติบโตขึ้น เป็็นกำลัังของประเทศ จากนโยบายของผู้้บริิหารที่่�เปิิดกว้้าง และมีีทิิศทางที่่�ชััดเจน ในการพััฒนาการศึึกษาที่่�สามารถเทีียบเท่่านานาประเทศ สู่่หลัักสููตรศึึกษาศาสตรบััณฑิิต ในแบบของสวนดุสิุิต อาจอธิิบายกระบวนการผลิิตบััณฑิิตตามมาตรฐานของสวนดุสิุิต ได้้ดัังนี้้� 1. คุุณภาพของครููดีีสวนดุุสิิต ผ่่านกระบวนการเรีียนการสอนและการลงมืือ ปฏิิบััติิงานจริิง ด้้วยการสร้้างบััณฑิิตให้้รู้้จัักการปรัับตััวกัับสถานการณ์์ที่่�มีี การเปลี่่�ยนแปลงตลอดเวลา ด้้วยการปลููกฝัังความคิิดยืืดหยุ่่น สามารถแก้้ปััญหา ด้้วยรูปูแบบการจััดการเรีียนรู้้ที่่�หลากหลาย การทำความเข้้าใจผู้้เรีียนหรืือบุคคุลที่่�ต้้อง ปฏิิบััติิกิิจกรรมร่่วมกััน มีีความอดทนในการทำงาน มีีความกระตืือรืือร้้น ในการแสวงหาความรู้้ด้้วยตนเองและการเรีียนรู้้ตลอดชีีวิิต การมองเห็นค็วามแตกต่่าง ของผู้้เรีียนเพื่่�อส่่งเสริิมหรืือปรับัพฤติิกรรมที่่�เหมาะสม การทำงานเป็็นทีีมเพื่่�อให้บ้รรลุุ เป้้าหมายที่่�ตั้้�งไว้้ เปิิดโอกาสให้้คิิดนอกรอบและสร้้างสรรค์์ผลงานด้้วยวิิธีีต่่างๆ และความมีีวิินััยในการทำงานและความรัับผิิดชอบต่่อผู้้เรีียน 2. การมองศิิษย์์เป็็นเป้้าหมายในการพััฒนา หลายครั้้�งที่่�บััณฑิิตมัักหลงทาง ในการเป้้าหมายของการจััดการเรีียนรู้้ เช่น่ บััณฑิิตอยากแสดงความสามารถของตััวเอง ผ่่านความถนััด โดยไม่่ได้้คำนึึงถึึงความสามารถหรืือความต้้องการของผู้้เรีียน ดัังนั้้�น รููปแบบการจััดการชั้้�นเรีียนตามพััฒนาการจึึงเป็็นประเด็็นหลัักที่่�อาจารย์์มัักสาธิิต วิิธีีการและการแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้กัับบััณฑิิตหลัังจากการลงสัังเกตการในโรงเรีียน สาธิิตละอออุุทิิศ ดัังนั้้�นบััณฑิิตจึึงต้้องมีีความรู้้ความเข้้าใจ และจดจำพััฒนาการของ ผู้้เรีียนแต่่ละช่่วงวััยได้้อย่่างแม่่นยำ ครููที่่�ดีีต้้องช่่วยให้้ผู้้เรีียนประสบความสำเร็็จ ในการเรีียนรู้้ และสร้้างความภาคภูมิูิใจต่่อการเรีียนรู้้ การจััดกิิจกรรมจึึงต้้องสามารถปรับั หรืือยืืดหยุ่่นให้้สอดคล้้องกัับผู้้เรีียนหรืือการเปลี่่�ยนแปลงที่่�เกิิดขึ้้�นในแต่่ละวััน การสร้้างกิิจกรรมที่่�ไม่่ยากหรืือง่่ายจนเกินิไปทำให้ผู้้้เรีียนเกิิดความรู้้สึึกที่่�ดีีต่่อการเรีียนรู้้


59 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ซึ่่�งเป็็นหลัักที่่�ครููสวนดุสิุิตต้้องยึึดเป็็นคติปิระจำใจ การยึึดผู้้เรีียนเป็็นสำคััญโดยเปิิดโอกาส ให้้ผู้้เรีียนได้้มีีสิิทธิ์์ในการตััดสิินใจหรืือมีีส่่วนร่่วมในการเรีียนรู้้ผ่่านธรรมชาติิและ ความต้้องการของผู้้เรีียน 3. การส่่งต่่อความสััมพัันธ์์ที่่�ดีีระหว่่างครููและศิิษย์์ต่่อผู้้ปกครอง การดููแล ผู้้เรีียนได้้อย่่างทั่่�วถึึงเป็็นจุุดเด่น่อย่่างหนึ่่�งที่่�ผู้้ใช้้บััณฑิิตมัักกล่่าวถึึงบััณฑิิตของสวนดุสิุิต การประเมินผู้้ ิเรีียนอย่่างสร้้างสรรค์จึ์ ึงเป็็นกิิจกรรมหนึ่่�งที่่�อาจารย์มั์ ักใช้้ในการประเมินิ บัณฑิตเพอให้เข้าใจวิ ื่ ธีการใช้และการประยุกต์กับผู้เรยีน การสอสารเชิง ื่ บวกกับผู้เรยีน เปน็สิง่ ที่บัณฑิตจะต้องตะหนักและฝึกการสอสาร ื่ ที่มีประสิทธิภาพร่วมถึงการสอสาร ื่ กับผู้ปกครองจึงทำ�ำให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนาผู้เรียนไปในทิศทางเดียวกัน 4. ปรัับเปลี่่ย�นเพื่่�อสร้้างประสิิทธิิภาพทางวิิชาชีีพ บััณฑิิตของสวนดุสิุิตไม่่ได้้ เป็็นคนเก่่งทางด้้านวิิชาการแต่่สามารถเป็็นผู้้นำทางการเปลี่่�ยนแปลงและการศึึกษา ที่่�หลายคนยอมรับั จากการฝึึกประสบการณ์์ที่่�เปิิดโอกาสให้้แสดงความคิิด ความสามารถ และเลืือกรููปแบบ รวมถึึงพื้้�นที่่�การเรีียนรู้้ที่่�สอดคล้้องกัับผู้้เรีียนได้้อย่่างอิิสระ โดยมีีอาจารย์์เป็็นโค้้ชหรืือผู้้อำนวยความสะดวก การใช้้เทคโนโลยีีเป็็นเครื่่�องมืือ ในการพััฒนาวิิชาชีีพ การก้้าวข้้ามพื้้�นที่่�ปลอดภััยของตนเองสู่่โลกแห่่งการเรีียนรู้้


60 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข บรรณานุกรม National University. (n.d.). Qualities of a Good Teacher: The 14 Qualities That Top Our List. https://www.nu.edu/blog/qualities-of-a-good-teacher/ Raudys, J. (July 31, 2020). 6 Key Qualities of a Good Teacher and 25 Ways to Live Them Out. https://www.prodigygame.com/main-en/blog/qualities-ofa-good-teacher/ แบบไม่่มีีขีีดจำกััด คณะครุุศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยสวนดุุสิิต ถืือเป็็นหลัักสููตรแรก ที่่�นำ iPad มาเป็็นเครื่่�องมืือในการเรีียนรู้้และประเมิินการเรีียนรู้้ของบััณฑิิต ทำให้้ บััณฑิิตเกิิดความมั่่�นใจในการใช้้เทคโนโลยีีอย่่างเหมาะสมและปลอดภััยต่่อผู้้เรีียน การออกแบบหลัักสููตรที่่�สร้้างมููลค่่าเพิ่่�มให้้กัับบััณฑิิต จากความต้้องการของ ผู้้ใช้้บััณฑิิตสู่่การออกแบบรายวิิชา เช่น่ การใช้อู้คููเลเล่่เป็็นเครื่่�องดนตรีีสำหรับพััฒนา เด็็กปฐมวััย และการสอนแบบมอนเตสซอรี่ ่� นวััตกรรมพััฒนาผู้้เรีียนโดยได้้รัับความรู้้ จากผู้้เชี่่�ยวชาญที่่�มีีชื่่�อเสีียงของประเทศ เพื่่�อสร้้างความมั่่น�ใจต่่อการประกอบอาชีีพครูู ในอนาคต การเปลี่่�ยนแปลงในระยะเวลาหลายปีีที่่�ผ่่านมาสู่่การครองใจผู้้ใช้้บััณฑิิตอย่่าง ต่่อเนื่่�อง เป็็นการสร้้างครููดีีสู่่สัังคมเพื่่�อพััฒนาศิิษย์์ให้้เป็็นคนดีี และพััฒนาสัังคม ให้้น่่าอยู่่อย่่างมีีความสุุข ดัังคำกลอนของท่่านหม่่อมหลวงปิ่่� น มาลากุุล ที่่�ว่่า “กล้้วยไม้้มีีดอกช้้า ฉัันใด การศึึกษาเป็็นไป เช่่นนั้้�น แต่่ดอกออกคราวไร งามเด่่น งานสั่่�งสอนปลููกปั้้�น เสร็็จแล้้วแสนงาม”


61 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ครููเป็็นผู้้มีีบทบาทสำคััญต่่อการจััดการศึึกษา ให้้กัับเด็็กและเยาวชนไทย ครููเปรีียบเสมืือนต้้นแบบ แห่่งความดีีที่่�อยู่่ใกล้้ชิิดศิิษย์์ และศิิษย์์สามารถปฏิิบััติิ ตามต้้นแบบแห่่งความดีีนั้้�นโดยง่่ายด้้วยการมองเห็็น แบบอย่่างที่่�ดีีที่่�เป็็นรููปธรรมจากการปฏิิบััติิของครูู เมื่่�อครูดีีศิูิษย์ย่์ ่อมดีี เจริิญรอยตามครูู โดยความดีีสามารถ ก่่อให้้เกิิดความสุุขได้้ง่่าย ความสุุขนำมาสู่่ความสงบ สัันติิ ครููจึึงเปรีียบเสมืือนเป็็นผู้้นำเพื่่�อสร้้าง การเปลี่่�ยนแปลงให้้เกิิดขึ้้นกั�บผู้้ ัเรีียนและการเปลี่่�ยนแปลง ของสัังคมไปในทิิศทางที่่�ดีี โดยเป็็นผู้้มีีบทบาทหลััก ในการพััฒนาคุุณภาพทางการศึึกษาเพื่่�อให้้เกิิดการพััฒนา ที่่�ยั่่�งยืืนตามกระแสของการพััฒนาของโลก ครดีสอนดี ศิษย์ดีเรียนดี ูมีความสุข เพ ื่ อคุณภาพทางการศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน รศ.ดร.อรพรรณ บุตรกตัญญู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


62 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข จุุดมุ่่งหมายสำคััญของการจััดการศึึกษาตั้้�งแต่ยุ่คุเริ่่�มต้น้ คืือ การให้ผู้้้เรีียนบรรลุถึุึง ความดีีความงาม และความจริิง ความดีีที่่�สามารถเข้้าถึึงได้้และทำให้้ดีีขึ้้�นได้้ล้้วนแต่่ มีีต้้นกำเนิิดจากการมีีครููดีีที่่�เปรีียบเสมืือนกััลยาณมิิตรของศิิษย์์ ประกอบด้้วย 1) เป็็นผู้้ที่่�น่่ารัักศิิษย์์พบเห็็นแล้้วรู้้สึึกสบายใจ ยิ้้�มแย้้มแจ่่มใส พููดจาไพเราะอ่่อนหวาน เอาใจใส่่อบรมสั่่�งสอนศิิษย์์ คอยชี้้�นำตัักเตืือนห้้ามปรามมิิให้้กระทำสิ่่�งที่่�ไม่่ถููกไม่่ควร เป็็นผู้้ที่่�มีีเมตตาหวัังดีีต่่อเด็็กเสมอ ครููคอยเป็็นที่่�ปรึึกษา ให้้กำลัังใจปลอบประโลมใจ ในยามที่่�ศิิษย์์มีีความทุุกข์์ 2) เป็็นผู้้น่่าเคารพ ครููประพฤติิตนเหมาะสมแก่่ฐานะ ของความเป็็นครูู กระทำตนให้้เป็็นแบบอย่่างที่่�ดีีแก่่ศิิษย์์ทั้้�งพฤติิกรรมทางกายและ ทางวาจา จิิตใจสงบเยืือกเย็็น มีีเหตุุมีีผล เสมอต้้นเสมอปลาย 3) เป็็นผู้้น่่าเจริิญใจหรืือ น่่ายกย่่อง ครูมีีคูวามรอบรู้้อย่่างแท้้จริิง มีีคุุณธรรมความดีีควรแก่่การเคารพของศิิษย์์เสมอ หมั่่�นฝึึกอบรมตนให้้เจริิญงอกงาม ศึึกษาหาความรู้้อยู่่เสมอ เป็็นผู้้มีีวิิสััยทััศน์์ เปิิดใจ รัับความรู้้ใหม่่ พััฒนาชีีวิิตความเป็็นอยู่่ให้้เจริิญก้้าวหน้้า 4) เป็็นผู้้มีีระเบีียบแบบแผน ครููคอยอบรมสั่่�งสอนให้้ศิิษย์์เป็็นผู้้มีีระเบีียบแบบแผน 5) เป็็นผู้้อดทนต่่อคำพููดที่่� มากระทบต่่อความรู้้สึึก เพราะบางครั้้�งคำพููดของศิิษย์์ที่่�กล่่าวออกมานั้้�นอาจจะ ทำให้้ครููรู้้สึึกไม่่พอใจหรืือไม่่สบายใจ ครููต้้องอดทนและพร้้อมที่่�จะรัับฟัังข้้อซัักถาม


63 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ให้ปรึ้ ึกษาหารืือและให้ค้ำแนะนำ 6) เป็็นผู้้มีีความสามารถในการสอน มีีความสามารถ ในการใช้้คำพููดอธิิบายเรื่่�องราวต่่าง ๆ ให้้ศิิษย์์ฟัังได้้อย่่างแจ่่มแจ้้งและอธิิบายเรื่่�อง ที่่�ยุ่่งยากซัับซ้้อนให้้เข้้าใจได้้ง่่าย รวมทั้้�งหาวิิธีีการที่่�สามารถทำให้้ศิิษย์์เข้้าใจได้้ง่่ายที่่�สุุด และ 7) เป็็นผู้้ไม่่ชัักนำศิิษย์์ไปในทางที่่�เสื่่�อม ไม่่ประพฤติิสิ่่�งที่่�เสื่่�อมและหลีีกเลี่่�ยง สิ่่�งที่่�เป็็นอบายมุุขทั้้�งปวง ความเป็็นกััลยาณมิิตรของครููต่่อศิิษย์์นั้้�น ครููเป็็นผู้้ตั้้�งมั่่�นอยู่่ในความดีีและ การประพฤติปิ ฏิิบััติิในความดีีนำไปสู่่การสอนที่่�ดีี โดยครูดีีูสอนดีีไม่่ได้้หมายถึึงการสอน เนื้้�อหาที่่�ยากให้้ศิิษย์์เข้้าใจโดยง่่ายและสร้้างความรอบรู้้ให้้ศิิษย์์แต่่เพีียงเท่่านั้้�น อีีกทั้้�ง ไม่่ได้้หมายถึึงมีีวิธีีิการสอนและกลยุทธ์ุ์ที่่�หลากหลายในการพััฒนาทัักษะ ความสามารถ หรอสมรรืถนะของศิษย์ให้ก้าวหน้ามากขึ้น ที่ทำำ� ให้ศิษย์พร้อมที่มีศักยภาพทงใั้นการเรยีน และการทำำ�งานเช่นกัน แต่หมายรวมถึงการอบรมสังสอ่นด้วยความเอาใจใส่และการเปน็ แบบอย่างแห่งความดงาม ีทงั้นี้เพอให้ ื่ ศิษย์เกิดเจตคติที่ดต่อการเร ียีนรู้ มีทศนคั ติที่ดต่อี การใช้ชีวิต มีความเห็นอกเห็นใจและมีความปรารถนาดีต่อผู้อื่น การมีความรับผิดชอบ ต่่อส่่วนรวมและการทำประโยชน์์ต่่อสัังคมโลกในฐานะพลเมืือง ซึ่่�งการเป็็นครููดีีสอนดีี ตั้้�งมั่่น�อยู่่ในความดีีและการประพฤติปิ ฏิิบััติิในความดีีของครููเป็็นต้น้แบบนำไปสู่่การเป็็น ศิิษย์์ดีีเรีียนดีีที่่�เกิิดจากครููดีีสอนดีีส่่งผลให้้ศิิษย์์ได้้มีีการพััฒนาตนเองอย่่างต่่อเนื่่�อง การพััฒนาตนเองจากการเรีียนดีี เป็็นการสร้้างการเรีียนรู้้ตลอดชีีวิิตส่่งผลให้้มีีความสุุข ในการเรีียน การใช้้ชีีวิิต และการประกอบอาชีีพ ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุขนัับเป็็นหััวใจสำคััญของการศึึกษาเพื่่�อ การพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืน เป็็นการเรีียนรู้้ตลอดช่่วงชีีวิิต (Lifelong Learning) และเป็็นส่่วนสำคััญ ของการศึึกษาที่่�มีีคุุณภาพ (SDG 4) มีีความเกี่่�ยวข้้องกัับผู้้เรีียนทุุกคนอย่่างแท้้จริิง เพื่่�อรัับมืือกัับความท้้าทายที่่�ต้้องเผชิิญในปััจจุุบััน โดยเป็็นการศึึกษาแบบองค์์รวมและ เพื่่�อสร้้างการเปลี่่�ยนแปลง เสริิมพลัังผู้้เรีียนทุุกช่่วงวััยที่่�ไม่ว่่ ่าจะอยู่่ในรูปูแบบการศึึกษาใด ให้้สามารถเปลี่่�ยนแปลงตนเองและสัังคมที่่�ตนอยู่่ได้้ การศึึกษาเพื่่�อการพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืน ได้้รัับการยอมรัับว่่าเป็็นกุุญแจสำคััญในการบรรลุุเป้้าหมายเพื่่�อการพััฒนาที่่�ยั่่�งยืืน ภายในปีี พ.ศ. 2573


64 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข เมื่่�อครููดีีสอนดีีศิิษย์์ย่่อมดีี และเมื่่�อศิิษย์์ดีี ย่่อมเรีียนดีี การเรีียนที่่�ดีีย่่อมนำไปสู่่ความสุุข ความสุุข ของศิิษย์์ คืือ การได้้เรีียนรู้้สิ่่�งใหม่่ๆ ได้พั้ ัฒนาตนเอง และสามารถประสบความสำเร็็จในชีีวิิต ส่่วนความสุุข ของครููนั้้�น คืือ การได้้เห็็นศิิษย์์เติิบโต ก้้าวหน้้าและ นำความรู้้ที่่�ได้้สั่่�งสอนไปใช้้ประโยชน์์ได้้ การศึึกษาเป็็นสิ่่�งสำคััญที่่�ช่่วยในการพััฒนา ความคิด และเปล ี่ ยนแปลงชีวิตของคนไปในทางที่ดี และทำ�ำให้ประสบความสำ�ำเร็จนั้น ไม่เพียงแต่อยู่ที่ ความสามารถของศิษย์เพยงอย่างเด ี ยว แต่ยังอ้างอิง ี ไปที่ครูที่ทำำ�หน้าที่สอนและแนะนำำศ� ิษย์ครูเปนบ็คคุล สำคััญที่่�มีีบทบาทต่่อการพััฒนาการศึึกษาของชาติิ ครููที่่�ดีีจึึงควรเป็็นผู้้มีีความรู้้ความสามารถ มีีจิิตวิิญญาณ คร ู ด ี สอนดี ศิษย์ดีเรียนดี มีความสุข ผศ.ดร.ชนินทร์ ฐิติเพชรกุล


65 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ความเป็็นครูู มีีความรััก ความเมตตาต่่อศิิษย์์ เป็็นผู้้สร้้างแรงบัันดาลใจให้้กัับศิิษย์์ เป็็นผู้้ชี้้�นำให้้ศิิษย์์รู้้จัักคิิด รู้้จัักตััดสิินใจ รู้้จัักแก้้ปััญหา และรู้้จัักอยู่่ร่่วมกัับผู้้อื่่� น อย่่างมีีความสุุข ครููจึึงมีีบทบาทหน้้าที่่�สำคััญต่่อการพััฒนาศิิษย์์ ครููเป็็นผู้้ทำหน้้าที่่� ถ่่ายทอดความรู้้ ทัักษะ และประสบการณ์์ให้้กัับศิิษย์์ ช่่วยให้้ศิิษย์์มีีความรู้้ ความสามารถ พััฒนาตนเองได้้อย่่างเต็็มที่่� และเติิบโตเป็็นผู้้ใหญ่่ที่่�มีีคุุณค่่าสมบููรณ์์ ทุุกด้้าน บทบาทหน้้าที่่�ของครููดัังคำว่่า “TEACHERS” ซึ่่�งมาจาก T (Teaching) การสอน ครูเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมาย จากสังคมให้ทำ�ำหน้าที่ ถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ให้กับศิษย์ ครูจึงต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต ยึึดมั่่�นในจรรยาบรรณวิิชาชีีพ ครููจึึงต้้องมีีความรู้้และทัักษะที่่�ทัันสมััย สามารถ ประยุุกต์์ใช้้เทคโนโลยีีเพื่่�อการเรีียนรู้้ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ เป็็นผู้้สร้้างการเรีียนรู้้ ที่่�มีีคุุณภาพให้้กัับศิิษย์์ โดยใช้้วิิธีีการสอนที่่�หลากหลายเน้้นศิิษย์์เป็็นศููนย์์กลาง ช่่วยให้้ศิิษย์์เกิิดการเรีียนรู้้อย่่างแท้้จริิง E (Ethics) จริิยธรรม ครููต้้องมีีหน้้าที่่�และความรัับผิิดชอบต่่อการอบรม ปลููกฝัังคุุณธรรมจริิยธรรมให้้แก่่ศิิษย์์ ซึ่่�งถืือว่่าเป็็นหน้้าที่่�หลัักอีีกประการหนึ่่�งของ ความเป็็นครูู ปฏิิบััติิหน้้าที่่�ด้้วยความรับผิั ิดชอบและมุ่่งมั่่น� ที่่�จะพััฒนาศิิษย์์ให้้เป็็นคนดีี มีีคุุณธรรมมีีวิิชาความรู้้และสามารถดำรงชีีวิิตได้้อย่่างมีีความสุุข A (Academic Advisor) วิิชาการ ครููต้้องมีีหน้้าที่่�และความรัับผิิดชอบ ต่่อวิิชาการทั้้�งของตนเองและของศิิษย์์ ซึ่่�งความจริิงแล้้วงานของครููต้้องเกี่่�ยวข้้องกัับ วิชาการอยู่ตลอดเวลาเพราะวิชาชีพครูต้องใช้ความรู้เป็นเคร ื่ องมือในการประกอบ วิชาชีพครูเป็นผู้ให้คำ�ำปรึกษาและคำ�ำแนะนำ�ำแก่ศิษย์ C (Communicator) สื่่�อสาร ครููเป็็นผู้้สื่่�อสารความรู้้ ทัักษะ และ ประสบการณ์์ให้กั้บศิั ิษย์์ ครูจึูึงต้้องมีีความชััดเจน เข้้าใจง่่าย และใช้้ภาษาที่่�เหมาะสม กัับวััยและระดัับของศิิษย์์ ครููที่่�สอนดีีไม่่เพีียงแค่่สื่่�อสารได้้ดีี แต่่ยัังสร้้างความเข้้าใจ และเห็็นคุุณค่่าในแต่่ละศิิษย์์ และความพิิเศษในการปรัับตััวให้้เข้้ากัับศิิษย์์แต่่ละคน ซึ่่�งทำให้้ทุุกคนรู้้สึึกว่่าพวกเขามีีส่่วนร่่วมและได้้รัับการใส่่ใจจากครูู H (Human Relationship) มนุุษยสััมพัันธ์์ ครููเป็็นผู้้ที่่�รัักและเมตตาเด็็ก ครูจึูึงต้้องเข้้าใจธรรมชาติิของเด็็ก มีีมนุุษยสััมพันธ์ั ์ที่่�ดีีจะก่่อให้้เกิิดประโยชน์ต่์ ่อตนเอง และหมู่่คณะ โดยเฉพาะอย่่างยิ่่�งประโยชน์ต่์ ่อโรงเรีียน เป็็นผู้้สร้้างบรรยากาศการเรีียนรู้้


66 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ที่่�อบอุ่่นและเอื้้�อต่่อการเรีียนรู้้ การสร้้างมนุุษยสััมพัันธ์์กัับบุุคคลต่่างๆ ที่่�ครููต้้อง เก ี่ยวข้องสัมพันธ์ด้วย E (Evaluation) ประเมิินผล ครููต้้องมีีหน้้าที่่�และความรัับผิิดชอบต่่อ การประเมิินผลต่่อการเรีียนของศิิษย์์ งานของครููในด้้านนี้้�ถืือว่่ามีีความสำคััญมาก อีีกประการหนึ่่�ง ทั้้�งนี้้�เพราะการประเมิินผลการเรีียนการสอนเป็็นการวััดความเจริิญ ก้้าวหน้้าของศิิษย์์ในด้้านต่่าง ๆ ครููเป็็นผู้้ที่่�กระตืือรืือร้น้ ที่่�จะถ่่ายทอดความรู้้และทัักษะ ให้กั้บศิั ิษย์์ ครูจึูึงต้้องมีีความสนุุกสนานในการจััดกิิจกรรมการเรีียนการสอน ช่่วยให้ศิ้ิษย์์ เกิิดความสนใจและอยากเรีียนรู้้ R (Research) การวิจัย ครูต้องเป็นนักแก้ปัญหา และศึกษาหาความรู้จาก ความจริิงที่่�เชื่่�อถืือได้้ ซึ่่�งการที่่�จะแก้้ปััญหาได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพครููจะต้้องทราบ สาเหตุุที่่�แท้้จริิงของปััญหา เหตุุนี้้�ทำให้้การวิิจััยเป็็นสิ่่�งที่่�จะช่่วยให้้ครููได้้ข้้อมููล ที่่�เป็็นจริิงและน่่าเชื่่�อถืือเพื่่�อนำไปใช้้พััฒนากระบวนการเรีียนการสอน นอกจากบทบาทหน้้าที่่�ข้้างต้้นแล้้วในโลกมีีการเปลี่่�ยนแปลงอย่่างรวดเร็็ว ครูจึูึงต้้องปรับตััวให้ทั้นกับัการเปลี่่�ยนแปลงของโลก ครูตู้้องมีีความรู้้และทัักษะที่่�ทันัสมััย สามารถประยุุกต์์ใช้้เทคโนโลยีีเพื่่�อการเรีียนรู้้ได้้อย่่างมีีประสิทิธิิภาพ ครูตู้้องเป็็นผู้้สร้้าง แรงบัันดาลใจให้้กัับศิิษย์์ ช่่วยให้้ศิิษย์์มีีเป้้าหมายในชีีวิิตและมีีความมุ่่งมั่่�นที่่�จะ พััฒนาตนเอง ความท้้าทายของครููในยุุคปััจจุุบััน ได้้แก่่ 1) ความเปลี่่�ยนแปลงของ บริบททางสังคม สังคมมีการเปล ี่ ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ครูจึงต้องปรับตัวให้ทันกับ การเปลี่่�ยนแปลงของสัังคม เข้้าใจวััฒนธรรมและค่่านิิยมที่่�หลากหลาย ตระหนัักถึึง สิิทธิิและหน้้าที่่�ของตนเองในฐานะพลเมืืองโลก 2) ความเปลี่่�ยนแปลงของเทคโนโลยีี มีีการพััฒนาอย่่างรวดเร็็ว ครููจึึงต้้องมีีความรู้้และทัักษะในการใช้้เทคโนโลยีี เพื่่�อการเรีียนรู้้ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ ประยุุกต์์ใช้้เทคโนโลยีีเพื่่�อการเรีียนรู้้ได้้อย่่าง สร้้างสรรค์์ 3) ความเปลี่่�ยนแปลงของการเรีียนรู้้ การเรีียนรู้้ไม่่ได้้จำกััดอยู่่ภายใน ห้้องเรีียนเท่่านั้้น�ครูจึูึงต้้องเป็็นผู้้สร้้างการเรีียนรู้้ที่่�หลากหลาย เน้นศิ้ ิษย์์เป็็นศูนย์ู์กลาง ช่่วยให้้ศิิษย์์เกิิดการเรีียนรู้้อย่่างแท้้จริิง 4) ความเปลี่่�ยนแปลงและท้้าทาย ด้้านเศรษฐกิิจ เศรษฐกิิจมีีการแข่่งขันสูัูง ครูจึูึงต้้องเป็็นผู้้สร้้างทัักษะแห่่งศตวรรษที่่� 21 ให้กั้บศิั ิษย์์ เช่น่ทัักษะการคิิดวิิเคราะห์์ ทัักษะการแก้ปั้ ัญหา ทัักษะการคิิดสร้้างสรรค์์ ทัักษะการทำงานร่่วมกััน ทัักษะการสื่่�อสาร ทัักษะการใช้้เทคโนโลยีีหากครููทุุกคน


67 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข สามารถปรับตััวและรับมืื ัอกับคัวามท้้าทายเหล่่านี้้�ได้้ ครูก็ู็จะสามารถทำหน้้าที่่�ของตน ได้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ และสร้้างศิิษย์์ที่่�มีีคุุณภาพให้้กัับชาติิได้้ การพััฒนาครููดีีสอนดีีจึึงมีีความสำคััญอย่่างยิ่่�ง หากครููเข้้าใจในบทบาทหน้้าที่่� ของตน การศึึกษาไม่่เพีียงแค่่เป็็นกระบวนการทางความรู้้เท่่านั้้�น แต่่ยัังเป็็น การเปิิดโอกาสให้้คนรู้้จัักและเรีียนรู้้จากประสบการณ์์ต่่างๆ ในชีีวิิต และทุุกที่่� ทุุกเวลาที่่�ผ่่านไปในห้้องเรีียน เราอาจได้้พบกัับครููที่่�มีีอิิทธิิพลในการสร้้าง สภาพแวดล้้อมการเรีียนรู้้ที่่�น่่าสนใจและมีีความสุุข ความสุุขในการเรีียนรู้้ไม่่ได้้มาจาก การได้้คะแนนสููงเท่่านั้้�น แต่่ยัังมาจากการพบเจอกัับความท้้าทายและพััฒนาตนเอง ในทุุกๆ ด้้าน การทำงานร่่วมกัันของครููดีีและศิิษย์์ดีีที่่�มีีความสุุขในการเรีียนรู้้ บรรณานุกรม ทิศนิา แขมมณีี. (2557). ปลุุกการสอนให้้มีชีวิีิตสู่่ห้้องเรียีนแห่่งศตวรรษใหม่่. การประชุุมวิิชาการ อภิวัิัฒน์์การเรีียนรู้้สู่่จุุดเปลี่่�ยนประเทศไทย. กรุุงเทพมหานคร: สำนัักงานส่่งเสริิมสัังคม แห่่งการเรีียนรู้้และคุุณภาพเยาวชน. นวพร ชลารัักษ์์. (2558). บทบาทของครูกัูบัการเรีียนการสอนในศตวรรษที่่� 21.วารสารวิิชาการ มหาวิิทยาลััยฟาร์์อีีสเทอร์์, 9(1), 64–71.


68 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข การเรีียนรู้้อย่่างมีี “ความสุุข” เป็็นเป้้าหมายหนึ่่�ง ของการศึึกษา ตามพระราชบััญญัติัิ การศึึกษาแห่่งชาติิ ที่่�ว่่า “การจััดการศึึกษาต้้องเป็็นไปเพื่่�อพััฒนาคนไทย ให้้เป็็นมนุุษย์์ที่่�สมบููรณ์์ ทั้้�งร่่างกาย จิิตใจ สติิปััญญา ความรู้้ และคุุณธรรม มีีจริิยธรรมและวััฒนธรรม ในการดำรงชีีวิิต สามารถอยู่่ร่่วมกัับผู้้อื่่� นได้้ อย่่างมีีความสุุข” หรืือที่่�เรีียกว่่า ดีี เก่่ง สุุข เมื่่�อพิิจารณาถึึง ความสุุขแล้้ว ได้้มีีนัักจิิตวิิทยาชาวอเมริิกััน ชื่่�อ มาร์ติ์นิ เซลิิกแมน (Martin Seligman) อธิิบายถึึง “ความสุุข” ว่่าประกอบด้้วย 3 ปััจจััย ได้้แก่่ 1) การรู้้จัักกัับความรู้้สึึกเชิิงบวกต่่อสิ่่�งที่่�ประสบ ความสำเร็็จ เช่่น รู้้จัักชื่ ่� นชมความสำเร็็จเล็็กน้้อย ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ผศ.อััษฎา พลอยโสภณ


69 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ในชีีวิิตประจำวััน 2) ชีีวิิตที่่�ดีีจากการใช้้จุุดแข็็งหรืือความสามารถของตนเอง เช่่น การรู้้จัักจุุดแข็็งของตนเอง และผู้้เรีียนชื่ ่� นชมถึึงกระบวนการมากกว่่าผลลััพธ์์ของ ความสำเร็็จ และ 3) ชีีวิิตที่่�มีีความหมาย ทำให้้มีีเป้้าหมายในชีีวิิต เช่่น สิ่่�งที่่�เรีียนรู้้นั้้�น มีีคุุณค่่า ประโยชน์์ อย่่างไรต่่อชีีวิิตประจำวัันของผู้้เรีียน จึึงเห็็นได้้ว่่า “ความสุุข” จะอยู่่ทุุกช่่วงเวลาของการเรีียนรู้้ของผู้้เรีียน ตั้้�งแต่่เริ่่�มต้้นการเรีียนรู้้ในห้้องเรีียน จนถึึงการใช้้ชีีวิิตในสัังคมโลก ดัังนั้้�น การสร้้างความสุุขในห้้องเรีียนในทุุกช่่วงเวลา ของการเรีียนเปรีียบเสมืือนแบบจำลองการชีีวิิตในโลกกว้้าง ถ้้าผู้้เรีียนใช้้ชีีวิิต ในห้้องเรีียนได้้อย่่างมีีความสุุข ก็็เป็็นจุุดเริ่่�มต้้นที่่�ดีีของการความการสร้้างความสุุข ต่่อไปในอนาคตได้้ “ครูู” จึึงเป็็นบุุคคลสำคััญที่่�จะสร้้างแบบจำลองการมีีความคิิด มุุมมอง และ การประพฤติิตนให้้สามารถมีีความสุุขได้้โดยเริ่่�มจากห้้องเรีียน โดยครููเป็็นต้น้แบบของ ความสุุขในการดำเนิินชีีวิิต บุุคลิิกลัักษณะที่่�สะท้้อนถึึงความสุุขในการใช้้ชีีวิิต ผู้้เรีียน จะซึึมซัับความสุุขนั้้�นจากความสนใจในตััวครูู เช่่น ครููดููมีีความสุุขกัับการสอนหรืือไม่่ ท่่าทีีของครูนัู้้น� เป็็นมิิตรต่่อนัักเรีียนหรืือไม่่ จากนั้้นผู้้�เรีียนก็็จะเริ่่�มจดจำภาพของความสุุข ในตััวครูู เช่่น ครููคนดีีดููอ่่อนโยน เป็็นมิิตร น่่าเข้้าหา สามารถอธิิบายเนื้้�อหาที่่�ยาก ให้ง่้่ายได้้ การเชื่่�อมโยงเนื้้�อหาเข้้ากับชีีวิ ั ิตประจำวันัของผู้้เรีียน ก็็จะทำให้ผู้้้เรีียนอยากเรีียน แม้้เนื้้�อหานั้้�นอาจจะยากหรืือไม่่น่่าสนใจก็็ตาม ผู้้เรีียนจะให้้ความสนใจต่่อตััวครูู ที่่�เป็็นสะพานเชื่่�อมต่่อไปพาผู้้เรีียนไปสู่่เนื้้�อหาที่่�ซับซ้ั ้อนได้้ เมื่่�อห้้องเรีียนมีีบรรยากาศ


70 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข แห่่งความสุุข ผู้้เรีียนจะแสดงพฤติิกรรม เช่่น อยากเข้้าเรีียน อยากแสวงหาคำตอบ ต่่อเนื้้�อหาที่่�ครููสอน การโต้้ตอบในชั้้น�เรีียน ทำให้ผู้้้เรีียนเกิิดการเรีียนรู้้ในเนื้้�อหาที่่�ครููสอน โดยผู้้สอนสะท้้อนพฤติิกรรมการเรีียนรู้้ของผู้้เรีียนนั้้น�โดยการชื่น ่� ชม กระบวนการเรีียนรู้้ ผู้้เรีียน เช่่น ความตั้้�งใจ ความพยายาม ตลอดจนสะท้้อนถึึงจุุดแข็็งหรืือจุุดเด่่น ของผู้้เรีียน เพื่่�อให้้ผู้้เรีียนได้้เห็็นถึึงกระบวนการเรีียนรู้้ของตนเองที่่�เกิิดจาก ความสามารถของผู้้เรีียนเอง ดัังภาพประกอบ ภาพ กระบวนการครููต้้นแบบสร้้างสุุขในห้้องเรีียน ผูเรียน ใหความสนใจครู ตนแบบความสุข ผูเรียนเกิด ภาพจดจำตอครู ตนแบบความสุข ผูเรียน แสดงพฤติกรรม สะทอนถึงความสุข ในการเรียนรู ครูชื่นชม กระบวนการความสุข ในการเรียนรู ของผูเรียน จึึงเห็็นได้้ว่่า ครููดีีสอนดีีศิิษย์์ดีีเรีียนดีีมีีความสุุข เป็็นปััจจััยที่่�สนัับสนุุน กระบวนการเรีียนรู้้ที่่�สะท้้อนถึึงความสุุขของผู้้เรีียนและผู้้สอน ในการเชื่่�อมโยง ความสุุขในห้้องเรีียนอันนั ำไปสู่่การเรีียนรู้้ที่่�มีีประสิทิธิิภาพของผู้้เรีียนผ่่านครูตู้น้แบบ ความสุุข สร้้างผู้้เรีียนให้มีีค้วามพร้้อมต่่อการมีีสุุขภาวะที่่�ดีี และเป็็นพลเมืืองโลกต่่อไป อ้้างอิิง Seligman, M. E. (2002). Authentic happiness: Using the new positive psychology to realize your potential for lasting fulfillment. Simon and Schuster.


71 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ใช่่เลยกัับคำกล่่าวนี้้� ถ้้าครููดีีและสอนดีีถ้้าศิิษย์์ดีี และเรีียนดีีความสุุขย่่อมเกิิดขึ้้�นในทุุกสถานการณ์์ของ การจััดการเรีียนการสอนหรืือแม้้แต่่สถานการณ์์ที่่�ไม่่ใช่่ การเรีียนการสอน แต่ค่ ำถามคืือจะทำอย่่างไรให้ค้ำกล่่าวนั้้น� เป็็นจริิง เพราะในปััจจุุบัันก็็มีีทั้้�งครููดีีแต่่สอนไม่่ดีีและ ครููไม่่ดีีแต่่สอนดีี หรืือศิิษย์์ดีีแต่่เรีียนไม่่ดีีและศิิษย์์ไม่่ดีี แต่่เรีียนดีีดัังนั้้�นจะทำอย่่างไรให้้ได้้ทั้้�งครููดีีและสอนดีี ได้้ทั้้�งศิิษย์์ดีีและเรีียนดีี จุุดเริ่่�มต้้นควรต้้องเริ่่�มที่่�ครูู เพราะถ้้าครููดีีและ สอนดีี ก็็จะสามารถทำให้้ศิิษย์์ดีีและเรีียนดีีได้้ นั่่�นหมายถึึง ครููต้้องดีีก่่อน การเป็็นครููที่่�ดีีแม้้ว่่าจะมีี ครูดีสอนดี ศิษย์ดีเรียนดี มีความสุข ผศ.ดร.สมโภชน์ พนาวาส


72 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข จรรยาบรรณวิิชาชีีพคอยควบคุุมพฤติิกรรมและเป็็นแนวทางปฏิิบััติิอยู่่แล้้วก็ค็งยัังไม่่เพีียงพอ เพราะถ้้าจิิตใจไม่่เป็็นครูู จรรยาบรรณก็ช่็ ่วยอะไรไม่่ได้้ ดัังที่่�ปรากฏเป็็นข่่าวอยู่่บ่่อยครั้้�ง เกี่่�ยวกัับพฤติิกรรมไม่่ดีีของคนเป็็นครูู ดัังนั้้�นการจะเป็็นครููที่่�ดีีต้้องเริ่่�มที่่� “ใจ” คนเป็็นครููเคยถามตััวเองหรืือไม่ว่่ ่า เรามาเป็็นครููเพราะอะไร เป็็นครููเพราะรััก ศรัทธัา ในอาชีีพนี้้�ใช่่หรืือไม่่ ถ้้าใช่นั่่่น�แหละ คืือ จุุดเริ่่�มต้น้ของครูดีีูปััจจััยแรกของการเป็็นครูดีีู คืือ ต้้องรัักและศรัทธั าในอาชีีพครูู ปััจจััยต่่อมา คืือ ครูตู้้องมีีเมตตา คืือ ปฏิิบััติต่ิ่อศิิษย์์ อย่่างมีีเมตตา เช่น่ ไม่่ลงโทษรุนุแรง สอนอย่่างมีีเมตตา ไม่่ใช้้สถานะความเป็็นครูขู่่มศิิษย์์ จนไม่่กล้้าพููดหรืือทำอะไรที่่�พวกเขาอยากจะทำ ต้้องคอยดููแลเอาใจใส่่พวกเขา เสมืือนบุคคุลในครอบครััว เสมืือนบุุตรหลานของตนเอง คอยให้ค้วามช่่วยเหลืือเมื่่�อศิิษย์์ เกิิดปััญหา ครูตู้้องสร้้างความไว้้วางใจอย่่างบริสุิทธิ์์ุ ที่่�สำคััญ คืือ ครูดีีู ไม่่ได้้เป็็นครููเฉพาะ เวลาสอนหรืือในเวลาราชการ แต่ต้่ ้องเป็็นครููในทุุกเวลาที่่�ศิิษย์ต้์ ้องการความช่่วยเหลืือ สิ่่�งเหล่่านี้้� คืือ การเป็็น “ครููดีี” และเพื่่�อรัักษาไว้้ซึ่่�งความเป็็น “ครููดีี” ครููจึึงต้้องมีี ความอดทนและอดกลั้้�นอีีกด้้วย กล่่าวคืือ อดทนต่่อสภาพงาน สภาพแวดล้้อม สภาพปััญหาต่่าง ๆ ให้้ได้้ และตามสภาวการณ์์และแนวคิิดทางสัังคมที่่�เปลี่่�ยนไป ครููจึึงต้้องมีีความอดกลั้้�น คืือ อดกลั้้�นต่่อความคิิดและพฤติิกรรมของศิิษย์์รวมถึึง ของเพื่่�อนร่่วมงานที่่�อาจไม่่เป็็นไปตามคาดหวัังด้้วยซึ่่�งเป็็นสิ่่�งที่่�ครููต้้องทำความเข้้าใจ เพื่่�อแก้้ปััญหาให้้ความอดกลั้้�นนั้้�นหายไป เมื่่�อมีีคุุณสมบััติิเป็็นครููดีีได้้แล้้ว ก็็ต้้องสอนดีีด้้วย คำว่่า “สอนดีี” คืือ สอนอย่่างไร เพีียงแค่่สอนสนุุกหรืือสอนตรงตามเนื้้�อหาแต่่ไม่่สนุุกจนทำให้น่้ ่าเบื่่�อ หรืือไม่่ ได้้สอนเนื้้�อหาแต่่อบรมจริิยามารยาทอย่่างเดีียว หากเป็็นเช่่นนี้้�ศิิษย์์ก็็คงไม่่เป็็น “ศิิษย์์ดีีและเรีียนดีี” แต่่คงเป็็นได้้อย่่างใดอย่่างหนึ่่�งหรืือเป็็นไม่่ได้้เลยทั้้�งสองอย่่าง “สอนดีี” คืือ สอนอย่่างไร ในข้้อเขีียนนี้้�ผู้้เขีียนไม่่ได้้อ้้างอิิงทฤษฎีีหรืือ คำจำกััดความจากแหล่่งใดหรืือจากใคร แต่่สรุปุมาจากการประสบการณ์ป์ ฏิิบััติิการสอน ที่่�อยู่่ในอาชีีพครููมาถึึง 42 ปีี ลองผิิดลองถููกด้้วยวิธีีิการต่่าง ๆ และจากการวิจัิัยการสอน ในชั้้�นเรีียนของผู้้เขีียนเอง โดยสรุุปว่่าการสอนดีีคืือ การทำให้้ศิิษย์์ได้้รัับความรู้้และ เปลี่่�ยนแปลงพฤติิกรรมได้้โดยไม่่รู้้ตััว โดยที่่�ศิิษย์์ไม่่รู้้ตััวเองว่่ารู้้เรื่่�องนี้้�มาตั้้�งแต่่เมื่่�อไร ตอนไหน การ “สอนดีี” จึึงไม่่ใช่่แค่่สอนสนุุกแต่่ไม่่ได้้ความรู้้ แต่่คืือการสอน โดยใช้้เทคนิิควิิธีีการใดๆ ก็็ได้้ที่่�สามารถทำให้้ศิิษย์์เป็็น “ศิิษย์์ดีีและเรีียนดีี” เชื่่�อว่่า


73 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข การได้้รัับความรู้้หรืือการซึึมซัับคำสอนโดยไม่่รู้้ตััว จะทำให้้ศิิษย์์เกิิดความเข้้าใจ ในความรู้้และการกระทำที่่�คงทนและยาวนานมากกว่่าการสอนแบบบอกความรู้้ บัังคัับให้้รู้้ บัังคัับให้้ทำ การเรีียนการสอนควรมีีความเพลิิดเพลิิน จะทำอย่่างไร ให้้การเรีียนเป็็นเสมืือนไม่่ใช่่การเรีียนการสอนเป็็นเสมืือนไม่่ใช่่การสอน ทำอย่่างไร จึึงจะเป็็นการ “คุุยความรู้้” จนท้้ายที่่�สุุดศิิษย์ท์ ำได้้ ปฏิิบััติิได้้ สอบได้้ นั่่น�หมายความว่่า ศิิษย์์ได้้เรีียนรู้้แล้้ว เมื่่�อได้ทั้้้ �งครูดีีูและสอนดีีแล้้ว การที่่�ศิิษย์์จะเป็็นศิิษย์ดีี์และเรีียนดีีจึึงไม่่ใช่่เรื่่�องยาก เพราะเป็็นผลที่่�เกิิดขึ้้�นตามมาเองจนในที่่�สุุดกลายเป็็นความสุุขของทุุกคนที่่�ร่่วม กิิจกรรม ส่่วนจะมีีวิธีีิการอย่่างไรนั้้น�ผู้้เขีียนเชื่่�อมั่่นว่�่า คนเป็็นครููสามารถคิิดประดิิษฐ์์เอง ขึ้้�นได้้ ผู้้เขีียนไม่่ได้้บอกว่่าควรทำหรืือจะต้้องทำอย่่างไร ด้้วยวิิธีีการใดเพราะไม่่มีี วิิธีีสอนใดดีีที่่�สุุดสำหรัับเด็็กทุุกคน ทุุกกลุ่่มหรืือทุุกโรงเรีียน เพราะแต่่ละที่่� แต่่ละคน แต่่ละกลุ่่ม อยู่่ในบริบทิ ที่่�ต่่างกันัดัังนั้้นครู�ูจะใช้วิ้ธีีิการอะไร ทำอย่่างไรก็็ได้้ ที่่�ทำให้ศิ้ิษย์์ ได้้รัับความรู้้และซึึมซัับพฤติิกรรมที่่�ดีีนั่่�นแหละคืือ “ครููดีี สอนดีี” แล้้วจะนำไปส่่ง ศิิษย์์ดีีเรีียนดีีและมีีความสุุข


74 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข “ศาสตร์์สำคััญที่่�สุุดที่่�ดิิฉัันจดจำ ยึึดถืือเป็็น หลัักมาจนทุุกวันนี้้ ัก็�คืื็อ การหาความรู้้ให้้แก่ตั่ ัวเอง การทำงานกัับอาจารย์์คุุณนิิลวรรณ ปิ่่� นทอง ที่่�สตรีีสาร ทำให้้ดิิฉัันตระหนัักว่่า คนทำหนัังสืือ ต้้องรู้้รอบ ต้้องทัันโลก ทัันเหตุุการณ์์ ทัันยุุคสมััย ทันคนั เท่่านั้้นยั�ังไม่่พอ ยัังต้้องเป็็นนัักคิิด นัักริิเริ่่�ม นัักทำอย่่างอุุตสาหะจริิงจััง...เพื่่�อประโยชน์์ต่่อ สาธารณะหลายประการ โดยเฉพาะวงการหนัังสืือ วรรณกรรมและภาษา” ที่่�ยกมาข้้างต้้นเป็็นคำกล่่าวหนึ่่�งของแม่่ ในการอภิิปรายเรื่่�อง “ศาสตร์์และศิิลป์์ แห่่งบรรณาธิิการกิิจ” ฉัันขอน้้อมนำมาให้้เป็็น ประหนึ่่�งวลีีบููชาพระคุุณแม่่ ผู้้เป็็นครููแห่่งชีีวิิต ครูในชีวิต จากหัวใจ สู่ปลายปากกา นรีภพ (สวัสดิรักษ์) จิระโพธิรัตน์ นายกสมาคมนักเขียน แห่งประเทศไทย


75 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ครั้้�งหนึ่่�ง แม่่เคยบอกกัับฉัันว่่า หน้้าที่่�ของบรรณาธิิการในการเขีียนบทนำนั้้�น เป็็นเรื่่�องสำคััญมากสำหรัับหนัังสืือเล่่มหนึ่่�ง เป็็นดั่่�งการ “เปิิดประตูู” ให้้ผู้้อ่่าน ได้รั้บรู้้ว่ ั ่ามีีเนื้้�อหาอะไรในแต่่ละฉบัับ ณ วาระนี้้� วันครูั ู ฉัันจึึงขออนุุญาต “เปิิดประตูู” ซึ่่�งมิิใช่่งานบทบรรณาธิิการเพีียงอย่่างเดีียว แต่่เป็็นการ เปิิดประตูู “จากหััวใจ... สู่่ปลายปากกา” มาด้้วยความรัักและรำลึึกในพระคุุณ ฉัันเคยพบกระดาษข้้อเขีียนหนึ่่�งของแม่่ในกระเป๋๋างานใบเก่่าๆ เปื่่�อยๆ ที่่�แม่่ทะนุุถนอม กระดาษแผ่่นยาวสีีเหลืืองที่่�ใช้้ขีีดเขีียนต้้นฉบัับมาตั้้�งแต่่เริ่่�มทำงาน สีีหมึึกที่่�ปรากฏบนลายอัักษรตััวเล็็กๆ มีีเข้้มบ้้างจางบ้้าง ล้้วนหาระยะเวลาเขีียนไม่่ได้้ แต่่เนื้้�อหายัังดำรงความร่่วมสมััย ข้้อเขีียนนั้้นชื่� ่�อว่่า ศิิลปะของการทำงานที่่�ประสบความสำเร็็จ มีีความตอนหนึ่่�งว่่า “มีีรากฐานอื่น  ่� ๆ อีีกหลายประการในตััวบุคคุลนั้้น� ที่่�ต้้องการเวลา ในการสร้้างสม จึึงจะประสบความสำเร็็จได้้...การทำงานให้้สำเร็็จลุุล่่วง ผู้้ทำจะต้้อง มีีนิิสััยที่่�ขยัันขัันแข็็ง คืือ มีีมานะ อุุตสาหะ เป็็นนัักสู้้ ไม่่ย่่อท้้อต่่ออุุปสรรคต่่างๆ มีีความพยายามที่่�จะเอาชนะอุุปสรรคให้้ได้้...พื้้�นฐานทางการศึึกษาก็็เป็็นสิ่่�งสำคััญ ในการทำงานให้้ประสบความสำเร็็จได้้ แต่่พื้้�นฐานก็็ยัังไม่่สำคััญเท่่ากัับประสบการณ์์ และความสนใจที่่�จะใฝ่่หาความรู้้อยู่่เสมอ ศึึกษาทุุกๆ เรื่่�องรอบข้้าง...” ตลอดชวิตใ ีนการทำำ�งานของแม่ในหน้าที่บรรณาธิการอาวุโสนิตยสารสกุลไทย แม่่ทำงานมาด้้วยวิิริิยะ ขัันติิ เมตตา กรุุณา มุุทิิตา และอุุเบกขา แม่่มุ่่งหน้้าทำงาน ด้้วยใจ ด้้วยความรัักอัักษรและภาษา ด้้วยตั้้�งใจรัักษาคุุณภาพและความถููกต้้อง ด้้วยประการทั้้�งปวง เพื่่�อดำรงความเป็็นหนัังสืือที่่�มีีคุุณค่่าไว้้ในบรรณพิิภพ พร้้อมกัับ ที่่�คุุณแม่่ได้้ทำหน้้าที่่�พาปลายปากกาช่่วยเสริิมสร้้างไมตรีีจิิตมิิตรภาพในหมู่่ มวลมนุุษยชาติิ เป็็นหนทางนำไปสู่่ความสงบสุุขในสัังคมได้้ อัันส่่งนััยยะถึึงการยึึด หลัักธรรมในการทำงาน บางครัง้ฉนัจะพบข้อคิดอันก่อประโยชน์แก่ผู้อ่านในงานเขยีนบทบรรณาธิการ เช่น “...ชีีวิิตคนเรามิิใช่่อยู่่ที่่�การขึ้้น�ลงทางเศรษฐกิิจด้้านเดีียว ปััจจััยสำคััญของชีีวิิต ก็็คืือ สติิและปััญญา ดัังที่่�พระพุุทธวััจนะและพระธรรมของศาสนาต่่างๆ มีีอยู่่ คล้้ายคลึึงกันั สติิและปััญญาจะช่่วยให้คน้เรามองเห็น็แสงสว่่างของชีีวิิต และก้้าวเดินิ ไปอย่่างถููกทาง ผู้้คนทั้้�งหลายจึึงใฝ่่หาความสงบสุุขเพื่่�อให้้เกิิดวุุฒิิทางปััญญา และ ดำเนิินชีีวิิตอย่่างถููกต้้องงดงามด้้วยสติิที่่�เตืือนตนอยู่่เสมอ”


76 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ฉันได้เห็นความรักหนังสือ และความคำ�ำนึงถึงความรับผิดชอบในงานของแม่ ที่เสนอแก่ประชาชนคนอ่านมาโดยตลอด ได้เห็นการทำ�ำงานที่ละเอียดถี่ถ้วนเพ ื่อมิให้ เกิดความผิดพลาดขึ้นได้ การทำงานสิ่่�งใดก็็ตาม หากกระทำด้้วยความพยายาม ความตั้้�งใจ และ ความเหนื่่�อยยากเป็็นปฐมแล้้ว ผลงานก็็ย่่อมอุุดมด้้วยคุุณภาพ การทำงานเราจะรู้้อยู่่ แต่่เพีียงงานที่่�กำลัังทำตามหน้้าที่่�เท่่านั้้น�ไม่่พอ เราต้้อง “รู้้รอบ” ศึึกษาเพิ่่�มพูนคูวามรู้้ อยู่่เสมอ และประสบการณ์์จะทำให้้เรา “รู้้ทััน” เพื่่�อทำให้้ไม่่เกิิดความผิิดพลาดขึ้้�น ฉนัขอกราบแทบเท้ามาด้วยความรักและรำำ�ลึกถึงพระคุณแม่ ผู้เปน็แบบอย่าง ของชวิตและการ ีทำำ�งาน ผู้เปน็ดวงใจ แม่ผู้เปน็ “ครูของชวิต” ี ที่เปรยีบดังในพุทธกถา ที่ว่า “กลฺฺยาณการีี กลฺฺยาณํํ” ผู้้ประพฤติิดีี ประกอบกรรมดีี ย่่อมได้้รัับความดีี ตอบสนอง


77 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข “ครููคืือ ผู้้ให้้” มิิใช่่เพีียงให้้ความรู้้ทางวิิชาการ แต่่อีีกหน้้าที่่� คืือ การให้้วิิชา “ความเป็็นมนุุษย์์” ซึ่่�งการที่่�ครููจะ สอนความเป็็นมนุุษย์์แก่่เด็็ก ๆ ได้้ ครููต้้องพััฒนาจิิต ของตนเองให้้เป็็นมนุุษย์ผู้้มีีจิ ์ ิตสะอาด สว่่าง สงบก่่อน คุุณสมบััติิเบื้้�องต้น้ของความเป็็นมนุุษย์์ที่่�ครูพึูึงมีี คืือ ความเมตตา ดัังคำสอนพระธรรมโอวาท สมเด็็จพระญาณสัังวร ความว่่า “ความเมตตา คืือ การปรารถนาให้ผู้้อื่้น ่� เป็็นสุุข แต่ป่ ระโยชน์์ของเมตตา กลับัให้ค้วามร่่มเย็น็แก่่ตนเองเป็็นลำดับัแรก” เพราะ ความเมตตาทำให้้ผู้้นั้้�นมีีจิิตใจอ่่อนโยน นุ่่มนวล เบาสบาย ใครเข้้าใกล้้ก็็พลอยร่่มเย็็นไปด้้วย ครููจึึง ต้้องเป็็นผู้้มีีจิิตเปี่่�ยมด้้วยเมตตา เป็็นต้้นแบบให้้เด็็ก ได้้สััมผััส เรีียนรู้้และซึึมซัับเอาเป็็นแบบอย่่าง โดยการสอนให้้เด็็กมีีเมตตาต่่อเพื่่�อนและสรรพสิ่่�ง ไม่่สอนให้้แย่่งชิิงแข่่งขัันเพื่่�อผลประโยชน์์ตน ความภาคภู ู มิิใจในตน (Self- Esteem) สร้้างได้้ด้้วยใจครูู ผศ.ดร.ศศิิพร ต่่ายคำ หลัักสููตรภาษาและการสื่่�อสาร คณะมนุุษยศาสตร์์และ สัังคมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยสวนดุุสิิต


78 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ครููต้้องเป็็นผู้้เห็็นอกเห็็นใจผู้้อื่่� น เข้้าถึึงหััวใจเด็็ก ไม่่นำตนเองไปตััดสิิน ให้้มอง ธรรมชาติิของเด็็กว่่า ย่่อมซุุกซน มีีสมาธิิในการเรีียนน้้อย ยิ่่�งเขาเป็็นเด็็กรุ่่นซีีหรืืออััลฟ่่า (Generation Z or Alpha) ที่่�เติิบโตท่่ามกลางเทคโนโลยีีและสื่่�อออนไลน์์ ที่่�สามารถ เลืือกรัับสื่่�อได้้ตามใจชอบและสื่่�อยัังตอบสนองอย่่างรวดเร็็ว ทำให้้เด็็กไม่่ต้้องอดทน รอคอย เมื่่�อครููมองเห็็นเหตุุปััจจััย ครููจะเข้้าใจและเกิิดความเมตตาที่่�อยากให้้เขา ได้้เรีียนรู้้ทำให้ครู้ ูไม่ตั่ ัดสินิเขาด้้วยโทสะ โมหะ มีีสติคิิดแก้ปั้ ัญหา ลองปรับัเนื้้�อหาวิิชา ค้้นหาวิิธีีการสอนและสร้้างสรรค์์กิิจกรรมที่่�สอดคล้้องกัับพฤติิกรรม ความชื่ ่� นชอบ และความต้้องการของเด็็กมากขึ้้�น นอกจากนี้้� เด็็กยัังต้้องการความมั่่�นคงปลอดภััยทางจิิตใจ ซึ่่�งสร้้างได้้จากใจ ที่่�เมตตาของครูู ทำให้้เด็็กรู้้สึึกอบอุ่่น ปลอดภััย โดยที่่�ครููไม่่ใช้้อำนาจ สามารถควบคุุม อารมณ์์ให้้มีีความมั่่�นคง ไม่่ขึ้้�นลงดั่่�งคลื่ ่� นมรสุุม มีีสติิ รู้้เท่่าทััน และระงัับอารมณ์์ นั้้�นได้้เอง เมื่่�อครููสามารถสร้้างความมั่่�นคงปลอดภััยทางจิิตให้้แก่่เด็็กได้้ ก็็จะเป็็น รากฐานสำคััญในการสร้้างความภาคภููมิิใจในตน (Self- Esteem) ของเด็็ก ๆ


79 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ทั้้�งนี้้� ครููสามารถสร้้างความภาคภููมิิใจในตนให้้แก่่เด็็กได้้ โดยใช้้การสื่่�อสาร เชิิงบวกกัับเด็็ก 5 ประการ ดัังนี้้� 1) การเสริิมแรงเชิิงบวกด้้วยวาจา กล่่าวชมเชย เมื่่�อเด็็กปฏิิบััติิดีีด้้วยความจริิงใจ ไม่่ดููถููกศัักยภาพของเขา 2) ให้้กำลัังใจและแง่่คิิด ยามเมื่่�อเด็็กผิิดพลาด สอนให้้เขารู้้จัักยอมรับคัวามผิิดพลาด เรีียนรู้้และให้้อภััยตนเอง ครููไม่่ควรแสดงกิิริิยาเชิิงลบ การตีี การแสดงสีีหน้้า แววตา น้้ำเสีียงเชิิงลบ การตำหนิิ เสีียดสีีประชดประชันั 3) สอนให้้เด็็กรััก เคารพตนเองและผู้้อื่น ่� ไม่่แกล้้งหรืือล้้อเลีียนผู้้อื่น ่� เห็็นอกเห็็นใจผู้้อื่่� น ครููเองก็็ไม่่ควรล้้อเลีียน ตั้้�งสมญานามที่่�ไม่่เคารพในตััวเด็็ก ถืือเป็็นการกลั่่�นแกล้้งทางวาจา (Bullying) 4) สอนให้้เด็็กมองเห็็นคุุณค่่าและภููมิิใจ ในตนเอง ไม่่เปรีียบเทีียบตนเองกัับผู้้อื่่� น ครููเองก็็ไม่่ควรเปรีียบเทีียบ ด้้อยค่่า และ ให้ค้วามยุติุธิรรม เสมอภาคแก่่เด็็กอย่่างเท่่าเทีียม และ 5) ครูคูวรรับฟัังเด็็ก เข้้าใจอารมณ์์ ความรู้้สึึกของเขา ยอมรัับในธรรมชาติิ ศัักยภาพ และความสามารถของเขา โดยไม่ค่าดหวัังหรืือกดดันัเขาจนเกินิไป ปล่่อยให้้เขาได้มีีอิ้ ิสระทางความคิิด ได้้เติบิโต ตามพััฒนาการอย่่างมีีความสุุขสมวััย การสื่่�อสารเชิิงบวกดัังกล่่าวจะทำให้้เด็็กวางใจในตััวครูู รู้้สึึกปลอดภััย กล้้าพููด และกล้้าแสดงออกกัับครูู และเป็็นการสร้้างความภาคภููมิิใจในตนให้้ในตััวเด็็ก ดัังนั้้�น หน้้าที่่�ที่่�สำคััญของครูู คืือ การสร้้างเด็็กให้้เป็็นมนุุษย์์ที่่�มีีจิิตเมตตา มีีความภาคภููมิิใจ ในตน ยอมรับัในคุุณค่่าของตนเองและผู้้อื่น ่� โดยมีีครููเป็็นแบบอย่่างที่่�ดีีงาม ถืือเป็็น “ทาน” หรืือบุุญอย่่างหนึ่่�งที่่�เกิิดจาก “การให้้” ด้้วยใจบริสุิทธิ์์ุอันัเป็็นมงคลสููงสุุดแห่่งวิิชาชีีพ มนุุษย์์ สมค่่า “ครููคืือ ผู้้ให้้”


80 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข คำว่่า “แม่่พิิมพ์์” ตามพจนานุุกรมไทย ฉบัับราชบััณฑิิตยสถาน มีีความหมายถึึง สิ่่�งที่่�เป็็น ต้น้แบบ เช่น่ แม่พิ่ ิมพ์ตั์ ัวหนัังสืือ โดยปริิยายหมายถึึง ครููอาจารย์์ซึ่่�งถืือว่่าเป็็นแบบอย่่างความประพฤติิ ของศิิษย์์ แต่่ในความเป็็นจริิงของสัังคมยุุคปััจจุุบััน ถ้้าเอ่่ยคำว่่า “แม่พิ่ ิมพ์์” เด็็กรุ่่นใหม่่อาจจะนึึกถึึงแม่พิ่ ิมพ์์ ที่่�เป็็นโลหะหรืือพลาสติิก น้้อยคนนัักที่่�จะยัังนึึกไปถึึง ครููผู้้เป็็นแบบอย่่าง ผู้้สอนผู้้สร้้างให้้ศิิษย์์มีีความรู้้ มีีความก้้าวหน้้า และแน่น่อนว่่า ยิ่่�งแทบไม่มีี่เด็็กรุ่่นใหม่่ คนไหนรู้้จัักคำ “เรืือจ้้าง” ว่่าหมายถึึงครููเช่น่เดีียวกันั วัันหนึ่่�งเมื่่�อหลายปีีก่่อน ขณะเก็็บข้้าวของ ของแม่่ที่่�เลี้้�ยงดููมาตั้้�งแต่่เล็็กจนโตใส่่กล่่องและ “แม่่พิิมพ์์” คำง่่าย ๆ ที่่ไม่่ร่่วมยุุคสมััย จุุฑามาศ ณ สงขลา เลขาธิิการสมาคมนัักเขีียน แห่่งประเทศไทย


81 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข แยกบางส่่วนไปบริิจาค ฉัันหยิบิไม้้ไผ่ด้่ ้ามยาวจากหลัังตู้้ข้้างเตีียงนอนแม่ขึ้้่น�มาพิิจารณา ไม้้ไผ่ผ่่ ่าซีีกด้้ามนี้้ถู�ูกลบเหลี่่�ยมคมจนเรีียบเนีียน ตรงปลายพันด้ั ้วยผ้้าสีีขาวเก่่าซีีด พินิิจดูู จึึงเห็็นว่่ามีีอัักขระคล้้ายจารยัันต์์ลงในผ้้าด้้วย นึึกย้้อนกลัับไปฉัันเคยเห็็นไม้้ด้้ามนี้้� มาก่่อน ตอนแม่่เกษีียณจากการเป็็นครููสอนนัักเรีียนพยาบาลที่่�จัังหวััดทางภาคใต้้ แม่่เก็บ็ ไม้ด้้้ามนี้้�ไว้บน้หลัังตู้้ ใส่ถ่าดกว้้างสีีทองมีีขาตั้้�งเตี้้�ยๆ และบอกว่่าเป็็นไม้้อาญาสิทธิ์์ ถ้้าออกคำสั่่�งใดแล้้วใช้้ไม้นี้้้ �เคาะโต๊๊ะทุุกคนจะเชื่่�อฟััง และเป็็นไม้้ที่่�ช่่วยให้้แม่่สอนลููกศิิษย์์ ได้้อย่่างราบรื่ ่� นมาโดยตลอด ฉัันเคยถามแม่่ว่่ามีีใครเคยถููกลงโทษด้้วยไม้้นี้้�บ้้างไหม แม่่ตอบว่่ามีีแต่่ไม่่มากหรอก แล้้วเล่่าอีีกว่่าคนที่่�ได้ลิ้้้�มรสความเจ็บ็จากไม้อั้ นนี้้ ั �ได้ดิ้บิได้ดีี้ เจริิญกว่่าเพื่่�อนคนอื่ ่� น ๆ แทบทุุกคน ฉัันถามว่่าลููกศิิษย์์ที่่�แม่่เคยตีีไม่่โกรธเหรอ แม่่ว่่าไม่่นะ เพราะแต่่ละคนยัังติิดต่่อ ยัังพบเจอและสนิิทสนมกัับแม่่จนถึึงทุุกวัันนี้้� ครั้้�งหนึ่่�งเมื่่�อมีีลููกศิิษย์์ลููกหาของแม่่ นััดกัันมาเยี่่�ยมคารวะครููถึึงที่่�บ้้าน ซึ่่�งก็็ แทบเป็็นประเพณีีทุุกปีี บางปีีก็็มีีคนเยอะ บางปีีก็็ลดน้้อยลงตามแต่่สะดวก ลููกศิิษย์์ ของแม่่เรีียกแม่่ว่่าครููทุุกคำ หลัังจากลููกศิิษย์์ของแม่่กลัับไป ฉัันเคยถามแม่่ว่่า “ครูู” มีีความหมายว่่าอย่่างไร แม่่ตอบอย่่างอารมณ์ดีีว่์ ่า ครููแปลว่่าผู้้สั่่�งสอน ผู้้ถ่่ายทอดความรู้้ มาจากภาษาสัันสกฤตว่่า คุุรุุ แปลอีีกอย่่างว่่าผู้้มีีความหนัักแน่่น ผู้้ควรแก่่การเคารพ ของศิิษย์์ ฉัันถามต่่อว่่าแล้้ว “แม่่พิิมพ์์” มีีความหมายต่่างกัันไหม แม่่ตอบอย่่างให้้ฉััน เข้้าใจง่่ายๆ ว่่า คำว่่าแม่่พิิมพ์์นั้้�นมีีความหมายว่่า “ผู้้ที่่�ประพฤติิตนเป็็นแบบอย่่างที่่�ดีีแก่่ศิิษย์์” ถ้้าหากเราทำสิ่่�งดีี ๆ สิ่่�งใด ให้้ลููกศิิษย์์ได้้เห็็น แล้้วเขาจดจำนำไปเป็็นแบบอย่่างชีีวิิตเขาเจริิญก้้าวหน้้า นั่่�นแหละ คืือหน้้าที่่�ของคนเป็็นแม่่พิิมพ์์ แล้้วทำไมถึึงมีีคนเปรีียบเทีียบว่่าครููเป็็นเรืือจ้้างล่่ะคะ? ฉัันผู้้ชอบมีีเรื่่�องมาคุุยกับัแม่ตั้้่ �งคำถามต่่อไปอีีก แม่ว่่ ่าแม่่ชอบคำว่่าเรืือจ้้าง เรืือจ้้างคืือ เรืือที่่�รับจ้ั ้างส่่งคนข้้ามฟาก เขานำมาเป็็นคำใช้้เปรีียบเปรยกับัอาชีีพครูู ว่่าเป็็นเหมืือน เรืือจ้้างที่่�ทำหน้้าที่่�ส่่งลููกศิิษย์์ขึ้้�นฝั่่�ง แต่่จริิงๆ แล้้วถ้้าเราทำอาชีีพเป็็นแค่่เรืือจ้้าง เราไม่่รู้้หรอกว่่าวิิชาความรู้้ที่่�เราสั่่�งสอนนั้้�นจะสามารถนำพาลููกศิิษย์์ไปสู่่จุุดหมาย ปลายทางที่่�สำเร็็จได้้จริิงหรืือไม่่ แม่่ชอบเป็็นครููมากกว่่า เป็็นครููกัับลููกศิิษย์์กัันแล้้ว ก็็เป็็นกัันไปตลอดชีีวิิต คอยดููแลให้้คำแนะนำชี้้�แนะในวัันที่่�ลููกศิิษย์์ต้้องการปรึึกษา ฉัันพยัักหน้้ารัับฟััง แล้้วก็็เห็็นจริิงตามนั้้�น ตลอดชีีวิิตของแม่่ แม่่ก็็ทำหน้้าที่่�ครูู เช่่นนั้้�นจริิงๆ


82 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ตอนเด็็กถ้้าเราดื้้�อ แค่่แม่่ขู่่ว่่าจะฟ้้องครููเราก็็กลััวไม่่กล้้าทำผิิด ยุุคสมััยของฉััน ไม้้เรีียวยัังถืือเป็็นอาวุุธประจำตััวสำหรัับครูู แต่่พอถึึงสมััยนี้้�การใช้้ไม้้เรีียวกัับศิิษย์์ ถืือเป็็นการใช้้ความรุุนแรง อย่่าว่่าแต่่ไม้้เรีียวเลยแค่่จะดุุด่่าว่่ากล่่าวลููกศิิษย์์ก็็อาจจะ เป็็นเรื่่�องเป็็นราวใหญ่่โตได้้เช่นกั่นั ขณะเขีียนบทความนี้้�ฉัันฟัังข่่าวครูคนูหนึ่่�งถููกฟ้้องร้้อง ว่่านำงบประมาณค่่าอาหารกลางวัันของนัักเรีียนชั้้�นอนุุบาลและประถมศึึกษา ไปทำ อาหารให้้กัับนัักเรีียนยากจนในชั้้�นมััธยมได้้กิินด้้วย ทำให้้ลููกๆ ซึ่่�งได้้รัับงบประมาณ ค่่าอาหารได้รั้บัอาหารที่่�ด้้อยคุุณภาพลงไปจากที่่�ควรจะเป็็น ฉัันมองเห็นค็ วามเป็็นครูู ผู้้ทำหน้้าที่่�มากกว่่าการให้ค้วามรู้้ เพราะเขาเสิร์ิ์ฟอาหารให้้เด็็กๆ อิ่่�มท้้อง เขาได้ท้ ำให้้ ความหิิวของเด็็กๆ ในการดููแลนั้้�นหายไป แม้้ว่่าเขาจะทำถููกตามหลัักมนุุษยธรรม ที่่�มนุุษย์์ควรจะมีี แต่่เป็็นความผิิดจริิงที่่�เถีียงไม่่ได้้ว่่าไม่่ได้้กระทำดัังที่่�ถููกกล่่าวหา ส่่งผลให้้เขาถููกออกจากราชการเพราะความผิิดนั้้�น อย่่างไรเสีียฉัันก็็เชื่่�อว่่าความผิิด ที่่�เขาน้้อมรัับจัักได้้รัับคำสรรเสริิญจากคนทั่่�วไป และความเป็็นครููในตััวเขาก็็จัักไม่่มีี ใครด้้อยค่่าได้้ เขายัังเป็็นครููอยู่่เสมอในใจลููกศิิษย์์ทุุกคน


83 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ปีนี้้�ฉัันมีีโอกาสกลับัไปกราบครููที่่�โรงเรีียนมัธัยมศึึกษาเดิิมที่่�เคยเรีียน ครููในวััย 80 ต้้น ๆ จำลููกศิิษย์์วััย 55 อย่่างฉัันไม่่ได้้ ครููว่่าอาจเพราะฉัันไม่่มีีวีีรกรรมใดๆ ให้้ครูู ปวดหััว ครููว่่าถ้้าคนไหนเป็็นตััวแสบประจำห้้องครููจึึงจะจำได้้ ครููดููมีีความสุุขมาก ที่่�ได้้เจอลููกศิิษย์์หลายรุ่่น ครููขอบคุุณพวกเราที่่�ไม่ลืื่มครูู ส่่งรถไปรับครูัูมาร่่วมงาน ฉัันเห็น็ รอยยิ้้�มและได้้ยิินเสีียงหััวเราะของครููแล้้วนึึกถึึงแม่่ยามมีีลููกศิิษย์์มาเยี่่�ยม ก่่อนกลัับ ครูพููดว่่า “ครูดีีูใจที่่�ได้ส่้่งลููกๆ จนถึึงฝั่่�ง ขอให้รั้ักผููกพันกันช่ั ่วยเหลืือกันั จะทำการใดๆ ขอให้้ใช้้สติิไตร่่ตรองก่่อนตััดสิินใจ สิ่่�งดีีสิ่่�งใดที่่�พวกหนููตั้้�งใจทำครููขออวยพรให้้สำเร็็จ ลุุล่่วงด้้วยดีีนะลููก” ฉัันกราบครููด้้วยความเคารพรััก ในความรู้้สึึกของฉัันนอกจากครููจะเป็็นผู้้อบรมสั่่�งสอน ถ่่ายทอดความรู้้ ฉัันถืือว่่าครูู คืือ ผู้้มีีพระคุุณ เป็็นผู้้ให้้แสงสว่่างแก่่ชีีวิิต รองลงมาจากพ่่อแม่่ครููทุุกคน ผู้้ประสิิทธิิประสาทวิิชาให้้แก่่ฉัันคืือพ่่อครููแม่่ครูู ผู้้ควรค่่าแก่่การเคารพยกย่่อง เป็็นประทีีปส่่องนำทางให้้ชีีวิิต ขอกราบครููทุุกท่่านด้้วยความเคารพ


84 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ปััจจุุบัันปฏิิเสธไม่่ได้้ว่่า วััฒนธรรมไทย นอกจากมีีความสวยงาม มีีเอกลัักษณ์์เฉพาะตััว ซึ่่�งยากจะเลีียนแบบ ยัังเป็็น “Soft Power” (ซอฟต์์ พาวเวอร์์) ที่่�ดึึงดููดความสนใจจากผู้้คนนานาประเทศ ให้้เข้้ามาทำความรู้้จััก ได้้ชื่ ่� นชมและเรีียนรู้้ว่่า ประเทศไทยมีีความร่่ำรวยทางศิิลปวััฒนธรรม ที่่�ส่่งต่่อมารุ่่นสู่่รุ่่น จากบรรพบุุรุุษถึึงยุุคสมััยใหม่่ ผสานเข้้ากัันได้้อย่่างลงตััว สร้้างงานสร้้างอาชีีพ ไปพร้้อมกัับสืืบสานประเพณีีให้้คงอยู่่สืืบต่่อไป ครููดีีศิิษย์์ได้้ “โนรา” เชื่่�อมภู ู มิิปััญญา ผสานซอฟต์์พาวเวอร์์ทางวััฒนธรรม อััจฉรา ทั่่�งโม นัักประชาสััมพัันธ์์ สพฐ.


85 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข “โนรา” หรืือมโนราห์์ เป็็นศิิลปะการแสดงพื้้�นบ้้านที่่�สืืบทอดกัันมายาวนาน และนิิยมอย่่างแพร่่หลายในพื้้�นที่่�ภาคใต้้ เป็็นการแสดงที่่�มีีแบบแผนการร่่ายรำ การขับร้ั ้องที่่�งดงามเป็็นเอกลัักษณ์์ มีีดนตรีีเป็็นลููกคู่่เล่นรั่บั-ส่่ง ตลอดการแสดง ผู้้รำโนรา สวมเครื่่�องแต่่งกายที่่�ทำด้้วยลููกปััดหลากสีีสวยงาม ซึ่่�งในปีี 2564 ได้้รัับการประกาศ ขึ้้�นทะเบีียนจากองค์์การศึึกษาวิิทยาศาสตร์์และวััฒนธรรมแห่่งสหประชาชาติิ (UNESCO) ให้้เป็็นรายการตััวแทน มรดกวััฒนธรรม ที่่�จัับต้้องไม่่ได้้ของมนุุษยชาติิ เป็็นอัันดัับที่่� 3 ของไทย รองจาก โขน (ปีี 2561) และนวดไทย (ปีี 2562) โรงเรีียนไทยรััฐวิทิยา 23 (วััดโคกโหนด) จัังหวััดพัทลุั ุง เป็็นโรงเรีียนหนึ่่�งที่่�เห็น็ ความสำคััญของการสืืบสานวััฒนธรรมโนรา ร่่วมกับัแหล่่งเรีียนรู้้ท้้องถิ่่น�และเครืือข่่ายชุุมชน โดยส่่งเสริิมให้้มีีหลัักสููตรท้้องถิ่่�น การเรีียนการสอนโนรา เพื่่�อให้้เยาวชนได้้สืืบสาน วััฒนธรรมประเพณีีโนราให้้อยู่่คู่่กัับชุุมชนตลอดไป นอกจากนี้้�ยัังพััฒนาโนราสู่่อาชีีพ โดยส่่งเสริิมให้้เป็็น 1 โรงเรีียน 1 ผลิิตภััณฑ์์ สร้้างรายได้้ให้้นัักเรีียนระหว่่างเรีียนด้้วย


86 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข นางนิศิารัักษ์์ กำจััดภััย ครููโรงเรีียนไทยรััฐวิทิยา 23 ได้้เล่่าให้ฟั้ ังว่่า ทางโรงเรีียน ได้้ประสานกัับชุุมชนในการนำปราชญ์์ชาวบ้้านเข้้ามาช่่วยสอน และบููรณาการผสาน การเรีียนโนราเข้้าไปในทุุกระดัับชั้้�น ตั้้�งแต่่ระดัับชั้้�นอนุุบาล ได้้ใส่่กิิจกรรมโนราเข้้าไป เพื่่�อพััฒนากล้้ามเนื้้�อมััดเล็็กมััดใหญ่่ ผ่่านการฝึึกท่่าร่่ายรำโนรา ฝึึกนัับตามจัังหวะเพลง ส่่วนในระดัับประถมศึึกษาได้้จััดกิิจกรรมชุุมนุุมที่่�เกี่่�ยวกัับโนรา อาทิิ ชุุมนุุมโนรา ชุุมนุุมตีีเครื่่�องโนรา ชุุมนุุมร้้อยลููกปััดโนรา เป็็นต้้น โดยในส่่วนของชุุมนุุมโนรา ได้น้ำภูมิูปัิัญญาท้้องถิ่่น�หรืือปราชญ์์ชาวบ้้านเข้้ามาช่่วยสอน เมื่่�อเด็็กรำเป็็น รำได้้จนเกิิด ความชำนาญแล้้ว ก็็จะส่่งต่่อให้้เครืือข่่ายชุุมชนในพื้้�นที่่� โดยเด็็กจะได้้ร่่วมรำโนรากัับ วงโนรามืืออาชีีพในชุุมชน ในช่่วงวัันหยุุดหรืือช่่วงปิิดภาคเรีียน ทำให้้เด็็กมีีรายได้้ ระหว่่างเรีียนด้้วยตััวเอง “ส่่วนชุุมนุุมร้้อยลููกปััดโนรา เราเปิิดโอกาสให้้เด็็กที่่�สนใจเข้้ามาเรีียนรู้้ การร้้อยลููกปััด โดยเริ่่�มจากการร้้อยแบบง่่าย ไปถึึงการร้้อยเป็็นลวดลายต่่างๆ จนเกิิด ความชำนาญ เมื่่�อได้้ผลิิตภััณฑ์์แล้้วก็็จะนำมาขายทางเพจเฟซบุ๊๊กของโรงเรีียน สร้้างรายได้้ ให้้นัักเรีียนอีีกทางหนึ่่�ง นอกจากนี้้� ยัังบููรณาการโนราเข้้ากับัการจััดการเรีียนการสอน ภาษาไทย โดยเรีียนรู้้ศััพท์์ต่่างๆ ที่่�เกี่่�ยวข้้อง ทำให้้เด็็กได้้เรีียนรู้้หลัักภาษาไทยและ ซึึมซัับวััฒนธรรมโนราไปพร้้อมกัันด้้วย” ครููนิิศารัักษ์์ กล่่าว เมื่่�อพููดคุุยกับัเด็็กๆ นัักเรีียนที่่�ได้้เรีียนรู้้โนรา ก็็พบว่่า เด็็กๆ มีีความสนุุกกับัการเรีียน และภููมิิใจที่่�ตนเองสามารถหารายได้้ช่่วยแบ่่งเบาภาระของพ่่อแม่่ได้้ อย่่างเช่่น ด.ญ.ชััชริินทร์์ เย็็นทั่่�ว (น้้องกิ่่�ง) เล่่าว่่า ตนเองรู้้สึึกสนใจและชอบการร้้อยลููกปััดโนรา เมื่่�อได้้เข้้ามาเรีียนรู้้ก็็ทำให้้มีีสมาธิิ มีีทัักษะความคิิดสร้้างสรรค์์จากการออกแบบ ลวดลายลููกปััด และดีีใจที่่�ได้้มาเรีียนกัับผู้้ใหญ่่ในชุุมชนซึ่่�งมีีความคุ้้นเคยกัันอยู่่แล้้ว


87 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ทำให้้เรีียนได้้สนุุกยิ่่�งขึ้้�น เช่่นเดีียวกัับ ด.ญ.อรไพลิิน โรจนรััตน์์ (น้้องต้้นน้้ำ) ที่่�เล่่าว่่า รู้้สึึกดีีใจที่่�โนราได้รั้บัการสืืบสานและเผยแพร่ต่่ ่อไป เพราะเป็็นวััฒนธรรมท้้องถิ่่น� ที่่�ตน ภาคภููมิิใจ และอยากเชิิญชวนเพื่่�อน ๆ ในภาคอื่ ่� น มาเรีียนรู้้วััฒนธรรมโนราด้้วยกััน เมื่่�อพิิจารณาแนวทางการขับัเคลื่่�อน Soft Power ประเทศไทยอย่่างบููรณาการ ซึ่่�งรััฐบาลมีีนโยบายให้้ความสำคััญกัับการส่่งเสริิม Soft Power ของประเทศไทย อย่่างต่่อเนื่่�อง เพราะเห็นว่็ ่าเป็็นเครื่่�องมืือช่่วยเพิ่่�มมููลค่่า รวมถึึงเพิ่่�มขีีดความสามารถ ในการแข่่งขัันของประเทศ อีีกทั้้�งเป็็นการส่่งเสริิมและสร้้างความเชื่่�อมั่่�นของ ประเทศไทยในเวทีีโลก ก็็พบว่่า หลัักสููตรการเรีียนการสอนโนราของโรงเรีียน ไทยรััฐวิิทยา 23 (วััดโคกโหนด) สอดคล้้องกัับแนวทางของรััฐบาลเป็็นอย่่างดีี ด้้วยความร่่วมมืือของผู้้บริิหาร คุุณครูู รวมถึึงเครืือข่่ายชุุมชน ปราชญ์์ชาวบ้้าน และ ผู้้ปกครองที่่�ร่่วมกัันส่่งเสริิมสนัับสนุุนให้้วััฒนธรรมโนราเข้้าถึึงเด็็กและเยาวชน รุ่่นใหม่่ ผ่่านการเรีียนการสอนในโรงเรีียน โดยไม่่ต้้องบัังคัับ แต่่ให้้เด็็กเกิิดความสนใจ สนุุกที่่�จะเรีียนรู้้และซึึมซัับความเป็็น “โนรา” ด้้วยความเต็็มใจ ซึ่่�งจะติิดตััวพวกเขา ไปอย่่างยาวนานและยั่่�งยืืน นัับเป็็นตััวอย่่างที่่�เห็็นได้้ชััดเจนว่่า “ครููดีีสอนดีีศิิษย์์ดีีเรีียนดีีมีีความสุุข” เกิิดขึ้้น�ได้้จริิง หากเราช่่วยกันขับัเคลื่่�อนการพััฒนายกระดับัการศึึกษาของประเทศไทย ก็็จะเกิิดขึ้้�นได้้อย่่างเป็็นรููปธรรม


88 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข จุุดมุ่่งหมายและหลัักการจััดการศึึกษา ของพระราชบััญญัติัิการศึึกษาแห่่งชาติิ เพื่่�อพััฒนา คนไทยให้้เป็็นมนุุษย์์ที่่�สมบููรณ์์ทั้้�งร่่างกาย จิิตใจ สติิปััญญาความรู้้และคุุณธรรม มีีจริิยธรรมและ วััฒนธรรมในการดำรงชีีวิิต สามารถอยู่่ร่่วมกัับ ผู้้อื่น ่� ได้้อย่่างมีีความสุุข รััฐมนตรีว่่ ีาการกระทรวง ศึึกษาธิิการ แถลงนโยบายการศึึกษา และแนวทาง การขัับเคลื่่�อนนโยบาย “เรีียนดีี มีีความสุุข” เพื่่�อยกระดับัคุุณภาพการศึึกษา นั่่น�หมายถึึง “ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข” ต้้องเริ่่�มจากความสุุข ทั้้�งผู้้เรีียน ผู้้สอน และผู้้ปกครอง เมื่่�อมีีความสุุข จะส่่งผลให้้การเรีียนดีีขึ้้�น เมื่่�อการเรีียนดีีขึ้้�น จะส่่งผลกลัับไปทำให้้มีีความสุุขมากยิ่่�งขึ้้�น จััดการเรีียนการสอนอย่่างไร ให้้เรีียนรู้้�อย่่างมีีความสุุข ดร.สุุนทรผไท จัันทระ วิิทยาลััยการอาชีีพอุุดรธานีี


89 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข การพััฒนาผู้้เรีียนให้้เป็็นบุุคคลที่่�มีีคุุณภาพทั้้�งทางร่่างกาย จิิตใจ สติิปััญญา มีีคุุณธรรมจริิยธรรมและวิิถีีชีีวิิตที่่�เป็็นสุุขตามที่่�มุ่่งหวัังโดยผ่่านกระบวนการทาง การศึึกษานั้้�น ต้้องนำหลัักการจิิตวิิทยาเชิิงบวกคู่่กัับหลัักจิิตวิิทยาอื่ ่� น ๆ เข้้ามาเป็็น ส่่วนสำคััญในการจััดการเรียีนการสอน เพื่่�อการเรียีนรู้้อย่่างมีีความสุขุจึึงก่่อให้้เกิิด แนวคิิดเรื่่�อง “Positive Education” ขึ้้�น หมายถึึง ระบบการเรีียนรู้้ที่่�มุ่่งเน้้น การพััฒนาทัักษะความสามารถตามความชอบ หรืือความถนััดของนัักเรีียนโดยใช้จิ้ิตวิทิยา เชิิงบวกเป็็นตััวส่่งเสริิมการอยู่่ดีีมีีสุุขทางสัังคมของนัักเรีียนเป็็นหลััก จากการศึึกษาวิจัิัย ยัังพบว่่า “Positive Education” ช่่วยแก้้ไขและบรรเทาปััญหาที่่�มีีมาอย่่างยาวนาน ในระบบการศึึกษาอัันเกิิดจากอิิทธิิพลของสภาพจิิตใจและสภาพการเป็็นอยู่่ ที่่�เข้้ามาเกี่่�ยวข้้อง การใส่่ใจสนัับสนุุนนัักเรีียนทางด้้านอารมณ์์และสภาพจิิตใจที่่�ดีี เพีียงพอ จะช่่วยส่่งเสริิมให้้นัักเรีียนมีีแนวโน้้มในการพััฒนาตนเองทางด้้านการเรีียนรู้้ การดำรงชีีวิิต รวมทั้้�งการเข้้าสัังคมได้้ดีีกว่่านัักเรีียนที่่�ไม่่ได้้รัับการใส่่ใจดููแล และ ให้้การสนัับสนุุนอย่่างเข้้าใจสภาพจิิตใจเท่่าที่่�ควร คุุณลัักษณะที่่�ดีีของครูู และคุุณภาพการเรีียนการสอนเป็็นเรื่่�องที่่�ควรให้้ ความสำคััญเป็็นอย่่างยิ่่�ง ซึ่่�งส่่งผลโดยตรงกัับการสร้้างความสุุขในการเรีียนรู้้ ตามที่่�


90 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข สุุวรรณา นาควิิบููลย์์วงศ์์ ได้้พบความสััมพัันธ์์ สาเหตุุการเรีียนรู้้อย่่างมีีความสุุข ของนัักเรีียนอาชีีวศึึกษามีี EQ ที่่�สามารถอยู่่ร่่วมกัับสัังคม ยอมรัับความแตกต่่าง ระหว่่างบุคคุล ว่่า ปััจจัยที่่ ัมี�อิีิทธิิพลตรงต่่อการเรียีนรู้้อย่่างมีีความสุขุมากที่่สุ�ุด คืือ คุุณภาพการเรียีนการสอน (บทเรีียน บรรยากาศในการเรีียนการสอน กิิจกรรมในการเรีียน การสอน สื่่�อการเรีียนการสอน และการประเมิินผลการเรีียนการสอน) รองลงมา คืือ คุุณลัักษณะของครูู ผู้้เรีียน เพื่่�อน และพ่่อแม่่ผู้้ปกครอง ตามลำดัับ โดยยัังพบว่่า เป็็นปััจจัยัสำคััญในภาพรวมที่่ส่่ �งผลต่่อการเรียีนรู้้อย่่างเป็็นสุขุคืือ คุุณลัักษณะของครูู (การเข้้าใจธรรมชาติิของผู้้เรีียน ทัักษะในการสื่่�อสาร รัักและเอาใจใส่่ผู้้เรีียน) โดยได้้ ดำเนิินการวิิจััยตามแนวคิิดทฤษฎีี ของ กิิตติิยวดีีบุุญซื่่�อ และคณะ ได้้แก่่ การสร้้าง ความรัักและศรััทธา (Love and Respect) ของผู้้เรีียนให้้มีีต่่อครูู การสร้้างให้้ผู้้เรีียน เห็็นคุุณค่่าของการเรีียนรู้้ (Learning Appreciation) เปิิดโอกาสให้้ผู้้เรีียนออกนอก ห้้องเรีียน รู้้สึึกเสรีี ไม่่กดดััน (Naturalization) สร้้างให้้ผู้้เรีียนการรู้้จัักตััวเอง พร้้อมจะปรับปรุ ัุง รู้้จัักระงับัอารมณ์์ (Willing and Firm) สร้้างให้ผู้้้เรีียนมีี EQ ที่่�สามารถ อยู่่ร่่วมกัับสัังคม ยอมรัับความแตกต่่างระหว่่างบุุคคล (Friendship) และการสร้้าง ชีีวิิตที่่�สมดุุล (Equilibrium of Life) ที่่�น่่าสนใจนั้้�น มีีหลากหลายทฤษฎีีและแนวคิิด


91 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ที่่�สอนให้้ผู้้เรีียนมีีความสุุข โดยการผนวกความสุุขเข้้ากัับการเรีียนรู้้และพััฒนา ความเป็็นมนุุษย์์ที่่�สมบููรณ์์แบบ เช่่น ทฤษฎีีบวกใจ (Positive Psychology) ซึ่่�งเน้้นการศึึกษาความสุุขและคุุณภาพชีีวิิตที่่�ดีี ทฤษฎีีการสร้้างสรรค์์นัักเรีียน (Constructivism) เน้้นการสร้้างความรู้้จากประสบการณ์์ของตนเอง การเรีียนรู้้ จากการทำ และการสร้้าง ทำให้้นัักเรีียนรู้้สึึกมีีความสุุขและมีีความท้้าทาย ทฤษฎีี การสร้้างแรงจููงใจ (Motivation Theory) การให้้ความสำคััญกัับการสร้้างแรงจููงใจ ในการเรีียนรู้้ และการสนัับสนุุนการตั้้�งเป้้าหมายที่่�สามารถบรรลุุได้้ การเสริิม ความเชี่่�ยวชาญให้้ครูู ในเรื่่�องทฤษฎีีความรู้้ด้้านจิิตวิิทยา (Social Emotional Learning) ซึ่่�งเน้้นการพััฒนาทัักษะทางอารมณ์์และสัังคม เพื่่�อสร้้างบรรยากาศ การเรีียนรู้้ที่่�เป็็นสุุข จะทำให้้ผู้้เรีียนมีีความคิิดเชิิงบวก (Positive Thinking) และ ที่่�สำคััญ ได้้แก่่ ทฤษฎีีการสร้้างความสััมพัันธ์์การเรีียนรู้้ (Relationship-Centered Learning) การเน้้นความสำคััญของความสััมพัันธ์์ในการเรีียนรู้้ทั้้�งความสััมพัันธ์์ ระหว่่างครููกัับนัักเรีียน และระหว่่างนัักเรีียนเอง เมื่่�อปรัับใช้้ทฤษฎีีที่่�เน้้นการสร้้าง ความสุุขในการเรีียนรู้้นี้้� อาจช่่วยให้้ผู้้เรีียนมีีประสิิทธิิภาพ และความสุุขในการศึึกษา มากขึ้้�น


92 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข การจััดการศึึกษาในด้้านอาชีีวศึึกษา ถืือได้้ว่่าเป็็นกลไกสำคััญในการขัับเคลื่่�อน ประเทศไทยให้้บรรลุุนโยบายและเป้้าหมาย ของแผนระดัับต่่าง ๆ จึึงต้้องพััฒนาระบบ การจััดการศึึกษาให้้เกิิดการจััดการศึึกษาที่่�สนองตอบ ต่่อการจััดการศึึกษาในศตวรรษที่่� 21 โดยมุ่่งเน้้น ให้้ผู้้เรีียนเป็็นผู้้ที่่�สามารถสร้้างองค์์ความรู้้ที่่�เป็็น ของตนเองขึ้้น�มา ซึ่่�งอาจจะมาจากความรู้้เดิิมหรืือ จากความรู้้ที่่�รัับเข้้ามาใหม่่ ภายใต้้นโยบาย การจััดการเรีียนรู้้“เรียีนดีี มีีความสุขุ” นั้้น�ห้้องเรียีน สี่่�เหลี่่�ยม จึึงต้้องกลายเป็็นห้้องปฏิิบััติิการชีีวิิต และสัังคม หรืือ Living Lab สร้้างกระบวนการ เรีียนรู้้จากการใช้้หลัักสููตรและการเรีียนการสอน Living Lab อาชีีวศึึกษา สร้้างคุุณค่่าและความสุุข ผ่่านการเรีียนรู้้� นายธนาคาร คุ้้�มภััย ครูู แผนกช่่างไฟฟ้้ากำลััง วิิทยาลััยเทคนิิคฉะเชิิงเทรา


93 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข สอดคล้้องกัับความต้้องการของตลาดแรงงานและบริิบทจริิง สร้้างสภาพแวดล้้อม ในการเรีียนรู้้เอื้้�อต่่อการเรีียนรู้้ของผู้้เรีียน ซึ่่�งชุุมชนก็็สามารถเป็็นห้้องเรีียนให้้กัับ ผู้้เรีียนอาชีีวศึึกษาในการลงมืือปฏิิบััติิพััฒนาสมรรถนะได้้เช่่นกััน ดั่่�งสำนวนโบราณ It takes a village to raise a childหรืือ “เลี้้�ยงเด็็กหนึ่่�งคนใช้้คนทั้้�งหมู่่บ้้าน” โดยความร่่วมมืือในการจััดการเรีียนรู้้ดัังกล่่าวนี้้� สามารถสื่่�อสารผ่่านประโยคง่่ายๆ ที่่�ทรงพลัังของการศึึกษาในยุุคปััจจุุบัันว่่า “จัับมืือไว้้แล้้วไปด้้วยกััน” การเรีียนรู้้ผ่่านห้้องปฏิิบััติิการชีีวิิตและสัังคม หรืือ Living Lab อาชีีวศึึกษา เป็็นการเรีียนรู้้ภายใต้้ระบบนิิเวศการศึึกษา (Learning Ecosystem) ที่่�มีีเป้้าหมาย ของการจััดการศึึกษาในการส่่งเสริิมให้้ผู้้เรีียนได้้พััฒนาและศึึกษาให้้มีีความรู้้ ความสามารถ และสมรรถนะทางวิิชาชีีพ เพื่่�อสร้้างมณฑลแห่่งการเรีียนรู้้และ เจริิญงอกงามทางปััญญา (Learning and Growth Zone)ผ่่านกระบวนการฝึึกทัักษะ ในการประยุุกต์์ใช้้ ปรับัแต่่งความรู้้ การฝึึกทำงานร่่วมกับัชาวบ้้านในชุุมชน จนสามารถ พััฒนาสร้้างสรรค์์ให้้เกิิด สิ่่�งประดิิษฐ์์และนวัตักรรม ที่่�เกิิดจากการมีส่่ ีวนร่่วมของผู้้ใช้้ (Co-creation) และส่่งมอบสู่่�การใช้้งานให้้กัับชุุมชน เกิิดการสร้้างความรู้้ที่่�นำ ไปสู่่ประโยชน์์ทางวิิชาการ (Academic Returns) และประโยชน์์ทางสัังคมและ สาธารณะ (Social and Economic Returns) ผ่่านกระบวนการเรีียนรู้้ร่่วมกััน


94 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ด้้วยการผสานพลััง (Synergy) ทำให้้ผู้้เรีียนสามารถเชื่่�อมโยงกัับสภาพความเป็็นจริิง ของสัังคม เกิิดกระบวนการเรีียนรู้้ที่่�มีีพลัังในการสร้้างสรรค์์มากที่่�สุุด อีีกทั้้�งยัังก่่อให้้เกิิด ผลกระทบต่่อการพััฒนาอาชีีพ คุุณภาพชีีวิิตและสิ่่�งแวดล้้อม ต่่อกลุ่่มเป้้าหมายในพื้้น� ที่่� ชุุมชน จากการดำเนิินอย่่างสมดุุลและยั่่�งยืืน บทบาทของครูู ของการเรีียนรู้้ Living Lab อาชีีวศึึกษา จึึงมีีความสำคััญ ในการทำหน้้าที่่�เป็็นผู้้อำนวยความสะดวก (Facilitator) เพื่่�อให้ผู้้้เรีียนได้้ลงมืือปฏิิบััติิ ด้้วยตนเอง โดยครููร่่วมสัังเกตการณ์์การเรีียนรู้้ และสะท้้อนผลการเรีียนรู้้ เพื่่�อเป้้าหมายให้้ผู้้เรีียนเกิิดการเรีียนรู้้อย่่างมีีประสิิทธิิภาพ เชื่่�อมโยงกัับบริิบทจริิง และสามารถนำความรู้้และทัักษะไปประยุุกต์์ใช้้ในชีีวิิตจริิงได้้อย่่างแท้้จริิง ครููจึึงต้้อง เป็็น “ครููที่่�มีีพลัังแห่่งความสุุข” ซึ่่�งจะส่่งผลต่่อทััศนคติิที่่�ดีีต่่อการเรีียนรู้้ เชื่่�อมั่่�น ในศัักยภาพของผู้้เรีียน สร้้างบรรยากาศการเรีียนรู้้ที่่�เอื้้�อต่่อการเรีียนรู้้ สนัับสนุุน ให้้นัักเรีียนได้้แสดงความคิิดเห็น็ และกล้้าที่่�จะลองผิิดลองถููก ซึ่่�งบรรยากาศการเรีียนรู้้ เหล่่านี้้� จะช่่วยให้้นัักเรีียนได้้พััฒนาตนเองอย่่างเต็็มที่่� เมื่่�อนั้้�นจึึงเท่่ากัับว่่า ครููได้้ทำ หน้้าที่่�พััฒนาให้้ผู้้เรีียนมีีความเป็็นคนอย่่างสมบููรณ์์ โดยมีีทั้้�ง “เก่่ง” และ “ดีี” และ “มีีความสุุข” เมื่่�อผู้้เรีียนเกิิดการเรีียนรู้้ การเรีียนรู้้นั้้�นย่่อมเกิิดแก่่ครููด้้วยเช่่นกััน เมื่่�อครููมีีพลัังแห่่งความสุุข ย่่อมถ่่ายทอดไปยัังศิิษย์์ ส่่งผลให้้ ผู้้เรีียน เกิิดความสุุขสนุุกกัับการเรีียนรู้้และใช้้ความสุุขที่่�จะเรีียนเป็็นพลัังขัับเคลื่่�อน การเรียีนรู้้ (Learning Power) สร้้างแรงบัันดาลใจในการแสวงหาความรู้้สู่่การพััฒนา ความรู้้ สมรรถนะ ทัักษะ (Hard Skill) และเจตคติิในการเป็็นผู้้ที่่�ริิเริ่่�ม ประดิิษฐ์คิ์ ิดค้น้ สร้้างสรรค์์ และสนัับสนุุนให้้เกิิดเทคนิิควิิธีีการ รููปแบบ เครื่่�องมืือ กระบวนการ หรืือ ผลงานที่่�เป็็นนวัตักรรมอัันมีีประโยชน์์ คุุณค่่า และเหมาะสมต่่อการแก้้ไขปััญหาและ


95 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข สร้้างสรรค์์สัังคม ด้้วยความตระหนัักถึึงปััญหาของชุุมชนและกล้้าคิิดนอกกรอบ กล้้าที่่�จะลงมืือทำ และกล้้าที่่�จะนำเสนอผลงานของตน (Soft Skill) พร้้อมกัับ การแลกเปลี่่�ยนเรีียนรู้้ประสบการณ์์ ที่่�นำไปสู่่�การกระตุ้้นการเรีียนรู้้ตลอดชีีวิิต การเรีียนรู้้ผ่่านห้้องปฏิิบััติิการชีีวิิตและสัังคม หรืือ Living Lab อาชีีวศึึกษา จึึงเป็็นการจััดการเรีียนรู้้ที่่�สามารถสร้้างบรรยากาศที่่�เอื้้�อต่่อการเรีียนรู้้ รวมทั้้�งความสุขุ ของทั้้�งครููผู้้สอนและผู้้เรีียน เน้้นความสำคััญของบรรยากาศสิ่่�งแวดล้้อมเชิิงบวก ส่่งผลให้้ผู้้เรีียนให้้เรีียนรู้้อย่่างมีีแรงบัันดาลใจ เปิิดโอกาสให้้ผู้้เรีียนมีีส่่วนร่่วม ออกแบบประสบการณ์์การเรีียนรู้้ เชื่่�อมโยงกัับบริิบทจริิง ช่่วยแก้้ไขปััญหาและ ยกระดัับคุุณภาพชีีวิิตของประชาชน ด้้วยสิ่่�งประดิิษฐ์์ นวััตกรรมที่่�พััฒนาขึ้้�น จากอาชีีวศึึกษา ผู้้เรียีนจะได้้เรียีนรู้้อย่่างสนุุกสนาน ท้้าทาย และมีส่่ ีวนร่่วม ซึ่่�งช่่วยให้้ ผู้้เรีียนเกิิดความสุุขในการเรีียน และเชื่่�อมั่่น�ในศัักยภาพของตนเอง และนำไปสู่่การพััฒนา สถานศึึกษาและชุุมชนให้้เป็็นแหล่่งเรียีนรู้้ที่่มี�ีความสุขุผ่่านการจััดการเรีียนรู้้ที่่�เน้น้ ผู้้เรีียนเป็็นสำคััญ


96 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข วันครูั ปีูนี้้�มารู้้จัักกับศิั ิษย์์เก่่าจากรั้้�วโรงเรีียนสวนกุุหลาบ รัังสิิต ที่่�ได้้น้้อมนำคำสอนของคุุณครููไปใช้้จนประสบผล สำเร็็จทั้้�งในด้้านครอบครััวและการประกอบธุุรกิิจส่่วนตััว ด้้านอาหารเสริิมและเครื่่�องสำอางค์์ตั้้�งแต่่อายุุยัังน้้อย และขึ้้นท�ำเนีียบอายุนุ้้อยร้้อยล้้านตั้้�งแต่่อายุุ 24 ปีี กันค่ั ่ะ ดร.พััชรพล สุุทธิิธรรม (ไทด์์) อายุุ 33 ปีี กรรมการผู้้จััดการ บริิษััท ไอเรีียล พลััส (ประเทศไทย) จำกััด และกรรมการผู้้จััดการ บริิษััท ไอแคร์์ยูู จำกััด จบการศึึกษาระดับมัธัยมศึึกษา โรงเรีียนสวนกุุหลาบวิทิยาลััย รัังสิิต (ประธานนัักเรีียน รุ่่นที่่� 11) จบปริิญญาตรีีนิติศิาสตร์์ บััณฑิิต มหาวิิทยาลััยรามคำแหง ตั้้�งแต่่อายุุ 19 ปีี จบปริิญญาโท บริิหารธุุรกิิจมหาบััณฑิิต มหาวิิทยาลััย รามคำแหง ตั้้�งแต่่อายุุ 20 ปีี จบการศึึกษา ปริิญญาเอก (Ph.D.) การจััดการเทคโนโลยีีสารสนเทศ คณะวิิศวกรรมศาสตร์์ มหาวิิทยาลััยมหิิดล “ไทด์์” นำคำสอนของคุุณครููไปใช้้ จนประสบผลสำเร็็จอย่่างไรเราไปดููกัันค่่ะ วิิมล มาเทีียน (ครููแอ๋๋ว) ครููผู้้�สร้้าง ศิิษย์์ดีี มีีคุุณธรรม


97 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข คำถาม : ให้้นิิยามความหมายของคำว่่าครููอย่่างไร ไทด์์ : ครููคืือผู้้ที่่�ให้้ความรู้้อบรมและจิิตใจให้้กัับลููกศิิษย์์ให้้เป็็นคนดีีคนเก่่ง มีีศีีล มีีธรรม และไม่่ย่่อท้้อในการสอน คอยอบรมชี้้�นำแนวทางที่่�ถููกต้้องจนสามารถ ที่่�จะส่่งลููกศิิษย์์ไปถึึงฝั่่�งฝันัและเป็็นคนดีีมีีศีีลมีีธรรม ดัังนั้้นนิ�ิยามของคำว่่าครููของไทด์์ “ครููคืือ ผู้้ที่่�พััฒนาจิิตใจของศิิษย์์ให้้สููงขึ้้�นและพััฒนาความรู้้ของศิิษย์์” คำถาม : ประทัับใจคุุณครููท่่านใดมากที่่�สุุดและทำไมถึึงประทัับใจ ไทด์์ : คุุณครููชุุติิมา มนเทีียรอาสน์์ ครัับท่่านสอนวิิชาภาษาไทย ม. 6 โรงเรีียนสวนกุุหลาบวิิทยาลััย รัังสิิต ช่่วงที่่�เรีียนมััธยม ไทด์์ทำหน้้าที่่�เป็็นประธาน นัักเรีียนด้้วย ต้้องทำกิิจกรรมหลากหลาย เช่่น ทำนิิตยสาร ทำเอกสารที่่�เป็็นกิิจกรรม ของนัักเรีียนในโรงเรีียน ไทด์์จะขอคำแนะนำจากคุุณครููชุุติิมาตลอด ท่่านเสีียสละ เวลาให้้กัับไทด์์มาก โทร. ไปปรึึกษาช่่วงวัันหยุุดวัันเสาร์์อาทิิตย์์ ท่่านก็็ให้้ คำแนะนำอย่่างดีี เพิ่่�งมาทราบภายหลัังว่่าท่่านป่่วยเป็็นมะเร็็งแล้้ว เพิ่่�งคีีโมมาแต่่ก็็ยัังให้้คำปรึึกษาสม่่ำเสมอจนงานลุุล่่วงสำเร็็จ ได้้ตลอดทุุกครั้้�ง พอเรีียนจบไปแล้้วปีีกว่่าๆ ท่่านเป็็นมะเร็็ง ระยะสุุดท้้าย ไทด์์ไปเยี่่�ยมที่่�โรงพยาบาลลููกหลานที่่�เฝ้้าไข้้บอกว่่า ท่่านจำอะไรไม่่ค่่อยได้้แล้้ว แต่่พอคุุณครููเห็็นหน้้าไทด์์คุุณครูู ก็็เรีียกเลยว่่า “อ้้าวไทด์์มาหาครููหรอ” ซึ่่�งแปลกใจมากว่่า ท่่านจำลููกศิิษย์์ทุุก ๆ คนได้้ หลัังจากนั้้�นไม่่กี่ ่� วััน ท่่านก็็เสีียชีีวิิตลง ทิ้้�งคำพููดไว้้ให้้ไทด์ว่์ ่า “ให้คิ้ิดดีี พููดดีี ทำดีี” โดยต้้องเริ่่�มจากความคิิดก่่อน เพราะความคิิดจะ ก่่อให้้เกิิดคำพููดและคำพููดจะก่่อให้้เกิิดการกระทำ และทุุกอย่่างก็็จะดีีไปเอง ทุุกครั้้�งที่่�ไทด์์ทำบุุญ ไทด์์จะระลึึกและอุทิุศกุิศุลผลบุุญไปให้ท่้ ่านตลอดครับั คำถาม : หลัังจากเรีียนจบแล้้วนำหลัักการเรีียน การสอนของคุุณครููมาใช้้อย่่างไรบ้้าง ไทด์์ : จากการที่่�ไทด์์ได้้รัับการสอนจาก คุุณครููชุุติิมาให้้ “คิิดดีีทำดีีพููดดีี” ไทด์์ได้้นำหลััก คำสอนของคุุณครููมาใช้้ตลอดจนถึึงปััจจุุบััน ทั้้�งในเรื่่�อง


98 ครููดีีสอนดีี ศิิษย์์ดีีเรีียนดีี มีีความสุุข ของการทำงาน การทำเรื่่�องธุุรกิิจการดำเนินชีีวิิตไทด์ก็์ ็จะเริ่่�มต้น้จากความคิิดที่่�ดีีก่่อน ถ้้าเรามีีความคิิดที่่�มีีเจตนาบริิสุุทธิ์์ เจตนาที่่�ดีีสิ่่�งดีี ๆ ต่่างๆ จะตามมา และพููดดีี กัับทุุกๆ คน ปััจจุุบัันดููแลคนงานประมาณ 200 กว่่าคนไทด์์จะพููดดีีกัับคนทุุกระดัับ พููดให้้กำลัังใจ เป็็นกััลยาณมิิตรที่่�ดีีกัับทุุกคน ไม่่ว่่าร้้ายใคร ไม่่พููดให้้ใครเสีียใจ เป็็นการรัักษาศีีลไปในตััว ดัังนั้้�น ที่่�คุุณครููสอนมาไทด์์ได้้นำใช้้ตลอด คืือ “คิิดดีีพููดดีี ทำดีี และไปในสถานที่่�ดีี” ครัับ คำถาม : การเติิบโตเป็็นอย่่างดีีในโลกธุุรกิิจซึ่่�งมีีการแข่่งขัันสููง มีีครููท่่านใด ให้้แนวคิิดในการบริิหารธุุรกิิจบ้้าง ไทด์์ : สำหรัับการบริิหารธุุรกิิจมีีคุุณครููหลายท่่านที่่�ปลููกฝัังและหล่่อหลอม ให้้แนวคิิดที่่�ดีีทำให้้ไทด์์ได้้เติิบโตในโลกธุุรกิิจ เช่่น สมััยมััธยมก็็จะมีีคุุณครููจิิตการ ขุุมทรััพย์์ ซึ่่�งคุุณครููเป็็นครููที่่�ปรึึกษาฝ่่ายกิิจการนัักเรีียน คุุณครููเคยสอนไว้ว่้่ามนุุษย์นั้้์น� ไม่่ใช่่หุ่่นยนต์์ ไม่่ใช่่เครื่่�องจัักร มนุุษย์์มีีชีีวิิตจิิตใจ ดัังนั้้�นในการทำงานกัับคนที่่�มีีจิิตใจ เราต้้องเข้้าถึึงหััวใจของคนให้้ได้้ จะต้้องเข้้าไปอยู่่ในหััวใจของคน ไม่่ใช่ยืืน่อยู่่บนหััวคน ดัังนั้้�นไทด์์ได้้นำหลัักแนวคิิดนี้้� มาใช้้ดำเนิินธุุรกิิจการบริิหารทีีมงานของเรา แล้้วนำ การสอนของคุุณครูชุูติุิมาใช้ด้้้วย คืือจะเน้น้การช่่วยเหลืือทีีมงานมากๆ งานมีีปััญหาอะไร ก็็ให้้เข้้าไปช่่วยแก้้ไขให้้เราได้้เป็็นที่่�พึ่่�งพิิงกัับทีีมงานของเรา สำหรัับในเรื่่�องของ การสร้้างแนวคิิดธุุรกิิจมีีคุุณครูู ดร.นิิเวศน์์ ธรรมะ ท่่านสอนอยู่่ที่่�มหาวิิทยาลััย รามคำแหง คณะบริิหารธุุรกิิจ วิิชาแผนธุุรกิิจ ซึ่่�งไทด์์ได้้สร้้างธุุรกิิจออกแบบแผนธุุรกิิจ แบรนด์์ “ไอเรีียล” จากในห้้องเรีียนที่่�คุุณครููสอนนั่่�นเองนะครัับ แล้้วคุุณครููก็็ยัังให้้ คำแนะนำการทำธุุรกิิจมาตลอดจนถึึงทุุกวัันนี้้�ครัับ คำถาม : ในวัันครููปีี 2567 นี้้� จะฝากบอกอะไรกัับคุุณครููทุุกท่่านคะ ไทด์์ : ไทด์์ขอกราบขอบพระคุุณคุุณครููจากหััวใจ ที่่�คุุณครููทุุกท่่านได้้เสีียสละ ในการเติิมเต็็มข้้อบกพร่่องของลููกศิิษย์ท์ ำให้ลูู้กศิิษย์์ เป็็นคนดีีคนเก่่งของสัังคม อาชีีพ ของครููเป็็นอาชีีพที่่�เสีียสละมากเลยนะครัับ เป็็นอาชีีพที่่�ต้้องทุ่่มเททั้้�งกายและใจ ในการที่่�ทำให้้ลููกศิิษย์์ เป็็นคนดีี เป็็นคนเก่่งให้้ได้้ เวลาไทด์์กราบพระ ไทด์์จะกราบ 5 ครั้้�งครัับ ครั้้�งที่่� 1 ครั้้�งที่่� 2 ครั้้�งที่่� 3 คืือ พระพุุทธ พระธรรม พระสงฆ์์ ครั้้�งที่่� 4 คืือ พ่่อแม่่ ส่่วนครั้้�งที่่� 5 ไทด์์กราบครูบูาอาจารย์์ เพราะไทด์์เคารพและซาบซึ้้�งถึึงพระคุุณ คุุณครููเหนืือยิ่่�งกว่่าสิ่่�งอื่ ่� นใด พระคุุณคุุณครููเปี่่�ยมไปด้้วยความเมตตาที่่�ต้้องการให้้


Click to View FlipBook Version