The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

0. รายงานผลการดำเนินงาน SDGs ปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by looknam0315, 2023-08-10 03:37:12

0. รายงานผลการดำเนินงาน SDGs ปี 2565

0. รายงานผลการดำเนินงาน SDGs ปี 2565

รายงานผลการดำดำ ดำดำ เนินินนินิงาน โโคครรงงกกาารรขัขับขับขัเเคคลื่ลื่ลื่อลื่อนนเเป้ป้าป้าป้หหมมาายยกกาารรพัพัฒพัฒพั นนาาที่ที่ ที่ ยั่ที่ ยั่งยั่งยั่ยืยืนยืนยื SSUUSSTTAAIINNAABBLLEEDDEEVVEELLOOPPMMEENNTTGGOOAALLSS::SSDDGGSS ประจำจำจำจำปีปีงปีปีบประมาณ พ.ศ. 2565


Sustainable Development Goals: SDGs เป้าหมายการพัฒนาที่ย่งยืน 17 เป้าหมาย SDG 1 No Poverty : ขจัดความยากจนทีุกรูปแบบทีุกสถานที่ SDG 2 Zero Hunger : ขจัดความหิวโหย บรรลุความม่นคงทีางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างย่งยืน SDG 3 Good Health and well-being : รับรองการมีสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของทีุกคนทีุกช่วงอายุ SDG 4 Quality Education : รับรองการศึกษาที่เที่าเทีียมและที่วถึง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทีุกคน SDG 5 Gender Equality : บรรลุความเที่าเทีียมทีางเพศ พัฒนาบทีบาทีสตรีและเด็กผู้หญิง SDG 6 Clean Water and Sanitation : รับรองการมีนำใช้ การจัดการนำและสุขาภิบาลที่ย่งยืน


SDG 7 Affordable and Clean Energy : รับรองการมีพลังงาน ที่ทีุกคนเข้าถึงได้ เช่อถือได้ย่งยืน ทีันสมัย SDG 8 Decent Work and Economic Growth : ส่งเสริมการเติบโตทีางเศรษฐกิจที่ต่อเน่องครอบคลุมและย่งยืนการจ้างงานที่มีคุณค่า SDG 9 Industry Innovation and Infrastructure : พัฒนาโครงสร้างพ้นฐาน สนับสนุนนวัตกรรมพร้อมรับการเปล่ยนแปลง ส่งเสริมการปรับตัวให้เป็นอุตสาหกรรมอย่างย่งยืน SDG 10 Reduced Inequalities : ลดความเหล่อมลำที้งภายในและระหว่างประเทีศ SDG 11 Sustainable Cities and Communities : ทีำให้เมืองและการต้งถ่นฐานของมนุษย์มีความปลอดภัยที่วถึง พร้อมรับความเปล่ยนแปลงและการพัฒนาอย่างย่งยืน SDG 12 Responsible Consumption and Production : รับรองแผนการบริโภค และการผลิตที่ย่งยืน SDG 13 Climate Action : ดำเนินมาตรการเร่งด่วนเพ่อรับมือการเปล่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทีบ SDG 14 Life Below Water : อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากมหาสมุทีรและทีรัพยากรทีางทีะเล เพ่อการพัฒนาอย่างย่งยืน SDG 15 Life on Land : ปกป้อง ฟื้นฟืู และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทีางบกอย่างย่งยืน SDG 16 Peace and Justice Strong Institution : ส่งเสริมสังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยกเพ่อการพัฒนาที่ย่งยืน SDG 17 Partnerships for the Goals : สร้างพลังแห่งการเป็นหุ้นส่วน ความร่วมมือระดับสากลต่อการพัฒนาที่ย่งยืน


การขับเคล่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งยืน ในมหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล มหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล เป็นมหาวิทียาลัยเอกชนแห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ตระหนักดีว่า “คุณภาพ การศึกษาที่แที้จริง ต้องเป็นภาพรวมของกระบวนการคิดที่ทีันสมัย จึงจะสามารถนำพาการเรียนการสอน การฝึกปฏิบัติการ การเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพ การพัฒนาบุคลิกภาพ จะผลิตบัณฑิตให้เติบโตเป็นคนดี และคนเก่งอยู่ในบุคคลเดียวกัน” น่นถือเป็น พันธกิจของมหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุลที่มี 5 ด้าน ดังน้ 1. ผลิตบัณฑิตอย่างมีคุณภาพและพัฒนาหลักสูตรเพ่อตอบสนองต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. สร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมให้ตอบสนองยุทีธศาสตร์ชาติ 3. ให้บริการวิชาการสู่ชุมชนและสังคมเพ่อความม่นคง ม่งค่งและย่งยืน 4. ทีำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์ทีรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อม 5. จัดระบบการบริหารจัดการเพ่อเพ่มประสิทีธิภาพการดำเนินงาน พันธกิจ สู่การเป็นมหาวิทียาลัยแห่งความก้าวหน้า ตาม ปณิธาน ของมหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุลที่ว่า “ผลิตคนดี มีคุณธรรม พัฒนาสังคม” การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการศาสตร์มุ่งเน้นสมรรถนะและการมีงานทีำ และการจัดการเรียนรู้ ของผู้เรียนทีุกช่วงวัยที่เป็นรูปธรรม มุ่งผลิตบัณฑิตในสาขาที่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม และการนำไปสู่การพัฒนา คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ลดความเหล่อมลำทีางสังคม ตลอดจนการอนุรักษ์และฟื้นฟืูทีรัพยากรธรรมชาติและ ส่งแวดล้อมที่ร่วมเป็นส่วนหน่งในการเป็นมหาวิทียาลัยสีเขียว และร่วมผลักดันเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) น้น เป็นนโยบายที่ทีางมหาวิทียาลัยเน้นถึงความสำคัญ รวมถึงการพัฒนาบุคลากรให้มีองค์ ความรู้ ตาม วิสัยทีัศน์ของมหาวิทียาลัยฯ คือ เพ่อเป็นมหาวิทียาลัยเอกชนสร้างสรรค์นวัตกรรม ให้โอกาสทีางการศึกษาเพ่อ การเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งมหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล ได้มีการมุ่งเน้นเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งยืน (SDGs) ดังน้


ส่งส่เสริมริมุ่งมุ่ขจัดจัความยากจนทุกทุรูปรูแบบใน ทุกทุพื้นพื้ที่ เน้นน้การบูรณาการจากการเรียรีนการ สอนและการบริกริารวิชวิาการเพื่อพื่แก้ไขปัญหา ความยากจน โดยมีนมี โยบายด้าด้นการลดความ ยากจน (No Poverty) ดังดันี้ 1. ให้กห้ารสนับนัสนุนนุช่วช่ยเหลือสังสัคมเพื่อพื่สร้าร้ง ภูมิภูคุ้มิ คุ้มคุ้กันให้หห้ลุดลุพ้นพ้ความยากจน 2. ให้บห้ริกริารวิชวิาการแก่สังสัคม สร้าร้งชุมชนที่ เข้มข้แข็งข็และพัฒพันาอาชีพชีสร้าร้งรายได้ใด้นพื้นพื้ที่ 3. สร้าร้งความร่วร่มมือมืเพื่อพื่การพัฒพันาและมุ่งมุ่ แก้ไขปัญหาความยากจนของประชาชน เป้าป้หมายที่ 1 เป้าป้หมายที่ 3 มุ่งมุ่สร้าร้งหลักประกันว่าว่คนมีชีมีวิชีตวิที่มีสุมีขสุภาพดี และส่งส่เสริมริความเป็นป็อยู่ที่ยู่ ที่ดีสำดีสำหรับรัทุกทุคนในทุกทุ วัยวั โดยมีนมี โยบายด้าด้นสุขสุภาพและความเป็นป็อยู่ที่ยู่ ที่ ดี (Good Health and Well-Being) ดังดันี้ 1. เสริมริสร้าร้งการป้อป้งกันและคุ้มคุ้ครองสุขสุภาพ โดยไม่สูม่บสูบุหรี่ใรี่นพื้นพื้ที่มหาวิทวิยาลัย 2. เสริมริสร้าร้งให้ทุห้กทุคนมีสุมีขสุภาพที่ดี มีกิมี กิจกรรมที่ สามารถคลายเครียรีดจากการทำ งาน 3. ให้บห้ริกริารวิชวิาการแก่สังสัคม สร้าร้งภูมิภูคุ้มิ คุ้มคุ้กันใน การดูแดูลสุขสุภาพและให้บห้ริกริารทางการแพทย์ที่ย์ ที่ เหมาะสมกับชุมชน เป้าป้หมายที่ 4 เป้าป้หมายที่ 13 มุ่งมุ่สร้าร้งหลักประกันว่าว่ทุกทุคนมีกมีารศึกษาที่มีคุมีณคุภาพ อย่าย่งครอบคลุมลุและเท่าเทียม และสนับนัสนุนนุโอกาสในการ เรียรีนรู้ตรู้ลอดชีวิชีตวิ โดยมีนมี โยบายด้าด้นการศึกษาที่มี คุณคุภาพ (Quality Education) ดังดันี้ 1. ให้คห้วามสำ คัญต่อการเข้าข้ถึงโอกาสทางการศึกษาของ นักนัเรียรีนทุกทุกลุ่มลุ่และต้องได้รัด้บรัการศึกษาที่มีคุมีณคุภาพ สร้าร้งทักษะที่จำ เป็นในการประกอบวิชวิาชีพชี ในอนาคต 2. ให้คห้วามสำ คัญต่อการเรียรีนรู้ตรู้ลอดชีวิชีตวิ (Lifelong Learning) ครอบคลุมลุมิติมิ ติการจัดจัการศึกษา การฝึก อบรม และการพัฒพันาชีวิชีตวิและการพัฒพันาตนเอง (Upskill – Reskill) 3. สร้าร้งความร่วร่มมือมืเพื่อพื่การพัฒพันาการศึกษาและการ วิจัวิยจัที่มีคุมีณคุภาพ ระหว่าว่งมหาวิทวิยาลัยและทุกทุภาคส่วส่นทั้งทั้ ในประเทศและต่างประเทศ มุ่งมุ่ ปฏิบัติบั ติการอย่าย่งเร่งร่ด่วด่นเพื่อพื่ต่อสู้กสู้ าร เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิภูอมิากาศ และผลกระทบที่ เกิดขึ้นขึ้ โดยมี นโยบายด้าด้นการรับรัมือมืกับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิภูอมิากาศ (Climate Action) ดังดันี้ 1. สนับนัสนุนนุให้มีห้กมีารอบรม หรือรืจัดจักิจกรรมใด ใด ที่เกิดประโยชน์ต่น์ ต่อการรักรัษาสิ่งสิ่แวดล้อม 2. ให้บห้ริกริารวิชวิาการแก่สังสัคม เพื่อพื่รับรัมือมืผล กระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิภูมิ อากาศ 3. สร้าร้งความร่วร่มมือมื ในประเด็นด็ที่เกี่ยวข้อข้งกับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิภูอมิากาศ ระหว่าว่ง หน่วน่ยงานภาครัฐรัและทุกทุภาคส่วส่นทั้งทั้ ในประเทศ และต่างประเทศ เป้า ป้ หมายการพัฒ พั นาที่ยั่ง ยั่ ยืน ยื ใน มหาวิทวิยาลัยวงษ์ชวลิตกุล กุ


สำ นักแผนยุทธศาสตร์และประกันคุณภาพ : รายงานความคืบหน้า SDG 2565 SDG 1 No Poverty SDG 13 Climate Action SDG 3 Good Health and well-being SDG 4 Quality Education 1 35 4 11 สารบัญ


บทสรุป มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล เป็ นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่ตระหนักดีว่า “คุณภาพการศึกษาท่แท้จริง ต้องเป็ นภาพรวมของกระบวนการคิดท่ทันสมัย จึงจะสามารถนำพาการเรียนการสอน การฝึ กปฏิบัติการ การเสริมสร้างประสบการณ์วิชาชีพ การพัฒนาบุคลิกภาพ จะผลิตบัณฑิตให้เติบโตเป็ นคนดี และ คนเก่งอยู่ในบุคคลเดียวกัน” มหาวิทยาลัยได้กำหนดวิสัยทัศน์ เป็ นมหาวิทยาลัยเอกชนสร้างสรรค์นวัตกรรม ให้โอกาส ทางการศึกษาเพ่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต นอกจากน้ มหาวิทยาลัยฯ ได้มุ่งเน้นเป้าหมายการพัฒนาท่ย่งยืน (SDGs) ท้งหมด 4 ข้อ และยังได้ดำเนินโครงการ และกิจกรรม มาเป็นส่วนสำคัญในการขับเคล่อนมหาวิทยาลัย ท้งหมด 41 โครงการ อันประกอบด้วย 8 คณะวิชา 3 หน่วยงานสนับสนุน สำหรับคณะวิชา ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ 1 โครงการ คณะนิเทศศาสตร์ 2 โครงการ คณะบริหารธุรกิจ 10 โครงการ คณะพยาบาลศาสตร์ 2 โครงการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ 9 โครงการ คณะศึกษาศาสตร์ 4 โครงการ คณะสาธารณสุขศาสตร์ 5 โครงการ และคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ 2 โครงการ สำหรับหน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ สำนักบรรณสารและสารสนเทศ 1 โครงการ สำนักพัฒนานักศึกษา 3 โครงการ และ สำนักวิจัยและบริการวิชาการ 2 โครงการ รายละเอียดตามแผนภาพดังต่อไปน้ ท้งน้ รายงานผลการดำเนินงาน โครงการขับเคล่อนเป้าหมายการพัฒนาท่ย่งยืน Sustainable Development Goals: SDGs ฉบับน้ จะแสดงให้เห็นถึงผลงาน โครงการและกิจกรรมสำคัญๆ ของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ท่มุ่งม่นในการ บุรณาการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสังคม ในการขับเคล่อนเป้าหมายการพัฒนาท่ย่งยืน (SDGs) 1. ฟุตซอลสานสัมพันธ์อาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2. มหกรรมสุขภาพสาสุขสัมพันธ์ ประจำปีการศึกษา 2565 คณะสาธารณสุขศาสตร์ 3. การพัฒนาสุขภาพสร้างนวัตกรรมสู่ชุมชนเพ่อสังคม สุขภาวะประจำปีการศึกษา 2565 4. บริการวิชาการเพ่อเพ่มศักยภาพให้ชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ประจำปี 2565 5. หลักสูตรการอบรม การดูแลผู้สูงอายุ 420 ช่วโมง คณะสาธารณสุขศาสตร์ 6. การบริการวิชาการสร้างศักยภาพชุมชน สู่ความม่นคง ม่งค่ง และย่งยืน ประจำปีการศึกษา 2565 7. การช่วยฟ้นคืนชีพข้นพ้นฐานและการปฐมพยาบาลเบ้องต้น คร้งท่ 6 ประจำปีการศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตร์ 1. การขับเคล่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานราก หลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG คณะบริหารธุรกิจ 1. การแข่งขัน “Cabling & Networking Contest #10” ปีท่ 10 คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2. การประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสถาปัตยกรรมศาสตร์ คร้งท่ 13 (ESTACON 2022) 3. การอบรมเชิงปฏิบัติการ “Infographic ง่าย ๆ สร้างได้ใน 5 นาที” คณะวิศวกรรมศาสตร์ 4. การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การใช้งานแพลตฟอร์มบริหารจัดการปัญหาเมือง Traffy Fondue สำหรับเทศบาลองค์การบริหารส่วนตำบลและหน่วยงานอ่นๆ ท่สนใจ” คณะวิศวกรรมศาสตร์ 5. Comm. Arts Show 2023 คณะนิเทศศาสตร์ 6. เรียนรู้วันละคำกับภาษาโคราช คณะนิเทศศาสตร์ 7. การเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ 8. การประชุมวิชาการประจำปี คร้งท่ 7 ปีการศึกษา 2565 คณะพยาบาลศาสตร์ 9. การผลิตส่อวิดีทัศน์เพ่อการประชาสัมพันธ์การใช้ห้องสมุด 10. การจัดทำสารานุกรมโคราชศึกษา ประจำปี 2565 11. วารสารมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล Journal of Vongchavalitkul University 12. นิทรรศการจัดแสดงผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 13. หลักสูตรระยะส้นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2565 14. การเผยแพร่วัฒนธรรมท้องถ่นแบบออนไลน์คณะบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2565 15. สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ 16. อบรม เชิงปฏิบัติการ จริยธรรม การวิจัยในมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ 17. การประชุม และนำเสนอ ผลงานวิชาการ ทางการศึกษาระดับนานาชาติ คร้งท่ 1 หัวข้อ Innovation in Education 18. การบริการวิชาการสร้างศักยภาพชุมชนสู่ความม่นคง ม่งค่ง และย่งยืน ประจำปีการศึกษา 2565 19. การบริการวิชาการแก่สังคมแบบให้เปล่า คณะบริหารธุรกิจ 20. กิจกรรมให้คำปรึกษาเพ่อย่นแบบแสดงภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ประจำปีการศึกษา 2565 21. การแข่งขันทักษะด้านการบริหารธุรกิจระดับอุดมศึกษาปี 2566 กิจกรรมการประกวดแผนธุรกิจ 22. การแข่งขัน BGC Economy Model คณะบริหารธุรกิจ 23. VU Hackathon 2022 คณะบริหารธุรกิจ 24. กิจกรรมการส่งของจากจีนไม่ยากอย่างท่คิด คณะบริหารธุรกิจ 25. กิจกรรมนอกห้องเรียน ฝึกให้เก่ง ฝึกให้ปฏิบัติ ในงาน “หอการค้าแฟร์ KORAT FOODEX 2022” คณะบริหารธุรกิจ 26. จัดการประชุมและนำเสนอผลงานวิชาการทางบริหารธุรกิจ ระดับชาติคร้งท่ 1 1. การติดต้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่อ เป็นศูนย์การเรียนรู้คณะวิศวกรรมศาสตร์ 2. การศูนย์การเรียนรู้สมาร์ทฟาร์ม มหาวิทยาลัย วงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ 3. การอบรมเชิงปฏิบัติการพลังงานทดแทนโซลาร์เซลล์” สำหรับประยุกต์ใช้งานด้านวิชาชีพคณะวิศวกรรมศาสตร์ 4. การประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้ พลังงานไฟฟ้าของอาคารวิศวกรรมศาสตร์ เพ่อตอบ โจทย์มหาวิทยาลัยสีเขียว คณะวิศวกรรมศาสตร์ 5. สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ประจำปี 2565 สำนักพัฒนานักศึกษา 6. MORVONG คนอาสา ปลูกป่าทดแทน ลดภาวะโลกร้อน เฉลิมพระเกียรติฯ ประจำปี 2565 สำนักพัฒนานักศึกษา 7. การพัฒนามหาวิทยาลัยสีเขียว Green University สำนักพัฒนานักศึกษา โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม SDG 1 NO POVERTY SDG 3 GOOD HEALTH AND WELL-BEING SDG 4 QUALITY EDUCATION SDG 13 CLIMATE ACTION


1 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ร่วมกับ กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม รับสมัครลูกจ้าง ภายใต้โครงการขับเคล่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลัง โคโรนา (COVID-19) ด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) โครงการ U2T for BCG เป็นการรวมพลังของ มหาวิทยาลัยรัฐและเอกชนกว่า 98 แห่ง สำหรับบัณฑิตจบใหม่ และประชาชนในพ้นท่รวม 68,350 คน ครอบคลุม 7,435 ตำบล ใน 77 จังหวัดท่วประเทศ เพ่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากเป็น รายตำบลท่วประเทศ ซึ่งเป็นโครงการขับเคล่อนเศรษฐกิจและ สังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ Bio-Circular-Green Economy (BCG หรือเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว) โดยมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล รับผิดชอบ 2 ตำบล ในจังหวัดนครราชสีมา ได้แก่ ตำบลโพธิ์กลาง อำเมือง และ ตำบลหนองบุนนาก อำเภอหนองบุญมาก ซึ่งมีการลงพ้นท่ เพ่อทำงานร่วมกับชุมชน เพ่อทำหน้าท่สร้างมูลค่าเพ่มให้กับ สินค้าและบริการของชุมชน เช่น การถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ผลิตและบริการ การส่งเสริมการขยายและการตลาด การพัฒนาสินค้าและบริการให้มีมูลค่าสูง การพัฒนาบรรจุ ภัณฑ์การยกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ การขนส่งและ กระจายสินค้า เป็นต้น


2 การขับเคล่อนเศรษฐกิจและสังคม ฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG คณะบริหารธิุรกิจ เม่อวันท่ 9 กันยายน 2565 สมาชิกโครงการ U2T for BCG มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ได้ลงสำรวจข้อมูล ECT เพ่อ พูดคุยกับชาวบ้านในชุมชน ณ ตำบลหนองบุนนาก อำเภอหนอง บุญมาก จังหวัดนครราชสีมา โดยนายแม่ง วงค์มณีสัย ผู้ใหญ่บ้านหมู่ท่ 12 ซึ่งเป็น คณะกรรมการพาสำรวจประชาชน จำนวน 8 ราย พูดถึงการ เข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองโดยการออกไปใช้สิทธิิเลือกต้งทุก ระดับและลักษณะของผู้แทนทางการเมืองท่ประชาชนต้องการ ทีมงานโครงการ U2T for BCG มหาวิทยาลัย วงษ์ชวลิตกุล นำโดย คณะบริหารธิุรกิจ ได้นำผลิตภัณฑ์ชุมชน จากพ้นท่ตำบลโพธิ์กลางและตำบลหนองบุนนาก (ผลิตภัณฑ์ จากมัลเบอร่ ของดีหนองบุนนาก) วางจำหน่ายในงาน KORAT FOODEX 2022 คร้งท่ 2 มหกรรมอาหารท่ย่งใหญ่ท่สุดในภาค อีสาน ณ MCC hall ช้น 3 เดอะมอลล์โคราช วันท่ 14-18 กันยายน พ.ศ. 2565 นำทีมโดย อาจารย์ ดร. อธิิต ทิวะศะศิธิร์ (คณบดีคณะบริหารธิุรกิจ) อาจารย์ ดร. วรญา โรจนาปภาพร (รองคณบดีฝ่ายวิชาการและ นวัตกรรมการเรียนรู้) อาจารย์บัลลังก์ จงวัฒนานุกูล (รองคณบดีฝ่ายแผนยุทธิศาสตร์และ ประกันคุณภาพ) อาจารย์กิตติศักด์ กล่นหม่นไวย (หัวหน้าสาขาวิชาอุตสาหกรรม การท่องเท่ยว) อาจารย์วราพร โภชน์เกาะ (หัวหน้าสาขาการตลาด)


3


4 กี ฬ า เ ป็ น กิ จ ก ร ร ม ที ่ ที ำ ใ ห้ ร่างกายมีความแข็งแรงและยังเป็น กิจกรรมที่ทีำให้เกิดความรัก ความ สามัคคีกันในหมู่คณะหรือกลุ่มคนที่ทีำ กิจกรรมร่วมกัน อีกที้งยังทีำให้เกิดการ ทีำงานเป็นทีีม เพื่อให้นักศึกษาและ บุคลากร มีความเป็นนำหน่งใจเดียวกัน สามารถทีำงานร่วมกันและสร้าง ความสัมพืันธ์ที่ดีต่อกัน ในปีการศึกษา 2565 ได้เพื่ม อุปกรณ์การแข่งขันให้ดีข้นและนอกจากน้ ผู้ตอบแบบสอบถามยังแสดงความคิดเห็นว่า ควรจะมีการจัดโครงการน้อีกดังน้น โครงการฟุตซอลสานสัมพืันธ์บุคลากรและ นักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์จึงเป็น โครงการที่มีประโยชน์ที่จะสร้างความเป็น หน่งเดียวให้กับบุคลากรและนักศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ 1. เพื่อให้นักศึกษามีความสามัคคี มีความรับผิดชอบ มีนำใจนักกีฬา 2. เพื่อให้คณาจารย์ บุคลากร และ นักศึกษาได้ทีำกิจกรรมร่วมกันและใช้ เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 3. เพื่อพืัฒนาศักยภาพืนักศึกษาและ เสริมสร้างทีักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ฟุตซอลสานสัมพืันธ์อาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์


5 หลักสูตรวิทียาศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุข ศาสตร์และสาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของ คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถ การมีทีักษะที่ จำเป็นในงานสาธารณสุขชุมชนและเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน การทีำงานระดับวิชาชีพื โดยเฉพืาะการจัดมหกรรมสุขภาพืสาสุข สัมพืันธ์ ซ่งเป็นกิจกรรมนอกหลักสูตรโดยส่งเสริมผลงาน วิชาการของนักศึกษาในรายวิชาต่างๆ เช่น วิชาสุขศึกษาและ พืฤติกรรมศาสตร์ ฟ้นฟูสุขภาพืบุคคลและชุมชน วิชาโครงงาน ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย วิชาเตรียมสหกิจศึกษาสาขา อาชีวอนามัยและความปลอดภัย และสหกิจศึกษา เป็นต้น เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมแสดงผลงานวิชาการ หรือ นวัตกรรม และเป็นการส่งเสริมทีักษะความรู้ในวิชาชีพืที้งสอง สาขาจากผู้มีประสบการณ์ของหน่วยงานที่เก่ยวข้องด้วยการ จัดอบรมให้ความรู้เร่อง ความปลอดภัยในการทีำงาน การเสริมสร้างสุขภาพื การควบคุม ป้องกันโรค การปรับเปล่ยน พืฤติกรรมสุขภาพืและพืัฒนาส่งแวดล้อม ภายใต้บริบทีการใช้ จริยธรรมนำปัญญา และการเรียนรู้สู่การปฏิบัติในสถานการณ์ จริง ในอันที่จะแก้ไขปัญหาสุขภาพืของประชาชน ชุมชนสู่การ มีสุขภาพืดี และคุณภาพืชีวิตที่ย่งยืน คณะสาธารณสุขศาสตร์มีความต้งใจปฏิบัติหน้าที่ จัดทีำโครงการมหกรรมสุขภาพืสาสุขสัมพืันธ์ เพื่อสอดรับ ความสำเร็จขององค์ประกอบที่ 3 ตัวบ่งช้ที่ 3.2 โดยมีกระบวนการ ดำเนินงานที่เก่ยวข้องในประเด็น “การพืัฒนาศักยภาพืนักศึกษา และการเสริมสร้างทีักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21” ของการประเมินประกันคุณภาพืภายใน ระดับหลักสูตร อีกที้งเป็นการส่งเสริมการเผยแพืร่ผลงานวิชาการของนักศึกษา การสร้างโอกาสการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการพืัฒนาศักยภาพื นักศึกษาให้ได้มาตรฐานสากล โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดทีำโครงการ ดังน้ 1. เพื่อส่งเสริมการเผยแพืร่ผลงานวิชาการจากการสร้าง นวัตกรรมในวิชาชีพืของนักศึกษา คณะสาธารณสุขศาสตร์ 2. เพื่อพืัฒนาศักยภาพืและการเสริมสร้างทีักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ประโยชน์ที่นักศึกษาจะได้รับ 1. นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจด้านวิชาชีพืสาธารณสุข ชุมชนและเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทีำงานระดับวิชาชีพื สามารถนำไปใช้ในการเรียนและการทีำงานในอนาคต 2. นักศึกษามีความคิดสร้างสรรค์และสร้างแรง บ ร ร ด า ล ใ จ ใ น ก า ร ส ร้า ง ส ร ร น วั ต ก ร ร ม เ พื ่อแ ก้ไข ด้านสาธารณสุขและความปลอดภัย มหกรรมสุขภาพืสาสุขสัมพืันธ์ ประจำปีการศึกษา 2565 คณะสาธารณสุขศาสตร์


6 คณะสาธารณสุขศาสตร์ได้ให้บริการวิชาการสู่ สังคมเก่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพื การป้องกันโรคและการ จัดการส่งแวดล้อมที้งในจังหวัดและต่างจังหวัด ได้แก่ การจัดระบบอาหารปลอดภัย และการจัดการส่งแวดล้อมใน โรงเรียนและชุมชน การจัดการขยะในโรงเรียนและชุมชน การสร้างเสริมสุขภาพืเก่ยวกับการป้องกันและการปฏิบัติ ตัวตามมาตรการการป้องกันไวรัสโคโรนาและการจัดการขยะ ติดเช้อหน้ากากอนามัยในโรงเรียน การป้องกันอุบัติเหตุและ โรคไข้เลือดออกในโรงเรียน การสร้างเสริมสุขภาพืผู้สูงอายุและ สุขภาวะชุมชน ซ่งกิจกรรมที่ดำเนินการมาน้น จากการวิเคราะห์ โอกาสการพืัฒนาสามารถที่จะขยายผลต่อยอดการสร้าง สุขภาวะสู่ชุมชนให้เกิดนวัตกรรม การพืัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเช่อมไปสู่ชุมชนต้นแบบที่เกิดจากการบริการวิชาการของ คณะสาธารณสุขศาสตร์ ที่เน้นการดำเนินงานให้สอดคล้องกับ การพืัฒนาที่ย่งยืนในด้านสุขภาพื ส่งแวดล้อม สังคมและ เศรษฐกิจ ดังน้นเพื่อให้การบริการวิชาการประจำปีการศึกษา 2565 สอดคล้องกับยุทีธศาสตร์ที่ 3 ในด้านการพืัฒนาชุมชนสู่ ความม่นคง ม่งค่งและย่งยืน คณะสาธารณสุขศาสตร์ จึงจำเป็นต้องดำเนินการในพื้นที่อย่างต่อเน่อง เพื่อให้เกิด ประโยชน์ต่อชุมชนและสร้างพื้นที่ต้นแบบจากการบริการ วิชาการต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อบูรณาการรายวิชาอย่างน้อย 3 รายวิชาร่วม ให้บริการวิชาการกับหน่วยงานที้องถ่น หน่วยงานรัฐ สถาน ประกอบการ และชุมชน 2. เพื่อส่งเสริมนักศึกษาให้สามารถสร้างนวัตกรรมพืัฒนา สุขภาพืชุมชนเช่อมโยงด้านสุขภาพื อนามัยส่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมในระดับพื้นที่ ชุมชน และจังหวัด 3. เพื่อเป็ นพื้นที่ในการสร้างองค์ความรู้และพืัฒนา นวัตกรรมทีางวิชาการในชุมชน สู่การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การทีำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมด้านสุขภาพืและ ส่งแวดล้อมแก่ชุมชน นักศึกษาและอาจารย์ การพืัฒนาสุขภาพืสร้างนวัตกรรมสู่ชุมชน เพื่อสังคมสุขภาวะ ประจำปีการศึกษา 2565


7 การบริการวิชาการแก่สังคมจัดเป็ นพืันธกิจหลักที่สำคัญประการหน่งของมหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล ทีางคณะ สาธารณสุขศาสตร์มหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล ได้เห็นถึงความสำคัญของการบริการวิชาการแก่สังคม จึงได้จัดทีำโครงการ บริการวิชาการแก่สังคมในรูปแบบต่างๆ ได้แก่ การจัดการฝึ กอบรม การอบรมเชิงปฏิบัติการ ซ่งเป็ นการให้ความรู้ทีาง วิชาการโดยผู้เช่ยวชาญหรือวิทียากรที่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานราชการ แก่หน่วยงานต่างๆที้งภาครัฐและเอกชน สถานประกอบการและชุมชน แบบจัดเก็บรายได้ เพื่อให้ชุมชนและสังคมได้พืัฒนาองค์ความรู้หรือให้การดำเนินการมีความ สอดคล้องกับข้อกำหนดต่างๆตามที่กฎหมายกำหนด โดยมีวัตถุประสงค์ดังน้ 1. เพื่อให้หน่วยงานต่างๆที้งภาครัฐและเอกชน สถานประกอบการและชุมชน สามารถนำความรู้จากการบริการ วิชาการได้พืัฒนาในองค์กรหรือหน่วยงานน้นๆ 2. เพื่อให้หน่วยงานต่างๆที้งภาครัฐและเอกชน สถานประกอบการและชุมชน ได้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมาย บริการวิชาการเพื่อเพื่มศักยภาพืให้ชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ประจำปี 2565 กิจกรรมที่ 1 หลักสูตรอบรมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ในการทีำงานระดับหัวหน้างาน รุ่นที่ 5 กิจกรรมที่ 2 หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการปฐมพืยาบาล ฉุกเฉินและการช่วยฟ้นคืนชีพืในสถานประกอบการ กิจกรรมที่ 3 หลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเก่ยวกับงาน ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


8 จากความสำเร็จความก้าวหน้าด้านการแพืทีย์และสาธารณสุขของประเทีศ ไทีย ทีำให้ลดอัตราการเพื่มประชากรได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้จำนวนและ สัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุเพื่มข้นอย่างรวดเร็ว และต่อเน่อง ประชากร ผู้สูงอายุนับว่าเป็ นอัตราการก้าวสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” เร็วมาก เม่อมีอายุมากข้น การทีำงานในระบบต่างๆ ของร่างกายค่อยๆ เส่อมถอยลง ส่งผลทีำให้มีระดับ การช่วยเหลือตนเองลดลง มีผู้เจ็บป่ วยด้วยโรคไร้เช้อจำนวนเพื่มข้น รักษาไม่ หาย มีภาวะพื่งพืาต้องการการดูแลแบบต่อเน่อง และการดูแลระยะยาว ซ่งจำเป็ นต้องรับการรักษาตัวในโรงพืยาบาล และต้องการการดูแลที่บ้านหรือ สถานรับดูแลผู้สูงอายุ ภาระหลักในการดูแลผู้สูงอายุเป็ นของครอบครัว และ ลักษณะครอบครัวปัจจุบันเป็นครอบครัวเด่ยว ทีำให้มีความขาดแคลนผู้ดูแล ผู้สูงอายุที่มีความรู้และทีักษะ จึงมีความต้องการผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีคุณภาพื ผู้ดูแล ผู้สูงอายุมีความสำคัญ และเป็นที่ต้องการของสังคมไทียมากข้น เป็นผู้ที่ให้การ ช่วยเหลือหรือดูแลบุคคลอ่นที่ต้องการการดูแล และเป็นการกระทีำอย่างต่อเน่อง คณะสาธารณสุขศาสตร์มหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล จึงได้ทีำการเปิ ดหลักสูตร ผู้ดูแลผู้สูงอายุ 420 ช่วโมง สำหรับบุคคลที่สนใจในการบริการดูแลช่วยเหลือ ผู้สูงอายุเพื่อการดูแลที่สามารถตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพืผู้สูงอายุ หลักสูตรน้ได้ผ่านคณะกรรมการสถานประกอบการเพื่อสุขภาพืในการประชุม คร้งที่ 51-9/2564 เม่อวันที่ 30 กันยายน 2564 โดยเป้ าหมายของหลักสูตรคือ อบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุให้มีความรู้ ความเข้าใจและ ทีักษะ ในการปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแล ผู้สูงอายุ และมุ่งหวังให้ผู้ดูแลให้การดูแลผู้สูงอายุด้วยความเห็นอกเห็นใจเข้าใจใน ความทีุกข์ยากของผู้สูงอายุ ซ่งจะนำไปสู่การให้ผู้สูงอายุมีความสุขได้รับการ ตอบสนองความต้องการ และเป็ นไปตามความคาดหวังของผู้ใช้บริการและ พืัฒนาคุณภาพืบริการการดูแลผู้สูงอายุต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพืัฒนาศักยภาพืผู้เข้ารับการอบรมให้เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีความรู้ ความสามารถในการดูแลสุขภาพืผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีเจตคติที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรมต่อการ ดูแลผู้สูงอายุ 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทีักษะในการดูแลผู้สูงอายุ สามารถนำไป ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริงได้ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำ ความรู้ความสามารถในการดูแล สุขภาพืผู้สูงอายุไปประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง 2. ผู้เข้ารับการอบรมมีเจตคติที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรมต่อการดูแล ผู้สูงอายุ หลักสูตรการอบรมการดูแลผู้สูงอายุ 420 ช่วโมง


9 มหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล อาศัยอำนาจตามความใน มาตรา 43(1) และ (13) แห่งพืระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษา เอกชน พื.ศ. 2546 แก้ไขเพื่มเติม (ฉบับที่ 2) พื.ศ. 2550 กำหนดให้ คณะวิชาและหน่วยงานต่าง ๆ จัดทีำแผนและกิจกรรมบริการ วิชาการแก่สังคมอย่างเป็นระบบ โดยมีการบูรณาการในพืันธ กิจหลักของมหาวิทียาลัย ประกอบด้วย งานด้านการจัดการ เรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และการทีำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม ในรูปแบบต่างๆ ตามความเช่ยวชาญของแต่ละ คณะวิชา การให้บริการทีางวิชาการอาจให้เปล่าโดยไม่คิด ค่ าใช้ จ่ ายหรื ออาจคิ ดค่ าใช้ จ่ ายตามความเหมาะสม โดยให้บริการที้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หน่วยงานอิสระ หน่วยงานสาธารณะ ชุมชน และสังคมโดยกว้าง รูปแบบการ ให้บริการทีางวิชาการมีความหลากหลาย การให้บริการทีาง วิชาการนอกจากเป็นการทีำประโยชน์ให้สังคมแล้ว สถาบันยัง ได้รับประโยชน์ในด้านต่างๆ คือ เพื่มพืูนความรู้และประสบการณ์ ของอาจารย์อันจะนำมาสู่การพืัฒนาหลักสูตร มีการบูรณา การเพื่อใช้ประโยชน์ทีางด้านต่างๆ การนำไปสู่ประโยชน์สูงสุด จำเป็นอย่างย่งต้องมีกระบวนการบริการทีางวิชาการให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคม ได้แก่ การสำรวจความต้องการของชุมชน มีความร่วมมือด้านบริการวิชาการเพื่อการเรียนรู้และ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน มีการประเมินประโยชน์หรือ ผลกระทีบของการให้บริการทีางวิชาการต่อสังคม มีการนำผล การประเมินไปพืัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการ ให้บริการทีางวิชาการ มีการพืัฒนาความรู้ที่ได้จากการ ให้บริการทีางวิชาการและถ่ายทีอดความรู้สู่บุคลากรภายใน สถาบันและเผยแพืร่สู่สาธารณชน สำนักวิจัยและบริการวิชาการ จึงจัดทีำโครงการ บริการวิชาการสร้างศักยภาพืชุมชนสู่ความม่นคง ม่งค่ง และ ย่งยืน ประจำปีการศึกษา 2565 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับ เครือข่ายชุมชน อันจะนำไปสู่ความม่งค่ง และย่งยืนต่อไป โดยใน ปีการศึกษา 2565 จะจัดกิจกรรมบริการวิชาการ 2 กิจกรรม โดยมีคณะสาธารณสุขศาสตร์ร่วมดำเนินกิจกรรมด้วย ดังน้ 1. การสร้างนวัตกรรมผู้สูงอายุตำบลหม่นไวย 2. การสร้างเสริมศักยภาพืชุมชนตำบลพืุดซา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างมหาวิทียาลัย วงษ์ชวลิตกุลกับชุมชน 2. เพื่อพืัฒนาบริการวิชาการให้เกิดนวัตกรรมในชุมชนเป้าหมาย 3. เพื่อเป็ นพื้นที่ในการสร้างองค์ความรู้ทีางวิชาการในชุมชน สู่การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การทีำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แก่ชุมชน นักศึกษาและอาจารย์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล กับเครือข่ายและประชาชนชุมชนตำบลพืุดซา 2. เพื่อพืัฒนาบริการวิชาการให้เกิดนวัตกรรมในชุมชนตำบลพืุดซา 3. เพื่อเป็ นพื้นที่ในการสร้างองค์ความรู้ทีางวิชาการในชุมชน สู่การจัดการเรียนการสอน การวิจัย การทีำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม แก่ชุมชน นักศึกษาและอาจารย์ การบริการวิชาการสร้างศักยภาพืชุมชน สู่ความม่นคง ม่งค่ง และย่งยืน ประจำปีการศึกษา 2565 กิจกรรมที่ 1 พืัฒนาบริการวิชาการให้เกิดนวัตกรรมผู้สูงอายุ ตำบลหม่นไวย กิจกรรมที่ 2 บริการวิชาการสร้างเสริมศักยภาพืชุมชนตำบลพืุดซา


10 ในปัจจุบันการช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐาน เป็นเร่องที่ประชาชนทีุกคนควรมีความรู้และมีทีักษะการปฏิบัติที่ถูกต้อง เพืราะเป็น เร่องที่สำคัญกับชีวิตประจำวันและการทีำงาน เน่องจากการเจ็บป่วยเป็นส่งที่ไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ว่าจะเกิดข้นเม่อใด หากประชาชนมีความรู้และทีักษะในการช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐานได้อย่างถูกต้อง จะช่วยลดการสูญเสีย ความพืิการ หรือการเสียชีวิต ดังน้น ชุมชน องค์กรต่างๆ และสถานศึกษาทีุกแห่งควรมีการจัดอบรมเพื่อให้ความรู้และฝึกทีักษะให้แก่ประชาชน บุคลากรอย่างน้อย ปีละ 1 คร้ง เพื่อให้เกิดความตระหนักและเกิดความม่นใจในการปฏิบัติ และเม่อมีอุบัติเหตุเกิดข้นแบบกระทีันหัน บุคคลที่ผ่านการอบรมและ ทีดลองฝึกปฏิบัติไปแล้ว จะสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อ่นได้ทีัน โดยปฏิบัติได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และลดความรุนแรงที่ อาจจะเกิดข้นกับผู้ได้รับบาดเจ็บ ก่อนส่งต่อให้สถานพืยาบาล หรือแพืทีย์ดูแลต่อไปได้ คณะพืยาบาลศาสตร์มหาวิทียาลัยวงษ์ชวลิตกุล เป็นสถาบันการศึกษา ด้านการพืยาบาลที่มีทีรัพืยากรเพื่อการเรียนการสอน ได้แก่ อาจารย์พืยาบาลที่ มีความเช่ยวชาญและมีประสบการณ์สอน รวมถึงส่อในการเรียนการสอนการ ปฐมพืยาบาลเบ้องต้นและการช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐานที่ครบครัน ได้เล็งเห็น ความสำคัญของการเพื่มพืูนความรู้และทีักษะการช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐานให้แก่ ประชาชนที่วไป จึงได้มีการจัดโครงการ“การช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐาน” แก่ประชาน ที่วไป และบุคลากรในสถานศึกษามาแล้วจำนวน 5 คร้ง โดยในคร้งที่ 5 ปี พื.ศ. 2564 น้น จัดโครงการแก่ชมรมผู้สูงอายุตำบลหม่นไวย และวิทียาลัยเทีคนิค นครโคราช มีผู้เข้าร่วมโครงการรวม 93 คน ซ่งมีผลตอบรับเป็นอย่างดี ที้ง 2 กลุ่มมีคะแนนความพืึงพือใจในการเข้าร่วมกิจกรรมอยู่ ระดับดีมากเฉล่ย 4.58 และ 4.55 ตามลำดับ มีคะแนนความรู้หลังอบรมผ่านเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 80 นักเรียนในวิทียาลัยเทีคนิคนคร โคราชมีทีักษะการช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐานผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 รวมถึงมีข้อเสนอแนะอยากให้มีการขยายผลการจัดโครงการไปสู่ ประชาชนที่วไป และในสถานศึกษาต่อเน่องในทีุกๆปี ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะพืยาบาลศาสตร์จึงจัดโครงการ “การช่วยฟ้นคืนชีพืข้น พื้นฐานและการปฐมพืยาบาลเบ้องต้นคร้งที่ 6 ประจำปีการศึกษา 2565” ข้นต่อเน่อง เพื่อพืัฒนางานบริการวิชาการที่สอดคล้องกับ ความต้องการของสังคมอย่างต่อเน่องแก่ประชาชนที่วไป แกนนำชุมชน เยาวชน ในเขตพื้นที่ตำบลหม่นไวย อำเภอเมืองนครราชสีมา ซ่งเป็นเขตพื้นที่ให้บริการวิชาการของมหาวิทียาลัย ที้งน้ได้มีการบูรณาการการเรียนการสอนโดยประยุกต์ใช้ความรู้ในรายวิชาการ พืยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ในหัวข้อ“การช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐาน” มาใช้ในการสอนประชาชน รวมถึงให้นักศึกษาพืยาบาลช้นปีที่ 3 ที่ผ่านการเรียนในหัวข้อดังกล่าวแล้วเข้ามาร่วมเรียนรู้ในงานบริการวิชาการด้วย เพื่อหวังว่านักศึกษาจะได้นำความรู้และทีักษะการฝึก ทีดลองปฏิบัติในช้นเรียนมาใช้ในโครงการและเป็นประโยชนต่อสังคมมากข้น โดยมีวัตถุประสงค์ดังน้ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้เร่องการช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐานและการปฐมพืยาบาลเบ้องต้น 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทีักษะการช่วยฟ้นคืนชีพืข้นพื้นฐานและการปฐมพืยาบาลเบ้องต้นที่ถูกต้อง การช่วยฟ้ นคืนชีพืข้นพื้นฐานและ การปฐมพืยาบาลเบ้องต้น คร้งที่ 6 ประจำปีการศึกษา 2565


11 บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ คอมิวนิเคชั่น จำกัด (มหาชัน) ผู้นำเข้าแลิะจัดจำหน่ายสายสัญญาณแลิะเน็ตเวิร์ก ท่ใหญ่ท่สุดในอาเซียน ได้ดำเนินการจัดทำโครงการการ แข่งขันสุด ยอดทักษะสายสัญญาณแลิะเน็ตเวิร์กข้นเป็นปีท่ 10 (Cabling & Networking Contest #10) เพื่อให้นิสิต นักศึกษาได้มีโอกาส แสดงความสามารถในการแข่งข้น แลิะได้สัมผัสเทคโนโลิยี สายสัญญาณแลิะอุปกรณ์ส่งสัญญาณท่ดีท่สุดในยุคปัจจุบันได้ อย่างจริงจังแลิะถูกต้อง รวมถึงโอกาสชัิงเงินรางวัลิรวมมูลิค่า กว่า 400,000 บาท สำหรับปีน้ได้ดำเนินการจัดการแข่งขันใน รูปแบบออนไลิน์สำหรับรอบภูมิภาค แลิะออนไซด์สำหรับรอบชัิง ชันะเลิิศ โดยได้รับพืระหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพืระกนิษฐาธิราชั เจ้า กรมสมเด็จพืระเทพืรัตนราชัสุดาฯ สยามบรมราชักุมารีใน การพืระราชัทานรางวัลิชันะเลิิศ ให้กับผู้เข้าแข่งขันแลิะยังได้รับ การสนับสนุนจาก กระทรวงดิจิทัลิเพื่อเศรษฐกิจแลิะสังคม กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย แลิะนวัตกรรม กระทรวงศึกษาธิการ แลิะกระทรวงแรงงาน เพื่อส่งเสริมให้ความรู้ พืัฒนาทักษะแลิะการสร้างประสบการณ์ให้แก่ นิสิต นักศึกษา ในระดับอุดมศึกษาแลิะอาชัีวศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมแข่งขัน จำนวน 2 รอบ คือ รอบท่ 1 ในระดับภูมิภาค แลิะ รอบท่ 2 ในระดับประเทศ ซึงในการแข่งขันทางผู้จัดประกวดได้สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ท่ใชั้ในการ แข่งขัน แต่หลิักจากเสร็จส้นการแข่งขันจะต้องส่งมอบคืนปุกรณ์ท้งหมดให้กับทางผู้จัดประกวด โดยแต่ลิะทีมจะต้องประกอบ ตู้ควบคุม Network CCTV and WIFI ให้ทันภายในเวลิาท่กำหนดรวมท้งสามารถทำงานได้ตามโจทย์ท่ต้งไว้ ผลิการประกอบ ตู้ควบคุมจาการเข้าร่วมแข่งขันท้ง 2 รอบ เท่ากับ 3 ผลิาน โดยเป็นผลิงานจากการเข้าร่วมแข่งขันรอบท่ 1 (ระดับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ) จำนวน 2 ผลิงาน ได้ท่ 2 แลิะรอบท่ 2 (ระดับประเทศ) จำนวน 1 ผลิงาน ได้ท่ 20 การแข่งขัน “Cabling & Networking Contest #10” ปีท่ 10


12 การประชัุมวิชัาการวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลิยี แลิะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คร้งท่ 13 (ESTACON 2022) การจัดโครงการประชัุมวิชัาการ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลิยี แลิะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ คร้งท่ 13 (ESTACON 2022) เป็นการรวมกลิุ่มมหาวิทยาลิัยใน เครือข่าย ท่เปิดหลิักสูตรการเรียนการสอนด้านวิศวกรรมศาสตร์แลิะ เทคโนโลิยีจำนวน 5 สถาบัน คือ มหาวิทยาลิัยเทคโนโลิยีราชัมงคลิ อีสาน มหาวิทยาลิัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิต กุลิ มหาวิทยาลิัยราชัภัฏนครราชัสีมา แลิะ มหาวิทยาลิัยกาฬสินธุ์ การจัดประชัุมวิชัาการน้ มีจุดเร่มต้นจากการจัดประชัุม วิชัาการแลิะนำเสนอผลิงานทางวิศวกรรมศาสตร์แลิะวิทยาศาสตร์ ต่อเน่องมาแลิ้ว 12 คร้ง ต้งแต่ปี พื.ศ. 2553 – พื.ศ. 2564 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีสาธารณะให้นักวิชัาการ นักวิจัย คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา ท้งในเครือข่ายแลิะสถาบันอ่นๆ ได้นำเสนอผลิงานวิจัย เป็นการแลิกเปลิ่ยนความรู้แลิะประสบการณ์ท่ได้ อันก่อให้เกิดองค์ ความรู้ท่จะนำไปสู่การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพืัฒนา งานวิจัยท่เข้มแข็ง ย่งยืน ตอบสนองความต้องการของสังคม โดยมี คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเน้อหาแลิะพืิจารณาบทความ งานวิจัย ก่อนจัดตีพืิมพื์เผยแพืร่ท้งภาคบรรยายแลิะภาคโปสเตอร์ โดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ 1. เพื่อเผยแพืร่ผลิงานวิชัาการแลิะผลิงานวิจัยของ นักศึกษา นักวิจัย คณาจารย์ในมหาวิทยาลิัยแลิะผู้สนใจท่วไป 2. เพื่อเป็นเวทีแลิกเปลิ่ยนความคิดเห็นทางด้านวิชัาการ ของนักศึกษา นักวิจัย คณาจารย์ในมหาวิทยาลิัยแลิะ ผู้สนใจท่วไป 3. เพื่อสร้างเครือข่ายการแลิกเปลิ่ยนเรียนรู้ทาง วิชัาการระหว่างนักศึกษา นักวิจัย แลิะคณาจารย์


13 คณะวิศวกรรมศาสตร์ได้เลิ็งเห็นว่าใน ปัจจุบันการส่อสารด้วยภาพืมีบทบาทอย่างมากต่อ การรับรู้แลิะเข้าใจของผู้คนปัจจุบัน ซ่งการนำข้อมูลิ หรือความรู้มาสรุปเป็นสารสนเทศในลิักษณะของ ข้อมูลิแลิะกราฟิกท่อาจเป็นลิายเส้น สัญลิักษณ์ กราฟ แผนภูมิ ไดอะแกรม แผนท่ ฯลิฯ ท่ออกแบบ เป็นภาพืน่งหรือภาพืเคลิ่อนไหว ดูแลิ้วเข้าใจง่ายใน เวลิารวดเร็วแลิะชััดเจน สามารถส่อให้ผู้ชัมเข้าใจ ความหมายของข้อมูลิท้งหมดได้ ท่เรียกว่า “อินโฟกราฟิก” การออกแบบอินโฟกราฟิกถือเป็น การสร้างสรรค์งานท่ได้รับความนิยมอย่าง แพืร่หลิายเหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอทีท่ต้องการ เข้าถึงข้อมูลิท่มีอยู่มากมายได้ในเวลิาอันจำกัด มีความรู้ความเข้าใจเก่ยวกับข้อมูลิได้อย่างมี ประสิทธิภาพืมากข้น การผลิิตส่อการสอนแลิะการเผยแพืร่ประชัาสัมพืันธ์ จึงมีความจำเป็นท่จะต้องมีทักษะในการออกแบบส่ออินโฟ กราฟิก จึงได้จัดอบรมเชัิงปฏิบัติการ “Infographic ง่าย ๆ สร้างได้ใน 5 นาที” ข้น เพื่อให้คณาจารย์แลิะบุคคลิภายนอกท่ สนใจสามารถส่อสารกับผู้เรียนแลิะผู้รับสารได้อย่างมีประสิทธิภาพื โดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ 1. เพื่อส่งเสริมให้อาจารย์แลิะบุคลิากรของคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้พืัฒนาทักษะในการผลิิตส่อการสอนแลิะการเผยแพืร่ ประชัาสัมพืันธ์ 2. เพื่อส่งเสริมให้บุคคลิภายนอกท่มีความสนใจในการพืัฒนาส่อเพื่อการเผยแพืร่ประชัาสัมพืันธ์ การอบรมเชัิงปฏิบัติการ “Infographic ง่าย ๆ สร้างได้ใน 5 นาที”


14 ปัจจุบันเทคโนโลิยีดิจิทัลิ ได้เข้ามามีส่วนในการ สนับสนุนการบริหารจัดการข้อมูลิภาครัฐมากข้น ทุก หน่วยงานต้องมีการปรับตัวแลิะพืัฒนาให้มีความรู้แลิะทักษะ ในการจัดการแลิะบริหารระบบในองค์กรให้มีประสิทธิภาพื มากย่งข้น เพื่อให้สามารถใชั้งานแลิะให้บริการรับแจ้งปัญหา เมืองจากประชัาชันได้อย่างมีประสิทธิภาพืสูงสุด หลิักสูตรน้ ผู้เรียนจะได้ทำความรู้จักกับ แพืลิตฟอร์มบริหารจัดการ ปัญหาเมือง Traffy Fondue ซ่งเป็นความร่วมมือระหว่างคณะ วิศวกรรมศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจ แลิะคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ กับ ห้องปฏิบัติการระบบขนส่งแลิะ จราจรอัจฉริยะ (ITS) ศูนย์เทคโนโลิยีอิเลิ็กทรอนิกส์แลิะ คอมพืิวเตอร์แห่งชัาติ (NECTEC) ในการดำเนินโครงการจัด ฝึกอบรม “การใชั้งานแพืลิตฟอร์มบริหารจัดการปัญหาเมือง Traffy Fondue ในพื้นท่ประเทศไทย” ซ่งเป็นแพืลิตฟอร์มท่ ได้รับทุนสนับสนุนจากกองทุนวิจัยแลิะพืัฒนากิจการกระจาย เสียง กิจการโทรทัศน์แลิะกิจการโทรคมนาคมเพื่อประโยชัน์ สาธารณะ (กทปส.) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต่อยอดขยายผลิ การใชั้งานแพืลิตฟอร์มบริหารจัดการปัญหาเมือง Traffy Fondue ให้กับเจ้าหน้าท่ในหน่วยงานระดับ อบต. อบจ. เทศบาลิ แลิะหน่วยงานอ่นๆ ท่สนใจ เพื่อนำระบบไปใชั้รับแจ้ง ปัญ หาจ าก ปร ะชั าชั นผ่าน LINE: @traffyfondue แ ลิะ เจ้าหน้าท่สามารถบริหารจัดการปัญหาเมืองหรือปัญหาข้อ ร้องเรียนใดๆ ในพื้นท่ของตนเองได้ผ่านแอปพืลิิเคชััน Traffy Fondue ซ่งจะชั่วยให้เจ้าหน้าท่บริหารจัดการปัญหาได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพืมากย่งข้น คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เลิ็งเห็นในความสำคัญ แลิะร่วมให้บริการวิชัาการแบบมีรายได้จึงจัดให้มีการอบรม เชัิงปฏิบัติการ “การใชั้งานแพืลิตฟอร์มบริหารจัดการปัญหา เมือง Traffy Fondue สำหรับเทศบาลิ องค์การบริหารส่วน ตำบลิ แลิะหน่วยงานอ่นๆ ท่สนใจ” เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรม ทุกคนสามารถนำความรู้ท่ได้ไปประยุกต์ใชั้งานได้จริง แลิะ สามารถแก้ไขปัญหาเบ้องต้นในองค์กรท่เกิดข้นกับระบบได้ การอบรมเชัิงปฏิบัติการ “การใชั้งานแพืลิตฟอร์มบริหารจัดการปัญหาเมือง Traffy Fondue สำหรับเทศบาลิ องค์การบริหารส่วนตำบลิ แลิะหน่วยงานอ่นๆ ท่สนใจ”


15 กิจกรรมท่ 1 เทศกาลิหนังส้นเมืองย่า 2023 กิจกรรมท่ 2 นิทรรศการแสดงผลิงานนักศึกษา Comm. Arts Show ถูกจัดข้นคร้งแรกต้งแต่ปี 2017 โดยเป็นกิจกรรมประจำปีของนักศึกษาท่สร้างสีสัน พืร้อมประชัาสัมพืันธ์หลิักสูตรของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ มาอย่างยาวนานซ่งปัจจุบันใน ศตวรรษท่ 21 นักศึกษาจำเป็นต้องมีทักษะการเรียนรู้ซ่งการจะ ส่งเสริม แลิะพืัฒนาให้นักศึกษา มีทักษะจำเป็นต่าง ๆ ได้น้น ต้องอาศัยท้งการเรียนรู้ทางวิชัาการ แลิะวิชัาชัีพืเข้าด้วยกัน รวมถึงการบูรณาการส่งท่ได้เรียนรู้ไปใชั้ในชัีวิตจริงตามสาย วิชัาชัีพื ส่งผลิให้เป็นบัณฑิตท่มีคุณภาพืตรงตามความต้องการ ของตลิาดแรงงาน ท้งน้สืบเน่องจากพืันธกิจในการเป็นผู้นำ ริเร่มการจัดงาน Comm. Arts Show โดยได้รับความร่วมมือ จากมหาวิทยาลิัยราชัภัฏนครราชัสีมา ซ่งได้รับผลิตอบรับอันดี จากนักศึกษาแลิะผู้ร่วมงานในวงกว้าง คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ยังคงมุ่งม่นเป็น ศูนย์กลิางรวบรวมผลิงานต่าง ๆ ท่ผลิิตข้นโดยนักศึกษา อีกท้ง มุ่งหวังเป็นศูนย์กลิางความร่วมมือของสถาบันการศึกษาด้าน นิเทศศาสตร์ในภาคอีสาน เพื่อสานต่อเจตนารมณ์ดังกลิ่าว คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ จึงจัดงาน Comm. Arts Show 2023 ข้น เพื่อเผยแพืร่ท้ง ภาพืยนตร์ ภาพืถ่าย แลิะผลิงานอ่น ๆ ของนักศึกษาส่งเสริมให้เกิดความ ร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาในภาคอีสาน โดยมี จุดประสงค์หลิักคือพืัฒนาทักษะทางปัญญา ทักษะการคิด วิเคราะห์ แลิะทักษะเฉพืาะทางให้กับนักศึกษาสาขาวิชัานิเทศ ศาสตร์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ให้ เทียบเท่าระดับมืออาชัีพื แลิะเสริมสร้างคุณภาพืของผลิงานท่ ผลิิตโดยนักศึกษาให้มีคุณภาพืท้งด้านเน้อหา (Content) แลิะ มาตรฐานการผลิิต (Production Value) อันจะเป็นประโยชัน์ ต่อการเรียนรู้แลิะพืัฒนาตนเองของนักศึกษาต่อไป Comm. Arts Show 2023 คณะนิเทศศาสตร์


16 เรียนรู้วันลิะคำกับภาษาโคราชั คณะนิเทศศาสตร์ ศิลิปะแลิะวัฒนธรรม เป็นส่งสะท้อนให้เห็นถึงคุณค่า วิถีชัีวิตท่ชัุมชัน แลิะท้องถ่นต่าง ๆ ได้พืัฒนา แลิะสร้างสรรค์ข้น เพื่อใชั้เป็นเคร่องมือในการดำเนินชัีวิต โดยแสดงออกในรูปแบบ แลิะวิ ธี การท ่ หลิากหลิายท ้ งในรู ปแบบข องวิ ถี ชัี วิ ต ขนบธรรมเนียมประเพืณี ภูมิปัญญา ศิลิปะการแสดง ฯลิฯ เพื่อเป็นการปลิูกจิตสำนึก แลิะกระตุ้นให้คนรุ่นใหม่เกิดความ ตระหนัก มีความต่นตัว แลิะเข้ามามีส่วนร่วมในการฟ้นฟู เผยแพืร่ สืบสานภูมิปัญญาท้องถ่น แลิะคุณค่าความ หลิากหลิายของศิลิปะแลิะวัฒนธรรมไทยท้งท่เป็นวิถีชัีวิต ค่านิยม แลิะความเป็นไทย ในปัจจุบันวัฒนธรรมท้องถ่นถูกลิะเลิย แลิะมีการ ถ่ายทอด ไปสู่คนรุ่นใหม่น้อยลิง เชั่น การแต่งกาย ภาษาพืูด รวมท้งประเพืณีแลิะวิถีชัีวิตท่ดีงาม ท่ามกลิางความหลิากหลิาย ทางวัฒนธรรมภายใต้กระแสโลิกาภิวัตน์ วัฒนธรรมได้มีการ ถ่ายทอด แลิะแลิกเปลิ่ยนเรียนรู้อยู่ตลิอดเวลิา หากมรดกทาง วัฒนธรรมท่มีความแตกต่างหลิากหลิายกันในพื้นท่ไม่ได้รับ การสืบสานแลิะอนุรักษ์ฟ้นฟูก็ย่อมมีวันท่ส่งท่ลิำค่าเหลิ่าน้จะ อันตรธานหายไปตามกาลิเวลิา คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาษาถ่น แลิะศิลิปวัฒนธรรม โคราชัอันเป็นรากเหง้า แลิะเป็นมรดกวัฒนธรรมของจังหวัด นครราชัสีมา เพื่อไม่ให้ส่งมีค่าเหลิ่าน้สูญหายไปตามกาลิเวลิา คณะจึงจัดโครงการเรียนรู้วันลิะคำกับภาษาโคราชัข้น เพื่อเป็น การส่งเสริม อนุรักษ์ ฟ้นฟู สืบสานศิลิปวัฒนธรรมท้องถ่น โดยมี การบูรณาการกิจกรรมดังกลิ่าวกับพืันธกิจการผลิิตบัณฑิตใน การเรียนการสอนของหลิักสูตรนิเทศศาสตร์จำนวน 2 รายวิชัา ได้แก่ วิชัา 5003062 การผลิิตสารคดีแลิะรายวิชัา 50030211 ดนตรีเพื่อการส่อสารเพื่อให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้ แลิะ ประยุกต์ใชั้ทักษะความรู้ ทางนิเทศศาสตร์ในการสร้างสรรค์ รายการเพื่ออนุรักษ์ศิลิปวัฒนธรรมอันดีงามให้ดำรงอยู่ต่อไป โดยเป็นการส่งเสริมแลิะสนับสนับสนุนการผลิิตเน้อหารายการท่ มีส่วนในการทำนุบำรุงศิลิปะแลิะวัฒนธรรม โดยบูรณาการกับ รายวิชัาในหลิักสูตรเพื่อให้นักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ได้ ประยุกต์ใชั้ความรู้ในการสร้างสรรค์ชั้นงาน แลิะเผยแพืร่ภาษา โคราชัอันเป็นภูมิปัญญาท้องถ่น แลิะเป็นอัตลิักษณ์ของจังหวัด นครราชัสีมาทางออนไลิน์


17 การเผยแพืร่ความรู้ทางกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ การบริการวิชัาการสู่สังคม เป็นหน่งในภารกิจ หลิักของสถาบันอุดมศึกษา ซ่งสถาบันอุดมศึกษาพืึงให้บริการ ทางวิชัาการแก่ชัุมชัน สังคมแลิะประเทศชัาติในรูปแบบต่าง ๆ ตามความสามารถแลิะความเชั่ยวชัาญ การให้บริการวิชัาการสู่ สังคมน้น นอกจากจะเป็นการทำประโยชัน์ให้แก่สังคมแลิ้ว สถาบันอุดมศึกษายังได้รับประโยชัน์ในด้านต่างๆ ด้วย กลิ่าวคือ คณาจารย์แลิะนักศึกษาได้รับความรู้แลิะประสบการณ์อันจะ นำมาสู่การพืัฒนาหลิักสูตรแลิะการจัดการเรียนการสอน ตลิอดจนการบูรณาการเพื่อใชั้ประโยชัน์ทางด้านการวิจัยแลิะ การพืัฒนาตำแหน่งทางวิชัาการของอาจารย์ นอกจากน้น ยัง เป็นการสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานต่างๆ เพื่มข้น ซ่งเป็นแหลิ่ง งานของนักศึกษาท่จะสำเร็จการศึกษาเป็นบัณฑิตในอนาคตด้วย นอกจากน้ การให้บริการวิชัาการสู่สังคมยังเป็นปัจจัยท่สำคัญ ต่อการพืัฒนาชัุมชันท้องถ่นให้มีความเข้มแข็งแลิะมีศักยภาพืใน การพืัฒนาชัุมชันอย่างย่งยืนโดยเฉพืาะด้านโอกาสการเรียนรู้ ตลิอดชัีวิต อีกท้งยังสอดคลิ้องกับจุดมุ่งเน้นของสถาบัน อุดมศึกษาท่มีพืันธกิจแลิะยุทธศาสตร์ในการมุ่งสู่การพืัฒนา ชัุมชันท้องถ่น คณะนิติศาสตร์จึงได้จัดทำโครงการเผยแพืร่ความรู้ ทางกฎหมาย ข้นภายใต้กรอบแนวความคิดตังกลิ่าว ท้งน้เพื่อนำ ความรู้ทางกฎหมายไปเผยแพืร่ให้กับชัุมชัน เพื่อให้บริการ วิชัาการสู่สังคมด้านวิชัาการโดยคณาจารย์คณะนิติศาสตร์แลิะ นักศึกษา สร้างบรรยากาศบริการวิชัาการสู่สังคมด้านวิชัาการ ให้แก่คณาจารย์คณะนิติศาสตร์แลิะนักศึกษา แลิะสร้างเครือข่าย ระหว่างคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ภาครัฐ แลิะภาคประชัาชัน


18 การประชัุมวิชัาการประจำปี คร้งท่ 7 ปีการศึกษา 2565 คณะพืยาบาลิศาสตร์ ปัจจุบันเป็นยุคแห่งศตวรรษท่ 21 ส่งผลิให้ มีการเปลิ่ยนแปลิงอย่างรวดเร็ว ท้งด้าน สั ง ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิจ ส ่ ง แ ว ด ลิ้ อ ม แ ลิ ะ เทคโนโลิยีต่างๆ เข้ามามีบทบาทในการ ดำเนินชัีวิต แลิะส่งผลิกระทบต่อระบบ บริการสุขภาพืท่ต้องมีการปรับเปลิ่ยนให้ ทันต่อเหตุการณ์ พืยาบาลิเป็นวิชัาชัีพืหน่ง ท่มีความสำคัญต่อระบบบริการสุขภาพื จึงมีความจำเป็นต้องพืัฒนาองค์ความรู้ ต่างๆ ให้มีความทันสมัยตลิอดเวลิา เพื่อ เพื่มการทำงานวิชัาชัีพืพืยาบาลิให้มี ประสิทธิภาพื คณะพืยาบาลิศาสตร์มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ซ่งเป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ได้มีหน้าท่ต้อง ให้บริการวิชัาการแก่สังคม เพื่อพืัฒนาองค์ความรู้ทางการพืยาบาลิท่สอดรับกับปัญหาของสังคมแลิะประเทศ จึงจัดการ ประชัุมวิชัาการประจำปี 2565 ข้น เพื่อให้บริการวิชัาการแก่บุคลิากรพืยาบาลิ ศิษย์เก่าท่สนใจได้มีโอกาสแลิกเปลิ่ยนความรู้ แลิะประสบการณ์ทางการพืยาบาลิ อันจะก่อให้เกิดประโยชัน์กับผู้รับบริการ ครอบครัว ชัุมชัน แลิะสังคมเร่อง คณะพืยาบาลิศาสตร์ จัดประชัุมวิชัาการระดับชัาติ คร้งท่ 7 ประจำปีการศึกษา 2565 ในหัวข้อเร่อง “งานประจำนำสู่ นวัตกรรมแลิะวิจัยในระบบบริการสุขภาพื : ความก้าวหน้าทางวิชัาชัีพืพืยาบาลิ” ระหว่างวันท่ 9-10 พืฤษภาคม 2566 ชั่องทางออนไลิน์ ผ่านระบบ Zoom โดยมี อาจารย์ ดร.ณัฐวัฒน์ วงษ์ชัวลิิตกุลิ อธิการบดีมหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ เป็นประธานในการเปิดการประชัุมวิชัาการระดับชัาติคร้งน้ แลิะกลิ่าวรายงานในการจัดการประชัุมโดย รศ.สิริรัตน์ ฉัตรชััยสุชัา คณบดีคณะพืยาบาลิศาสตร์


19 ซ่งได้รับเกียรติเป็นอย่างสูงจาก นายกสภาการพืยาบาลิแห่งประเทศไทย รศ.ดร.สุจิตรา เหลิืองอมรเลิิศ ร่วมบรรยายในหัวข้อ “ความก้าวหน้าในวิชัาชัีพืการพืยาบาลิในระบบบริการสุขภาพื (สังกัดกระทรวงสาธารณสุขแลิะสังกัด กระทรวงมหาดไทย)” แลิะ ผศ.สุภาวดี ทับกลิำ อาจารย์ประจำคณะพืยาบาลิศาสตร์ มหาวิทยาลิัยธรรมศาสตร์ให้เกียรติ บรรยายเร่อง “เส้นทางการเป็นนวัตกรรมระดับโลิกกับความก้าวหน้าทางวิชัาชัีพืพืยาบาลิ” แลิะปิดท้ายการประชัุมวันน้ด้วย เร่อง “การพืัฒนางาน NCDs ให้สร้างสรรค์นำสู่การทำนวัตกรรมท่ย่งยืน” โดย พืว.ธิดารัตน์ น่มกระโทก พืยาบาลิวิชัาชัีพื ประจำโรงพืยาบาลิส่งเสริมสุขภาพืตำบลิขนาย


20 ห้องสมุดเป็นศูนย์กลิางของการให้บริการสารสนเทศ ในยุค ปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลิยีสารสนเทศมาใชั้ในห้องสมุดเพื่อ อำนวยความสะดวกแก่ผู้ใชั้บริการ การประชัาสัมพืันธ์ห้องสมุด จึงเป็นการติดต่อส่อสารระหว่างห้องสมุดกับผู้ใชั้บริการ โดย ห้องสมุดใชั้วิธีการเผยแพืร่ข่าวสาร ข้อมูลิต่างๆ ของห้องสมุด ให้ผู้ใชั้บริการได้รับทราบถึงข้อมูลิแลิะการบริการต่างๆ สำนักบรรณสารแลิะสารสนเทศ จึงได้จัดทำ ส่อวิดีทัศน์ “VU Library Tour” เพื่อประชัาสัมพืันธ์พื้นท่ ให้บริการแลิะการบริการต่างๆ ของสำนักบรรณสารแลิะ สารสนเทศ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ เพื่อส่งเสริมแลิะ สนับสนุนให้ผู้ใชั้รู้จักการบริการของห้องสมุด แลิะสามารถ นำสารสนเทศมาใชั้ประกอบการเรียนการสอน แลิะการวิจัย ได้อย่างมีประสิทธิภาพื เพื่อเป็นการเผยแพืร่ประชัาสัมพืันธ์ สำนักบรรณสารฯ ด้วยส่อวิดีทัศน์แนะนำพื้นท่ให้บริการแลิะ การบริการต่าง ๆของสำนักบรรณสารฯ แลิะอำนวยความ สะดวกแก่นักศึกษา ได้รู้จักพื้นท่ให้บริการแลิะการบริการต่าง ๆ ของสำนักบรรณสารฯ ก่อนเข้ามาใชั้บริการจริง การผลิิตส่อวิดีทัศน์เพื่อการประชัาสัมพืันธ์การใชั้ห้องสมุด


21 จังหวัดนครราชัสีมา เป็นจังหวัดท่ใหญ่เป็นลิำดับท่สอง รองจากกรุงเทพืมหานคร เป็นจังหวัดท่มีประวัติความเป็นมา ยาวนาน รวมท้งมีศิลิปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลิักษณ์ของตนเองหลิายอย่าง หรือมีมรดก ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมศิลิปะการแสดง เชั่นเพืลิงโคราชั นาฏศิลิป์ อันได้ แก่การเลิ่นลิิเก แม้ว่า จะไม่ใชั่ศิลิปะการแสดงอันเป็นเอกลิักษณ์ของคนโคราชัโดยตรง แต่เป็นศิลิปะการแสดงท่มีคณะลิิเก มาต้งรกรากแลิะทำการแสดงท่จังหวัดนครราชัสีมามากมาย แลิะยังมีเอกลิักษณ์ทางด้านศิลิปะ แลิะวัฒนธรรมด้านงานชั่างฝีมือด้งเดิม ได้แก่เคร่องจักสาน หรืองานเส้อผ้าอันเป็นเอกลิักษณ์ เฉพืาะ มีวรรณกรรมพื้นบ้าน ได้แก่ ตำนาน บทสวด เป็นต้น ท่สำคัญคือจังหวัดนครราชัสีมามี เอกลิักษณ์ด้านศิลิปะแลิะวัฒนธรรมทางด้านภาษา เรียกว่า ภาษาโคราชัอันเป็นภาษาถ่นท่ชัาว จังหวัดนครราชัสีมา หรือชัาวโคราชัส่วนใหญ่ใชั้พืูดส่อสารกัน ซ่งแสดงให้เห็นถึงความลิึกซ้ง ทางด้านภาษาท่ใชั้ส่อสารเพื่อสร้างความรู้แลิะความเข้าใจระหว่างกันแลิะกัน ซ่งส่งผลิให้ชัาว โคราชัอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ได้ตระหนักถึงความสำคัญน้ คณะศึกษาศาสตร์จึงได้ จัดทำสารานุกรมโคราชัศึกษา (Encyclopedia of Korat Study) ซ่งหมายถึง การศึกษาเก่ยวกับ จังหวัดนครราชัสีมาหรือโคราชั โดยเน้นทางด้านศิลิปะแลิะวัฒนธรรม ครอบคลิุมแขนงทางด้าน (1) ศิลิปะการแสดง (2) งานชั่างฝีมือด้งเดิม (3) วรรณกรรมพื้นบ้าน (4) ภูมิปัญญาไทย (5) แนวปฏิบัติ ทางสังคม (6) ความรู้แลิะแนวปฏิบัติเก่ยวกับธรรมชัาติแลิะจักรวาลิ แลิะ (7) ภาษา การจัดทำ สารานุกรมโคราชัศึกษาจึงเป็นการเก็บรวบรวมความรู้ทุกแขนงดังกลิ่าว หรือแขนงใดแขนงหน่งท่ เก่ยวข้องกับโคราชัอันเป็นการศึกษาเก่ยวกับโคราชัหรือโคราชัศึกษา สารานุกรมโคราชัศึกษา ดังกลิ่าว จึงสอดคลิ้องกับความหมายของคำว่าสารานุกรมท่ราชับัณฑิตยสถาน (2556 : 1224) ได้ ให้ไว้ว่าเป็นหนังสือท่รวบรวมความรู้ทุกแขนงหรือเฉพืาะแขนงใด แขนงหน่ง มักเรียงตามลิำดับ ตัวอักษร การจัดทำสารานุกรมโคราชัศึกษาคร้งน้ จึงเป็นการจัดทำเอกสารท่จะสามารถเอ้ออำนวยให้เยาวชัน ครูอาจารย์ ผู้บริหาร นักวิชัาการหรือผู้ท่มีความสนใจโดยท่วไป ได้ใชั้เป็นเอกสารสำหรับการศึกษาหาความรู้ ใชั้เป็นเอกสารสำหรับการอ้างอิง แลิะท่สำคัญ อย่างย่งจะเป็นเอกสารสำหรับการอนุรักษ์ สืบสาน ปรับปรุง เปลิ่ยนแปลิงทางด้านศิลิปะแลิะวัฒนธรรมให้ม่นคง ม่งค่ง แลิะย่งยืนสืบไป การจัดทำสารานุกรมโคราชัศึกษา ประจำปี 2565


22 ม ห า วิ ท ย า ลิั ย ว ง ษ์ ชั ว ลิิ ต กุ ลิ เ ป็ น ม ห า วิ ท ย า ลิั ย เ อ ก ชั น แ ห่ ง แ ร ก ข อ ง ภ า ค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ การศึกษาวิชัาการแลิะวิชัาชัีพืระดับสูงทำการวิจัย ให้บริการวิชัาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดแลิะ พืัฒนาเทคโนโลิยี ทำนุบำรุงศิลิปวัฒนธรรม ดังน้นการเผยแพืร่ความรู้ทางวิชัาการแลิะ งานวิจัยท่เก่ยวกับการพืัฒนาองค์ความรู้ จึงเป็น บทบาทแลิะภารกิจสำคัญ เพื่อให้องค์ความรู้ทาง วิชัาการ ผลิงานวิจัย แลิะงานสร้างสรรค์ได้นำไปใชั้ ประโยชัน์แลิะไปสู่สาธารณชัน รวมท้งเป็นแหลิ่งความรู้ ให้กับคณาจารย์ นักวิชัาการ นักศึกษา ตลิอดจน บุคลิากรท่วไป ได้นำองค์ความรู้ไปพืัฒนาต่อยอดทาง ความคิด แลิะการเรียนรู้ รวมไปถึงการสร้างความ ร่วมมือทางวิชัาการท่แสดงถึงองค์ความรู้ใหม่ท่เป็น ประโยชัน์ต่อการพืัฒนาตนเอง ชัุมชัน ท้องถ่น แลิะสังคม ให้ดีย่งข้น ทางมหาวิทยาลิัยฯ ได้ตระหนักถึงประโยชัน์นานัปการในการเป็นส่อส่งเสริม สนับสนุน แลิะเผยแพืร่ผลิงานทางวิชัาการแลิะ ผลิงานวิจัย ท้งในระดับชัาติแลิะนานาชัาติ สำนักวิจัยแลิะบริการวิชัาการ จึงจัดทำโครงการพืัฒนาวารสารมหาวิทยาลิัย วงษ์ชัวลิิตกุลิ เพื่อเป็นส่อกลิางในการเผยแพืร่ความรู้ แลิะวิทยาการด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพื แลิะสหวิทยาการ วิทยาศาสตร์แลิะเทคโนโลิยีโดยมุ่งเน้นงานวิจัยแลิะบทความวิชัาการ ตลิอดจนเป็นแหลิ่งแลิกเปลิ่ยนความรู้ระหว่าง นักศึกษา นักวิชัาการจากสถาบันอุดมศึกษา นักวิชัาการอิสระ ท้งภาครัฐ เอกชัน แลิะภาคประชัาสังคม อันจะก่อให้เกิดความก้าวหน้าทาง วิชัาการแลิะเกิดประโยชัน์ต่อประเทศชัาติโดยส่วนรวม วารสารมหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ Journal of Vongchavalitkul University


23 นิทรรศการจัดแสดงผลิงานนักศึกษา เป็นโครงการท่นำผลิงานทางด้าน วิชัาชัีพืสถาปัตยกรรม ผลิงานจากการเรียนรู้ภายในห้องเรียน ผลิงานการอนุรักษ์ สถาปัตยกรรมพื้นถ่น ผลิงานด้านการบริการวิชัาการแก่สังคม แลิะกิจกรรมต่างๆ ท่เก่ยวข้องกับการเรียนการสอนมาทำการเผยแพืร่สู่สาธารณะ โดยผ่านการจัด นิทรรศการผลิงานนักศึกษา เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีทักษะในการพืัฒนาวิชัาชัีพื อย่างต่อเน่อง เสริมสร้างความภาคภูมิใจแลิะมีทัศนคติท่ดีต่อวิชัาชัีพืสถาปัตยกรรม ท้งน้ยังเป็นการสร้างความรับรู้ถึงศักยภาพืของนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ การจัดกิจกรรมโครงการน้ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมสถาปนิก สยามในพืระบรมราชัูปถัมภ์แลิะมหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ซ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ ส่งเสริมการเผยแพืร่ผลิงานนักศึกษา โดยโครงการน้เป็นการส่งเสริมแลิะสนับสนุน การผลิิตผลิงานของนักศึกษาให้มีคุณภาพืแลิะเผยแพืร่ผลิงานทางวิชัาชัีพืของ นักศึกษาให้เห็นเป็นรูปธรรม สอดคลิ้องกับรายวิชัาการออกแบบสถาปัตยกรรม ซ่งเป็นรายวิชัาหลิักแลิะยังมีผลิงานในรายวิชัาสนับสนุนสาขาอ่นๆท่เก่ยวข้องซ่งเป็น ส่วนหน่งในการเรียนการสอน โดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ 1. เพื่อประชัาสัมพืันธ์แลิะเสริมสร้างภาพืลิักษณ์ ม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ง า น นั ก ศึ ก ษ า ข อ ง ค ณ ะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ 2. เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างสภา สถาปนิ ก สมาคมสถาปนิ กสยามฯ แลิะ สถาบันการศึกษาทางวิชัาชัีพืสถาปัตยกรรม 3. เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีทักษะในการเรียนรู้ นอกห้องเรียน การทำงานร่วมกับผู้ อ่ น เสริมสร้างความภาคภูมิใจ ส่งเสริมการพืัฒนา ทักษะทางวิชัาชัีพื แลิะมีทัศนคติท่ดีต่อวิชัาชัีพื สถาปัตยกรรม นิทรรศการจัดแสดงผลิงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2565


24 การฝึกอบรมระยะส้น เป็นโครงการท่สนองต่อการศึกษาในรูปแบบ ใหม่ ซ่งมีความหลิากหลิายของผู้เรียน ท้งด้านอายุ เพืศ ระดับการศึกษา ความต้องการทักษะความรู้ท่แตกต่างกัน โดยเฉพืาะในวิชัาชัีพืสถาปตยกรรมแลิะการก่อสร้าง ผู้เรียนมีความ ต้องการความรู้ท่หลิากหลิายในการพืัฒนาตนเองแลิะองค์กรได้แก่ การนำเสนอผลิงานทางสถาปัตยกรรมด้วยคอมพืิวเตอร์ระบบ สารสนเทศอาคาร แลิะการสร้างแบบจำลิองสามมิติ (Building Information Modeling) การประมาณราคาด้วยระบบสารสนเทศ การพืัฒนาอสังหาริมทรัพืย์ เป็นต้น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มีศักยภาพืในการ ให้บริการความรู้ด้านท่กลิ่าวมาน้ท้งทรัพืยากรบุคคลิ อาคาร สถานท่แลิะองค์ความรู้ซ่งสามารถเพื่มผลิตอบแทนใหกับ มหาวิทยาลิัย ได้ท้งด้านการเงินแลิะด้านภาพืลิักษณ์องค์กร โดยมี วัตถุประสงค์ดังน้ 1. เพื่อบริการความรู้ด้านสถาปัตยกรรมแลิะสาขาท่เก่ยวข้องให้กับ สังคม 2. เพื่อสร้างเครือข่ายผู้สนใจด้านสถาปัตยกรรม แลิะสาขาท่ เก่ยวข้อง หลิักสูตรระยะส้นคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ พื.ศ. 2565


25 การทำนุบำรุงศิลิปวัฒนธรรมแลิะอนุรักษ์ส่งแวดลิ้อม ถือเป็นพืันธ กิจสำคัญประการหน่งของมหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ มีระบบแลิะกลิไก การดำเนินงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพืแลิะคุณภาพื โดยมีจุดเน้น เฉพืาะตามปรัชัญา แลิะธรรมชัาติของมหาวิทยาลิัย แลิะมีการบูรณาการ เข้ากับพืันธกิจ อ่น ๆ โดยเฉพืาะการผลิิตบัณฑิต รวมท้งมีการจัด กิจกรรมท่ฟ้นฟู อนุรักษ์ สืบสานพืัฒนาเผยแพืร่ศิลิปะแลิะวัฒนธรรม สร้างสรรค์ ส่งเสริมภูมิปัญญำท้องถ่น ให้เป็นรากฐานการพืัฒนาองค์ ความรู้ท่ดีข้น คณะบริหารธุรกิจเลิ็งเห็นความสำคัญดังกลิ่าว แลิะ ตระหนักถึงการปลิูกจิตสำนึกในการทำนุบำรุงศิลิปวัฒนธรรมแลิะการ อนุรักษ์ส่งแวดลิ้อมท่ดีให้กับนักศึกษาโดยการนำส่อออนไลิน์ท่เยาวชัน ให้ความสนใจมาเป็นชั่องทางในการเผยแพืร่วัฒนธรรมท้องถ่นผ่านการ นำเสนอแบบ 2 ภาษา เชั่น ภาษาท้องถ่น แลิะภาษาอังกฤษ จากนักศึกษา ท่เป็นเยาวชันคนรุ่นใหม่สืบสานศิลิปวัฒนธรรมท้องถ่น ภายใต้โครงการ เผยแพืร่วัฒนธรรมท้องถ่นแบบออนไลิน์ได้มีส่วนร่วมในการสืบสาน ศิลิปวัฒนธรรมท้องถ่น ขนบธรรมเนียมประเพืณีอันดีงามของไทย ผ่าน ส่อออนไลิน์ รวมถึงเป็นการใชั้ส่อออนไลิน์ในการกระตุ้นให้เยาวชันร่วม สืบสานวัฒนธรรมท้องถ่นให้คงอยู่สืบไป โดยมีวัตถุประสงค์ดังน้ 1. เพื่อให้นักศึกษาตระหนักรู้แลิะมีส่วนร่วมในการเผยแพืร่ แลิกเปลิ่ยน แลิะสืบสานขนบธรรมเนียมประเพืณีอันดีงามของไทย 2. เพื่อเผยแพืร่กิจกรรมด้านทำนุบำรุงศิลิปะแลิะวัฒนธรรมแก่ นักศึกษา บุคลิากร มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ แลิะบุคคลิภายนอกท่ สนใจผ่านส่อออนไลิน์ต่าง ๆ 3. เพื่อเผยแพืร่ศิลิปะแลิะวัฒนธรรมวิถีชัีวิตอีสานของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ การเผยแพืร่วัฒนธรรมท้องถ่นแบบออนไลิน์ คณะบริหารธุรกิจ ปีการศึกษา 2565


26 สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ อบรม เชัิงปฏิบัติการ จริยธรรม การวิจัยในมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เป็นหลิักจริยธรรมท่วไป ท่ถูกกำหนดข้นเพื่อปกป้องศักด์ศรี ความปลิอดภัย แลิะความเป็นอยู่ท่ดีของ มนุษย์ท่เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในโครงการวิจัย นักวิจัยจึงต้องตระหนักแลิะให้ ความเคารพืในเร่องของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เป็นอย่างย่ง นักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตจำเป็นต้องมีความรู้เบ้องต้นในเร่อง จริยธรรมวิจัยในมนุษย์เพื่อเตรียมย่นขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ในการดำเนินการวิจัยท่เป็นวิทยานิพืนธ์ สารนิพืนธ์ ซ่งเป็นส่วนหน่งของการ สำเร็จการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์จึงจัดโครงการอบรมเชัิงปฏิบัติการจริยธรรม การวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์แลิะพืฤติกรรมศาสตร์ เพื่อให้นักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาแลิะผู้สนใจท่วไป มีความรู้ความเข้าใจเก่ยวกับหลิักจริยธรรมการ วิจัยในมนุษย์ สามารถย่นขอจริยธรรมวิจัยในมนุษย์ได้อย่างถูกต้องตามหลิัก จริยธรรมการวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพื มีความรู้ความเข้าใจแนวทางหรือ หลิักเกณฑ์เก่ยวกับการศึกษาวิจัยในมนุษย์ในการนำไปใชั้เพื่อปกป้องสิทธิแลิะ สวัสดิภาพืของอาสาสมัครต่อไป การจัดทำวารสารวิชัาการถือเป็นหน่งในพืันธกิจสำคัญของคณะศึกษาศาสตร์ เพื่อเป็นเวทีส่งเสริมให้คณาจารย์ บุคลิากร แลิะนักศึกษา รวมถึงนักวิชัาการ ภายนอกได้มีเวทีเผยแพืร่ผลิงานวิชัาการ สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ได้ดำเนินการเผยแพืร่ผลิงาน วิชัาการมาอย่างต่อเน่อง แลิะในปีการศึกษา 2565 นับเป็นปีท่ 9 ของการ ดำเนินงานบทความในวารสาร คณะศึกษาศาสตร์เลิ็งเห็นถึงความจำเป็นท่จะต้องดำเนินงานวารสาร อย่างต่อเน่องเพื่อเป็นการพืัฒนาแลิะยกระดับคุณภาพืของวารสาร สร้าง ภาพืลิักษณ์ท่ดีในฐานะเป็นเวทีเผยแพืร่ผลิงานวิชัาการให้บุคคลิภายในแลิะ ภายนอก เพื่อเผยแพืร่บทความวิจัยแลิะบทความวิชัาการผ่านระบบ Thai Journals Online (ThaiJO) อย่างต่อเน่อง


27 คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ได้ทำบันทึกข้อตกลิงความร่วมมือ คณ(MOA) ทางด้าน วิชัาการแลิะวิจัยกับวิทยาลิัยครุศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลิัย ปาร์ติโต้ สเตท จังหวัดคามารีเนสซูร์ ประเทศฟิลิิปปินส์ ในรูปแบบเสมื อนจริ ง (Virtual Signing) เ ม ่ อ วั น ท่ 28 กุมภาพืันธ์ 2565 โดยหน่งในภารกิจท่ท้งสองฝ่ายจะต้องถือปฏิบัติ ร่วมกันตามบันทึกข้อตกลิงคือ การจัดประชัุมวิชัาการ ระดับนานาชัาติซ่งท้งสองฝ่ายจะเป็นเจ้าภาพืร่วมกัน ซ่งถือเป็นจุดเร่มต้นของคณะฯในการจัดงานประชัุม วิชัาการระดับนานาชัาติแลิะมีเครือข่ายความร่วมมือกับ มหาวิทยาลิัยในต่างประเทศ การจัดประชัุมคร้งน้มีวัตถุประสงค์ท่จะใชั้เป็นเวที แลิกเปลิ่ยนองค์ความรู้ วิทยาการ ท่เก่ยวข้องกับการ ศึกษาศาสตร์การสอนการใชั้เทคโนโลิยีแลิะนวัตกรรมใน การจัดการเรียนการสอน การบริหารการศึกษาฯลิฯ ซ ่ ง เ ป็ น ฐ า น ค ว า ม รู้ ส ำ คั ญ ใ น ก า ร พืั ฒ น า ง า น ด้านศึกษาศาสตร์ อีกท้งยังเป็นเวทีให้กับนักศึกษา ในระดับบัณฑิตศึกษา ได้นำเสนอผลิงานทางวิชัาการ ในรูปแบบภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตามการแพืร่ระบาดของเชั้อโรค COVID-19ยังคงมีอยู่อย่างต่อเน่อง เพื่อเป็นการป้องกัน แลิะลิดความเส่ยงในการแพืร่กระจายโรค จึงนำมาสู่การ จัดการประชัุมทางวิชัาการระดับนานาชัาติคร้งท่ 1 ในรูปแบบ online เพื่อให้ทันต่อการเปลิ่ยนแปลิงของ วิทยาการด้านการศึกษาแลิะเทคโนโลิยีนวัตกรรมอย่าง ก้าวกระโดด การประชัุม แลิะนำเสนอ ผลิงานวิชัาการ ทางการศึกษาระดับนานาชัาติ คร้งท่ 1 หัวข้อ Innovation in Education


28 กิจกรรมท่ 1 พืัฒนาบริการวิชัาการให้เกิดนวัตกรรมผู้สูงอายุ ตำบลิหม่นไวย กิจกรรมท่ 2 บริการวิชัาการสร้างเสริมศักยภาพืชัุมชันตำบลิพืุดซา กิจกรรมท่ 3 พืัฒนาระบบการส่อสาร/ประชัาสัมพืันธ์หลิักสูตร อบรมระยะส้น หรือการบริการท่สร้างรายได้ออนไลิน์ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ อาศัยอำนาจตาม ความในมาตรา 43 (1) แลิะ (13) แห่งพืระราชับัญญัติ สถาบันอุดมศึกษาเอกชัน พื.ศ. 2546 แก้ไขเพื่มเติม (ฉบับท่ 2) พื.ศ. 2550 กำหนดให้คณะวิชัาแลิะหน่วยงานต่างๆ จัดทำแผน แลิะกิจกรรมบริการวิชัาการแก่สังคมอย่างเป็นระบบ โดยมี การบูรณาการในพืันธกิจหลิักของมหาวิทยาลิัย ประกอบด้วย งานด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการ วิชัาการ แลิะการทำนุบำรุงศิลิปวัฒนธรรม ในรูปแบบต่างๆ ตามความเชั่ยวชัาญของแต่ลิะคณะวิชัา การให้บริการทาง วิชัาการอาจให้เปลิ่าโดยไม่คิดค่าใชั้จ่ายหรืออาจคิดค่าใชั้จ่าย ตามความเหมาะสม โดยให้บริการท้งหน่วยงานภาครัฐแลิะ เอกชัน หน่วยงานอิสระ หน่วยงานสาธารณะ ชัุมชัน แลิะสังคม โดยกว้าง รูปแบบการให้บริการทางวิชัาการมีความ หลิากหลิาย การให้บริการทางวิชัาการนอกจากเป็นการทำ ประโยชัน์ให้สังคมแลิ้ว สถาบันยังได้รับประโยชัน์ในด้านต่างๆ คือ เพื่มพืูนความรู้แลิะประสบการณ์ของอาจารย์อันจะนำมาสู่ การพืัฒนาหลิักสูตร มีการบูรณาการเพื่อใชั้ประโยชัน์ ทางด้านต่างๆ การนำไปสู่ประโยชัน์สูงสุดจำเป็นอย่างย่งต้อง มีกระบวนการบริการทางวิชัาการให้เกิดประโยชัน์ต่อสังคม ได้แก่ การสำรวจความต้องการของชัุมชัน มีความร่วมมือด้าน บริการวิชัาการเพื่อการเรียนรู้แลิะเสริมสร้างความเข้มแข็งของ ชัุมชัน มีการประเมินประโยชัน์หรือผลิกระทบของการให้บริการ ทางวิชัาการต่อสังคม มีการนำผลิการประเมินไปพืัฒนาระบบ แลิะกลิไก หรือกิจกรรมการให้บริการทางวิชัาการ มีการพืัฒนา ความรู้ท่ได้จากการให้บริการทางวิชัาการแลิะถ่ายทอดความรู้สู่ บุคลิากรภายในสถาบันแลิะเผยแพืร่สู่สาธารณชัน สำนักวิจัยแลิะ บริการวิชัาการจึงจัดทำโครงการ บริการวิชัาการสร้าง ศักยภาพืชัุมชันสู่ความม่นคง ม่งค่ง แลิะย่งยืน ประจำปี การศึกษา 2565 เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายชัุมชัน อันจะนำไปสู่ความม่งค่ง แลิะย่งยืนต่อไป โดยในปีการศึกษา 2565 จะจัดกิจกรรมบริการวิชัาการ 2 กิจกรรม 1. การสร้างนวัตกรรมผู้สูงอายุตำบลิหม่นไวย 2. การสร้างเสริมศักยภาพืชัุมชันตำบลิพืุดซา การบริการวิชัาการสร้างศักยภาพืชัุมชัน สู่ความม่นคง ม่งค่ง แลิะย่งยืน ประจำปีการศึกษา 2565


29 การบริการวิชัาการแก่สังคม เป็นภารกิจหลิักประการหน่ง ของมหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ คณะบริหารธุรกิจ ได้เลิ็งเห็น ความสำคัญของการบริการวิชัาการแก่สังคม จึงได้จัดทำ โครงการบริการวิชัาการแก่สังคมแบบให้เปลิ่าในหลิากหลิาย รูปแบบ ท้งการจัดการฝึกอบรม การอบรมเชัิงปฏิบัติการ แลิะการให้บริการองค์ความรู้ทางวิชัาการ โดยมุ่งเน้นการ ร่วมมือกับชัุมชัน องค์การ สถานศึกษา หน่วยงานท้ง ภาครัฐแลิะเอกชัน เพื่อให้ชัุมชันแลิะสังคม ได้พืัฒนาองค์ ความรู้ พืัฒนาฝีมือแลิะอาชัีพื เกิดความรู้ด้าน วิชัาการ เพื่อพืัฒนาความเข้มแข็งของชัุมชันแลิะพืัฒนาให้เกิดสังคม แห่งการเรียนรู้ รวมท้งนำความรู้แลิะประสบการณ์ท่ได้รับ จากการบริการวิชัาการมาพืัฒนาแลิะบูรณาการการ เรียนการสอนแลิะการวิจัยได้ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชัาการจัดการ ลิงพื้นท่บริการวิชัาการ ณ หมู่บ้านโคกกระชัาย ตำบลิโคก กระชัาย อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชัสีมา ในกิจกรรม พืัฒนาศักยภาพืผู้ประกอบการ เพื่อชั่วยในส่วนของการ ปรับปรุงการดำเนินงาน การลิดต้นทุนการผลิิต รวมถึง การต้งราคาขายให้กับผู้ประกอบการชัุมชัน การบริการวิชัาการแก่สังคมแบบให้เปลิ่า คณะบริหารธุรกิจ


30 คณะบริหารธุรกิจ โดย สาขาบัญชัี บัณฑิต มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ได้มีการให้ คำปรึกษาเพื่อย่นแบบแสดงภาษีเงินได้บุคคลิ ธรรมดา ประจำปี การศึกษา 2565 เพื่อให้ กลิุ่มเป้ าหมายได้รับความรู้ เก่ยวกับภาษีเงินได้ บุคคลิธรรมดาอีกท้งทำความเข้าใจเก่ยวกับภาษี แลิะวิธีการย่นภาษีผ่านทางระบบ กิจกรรมให้คำปรึกษาเพื่อย่นแบบแสดง ภาษีเงินได้บุคคลิธรรมดา ประจำปีการศึกษา 2565 คณะบริหารธุรกิจ การแข่งขันทักษะด้านการบริหารธุรกิจ ระดับอุดมศึกษา ปี 2566 กิจกรรมการประกวดแผนธุรกิจ สาขาวิชัาการจัดการโลิจิสติกส์แลิะโซ่อุปทาน คณะบริหารธุรกิจ ได้ร่วมกันฟอร์มทีม LSCM เป็ นตัวแทน เข้าร่วมโครงการแข่งขันทักษะด้านการบริหารธุรกิจ ระดับอุดมศึกษา ปี 2566 กิจกรรมการประกวดแผนธุรกิจ ภายใต้ชั่อ “แผนธุรกิจ นวัตกรรมเชัิงสร้างสรรค์ SME 4.0 (BRU Business Plan Innovation of Creative for SME 4.0 in Challenge 2023)” ท่จัดข้นโดยคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลิัยราชัภัฏบุรีรัมย์


31 คณะบริหารธุรกิจโดยสาขาวิชัาการ จัดการ ได้ส่งตัวแทนนักศึกษาเข้าร่วมการแข่งขัน BGC Economy Model จัดโดย มหาวิทยาลิัยเทคโนโลิยีสุรนารี แลิะ Youth in Charge โดย กลิุ่ม MGMT 1 ในหัวข้อ "Green ดีกว่า" แนวคิด ตู้คัดเเยกขยะอัจฉริยะ "บุญท้ง...ท้งได้ท้งดี" แลิะ กลิุ่มท่ MGMT 2 ในหัวข้อ "แปร-เปลิ่ยน-ปัง" แนวคิด การสร้าง มูลิค่าเพื่มให้กับทรัพืยากรในท้องถ่น "รำน้อยบ้านนา" ร่วมกับ สถาบันการศึกษารวม 25 ทีม จาก 6 สถาบัน แลิะยัง คว้ารางวัลิท่ 1 where are youth from (ขวัญใจมหาชัน) ท่เป็นการประชัาสัมพืันธ์กิจกรรมในคร้งน้อีกด้วย การแข่งขัน BGC Economy Model


32 สาขาวิชัาเทคโนโลิยีธุรกิจดิจิทัลิ คณะ บริหารธุรกิจ ได้ส่งตัวแทนนักศึกษาท่ไม่ได้มีจำกัด เพืศแลิะวัย อีกท้งความสามารถ เข้าร่วมแข่งขันออกแบบ นวัตกรรมด้วยเทคโนโลิยี พืัฒนาโซลิูชััน โมเดลิธุรกิจใหม่ๆ เพื่ออนาคตของโคราชัเมืองสุขภาพื ประชัาชันอยู่ดีมีสุข ภายใต้หัวข้อ “Aging Society” ท่จะทำให้สังคมผู้สูงวัยมี คุณภาพืชัีวิตท่ดีข้น ในกิจกรรม Pitching Day คณะบริหารธุรกิจ ยังดำเนินกิจกรรมท่ชั่อว่า การส่งของจากจีนไม่ยาก อย่างท่คิด โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการท่ ไม่ได้จำกัดเพืศแลิะวัย ได้มี โอกาสแลิะได้รับความรู้แลิะ สามารถส่งซ้อสินค้าจาก ประเทศจีนได้ด้วยตนเอง แลิะ ยังสามารถรู้ถึงปัญหาท่อาจจะเกิดข้นในการส่งซ้อสินค้าจาก ประเทศจีนผ่าน Taobao แลิะ 1688 รวมถึงการรับรู้ถึงการ ขนส่งสินค้าจากจีนด้วย โดยเป็นการอบรมผ่านชั่องทาง ออนไลิน์ ในโครงการ VU Hackathon 2022 เพื่อค้นหาสุดยอดแนวคิด นวัตกรรม โซลิูชััน โมเดลิธุรกิจใหม่ๆ เพื่ออนาคตของโคราชั เมืองสุขภาพื ประชัาชันอยู่ดีมีสุข เม่อวันท่ 28 มกราคม 2566 ณ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ แลิะได้รับรางวัลิชัมเชัย กับการออกแบบผลิงานท่ชั่อ "Fair JOB" แอปพืลิิเคชัันจ้างงาน ผู้สูงวัย ใครไม่ Fair แต่ Fair JOB ในการแข่งขัน VU Hackathon 2022 กิจกรรมการส่งของจากจีนไม่ยากอย่างท่คิด


33 กิจกรรมนอกห้องเรียน ฝึ กให้เก่ง ฝึ กให้ปฏิบัติ ในงาน “หอ การค้าแฟร์ KORAT FOODEX 2022” มหกรรมอาหารท่ ย่งใหญ่ท่สุด ในภาคอีสาน ในวันท่ 14 - 18 กันยายน 2565 ณ MCC HALL ชั้น 3 THE MALL KORAT นั ก ศึ ก ษ า ส า ข า วิ ชั า ก า ร ต ลิ า ด คณะบริหารธุรกิจ ได้มีการจัดการเรียนการสอน นอกสถานท่ให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากสถานการณ์จริง แลิะมี การสอบถามจากผู้ประกอบการเพื่อหาประสบการณ์ท่ ต้องการอยากรู้ได้อย่างแท้จริง อีกท้งยังได้เรียนรู้วิธีการทำ การตลิาดของผู้ประกอบการจากหลิากถ่นด้วย กิจกรรมนอกห้องเรียน ฝึกให้เก่ง ฝึกให้ปฏิบัติ ในงาน “หอการค้าแฟร์ KORAT FOODEX 2022”


34 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ได้จัดการประชัุมแลิะนำเสนอผลิงานวิชัาการทางบริหารธุรกิจ ระดับชัาติคร้งท่ 1 ผ่าน Zoom แลิะ Google Meet ในหัวข้อ “ธุรกิจอัจฉริยะแลิะส่งแวดลิ้อมอัจฉริยะเพื่อเป้ าหมายการพืัฒนา อย่างย่งยืน” ในวันท่ 13-14 พืฤษภาคม 2566 ซ่งได้รับเกียรติ จาก รศ.ดร.ชััชัพืลิ ทรงสุนทรวงศ์ เป็นองค์ปาฐก การประชัุมแลิะนำเสนอผลิงานในคร้งน้ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลิัยวงษ์ชัวลิิตกุลิ ร่วมกับสถาบันต่างๆ ดังน้ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชันแห่งประเทศไทย (สสอท.) หลิักสูตรปรัชัญาดุษฎีบัณฑิตแลิะศิลิปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชัาการจัดการอุตสาหกรรมบริการแลิะการท่องเท่ยว บัณฑิตวิทยาลิัย มหาวิทยาลิัยเกษมบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลิัยราชัภัฎเพืชัรบูรณ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลิัยรามคำแหง วิทยาลิัยการโรงแรมแลิะการท่องเท่ยว มหาวิทยาลิัย เทคโนโลิยีราชัมงคลิศรีวิชััย วิทยาเขตตรัง จัดการประชัุมแลิะนำเสนอผลิงานวิชัาการทางบริหารธุรกิจ ระดับชัาติคร้งท่ 1


35 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ได้กำหนด กลยุทธศาสตร์เชิงรุกด้านการพัฒนานวัตกรรมบริการ วิชาการสู่ชุมชนและสังคมเพ่อความม่นคง ม่งค่ง และย่งยืน โดยมีเป้าประสงค์ให้เป็นผู้นำในการสร้าง จัดการ สร้างเสริม สมรรถนะและแบ่งองค์ความรู้ เทคโนโลยีนวัตกรรมสีเขียวท่ ย่งยืน ( Smart City and Green Innovation Leader) โดยการช่วยลดภาวะโลกร้อน เพ่มสัดส่วนการใช้พลังงาน ทดแทนโดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่อให้บรรลุตาม แผนพัฒนาของมหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ได้รับ มอบหมายให้จัดทำศูนย์การเรียนรู้ด้านพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่อเป็นแหล่งการวิจัยการเรียนรู้ชุมชนในการส่งเสริม สนับสนุนและบริการข้อมูลด้านพลังงานแสงอาทิตย์ให้กับ ประชาชนท่สนใจ ด้วยการจัดสภาพการณ์และส่งแวดล้อมให้ เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ดังน้ 1. เซลล์แสงอาทิตย์ หรือโซลาร์เซลล์ (Solar Cell) เป็นส่งประดิษฐ์อิเล็กทรอนิกส์ท่เปล่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานไฟฟ้าได้โดยตรง เซลล์แสงอาทิตย์ทำมาจาก สารก่งตัวนำ ซ่งดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์แล้วเปล่ยนเป็น พลังงานไฟฟ้า โดยไฟฟ้าท่ได้จะเป็นไฟฟ้ากระแสตรง 2. เซลล์แสงอาทิตย์ เป็นอุปกรณ์ผลิตพลังงานไฟฟ้า ท่ไม่ต้องใช้เช้อเพลิงอ่นใดนอกจากแสงอาทิตย์ ซ่งเป็น พลังงานท่ได้เปล่า ไม่มีของเสียท่จะทำให้เกิดมลพิษขณะใช้ งาน เป็นอุปกรณ์ท่ติดต้งอยู่กับท่ไม่มีการเคล่อนไหวใด ๆ ขณะทำงาน จึงไม่มีปัญหาด้านความสึกหรอ หรือต้องการ การบำรุงรักษาเหมือนอุปกรณ์ผลิตพลังงานไฟฟ้าแบบอ่นๆ เช่น เคร่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยนำมันดีเซล นอกจากน้นเซลล์ แสงอาทิตย์ยังมีนำหนักเบา จึงทำให้ได้อัตราส่วนระหว่าง กำลังไฟฟ้าต่อนำหนักได้ดีท่สุด การติดต้งระบบผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เพ่อเป็นศูนย์การเรียนรู้


36 การทำเกษตรในประเทศไทย รวมท้งในจังหวัด นครราชสีมา ท่ผ่านมาเกษตรกรจะคุ้นชินกับการเกษตรแบบ ด้งเดิม มีการเรียนรู้ถ่ายทอดองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่นและมักใช้ แรงงานเป็นหลัก มีการใช้เคร่องมือจักรกลทางการเกษตร พ้นฐาน เช่นรถไถ เคร่องสูบนำ เคร่องพ่นปุ๋ยและยากำจัด ศัตรูพืช แต่ส่งสำคัญท่เป็นปัญหาของเกษตรกรน้น คือการ ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ รวมถึงความสามารถ ในการรับมือกับการแปรผันสภาพภูมิอากาศ ส่งผลให้ปริมาณ และคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรไม่คงท่หรือไม่ดีเท่าท่ควร อีกท้งไม่สามารถลดต้นทุนการเพาะปลูกได้ ปัจจุบันโลกเปล่ยนไป เทคโนโลยีเข้ามาทดแทนหลายส่ง หลายอย่างในชีวิตคนเรารวมท้งภาคการเกษตรด้วย ซ่ง เกษตรกรบางส่วนได้ปรับใช้วิธีเกษตรแบบผสมผสาน จาก การศึกษาผ่านประสบการณ์เกษตรสมาชิกเครือข่ายเกษตร ผสมผสาน อำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น พบว่า เกษตร ผสมผสานเป็นยุทธศาสตร์การดำรงชีพท่ช่วยเกษตรกรใน การคล่คลายปัญหาจากการทำเกษตรแผนใหม่ท่มุ่งสู่การ ปลูกพืชเชิงเดียวเพ่อขายสู่ท้องตลาดดังน้นเทคโนโลยีเป็น ส่วนหน่งท่เข้ามาในชีวิตประจำวัน รวมท้งการเกษตรด้วย จึง เรียกว่า Smart Farming เพ่อให้เกิดเกษตรกรในยุคใหม่ ทำให้เร่มมีผู้สนใจปรับเปล่ยนเกษตรแบบเดิม ๆ มาเป็นวิธีทำ เกษตรแบบไฮเทค หรือฟาร์มอัจฉริยะท่มีการจัดการอย่าง ถูกต้องแม่นยำ เป็นนวัตกรรมใหม่ของเกษตรในยุคดิจิตอล มี การนำเอาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสารสนเทศหลายด้านมาใช้ เช่น GPS GIS remote-sensor proximal-sensing VRT และ DSS โดยผ่านเครือข่ายสัญญาณอินเตอร์เน็ตไร้สาย มีการ รับส่งข้อมูลและมีการประมวลผลด้วยโปรแกรม คือ การเก็บ ข้อมูล การวินิจฉัยข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การปฏิบัติตาม แผน และการประเมินผล ส่งผลให้เกิดปัจจัยท่มีประสิทธิภาพ เพ่มผลผลิตท่มีคุณภาพสูง คุ้มค่าต่อการลงทุน การทำโครงการศูนย์เรียนรู้เกษตรอัจฉริยะ จะนำ IoT (Internet of thing) มาปรับใช้ในฟาร์มพืช เพราะ แตกต่างจากแบบเดิมโดยแสดงให้เกษตรเห็นว่า ฟาร์ม อัจฉริยะท่ใช้ IoT น้นสามารถใช้ทรัพยากรน้นทำได้อย่าง แม่นยำและตรงตามความต้องการของพืช ช่วยลดการ สูญเสียทรัพยากรได้ผลผลิตท่ดี โดยมีวิจัยโดยการนำเอา เทคโนโลยีของอุตสาหกรรม 4.0 มาประยุกต์ใช้กับ การเกษตรท่มีพ้นท่ขนาดเล็กเพ่อนำไปสู่การ เ พ่ม ประสิทธิภาพในการบริการจัดการฟาร์ม ในส่วนของหน่วยบริการนวัตกรรมและเทคโนโลยีคณะ วิศวกรรมศาสตร์จึงจัดทำโครงการ “ศูนย์การเรียนรู้ สมาร์ทฟาร์ม” เพ่อเป็นแหล่งเรียนรู้แก่เกษตรกรและผู้ท่สนใจ ท่วไป นอกจากน้หน่วยบริการนวัตกรรมและเทคโนโลยียังมี ความพร้อมท้งบุคลากร สถานท่ การส่งเสริมและถ่ายทอด เทคโนโลยี การจัดอบรมระยะส้นและสามารถเผยแพร่องค์ ความรู้สู่ภายนอก ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล กลุ่ม 3 พัฒนาชุมชนท้องถ่นหรือชุมชน การศูนย์การเรียนรู้สมาร์ทฟาร์ม มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล


37 พลังงานแสงอาทิตย์ เป็นพลังงานหมุนเวียนชนิดหน่ง เป็นพลังงานสะอาดและไม่ทำปฏิกิริยาใดๆ อันจะทำให้เกิด ส่งแวดล้อมเป็นพิษ พลังงานแสงอาทิตย์สามารถเปล่ยนรูปอ่น ได้ เช่น พลังงานไฟฟ้า ในปัจจุบันมีหลายหน่วยงานใช้และได้ทำ การติดต้งโซลาร์เซลล์ เพ่อใช้ในลักษณะต่าง ๆ ตลอดจนมีการ ส่งเสริมวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์อย่าง ต่อเน่อง ซ่งมีความสำคัญจำเป็นต้องนำมาใช้ประโยชน์อย่างมี ประสิทธิภาพและถูกต้อง เหมาะสม โดยนำความรู้ไปประกอบ อาชีพ ขยายผลผลิตเชิงพาณิชย์ต่อไป คณะวิศวกรรมศาสตร์ หน่วยงานภาครัฐและเอกชน จึงได้จัด ให้มีการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการโซลาร์รูปท็อป เร่อง พลังงานทดแทนโซลาร์เซลล์ เพ่อถ่ายทอดเทคโนโลยีการ ประยุกต์ใช้งานร่วมกับอุปกรณ์โซลาร์เซลล์วิธีการออกแบบ ท่เหมาะสมกับลักษณะงาน พัฒนาให้เกิดทักษะความชำนาญ ในการปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยมี วัตถุประสงค์ดังน้ 1. เพ่อฝึกทักษะความรู้ ความเข้าใจ สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า การต่อวงจร และการติดต้งตามมาตราฐานทางไฟฟ้าได้ 2. เพ่อเข้าใจการทำงาน ชนิด และการนำไปใช้งานของ โซลาร์เซลล์ได้ 3. สามารถออกแบบการติดต้ง เช่นการหาตำแหน่ง ติดต้งและติดต้งอุปกรณ์โซลาร์เซลล์ได้ 4. สามารถประยุกต์ใช้พลังงานแสงอาทิตย์กับอุปกรณ์ ไฟฟ้าภายในบ้านพักอาศัยได้ 5. สามารถตรวจสอบหาแนวทางแก้ไขปัญหาท่เกิดข้น และบำรุงรักษาอุปกรณ์โซลาร์เซลล์ได้ การอบรมเชิงปฏิบัติการ“พลังงานทดแทนโซลาร์เซลล์” สำหรับประยุกต์ใช้งานด้านวิชาชีพ


38 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล มีการส่งเสริมการทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งแวดล้อมน้น พร้อมกับกรมอนุรักษ์พลังงานมีนโยบาย ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานเพ่อสร้างเป็นพ้นท่สีเขียวน้น ทาง คณะวิศวกรรมศาสตร์จึงได้จัดทำโครงการ “ มหาลัยสีเขียว (Green University) ” ข้น เพ่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยและนโยบายของรัฐ ท้งน้เพ่อให้เกิดการทำงานใน บรรยากาศท่มีความร่มร่น เป็นมิตรกับส่งแวดล้อมและยังส่งผล ให้เกิดการประหยัดพลังงานข้นอีกด้วย ในการจัดทำโครงการ มหาลัยสีเขียวน้นจำเป็นต้องพิจารณาส่งแวดล้อมทุกอย่าง อาทิ พลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อน เช้อเพลิง นำ ขยะและ ส่งแวดล้อม โดยการจัดการทำให้เกิดการประหยัดพลังงานและ ลดขยะลง ลดมลพิษภายในอากาศลง สร้างเสริมส่งแวดล้อมให้ ดีย่งข้น มีการปรับใช้พลังงานทางเลือกให้เหมาะสม และนำ ความรู้เหล่าน้มาปรับเข้ากับบทเรียน งานวิจัยต่อไป คณะวิศวกรรมศาสตร์ได้จัดโครงการ “ประเมินและปรับปรุง ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น ไ ฟ ฟ้ า ข อ ง อ า ค า ร วิศวกรรมศาสตร์ เพ่อตอบโจทย์มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) ” โดยเร่มจากการวิเคราะห์ศักยภาพ ของอาคารด้านพลังงานไฟฟ้า ปรับปรุงประสิทธิภาพการ ใช้พลังงานของอาคารให้ดีย่งข้น และทำการพิจารณา พลังงานทางเลือกมาใช้กับอาคารวิศวกรรมศาสตร์ต่อไปใน อนาคต โดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ 1. ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในอาคาร 2. ประเมินขนาดของพลังงานทางเลือกท่เหมาะสม ต่อความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในอาคาร การประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงานไฟฟ้า ของอาคารวิศวกรรมศาสตร์ เพ่อตอบโจทย์มหาวิทยาลัยสีเขียว


Click to View FlipBook Version