The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

0. รายงานผลการดำเนินงาน SDGs ปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by looknam0315, 2023-08-10 03:37:12

0. รายงานผลการดำเนินงาน SDGs ปี 2565

0. รายงานผลการดำเนินงาน SDGs ปี 2565

39 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำริบางประการเก่ยวกับการ อนุรักษ์พันธุกรรมพืช "การ สอนและอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณน้น ควรใช้ วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติท่จะ ทำการ ศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน จึงเป็นการดำเนินงานท่อิงรูปแบบของ “สวนพฤกษศาสตร์” โดยมีการรวบรวมพันธุ์ไม้ ท่มีชีวิต มีแหล่งข้อมูล พรรณไม้ มีการศึกษาต่อเน่อง มีการเก็บตัวอย่างพรรณไม้แห้ง พรรณไม้ ดอง มีการรวบรวมพันธุ์ไม้ท้องถ่นเข้ามาปลูกรวบรวมไว้ในโรงเรียน และภูมิ ปัญญาท้องถ่น มีการบันทึกรายงานและข้อมูล รวมท้งภูมิปัญญาท้องถ่น เก่ยวกับพันธุ์ไม้ มีมุมสำหรับศึกษาค้นคว้าและมีการนำไปใช้ประโยชน์เป็นส่อ การเรียนการสอนในวิชาต่างๆ เป็นการดำเนินการให้สอดคล้อง กับสภาพท้องถ่น ไม่ฝืนธรรมชาติ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ตระหนักถึงความสำคัญในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อมมาโดยตลอด ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจ และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ เพ่อเป็นการปลูกฝังและ สร้างจิตสำนึกในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อม อีกท้งมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลได้กำหนดให้การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อม จึงได้เข้าร่วมสนองพระราชดำริในโครงการอรุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเน่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และเห็นควรส่งเสริมให้อาจารย์ และนักศึกษา ได้ร่วมสนองพระราชดำริ เพ่อเป็น การสร้างจิตสำนึกและเพ่มพูนความรู้ในการอนุรักษ์พรรณไม้ของไทย โดยมีวัตถุประสงค์ดังน้ 1. เพ่อสนองพระราชดำริ โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเน่องมาจากพระราชดำริฯ (อพ.สธ.) 2. เพ่อให้คณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชในมหาวิทยาลัย 3. เพ่อเป็นการเพ่มพ้นท่สีเขียวในมหาวิทยาลัย เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและ ทรัพยากรธรรมชาติในการเรียนการสอนวิชาต่างๆ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ประจำปี 2565


40 ภาวะโลกร้อน หรือภาวะภูมิอากาศเปล่ยนแปลงเป็น ปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบันสังเกตได้จากอุณหภูมิของโลก ท่สูงข้นเร่อย ๆ สาเหตุหลักของปัญหาน้มาจากปรากฏการณ์ เรือนกระจก ผลกระทบจากการท่โลกร้อนข้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อเน่องต่อส่งท่มีชีวิตในโลก ดังน้น วิกฤตดังกล่าวจึงเป็น หน้าท่สำคัญของทุกคนบนโลกใบน้จะต้องรับผิดชอบร่วมกัน การแก้ปัญหาโลกร้อนวิธีหน่งก็คือ การปลูกต้นไม้ทดแทนมาก ข้นจากการทำลายป่าไม้ด้วยนำมือของมนุษย์กันเอง มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ได้ตระหนักถึงปัญหาและ ความจำเป็นในการช่วยลดภาวะโลกร้อน และความรับผิดชอบ ต่อสังคมส่วนรวมโดยให้นักศึกษาซ่งจะเป็นเยาวชนและกำลัง สำคัญต่อไปในอนาคตของชาติ ได้จัดกิจกรรมท่มุ่งสร้างความ สำนึกรับผิดชอบต่อสังคมและการมีจิตอาสามุ่งบำเพ็ญ ประโยชน์รับใช้ส่วนรวม อีกท้งการทำกิจกรรมดังกล่าวยังมี ส่วนให้นักศึกษาได้ร่วมกันทำกิจกรรมต่าง ๆ เป็นการ เสริมสร้างความสามัคคี ความรักใคร่กลมเกลียว ปลูกฝังให้รัก สถาบัน รักธรรมชาติและส่งแวดล้อม อีกท้งยังให้นักศึกษาได้มีโอกาสแสดงออกในทางท่เหมาะสม และนำข้อคิดจาก ประสบการณ์ท่ได้จากการทำกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อชีวิตตนเองในภายภาคหน้าได้ สำนักพัฒนานักศึกษา จึงได้จัดกิจกรรม MORVONG คนอาสา ปลูกป่าทดแทน ลดภาวะโลกร้อน เฉลิมพระเกียรติฯ ประจำปี 2565 เพ่อให้นักศึกษาได้อนุรักษ์ป่าและส่งแวดล้อมให้ป่าไม้อุดมสมบูรณ์มากย่งข้น โดยมีวัตถุประสงค์ดังน้ 1. เพ่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติและแสดงออกถึงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 2. เพ่อเพ่มพ้นท่ป่าให้ชุมชนและพ้นท่สาธารณะ เพ่อเป็นแหล่งต้นนำในการอุปโภค บริโภค และทำการเกษตร 3. เพ่อสร้างความรัก สมัครสมาน สามัคคี ร่วมคิด ร่วมทำ ของนักศึกษาและชุมชน MORVONG คนอาสา ปลูกป่าทดแทน ลดภาวะโลกร้อน เฉลิมพระเกียรติฯ ประจำปี 2565


41 มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ได้ตระหนักถึง ความสำคัญของการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศท่ เอ้อต่อการเรียนรู้ ในการเรียนการสอนท้งภายในและ ภายนอกห้องเรียน เพ่อให้สภาพแวดล้อมร่มร่นและมีแหล่ง เรียนรู้สำหรับผู้เรียนท้งยังส่งเสริมให้ผู้เรียนรักการออ กำลังกายเพ่อให้สุขภาพท่ดีและให้บริการต่างๆ ด้วย มหาวิ ทยาลั ยมี ยุ ทธศาสตร์ ท ่ 4 การท ำนุ บ ำรุ ง ศิลปะวัฒนธรรมและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งแวดล้อม เพ่อพัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัย สีเขียวเพ่ออนุรักษ์ส่งแวดล้อมของสถาบันแห่งน้ให้อยู่กับ ธรรมชาติอย่างย่งยืน จึงได้พัฒนาระบบบริหารจัดการในการเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว โดยมีท้งหมด 6 ด้าน ดังน้ 1. ท่ต้งและโครงสร้างพ้นฐาน 4. การกำจัดนำ 2. การจัดการพลังงานและการเปล่ยนแปลงภูมิอากาศ 5. การขนส่งท่เป็นมิตรกับส่งแวดล้อม 3. การกำจัดของเสีย 6. การศึกษาด้านส่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างย่งยืน ท้งน้ ทางสำนักพัฒนานักศึกษา จึงได้มีการจัดอบรมให้ความรู้ ในหัวข้อ “มหาวิทยาลัยสีเขียว Green University” ให้กับคณาจารย์และบุคลากรในมหาวิทยาลัยวงษ์ลิตกุล ในวันพฤหัสบดี ท่ 27 เมษายน พ.ศ. 2566 บรรยายโดย อาจารย์ ดร.กิติกร จามรดุสิต รองอธิการบดีฝ่ายส่งแวดล้อมและพัฒนาอย่างย่งยืน ซ่งเป็นรู้ท่มีความรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์ด้านการพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยสีเขียว Green University การพัฒนามหาวิทยาลัยสีเขียว Green University


สำสำสำสำนันักนันัแผนยุยุยุทยุธ์ธ์ศธ์ธ์ าสตร์ร์แร์ร์ ละประกักักันกัคุคุณคุคุภาพ มหาวิวิทวิวิยาลัลัลัยลัวงษ์ษ์ษ์ชษ์ วลิลิลิตลิกุกุลกุกุ


Click to View FlipBook Version