The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปน. อินทนิล, 2022-10-20 05:34:35

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ปีการศึกษา 2564

Keywords: sar64

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
Self-Assessment Report (SAR)

ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
ปีการศึกษา 2564

โรงเรยี นประชานเิ วศน์
สานกั งานเขตจตจุ กั ร
สังกัด กรงุ เทพมหานคร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 1

คานา

ตามพระราชบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไข้เพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ระบุให้หน่วยงานต้นสังกัดและ
สถานศึกษาจัดใหม้ ีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและถือว่าการประกันคุณภาพการศึกษาตอ้ งดาเนินอยา่ งตอ่ เนอื่ ง
โดยจัดทาการเขียนรายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ให้เสนอต่อหนว่ ยงานตน้ สังกัดและเสนอต่อสาธารณชน
เพ่ือนาไปสู่การพัฒนามาตรฐานการศึกษาเพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศกึ ษา พ.ศ. 2561 ทรี่ ะบใุ ห้สถานศกึ ษาแตล่ ะแหง่ จดั ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา โดยการ
กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ี
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมทั้งจัดทาแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนที่กาหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดาเนินการเพ่ือพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการ
ประเมินตนเองใหแ้ ก่หนว่ ยงานตน้ สังกัดหรือหนว่ ยงานที่กากับดแู ลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี

เอกสารรายงานประจาปีของสถานศึกษาฉบบั น้ี ประกอบดว้ ยส่วนสาคญั คอื บทสรุปของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาสว่ นท่ี 1
ขอ้ มูลพ้ืนฐาน สว่ นท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา สว่ นที่ 3 สรปุ ผลการประเมนิ และแนวทางการพัฒนา และส่วน
ท่ี 4 ภาคผนวก

โรงเรียนขอขอบคุณคณะกรรมการดาเนินงานและผเู้ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายท้ังภายในและภายนอกสถานศกึ ษา ท่ีมีส่วนรว่ ม
ในการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ฉบับน้ี และหวังว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ
การปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปีถัดไป และเป็นฐานข้อมูลในการกาหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ตลอดจนเพ่ือประโยชน์ในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก จาก
สานกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ต่อไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 2

สารบญั หนา้

บทสรปุ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษา ๑
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐานสถานศึกษา ๕

1.1 ข้อมลู ทัว่ ไป ๖
1.2 ประวัติการก่อตั้งโรงเรยี น ๘
1.3 แผนท่โี รงเรียน ๑๐
1.4 วสิ ยั ทศั น์ ๑๐
1.5 พนั ธกิจ ๑๐
1.6 เป้าประสงค์ ๑๑
1.7 อัตลักษณ์ ๑๒
1.8 เอกลักษณ์ ๑๒
1.9 อาคารสถานที่ ๑๓
1.10 แหลง่ เรียนรู้ภายในโรงเรยี น ๑๓
1.11 แหล่งเรียนรภู้ ายนอกโรงเรยี น ๑๓
1.12 ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ๑๓
1.13 ขอ้ มูลสภาพชุมชนโดยรอบสถานศึกษา ๑๔
1.14 ขอ้ มลู ผ้บู ริหาร ๑๔
1.15 ข้อมลู บุคลากรของสถานศกึ ษา ๑๘
1.16 ขอ้ มูลนักเรยี น ๑๘
1.17 งบประมาณของสถานศกึ ษา ๑๙
1.18 ข้อมูลโครงสรา้ งหลกั สตู รของสถานศึกษา ๒๑
1.19 ข้อมลู ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระดบั สถานศึกษา ปีการศกึ ษา 256๔ ๒๗
1.20 ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอังพงึ ประสงค์ ปีการศึกษา 256๔ ๒๘
1.21 ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ปีการศึกษา 256๔ ๒๙
1.22 ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคญั ปีการศึกษา 256๔ ๓๐
1.23 ผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ปีการศึกษา 256๔ ๓๑
1.24 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ น้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ๓๒
1.25 ผลการประเมนิ คณุ ภาพผู้เรียน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 (NT) ๓๓
1.26 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรียน ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 (RT) ๓๔
1.27 ผลงานดีเดน่ ๓๗
1.28 การปฏิบตั ิทเี่ ปน็ เลิศ/การดาเนินการท่สี ามารถเป็นแบบอยา่ งทีด่ ไี ด้ (Best Practices)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 3

ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา หนา้
ผลการประเมินตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ๕๓
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ๕๔
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ ๕๕
๖๑
ส่วนท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการชว่ ยเหลอื ๖๕
สรุปผลการประเมิน ๖๘
แนวทางการพฒั นาในอนาคต ๖๙
ความตอ้ งการและการช่วยเหลือ ๗๐
๗๐
ส่วนท่ี ๔ ภาคผนวก ๗๑

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 4

บทสรปุ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
ระดับการศกึ ษาขน้ั ปฐมวยั

คณุ ภาพของเด็ก
มผี ลประเมินอย่ใู นระดบั ดเี ยยี่ ม มแี ผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ เี่ นน้ เดก็ เปน็ สาคัญ ประเมนิ ผล

จากการปฏิบัติจริง ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย มีการกาหนดเป้าหมาย นาผลมาเปรียบเทียบเป้าหมาย มีการ
รายงานผลการพัฒนาเด็กต่อผู้ปกครองเพ่ือสะท้อนผลการพัฒนา เพื่อการมีส่วนร่วมในการยกระดับคุณภาพ
เด็กอย่างเป็นระบบ ตรวจสอบและช่วยเหลือเด็กเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความ
ม่ันใจต่อระบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาในระดับสูง และผลการประเมินพัฒนาการอยู่ในระดับท่ีน่า
พอใจยง่ิ

กระบวนการบริหารและการจดั การ
ผลประเมินอย่ใู นระดับดเี ยี่ยม มแี ผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี โครงสร้าง

การบริหารองค์กรท่ีระบุขอบข่าย ภารกิจและการมอบหมายงานเป็นกลุ่มงาน โครงการ กิจกรรม โดยระบุ
ผู้รับผิดชอบ วิธีดาเนินการ แนวทางการติดตามประเมินผลอย่างเป็นระบบ มีการนาแผนไปใช้ ออกแบบ
โครงการ กิจกรรม และดาเนนิ งานตามแผนที่เกดิ จากการมีส่วนรว่ มของครู บุคลากร และผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝ่าย ใน
การบริหารแบบมีส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินท่ีผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนาและสอดคล้องกับเป้าหมายการ
พัฒนา มีการกากับติดตาม ตรวจสอบผลการดาเนินงานเป็นระยะ ปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ผู้บริหารให้การสนับสนุน มีการรายงานผลต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานก่อนนาไปเผยแพร่สู่
หนว่ ยงานตน้ สังกดั และสาธารณชน จนได้รบั การยอมรับวา่ เปน็ สถานศึกษาระดบั แนวหน้า

กระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทีเ่ น้นเด็กเปน็ สาคญั
มีแผนงาน โครงการ ในการพฒั นาครู ด้วยการประชมุ สมั มนา ศกึ ษาและดูงาน ส่งเสรมิ ใหค้ รูมีความรู้

ทักษะวิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ออกแบบแผนการจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ทเ่ี นน้ เด็กเป็นสาคัญ การนาแผนไปใช้โดยมรี ะบบการตรวจสอบและทางานตามวงจรคุณภาพ PDCA ครู
มีการบันทึกผลหลังการจัดประสบการณ์ จัดให้มีการนิเทศการสอนแบบกัลยาณมิตร และหลักการ PLC มีการ
สะท้อนผลการนิเทศติดตาม การนาผลการจัดประสบการณ์ไปเป็นฐานข้อมูลการทาวิจัยในช้ันเรียนเพื่อ
แกป้ ญั หาเด็กอยา่ งเป็นระบบ ครูเผยแพรง่ านวจิ ยั ในท่ีประชมุ เพื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในชว่ งสถานการณ์การ
ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรน่า 2019 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ จัดทาหลายรูปแบบตามสถานการณ์ ใช้
แนวทาง 5 ons ของสานักการศึกษา จดั ทาเอกสารและจัดตารางการจดั ประสบการณเ์ รยี นรู้ มผี ลการประเมิน
พัฒนาการอยู่ในเกณฑ์ท่นี า่ พอใจ

จุดเด่น
1. มีกระบวนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับความสนใจ

ความถนัดของเด็กแต่ละบุคคล เช่น Project based learning โดยเน้นจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและ
ลงมอื ปฏบิ ัติ

2. มีการตรวจสอบประเมินเด็กจากสภาพจริง และมีข้ันตอนตรวจสอบและประเมินอย่างเป็นระบบ
และมกี ารใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับแก่เดก็ และผปู้ กครองเพ่ือนาไปใช้ในการพัฒนา

3. มีการบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาอย่างเปน็ ระบบ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 1

จดุ ทค่ี วรพฒั นา
1. การสง่ เสรมิ ให้เดก็ มีความประหยดั และพอเพียง
2. การให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการการจัด
ประสบการณ์การเรยี นรู้

แผนพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั ให้สูงขึ้น (ขอ้ เสนอแนะ)
1. การจัดกิจกรรมสง่ เสริมใหเ้ ด็กมีความประหยดั และพอเพียงให้มีความชดั เจนมากยิง่ ข้ึน
2. สถานศกึ ษาจัดการบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศมากขน้ึ ครนู าสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ

จัดกิจกรรมการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ให้มากข้นึ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 2

ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน

คณุ ภาพของผู้เรียน
มผี ลประเมินอยู่ในระดับยอดเยี่ยม มแี ผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ มีแนวทาง

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการประเมินจากการลงมือปฏิบัติจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลาย มีการกาหนด
เป้าหมาย นาผลการพัฒนามาเปรียบเทียบเป้าหมาย มีการรายงานผลการพัฒนาผู้เรียนต่อผู้ปกครองเพ่ือ
สะท้อนผลการพัฒนา เป็นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนอย่างเป็นระบบ พัฒนา
กิจกรรมการเรียนรู้ ใช้สื่อการเรียนรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการพัฒนาผู้เรียน และระบบการวดั
ประเมินผล ติดตามตรวจสอบและจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนรายบุคคล
และการประเมินผลจากสภาพจริงในทุกข้ันตอน แบบ 360 องศา ผู้มีส่วนเก่ียวข้องมีความมั่นใจต่อระบบการ
บริหารและการจดั การของสถานศกึ ษาในระดับสงู และผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนอยูใ่ นระดับท่ีนา่ พอใจยิง่

กระบวนการบริหารและการจัดการ
มีผลประเมินในรายมาตรฐานอยู่ในระดับยอดเยี่ยม มีแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบัติ

ราชการประจาปี โครงสร้างการบริหารองค์กรท่ีระบุขอบข่าย ภารกิจและการมอบหมายงานเป็นกลุ่มงาน
โครงการ กจิ กรรม โดยระบุผ้รู ับผดิ ชอบ วธิ ีดาเนนิ การ แนวทางการติดตาม ประเมนิ ผล อย่างเปน็ ระบบ มกี าร
นาแผนไปใช้ ออกแบบโครงการ กิจกรรม และดาเนินงานตามแผน ท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วมของครู บุคลากร
และผ้เู ก่ียวขอ้ งทุกฝ่าย ในการบรหิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม ใชผ้ ลการประเมนิ และการดาเนินงานทีผ่ ่านมาเป็นฐานใน
การพัฒนาและสอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนา มีการกากับ ติดตาม ตรวจสอบ ผลการปฏิบัติตามแผนเป็น
ระยะ และปรับปรุงแก้ไข มีการรายงานผลต่อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานก่อนนาไปเผยแพร่สู่
หน่วยงานตน้ สงั กดั และสาธารณชน จนได้รบั การยอมรับวา่ เปน็ สถานศกึ ษาระดับแนวหน้า

กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั
มีแผนงาน โครงการ ในการพฒั นาครู ด้วยการประชมุ สมั มนา ศกึ ษาและดงู าน ส่งเสรมิ ใหค้ รมู ีความรู้

ทักษะวิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ การนาแผนไปใช้โดยมีระบบการตรวจสอบการทางานตามวงจรคุณภาพ PDCA ครูมีการ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ จัดให้มีการนิเทศการสอนแบบกัลยาณมิตร และหลักการ PLC มีการสะท้อน
ผลการนิเทศติดตาม การนาผลการจัดการเรียนรู้ไปเป็นฐานข้อมูลการทาวิจัยในช้ันเรียนเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน
อย่างเป็นระบบ ครูสามารถนาผลการพัฒนางานไปจัดทาผลงานวิชาการในการเลื่อนวิทยฐานะ ในช่วง
สถานการณก์ ารระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา่ 2019 การจัดกจิ กรรมการเรียนรจู้ ดั ทาหลายรปู แบบ ใช้แนวทาง
5 ons ของสานักการศกึ ษา จัดทาเอกสารและจัดตารางการจัดการเรยี นรู้ มีผลสัมฤทธอ์ิ ยู่ในเกณฑ์ท่ีนา่ พอใจ

จุดเด่น
1. มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับความสนใจ ความถนัดของ

ผู้เรียน โดยเน้นจัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง โดยใช้วิธีการวิจยั เพื่อพัฒนาการจัดการเรยี น
การสอนให้เกิดประสิทธิภาพ

2. มีการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน
ปรบั ปรุง และพัฒนา และรว่ มรับผิดชอบต่อผลการจดั การศกึ ษา

3. สถานศึกษามีการแตง่ ต้ังคณะกรรมการบรหิ ารวชิ าการและหลกั สตู ร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 3

4. ครูมีความตั้งใจ มุ่งม่ันในการพัฒนาการการจัดการเรียนรู้ มีความรู้ ความสามารถในการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้
จุดท่ีควรพัฒนา

1. การพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีพัฒนาการได้เต็มตามศักยภาพและมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็นไป
ตามเปา้ หมาย

2. การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ อาทิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ผลการทดสอบทางวิชาการ
ระดบั ชาติ O-NET รายวชิ าคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
แผนพฒั นาคุณภาพเพือ่ ยกระดับใหส้ ูงขน้ึ (ข้อเสนอแนะ)

1. บริการเทคโนโลยีสารสนเทศมากข้ึน นาสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดกิจกรรมการ
จัดการเรียนรู้มากขนึ้

2. ส่งเสริมการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้และการเรียนการสอนหลักสูตรฐานสมรรถนะให้เป็น
รูปธรรมมากขึ้น

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 4

สว่ นที่ ๑ ข้อมลู พ้นื ฐานของสถานศึกษา

โรงเรียนประชานิเวศน์
ท่ตี ้งั ซอย ๑๐ ถนนเทศบาลรงั รกั ษเ์ หนือ แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทรศัพท์ ๐๒-๕๘๘๔๒๓๑ ๐๒-๕๘๘๔๐๒๘ ต่อ ๑๐๗ โทรสาร ตอ่ ๑๐๔
เว็บไซด์ www.prachaniwet.ac.th E-mail : [email protected]
สานักงาน เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพมหานคร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 5

สว่ นท่ี ๑ ขอ้ มูลพืน้ ฐานของสถานศึกษา

๑.๑ ข้อมลู ทั่วไป

ช่อื โรงเรียน โรงเรียนประชานเิ วศน์ สานกั งานเขตจตจุ ักร
ทต่ี ้งั เลขท่ี ซอย ๑๐ ถนนเทศบาลรงั รกั ษเ์ หนือ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
โทรศพั ท์ ๐๒-๕๘๘๔๒๓๑ ๐๒-๕๘๘๔๐๒๘ ต่อ ๑๐๗ โทรสาร ตอ่ ๑๐๔
เวบ็ ไซด์ www.prachaniwet.ac.th E-mail : [email protected]
ขนาดสถานศกึ ษา ขนาดใหญ่
ปรชั ญา สังคม ชมุ ชน นักเรียน คุณครู ผปู้ กครอง คือญาติพ่ีนอ้ งร่วมบ้านเดยี วกนั
คาขวญั ไหวส้ วย รวยน้าใจ พดู ไพเราะ
สีประจาโรงเรยี น เลือดหมดู า

๑.๒ ประวตั ิการก่อตั้งโรงเรียน

ตามท่กี รุงเทพมหานคร ได้โอนบรรดากิจการทรัพยส์ ิน สทิ ธิ และความรบั ผดิ ชอบของสานกั งาน
ปรับปรงุ แหลง่ เส่ือมโทรม ให้แก่ การเคหะแห่งชาติ เป็นทดี่ ินทก่ี ันไว้มิให้จาหนา่ ยเพราะมีโครงการทจ่ี ะสรา้ ง
การบริการต่าง ๆ ซึ่งมโี ฉนดท่ี 62797 เลขทด่ี นิ 1162 หนา้ สารวจ 7291 มเี นอื้ ที่ 15 ไร่ 47 ตารางวา ได้
กาหนดใหฝ้ ่ายการศึกษาและสวัสดกิ ารสงั คมกรุงเทพมหานครสร้างโรงเรียนประถมศึกษาขึน้ ดาเนนิ การ
ก่อสรา้ งเปน็ อาคารเรยี นแบบ ร.ร 800 เปน็ อาคาร 3 ช้นั 12 ห้องเรียน กอ่ สร้างเม่อื วนั ที่ 22 เมษายน
2520 เสร็จเม่ือวนั ท่ี 13 กนั ยายน 2520 เป็นต้นมา

ปกี ารศกึ ษา การดาเนนิ การ

๒๕๒๐ กอ่ ตง้ั โรงเรียนเร่ิมทาการสอนเมื่อวันท่ี 20 ตลุ าคม 2520 มนี ักเรียน 57 คน นักเรยี นชน้ั
๒๕๒๔- ประถมศึกษาปีท่ี 1-5 นางสาวเสาวนยี ์ คันธาแก้ว ดารงตาแหน่งครูใหญ่
๒๕๒๙ การขยายการศกึ ษากวา้ งข้นึ ได้รบั ความไวว้ างใจจากผู้ปกครองนกั เรยี นเปน็ จานวนมาก มี
นักเรยี น ๑,๒๑๙ คน ครู ๕๒ คน ห้องเรยี น ๓๔ หอ้ ง ภารโรง ๔ คน เป็นโรงเรยี นขนาด
๒๕๓๖ ใหญ่ ผูช้ ว่ ย ๓ คนคอื นางสาวประทมุ เข็มวลิ าส,นางจาเรียง บัวเพญ็ ,นางทองอนิ ทร์
การณุ ย์ นางเสาวนีย์ คันธาแก้ว ได้รบั เลือ่ นตาแหนง่ เปน็ ผู้อานวยการโรงเรยี น
๒๕๔๐ เปิดขยายโอกาสทางการศึกษาถึงระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ ใน
ขณะเดียวกนั โรงเรยี นได้ขยายพ้ืนท่เี พมิ่ จากพ้ืนที่เดิมแต่อยูค่ นละส่วนของถนนห่างกัน
ประมาณ ๕๐๐ เมตร ได้มกี ารก่อสรา้ งอาคารเรยี น ๕ ช้ัน ของมธั ยมศึกษาขึ้นในพ้ืนท่ี ๗
ไรเ่ ศษ แล้วเสร็จเม่อื ต้นปี ๒๕๓๘ และได้นานักเรยี นระดบั มัธยมมาเรียนในพน้ื ทแี่ ห่งใหม่
ได้เปดิ ขยายการสอนระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลายช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ - ๖

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 6

ปีการศึกษา การดาเนนิ การ
๒๕๔๗ มีประกาศกรุงเทพมหานคร ลงวนั ที่ ๑๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๔๗
แยกโรงเรียนออกเป็น ๒ โรงเรียน คอื โรงเรยี นประชานิเวศน์ สังกัดสานักงานเขตจตุจักร
๒๕๔๙ กรงุ เทพมหานครและโรงเรยี นมัธยมประชานเิ วศน์ สงั กดั สานักการศึกษา
๒๕๕๑ กรงุ เทพมหานคร ซงึ่ ต่อมาไดโ้ อนมาสงั กดั สานักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
๒๕๕๔ และได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรยี น ๕ ชัน้ แบบ สนศ.๓๘๕ ๑๕ ห้องเรยี น มี
ห้องนา้ หอ้ งสว้ มนักเรยี น ๑๒ ท่ีนง่ั บนพนื้ ที่โรงครวั เดิมเชอ่ื มต่อระหว่างอาคารเรียนเดมิ
ปจั จบุ นั ทั้ง ๒ อาคารแลว้ เสร็จในปีการศกึ ษา ๒๕๔๘
การศกึ ษา โรงเรียนประชานิเวศนไ์ ดร้ บั งบประมาณ กอ่ สร้างหลงั คาคลุมสนาม
โครงสรา้ งเหล็ก หลังคา Polycarbonate
โรงเรยี นประชานเิ วศนไ์ ด้รบั งบประมาณไทยเข้มแข็ง ก่อสรา้ งอาคารเรียน ๕ ชัน้
โรงเรยี นประชานเิ วศน์ไดเ้ ปดิ การเรยี นการสอนโครงการโรงเรยี นสองภาษา หลกั สตู ร
ภาษาไทย – อังกฤษ มีจานวน ๒ หอ้ งเรยี น ห้องเรียนละ ๓๕ คน โดยโรงเรยี นได้
จดั ทาหลกั สูตรโรงเรยี นสองภาษา (หลกั สตู รภาษาไทย – อังกฤษ) ใหส้ อดคลอ้ งกับ
โรงเรียนสองภาษา (หลกั สตู รภาษาไทย – อังกฤษ) ของสานกั การศึกษา
กรุงเทพมหานคร
จดั การเรยี นการสอนต้งั แต่ช้นั อนบุ าล - ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖
จานวน ๔๘ ห้องเรียน มนี กั เรยี นจานวน ๑,๗๙๕ คน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 7

๑.๓ แผนท่ีต้ังโรงเรยี น

ขอ้ มลู ผู้บริหาร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 8

แผนผังบริเวณโรงเรียน

หอ้ งศิลปะ

หอ้ งศูนยก์ ารเรียนรู้สสวท.

หอ้ งศิลปะ หอ้ งพละ หอ้ งกิจกรรม

หอ้ งศิลปอะนุบาล หอ้ งพละ ศึกษา หอ้ งกิจกรพรฒมั นาผูเ้ รียน

อนุบาล ศึกษา พฒั นาผูเ้ รียน

ห้องป ิฏบั ิตการทาง ิวทยาศาสต ์ร ธนาคาร
โรงเธรีนยนาคาร

โรงเรียน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 9

๑.๔ วสิ ัยทัศน์

“วิชาการเดน่ ดี มีคณุ ธรรมนาตน ทุกคนร่วมพัฒนา ส่คู วามเป็นพลเมืองโลก”

๑.๕ พันธกิจ

1. จดั หลักสตู รและพัฒนากระบวนการเรยี นการสอน ส่งเสริมการจัดกจิ กรรม และยกระดับคณุ ภาพ
การศึกษาสูค่ วามเปน็ เลศิ
2. เสริมสร้างประสิทธิภาพการจัดการศกึ ษาตอบสนองความต้องการ เหมาะสมกบั ศักยภาพของ
นกั เรยี นบนพน้ื ฐานความเปน็ ไทยและค่านิยมอนั ดงี ามอยา่ งเทา่ เทียมและทัว่ ถึง
3. พฒั นาศักยภาพนักเรียนใหม้ อี ตั ลักษณแ์ ห่งมหานคร ปลูกฝงั ความเป็นพลเมอื งโลกที่ดี มสี ขุ ภาพ
กาย สขุ ภาพจิต อารมณ์และสงั คมท่ดี ี ตรงตามคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
4. จัดหา ผลติ พัฒนาประสิทธภิ าพและส่งเสรมิ ใหใ้ ช้สอ่ื การเรียนร้จู ัดการดิจติ อลเพอ่ื การศึกษา จัด
สภาพแวดลอ้ มเพ่อื พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนทที่ นั สมัยเอือ้ ต่อการเรยี นรู้และมีความปลอดภยั
5. พฒั นาและสง่ เสริมบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ความสามารถตรงตามมาตรฐานวิชาชพี
6. ใหท้ ุกภาคสว่ นมีสว่ นร่วมในการพัฒนาส่งเสริมสถานศึกษา ใหเ้ ป็นสถานศึกษาสมรรถนะสงู ผา่ น
หลักการบรหิ ารจัดการดว้ ยหลักธรรมาภิบาลเพอ่ื สั่งสมให้ผเู้ รียนเกดิ ทนุ มนุษยท์ ง้ั ทางปัญญา สังคม
และอารมณ์

๑.๖ เป้าประสงค์

1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนเพมิ่ ขนึ้
2. มกี ารประกันคณุ ภาพท่ไี ด้มาตรฐานและเป็นระบบอย่างต่อเน่ือง
3. หลักสตู รมมี าตรฐานมุ่งพัฒนาสมรรถนะของผู้เรยี น
4. มีกระบวนการจัดการเรียนรูท้ ีห่ ลากหลายมุ่งสู่ศตวรรษท่ี 21
5. ผูเ้ รยี นมที ักษะในการสร้างสรรค์นวตั กรรม
6. ผ้เู รยี นมสี มรรถนะด้านภาษาเพื่อการสื่อสารในมหานคร
7. ผเู้ รียนมีทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการเพ่ือพัฒนาคุณภาพชวี ติ
8. ผเู้ รียนมีทกั ษะดารงชีวิตเปน็ พลเมืองดีมคี วามภาคภูมใิ จในความเป็นไทย
9. โรงเรียนมีการจัดการศกึ ษาตามความถนัดและความต้องการของนักเรยี นอย่างเต็มศักยภาพ
10. เกิดกลไกด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ในการขบั เคลือ่ นการ พฒั นาผเู้ รียนที่ ตอบสนองความ
ตอ้ งการนักเรยี นทุกกลุ่มอยา่ งทว่ั ถึง
11. พฒั นาเครื่องมือโครงสร้างพืน้ ฐานและความปลอดภัยทางไซเบอรใ์ ห้มสี มรรถนะสูง
12. มีแพลตฟอร์มดิจทิ ัลเพ่ือการบรหิ ารและการบรกิ ารด้านการศึกษา
13. ทนุ มนุษย์ได้รับการพัฒนาใหม้ ีความเปน็ มืออาชีพในการปฏิบัติงาน
14. ทุนมนุษย์มคี ุณภาพชีวติ และมคี วามสขุ ในการปฏบิ ตั งิ าน
15. มรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ได้รับการพัฒนาเพื่อการบริหารจดั การองคก์ รไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ
16. มกี ารบรหิ ารจดั การองค์กรเปลยี่ นแปลงไปสู่มาตรฐานองค์กรสมรรถนะสงู

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 10

๑.๗ อัตลักษณ์ จานวน
3
ใฝ่เรยี นรู้ เชดิ ชคู ุณธรรม 2
1
1.8 เอกลักษณ์ 1
1
โรงเรียนแหง่ การเรียนรู้ สคู่ วามเป็นเลิศ 1
1
1.๙ อาคารสถานที่ 23

ลาดบั ประเภท
1 หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์
2 หอ้ งปฏบิ ตั ิการคอมพิวเตอร์
3 ห้องปฏิบัตกิ ารทางภาษา
4 ห้องปฏิบตั ิการคณติ ศาสตร์
5 หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารการงานอาชพี ฯ
6 ห้องดนตรี
7 ห้องนาฏศิลป์
8 อนื่ ๆ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 11

1.10 แหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้ จานวนครงั้ /ปี
200
ลาดบั แหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรียน/ช่อื แผลง่ เรียนรู้ 200
1 เศรษฐกจิ พอเพียง 200
2 สวนสวรรค์แห่งการเรยี นรู้ 200
3 สวนพฤษศาสตร์ 200
4 ลกู เสือไทย 200
5 วถิ ไี ทย 80
6 ห้องเร่ียนสเี ขียว 80
7 DIY 200
8 ห้องคอมพิวเตอร์ 200
9 ห้องวิทยาศาสตร์ 200
10 หอ้ งคณติ ศาสตร์ 200
11 ห้องจรยิ ะ 100
12 หอ้ งศนู ย์การเีรย่ นรู้ สสวท. 5
13 BBL 200
14 ศนู ย์สาธารณสุข 17 200
15 สานวนไทยมคี วามหมาย 40
16 สวนคณติ ศาสตร์ 200
17 หอ้ งสมดุ โรงเรยี นประชานเิ วศน์ 200
18 ยินดีตอ้ นรับ 200
19 ้การละเลน่ เด็กไทย 200
20 คณุ ธรรมเดก็ กทม.
21 พระมหากษัตริย์อันเป็นทร่ี กั

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 12

1.11 แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรยี น สถิตกิ ารใช้ จานวนครง้ั /ปี
5
ลาดับ แหล่งเรยี นร้ภู ายนอกโรงเรยี น/ชือ่ แผล่งเรียนรู้ 10
1 ตลาดประชานเิ วศน์ 5
2 สถานีตารวจประชาช่ืน 2
3 โรงเรยี นมธั ยมประชานเิ วศน์ 10
4 สวนป่าประชานิเวศน์ 20
5 ศนู ย์เยาวชนประชานิเวศน์
6 วัดเสมยี นนารี

1.12 ภูมิปัญญาท้องถิน่

ลาดบั ชือ่ -สกุล ผใู้ ห้ความรู้ ใหค้ วามรเู้ ร่อื ง

1 พระอาจารย์จากวัดเสมยี นนารี อบรมคุณธรรมทุกวนั ศกุ ร์

พระอารามหลวง และคณะ

2 เจ้าหนา้ ท่ีตารวจ สน.ประชาช่ืน ให้ความรู้ด้านยาเสพตดิ และความปลอดภยั จากการจราจร

3 เจา้ หนา้ ที่ศนู ยส์ าธารณสุข 17 ให้ความรู้ดา้ นสุขอนามยั และการตรวจสขุ ภาพ

4 นายกฤตพล บวรถิรวฒั น์ วทิ ยากรในการผลิตส่ือการสอน CAI

5 นางระจติ บาเปยี วทิ ยากรอบรมผลิตส่ือหนังสอื เสริม

6 นางเหวินมิง ถัง สอนภาษาจนี

1.13 ข้อมลู สภาพชุมชนโดยรอบสถานศกึ ษา

1) ลกั ษณะชมุ ชน
-โรงเรียนประชานเิ วศน์ตงั้ อยู่ในอาณาเขตหมู่บา้ นประชานเิ วศน์ 1 เป็นชุมชนทม่ี ขี นาดใหญ่ โรงเรยี น

ประชานเิ วศน์มีพื้นท่อี ยู่ตดิ กบั เขตบางซ่ือและจังหวดั นนทบุรี

รายไดต้ อ่ ครัวเรือนต่อเดือนโดยประมาณ (บาท)
30,001 - 40,000

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 13

2) อาชีพ/วุฒกิ ารศึกษา/รายได้ ของผูป้ กครอง
2.1 ผู้ปกครองนักเรยี นสว่ นใหญจ่ บการศึกษาระดบั ปริญญาตรี อาชีพหลกั คือพนกั งานบริษัท รบั ราชการ
คา้ ขาย และธรุ กิจส่วนตัว ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายไดโ้ ดยเฉล่ียตอ่ ครอบครัวต่อเดือน 30,001 - 50,000
บาท จานวนคนเฉลยี่ ตอ่ ครอบครัว ๓ คน
3). ศาสนา/วัฒนธรรม/ประเพณี

-ศาสนาพุทธ โรงเรยี นได้รับความเมตตาจากวดั เสมยี นนารี โดยจดั พระอาจารย์ มาเปน็ ผู้สอนธรรม
ศกึ ษา แก่นกั เรยี น รว่ มการจัดกิจกรรมในโครงการวิถีพุทธ สนับสนนุ โรงเรยี นทั้งพระวิทยากร สถานที่ การ
สนับสนนุ ทุนการศกึ ษาแกน่ ักเรียน ตลอดปีการศึกษา

4).บริบทสภาพโดยรอบชุมชน และสถานทใ่ี กล้เคียง
-โรงเรยี นประชานิเวศน์ ต้ังอยู่ในอาณาเขตหมู่บ้านประชานิเวศน์ 1 เป็นชมุ ชนทีม่ ีขนาดใหญ่ โรงเรยี น

ประชานิเวศนม์ ีพื้นทอี่ ยู่ติดกับเขตบางซ่ือและจังหวดั นนทบุรี

๑.๑๔ ข้อมูลผู้บริหารสถานศึกษา ผู้อานวยการโรงเรียน
รองผู้อานวยการ
1. นางดวงสุมาลย์ ชืน่ ชจู ิตร์ รองผู้อานวยการ
2. นางสาววัชรี โล่หจ์ ินดา รองผอู้ านวยการ
3. นางสาวสุพินยา สร้อยทอง รองผอู้ านวยการ
4. นางศริ ิพร ใยดา
5. นางวชิ ญาภรณ์ แสงบตุ รดี

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 14

นางดวงสุมาลย์ ชน่ื ชจู ติ ร์
ผู้อานวยการโรงเรยี น

นางวชิ ญาภรณ์ แสงบุตรดี นางสาวสพุ ินยา สรอ้ ยทอง
รองผ้อู านวยการ รองผูอ้ านวยการ

กลุ่มบริหารวชิ าการ กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล

นางศริ ิพร ใยดา นางสาววัชรี โล่หจ์ นิ ดา
รองผอู้ านวยการ รองผู้อานวยการ
กลุม่ บรหิ ารงบประมาณ กลุ่มบรหิ ารทั่วไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 15

1.15 ขอ้ มูลบุคลากรของสถานศึกษา

บุคลากร ผบู้ รหิ าร ครรู ะดบั ครรู ะดับ ลูกจา้ ง เจ้าหนา้ ที่ อ่ืน ๆ รวม
ปฐมวัย การศึกษา ลกู จา้ งประจา ชว่ั คราว ธุรการ 1 98
ขัน้ พื้นฐาน

ปกี ารศกึ ษา 5 6 76 2 71
2564

ภาระงานสอนเฉล่ยี /คน/สัปดาห์ (ช่ัวโมง) 19

2) วฒุ ิการศึกษาสงู สุดของบุคลากร

วฒุ ิการศึกษาสูงสดุ ของ ปรญิ ญา ปริญญาโท ปรญิ ญาตรี ปวส. ปวช. อ่นื ๆ รวม
บุคลากร เอก

ปีการศกึ ษา 2564 - 27 59 - - - 86

คิดเป็นร้อยละ - 31.40 68.60 - - - 100

3) สาขาวิชาท่จี บของคร/ู ผ้บู ริหาร

สาขาวชิ า จานวน (คน)
2
1. พลศึกษา 3
2. คหกรรมศาสตร์ 1
3. คอมพวิ เตอรศ์ ึกษา 1
4. อตุ สาหกรรมเกษตร 1
5. โสตทศั นศกึ ษา 1
6. วทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีอาหาร 3
7. วิทยาศาสตรท์ ั่วไป 1
8. คณิตศาสตรศ์ ึกษา 4
9. คณิตศาสตร์ 1
10. ดนตรสี ากล 3
11. วทิ ยาศาสตร์ 1
12. เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2
13. ศิลปศกึ ษา 1
14. บรรณารกั ษ์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 16

สาขาวิชา จานวน (คน)
15. บริหารการศึกษา 16
16. ภาษาอังกฤษ 11
17. อุตสาหกรรมศลิ ป์ 1
18. สงั คมศึกษา 3
19. จิตวทิ ยาแนะแนว 1
20. ธุรกจิ ศึกษา 1
21. ประถมศกึ ษา 3
22. นาฏศิลป์ไทย 2
23. วดั ผลการศกึ ษา 1
24. ปฐมวัย 7
25. สถิติ 1
26. แนะแนว 1
27. เทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการศกึ ษา 1
28. ประวตั ศิ าสตร์ 2
29. ภาษาไทย 8
30. หลักสูตรและการสอน 1
85
รวม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 17

1.16 ขอ้ มลู นักเรียน

จานวนนกั เรียนปีการศึกษา 2564 รวม 1,795 คน

ปกี ารศกึ ษา 2563 ปกี ารศกึ ษา 2564 หมายเหตุ

ปีการศกึ ษา/ จานวน ชาย หญิง รวม เฉลี่ย จานวน ชาย หญิง รวม เฉล่ีย เรยี น โครงการ ต่างดา้ ว/
ระดบั ชน้ั หอ้ งเรียน ตอ่ หอ้ งเรียน ตอ่ รว่ ม พเิ ศษ ไม่มี
หอ้ ง หอ้ ง
สญั ชาติ

อนบุ าล 1 3 46 44 90 30 3 56 48 104 35 1

อนุบาล 2 3 56 51 107 36 3 49 44 93 31 1

รวมระดบั อนบุ าล 6 102 95 197 1 6 105 92 197 33 2

ประถมศึกษาปที ่ี 1 7 126 138 264 38 7 149 116 265 38 1

ประถมศกึ ษาปีที่ 2 7 127 145 272 39 7 125 138 263 38 1

ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 7 138 135 273 39 7 127 146 273 39 1

ประถมศกึ ษาปีที่ 4 7 131 129 260 38 7 144 135 279 40 1

ประถมศึกษาปีท่ี 5 7 130 133 263 38 7 129 131 260 38 0

ประถมศกึ ษาปีที่ 6 7 140 129 269 39 7 129 129 258 37 0

รวมระดบั ประถม 42 792 809 1601 1 42 803 795 1598 39 4
ศกึ ษา

รวมท้ังหมด 48 894 904 1798 1 48 908 887 1795 38 6

1.17 งบประมาณของสถานศกึ ษา

งบประมาณ จานวนเงนิ (บาท)
21,373,283.00
เงนิ งบประมาณ 21,373,283.00
รวม

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 18

1.18 ขอ้ มูลโครงสรา้ งหลกั สตู รของสถานศกึ ษา

ระดับประถมศึกษา

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กิจกรรม ป.1 เวลาเรียน (ชั่วโมง/ปี) ป.6
ป.2 ป.3 ป.4 ป.5
1. กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 160
200 200 160 160 160
1.1. คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 200
200 200 200 200 160
1.2. ภาษาไทย 200 160 160 160 160 80
80 80 80 80 80
1.3. คณติ ศาสตร์ 200 80 80 80 80 120
120 120 120 120
1.4. คณติ ศาสตร์ 160 120
80 80 120 120 80
1.5. วทิ ยาการคานวณ 80 40 40 80 80 80
80 80 80 80 80
1.6. วทิ ยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80
40 40 80 80 80
1.7. สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 120 40 40 80 80 80
40 40 80 80 80
-ประวัตศิ าสตร์ 200 200 80 80 120
120 120 120 120 1760
1.8. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 80 1760 1760 1760 1760
40
1.9. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 40
40 40 40 40 80
1.10. สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 80 80 80 80 80
40
1.11. ศิลปะ 80 40 40 40 40
40
1.12. ศลิ ปะ 40 40 40 40 40
40
1.13. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 40 40

1.14. การงานอาชีพและเทคโนโลยี 40

1.15. ภาษาต่างประเทศ 200

1.16. ภาษาต่างประเทศ 120

รวมเวลาเรียน (พืน้ ฐาน) 1760

2. รายวชิ า/กจิ กรรมท่ีสถานศึกษาจดั เพิ่มเติม

2.1. หนา้ ท่พี ลเมือง 40

2.2. หน้าทพ่ี ลเมือง 40

รวมเวลาเรยี น (เพมิ่ เตมิ ) 80

3. กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น

3.1. ลกู เสอื -ยวุ กาชาด/อ่าน คิด วิเคราะห์ 40

3.2. แนะแนว/สวดมนต์/ภาษาองั กฤษเพื่อ 40
การสื่อสาร

3.3. ชมุ นุม 40

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 19

กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม เวลาเรยี น (ช่ัวโมง/ปี)
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
3.4. ชมุ นมุ /ยุวชนรักชาติ 40 40 40 40 40 40
3.5. ลกู เสือ-ยวุ กาขาด 40 40 40 40 40 40
3.6. แนะแนว/สวดมนต์ 40 40 40 40 40 40
240 240 240 240 240 240
รวมเวลาเรยี น (กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น)
4. กิจกรรมตามนโยบาย 40 40 40 40 40 40
4.1. Sport day 40 40 40 40 40 40
4.2. ยุวชนรักชาติ 40 40 40 40 40 40
4.3. อา่ นคดิ วิเคราะห์
4.4. ทกั ษะวิทยาศาสตร์ 40 40 40
4.5. ทักษะการงานอาชพี 40 40 40
4.6. ทักษะทางภาษาอังกฤษ(IDP) 80 80 80 40 40 40
4.7. ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร(ครู
ต่างชาต)ิ 40 40 40 40 40 40
4.8. ภาษาจนี
4.9. วิทยาการคานวณ 40 40 40
40 40 40 40 40 40
รวมเวลาเรยี น (อนื่ ๆ) 320 320 320 320 320 320
5. กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้
5.1. ทักษะชวี ติ (สงั คมศกึ ษา) 40 40 40
5.2. ทักษะด้านกีฬา(พลศึกษา) 40 40 40
5.3. ทักษะดา้ นสุนทรยี ภาพ(ดนตรี/
นาฏศิลป)์ 40 40 40
5.4. ทกั ษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
5.5. ทกั ษะทางคณิตศาสตร์ 40 40 40
5.6. ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร 40 40 40 40 40 40
5.7. ภาษาจีน
5.8. เทคโนโลย(ี คอมพวิ เตอร์) 40 40 40
40 40 40
รวมเวลาเรยี น (อนื่ ๆ) 40 40 40 40 40 40
รวมเวลาเรยี นทงั้ หมด 200 200 200 200 200 200
2600 2600 2600 2600 2600 2600

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 20

1.19 ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

ระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1

รายวิชา จานวนนักเรียนจาแนกตามระดบั ผลการเรียน 0 รวม
4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 1
1 265
ภาษาไทย 220 13 11 5 7 3 5 1 265
1 265
คณิตศาสตร์ 232 10 8 6 6 1 1 1 265
1 265
วิทยาศาสตร์ 254 5 3 2 0 0 0 1 265
1 265
สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 229 12 5 7 8 2 1 1 265
265
ประวัตศิ าสตร์ 227 12 11 5 6 2 1

สุขศกึ ษาและพลศึกษา 249 5 6 2 1 1 0

ศิลปะ 250 5 8 1 0 0 0

การงานอาชีพ 251 3 5 1 2 2 0

ภาษาตา่ งประเทศ 242 10 5 1 3 3 0

 4  3.5  3  2.5  2  1.5  1  0
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 21

ประถมศึกษาปีท่ี 2

รายวิชา จานวนนักเรยี นจาแนกตามระดบั ผลการเรยี น 0 รวม
4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
0 263
ภาษาไทย 226 19 9 7 2 0 0 0 263
0 263
คณิตศาสตร์ 235 12 10 4 2 0 0 0 263
0 263
วทิ ยาศาสตร์ 251 5 4 1 1 0 1 0 263
0 263
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 231 13 19 0 0 0 0 0 263
263
ประวัติศาสตร์ 240 12 7 4 0 0 0

สุขศึกษาและพลศึกษา 249 6 5 3 0 0 0

ศลิ ปะ 259 4 0 0 0 0 0

การงานอาชพี 242 7 8 6 0 0 0

ภาษาต่างประเทศ 232 13 9 7 2 0 0

 4  3.5  3  2.5  2  1.5  1  0
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 22

ประถมศกึ ษาปีท่ี 3

รายวิชา จานวนนักเรียนจาแนกตามระดบั ผลการเรียน 0 รวม
4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
0 273
ภาษาไทย 183 38 22 12 8 6 4 0 273
0 273
คณิตศาสตร์ 244 14 6 4 4 0 1 0 273
0 273
วทิ ยาศาสตร์ 259 9 3 2 0 0 0 0 273
0 273
สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 193 40 18 8 6 7 1 0 273
273
ประวตั ศิ าสตร์ 261 3 3 4 2 0 0

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 257 7 6 2 1 0 0

ศลิ ปะ 236 29 7 1 0 0 0

การงานอาชพี 253 13 7 0 0 0 0

ภาษาต่างประเทศ 204 30 15 11 4 6 3

 4  3.5  3  2.5  2  1.5  1  0
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 23

ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

รายวิชา จานวนนักเรียนจาแนกตามระดบั ผลการเรียน 0 รวม
4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
0 279
ภาษาไทย 129 52 48 20 19 10 1 0 279
0 279
คณิตศาสตร์ 214 25 20 10 6 3 1 0 279
0 279
วทิ ยาศาสตร์ 193 42 16 17 7 2 2 0 279
0 279
สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 173 38 25 24 12 7 0 0 279
279
ประวัติศาสตร์ 150 41 38 24 19 5 2

สุขศึกษาและพลศึกษา 230 20 11 10 6 2 0

ศลิ ปะ 247 20 11 1 0 0 0

การงานอาชีพ 181 36 20 19 17 3 3

ภาษาตา่ งประเทศ 189 24 27 6 16 17 0

 4  3.5  3  2.5  2  1.5  1  0
รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 24

ประถมศกึ ษาปีที่ 5

รายวิชา จานวนนกั เรยี นจาแนกตามระดบั ผลการเรียน 0 รวม
4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
0 260
ภาษาไทย 114 53 50 31 12 0 0 0 260
0 260
คณิตศาสตร์ 165 47 31 10 3 4 0 0 260
0 260
วิทยาศาสตร์ 128 55 54 17 6 0 0 0 260
0 260
สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 164 53 29 13 0 1 0 0 260
260
ประวัตศิ าสตร์ 208 38 14 0 0 0 0

สุขศกึ ษาและพลศึกษา 227 22 8 2 1 0 0

ศลิ ปะ 228 23 4 5 0 0 0

การงานอาชีพ 186 46 19 7 1 1 0

ภาษาตา่ งประเทศ 154 35 39 18 9 4 1

 4  3.5  3  2.5  2  1.5  1  0
รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 25

ประถมศกึ ษาปีท่ี 6

รายวชิ า จานวนนักเรยี นจาแนกตามระดับผลการเรียน 0 รวม
4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0
0 258
ภาษาไทย 115 37 53 24 16 9 4 0 258
0 258
คณิตศาสตร์ 134 29 39 35 12 5 4 0 258
0 258
วิทยาศาสตร์ 86 52 61 27 20 6 6 0 258
0 258
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 130 63 32 18 9 6 0 0 258
258
ประวตั ิศาสตร์ 152 48 31 16 7 4 0

สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 208 31 12 7 0 0 0

ศลิ ปะ 148 70 26 10 4 0 0

การงานอาชพี 168 47 27 9 5 1 1

ภาษาตา่ งประเทศ 129 46 45 18 14 6 0

 4  3.5  3  2.5  2  1.5  1  0
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 26

1.20 ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

1. ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 – ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดีเย่ยี ม ผลการประเมิน ไม่ผ่าน รวม
ดี ผ่าน

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1595 2 0 0 1597

2. ซื่อสัตยส์ จุ รติ 1587 10 0 0 1597

3. มีวินยั 1495 98 4 0 1597

4. ใฝเ่ รียนรู้ 1475 118 4 0 1597

5. อยู่อย่างพอเพยี ง 1553 44 0 0 1597

6. มุ่งมัน่ ในการทางาน 1488 100 9 0 1597

7. รกั ความเปน็ ไทย 1596 1 0 0 1597

8. มีจิตสาธารณะ 1591 6 0 0 1597

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 27

1.21 ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น

ระดบั ชั้น จานวน ดเี ย่ยี ม ผลการประเมนิ ระดับผ่าน รอ้ ยละ
นกั เรยี น 238 ดี ผ่าน ไม่ผา่ น ขนึ้ ไป
ประถมศึกษาปีที่ 1 240 26 0
ประถมศึกษาปที ี่ 2 265 239 23 0 1 264 99.62
ประถมศึกษาปที ี่ 3 263 179 34 0
ประถมศกึ ษาปีที่ 4 273 133 96 4 0 263 100.00
ประถมศึกษาปที ่ี 5 279 116 127 0
ประถมศึกษาปีที่ 6 260 142 0 0 273 100.00
258
0 279 100.00

0 260 100.00

0 258 100.00

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 28

1.22 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญ

ระดับชน้ั ไม่ผา่ น ผา่ น ดี ดีเยีย่ ม รวม

ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 1 0 38 226 265
ประถมศึกษาปที ่ี 2 0 0 61 202 263
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 0 0 43 229 272
ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 0 0 108 171 279
ประถมศึกษาปีท่ี 5 0 0 206 54 260
ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 0 0 212 46 258

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 29

1.23 ผลการประเมินกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ปีการศึกษา 2564

กจิ กรรม จานวนนักเรยี นจาแนกตามผลการประเมิน รวม
ผ่าน ไมผ่ ่าน
1,598
1. แนะแนว 1,598 0 1,598
1,598
2. ลกู เสอื 1,598 0 1,598
1,598
3. ยวุ กาชาด 1,598 0

4. ชุมนมุ , ชมรม 1,598 0

5. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 1,598 0

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 30

1.24 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พื้นฐาน (O-NET)

1. ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ประจาปีการศึกษา 2564

กลมุ่ สาระ 2564 2563 2562 เปรียบเทยี บ เปรียบเทยี บ
การเรยี นรู้ รร.กบั รร. ปี
รร. ประเทศ รร. ประเทศ รร. ประเทศ ประเทศ 2563
ภาษาไทย ปี 2564
ภาษาอังกฤษ 57.34 50.38 66.27 56.20 61.75 49.07 กบั 2564
คณติ ศาสตร์ 60.06 39.22 65.81 43.55 58.13 34.42 +6.96
วิทยาศาสตร์ 44.65 36.83 41.10 29.99 50.61 32.90 -8.93
39.25 34.31 45.72 38.78 47.30 35.55 +20.84
-5.75
+7.82
+3.55
+4.94
-6.47

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 31

1.25 ผลประเมินคณุ ภาพผูเ้ รียน ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 (NT)

ดา้ น คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ เปรยี บเทยี บ เปรยี บเทยี บ
ระดบั ระดับ ระดบั ระดับ รร. กับ กทม. รร. กับ ประเทศ
ด้านภาษาไทย โรงเรียน จงั หวดั สงั กดั ประเทศ
74.31 68.40 71.33 56.14 ปี 2564 ปี 2564
ด้านคณิตศาสตร์ 74.81 64.41 68.84 49.44
รวมความสามารถ 75.56 66.43 70.13 52.80 +2.98 +18.17
ท้ัง 2 ดา้ น +5.97 +25.37
+5.43 +22.76

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 32

1.26 ผลประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 (RT)

สมรรถนะ 2562 2563 2564
คะแนน% จังหวดั ประเทศ คะแนน% จังหวดั ประเทศ คะแนน% จงั หวัด ประเทศ
การอ่านออก 89.48 77.01 68.50 79.90 78.65 74.14 97.43 84.64 69.95
เสียง
การอา่ นร้เู รื่อง 84.68 77.75 72.81 71.82 74.75 71.86 94.20 88.66 72.79

รวม 2 สมรรถนะ 87.08 77.38 70.66 73.02 76.73 73.02 95.82 86.69 71.38

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 33

1.27 ผลงานดีเดน่

ผลงานนกั เรียน หน่วยงานที่เกย่ี วข้อง ช่ือ - นามสกุล
สานกั งานโครงการสอบวัดทักษะ
เหรียญทองแดง การแข่งขันสอบวดั ทักษะวิชาการ วชิ าการระดบั ชาติ (สวช.) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6
ระดับชาติ (สวช.) ประจาปีการศึกษา 2564 บรษิ ทั เสริมปัญญา จากดั ด.ญ.ธิปุณญา อิงคเวทย์
เหรียญทอง โครงการทดสอบความรู้วชิ า
คณติ ศาสตร์ แบบ Online ครง้ั ที่ 34 (2564) บรษิ ทั เสรมิ ปัญญา จากดั ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1
เหรยี ญเงนิ โครงการทดสอบความร้วู ชิ า ด.ช.กานตธ์ พี ฒั น์ วรี พัฒนานันท์
คณิตศาสตร์ แบบ Online ครงั้ ที่ 34 (2564)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
ด.ญ.ธริ ดา ธิตโิ อฬาร
ด.ญ.ขวัญฤดี หมื่นไตร
ด.ช.ธนนภัช โฉมศิริ
ด.ช.เฟาวว์ าช เจะ๊ นะ๊
ด.ช.ธนกร วรุฬหหธ์ นวงศ์
ด.ช.ภูศษิ ฐ์ คงสุข
ด.ช.ปัณณฑิต ศรีสว่าง
ด.ช.ณฐั กิตติ์ ไทยสชุ าติ
ด.ญ.อภสรา แรอ่ อ่ น
ด.ญ.อญั ญา ผลแก้ว
ด.ญ.วชริ าภรณ์ อภิชาตกลุ
ด.ช.สกุ นต์ธี บูรภกั ดิ์
ด.ช.ปัณณฑตั ศรสี ว่าง
ด.ช.กฤษกร หริ ญั ธีรสวุ รรณ
ด.ช.กญุ ชภ์ ชั จาชาติ
ด.ช.ปฎภิ าณ แกว้ อ่อน
ด.ช.แทนคุณ หุ่นชาติ
ด.ญ.ธญั ชนก จันทร์ศิริ
ด.ญ.นรญั ชนก นนุ่ เกล้ียง
ด.ช.ณรงคร์ ชั ช์ เทยี บแสน
ด.ช.ปัณณ์ บญุ เรอื งขาว
ด.ช.จกั รภทั ร พ่งึ มน่ั
ด.ช.ณัฐกติ ติ์ แจ่มกระจา่ ง
ด.ช.บดินทร์ จเู กษม
ด.ช.ศุภณัฐ ศรสี ถาน
ด.ช.กิตติภมู ิฐ์ ชจู ร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 34

ผลงานนกั เรียน หนว่ ยงานที่เกย่ี วข้อง ช่ือ - นามสกุล
บรษิ ทั เสริมปัญญา จากดั
เหรยี ญทองแดง โครงการทดสอบความรู้วชิ า ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
คณิตศาสตร์ แบบ Online ครัง้ ท่ี 34 (2564) บริษทั เสริมปญั ญา จากัด ด.ช.อธวิ ฒั น์ ตนภู
เหรยี ญทอง โครงการทดสอบความรวู้ ชิ า
คณิตศาสตร์ แบบ Online ครง้ั ที่ 34 (2564) บรษิ ัท เสรมิ ปัญญา จากัด ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2
เหรยี ญเงนิ โครงการทดสอบความรวู้ ชิ า ด.ญ.ลภสั นนั ท์ เลก็ สรรเสรญิ
คณิตศาสตร์ แบบ Online ครัง้ ท่ี 34 (2564)
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2
เหรยี ญทองแดง โครงการทดสอบความร้วู ิชา บริษทั เสริมปัญญา จากัด ด.ญ.ศรสวรรคค์ หงสก์ ฤษดากร
คณิตศาสตร์ แบบ Online ครง้ั ที่ 34 (2564) บริษัท เสริมปัญญา จากัด ด.ญ.ปฑิตตา มณีโชติ
ด.ญ.ชญานิช วงศจ์ นั ทรมณี
เหรยี ญเงนิ โครงการทดสอบความรวู้ ิชา ด.ช.กติ ติพิชญ์ พบประเสรฐิ
คณติ ศาสตร์ แบบ Online ครั้งที่ 34 (2564) ด.ช.ธชั นนท์ จนั โอทาน
ด.ช.ปณั ณธร ปฏิมาพรเทพ
ด.ช.เศรษฐคุณ เลศิ จนิ ดาภาคย์
ด.ช.วรทิ ธ์นิ ันท์ วงศ์พรเพ็ญภาพ
ด.ช.อิทธณิ ฐั แสมหมู
ด.ญ.รัชชากร รสติ า
ด.ญ.นฐั ฐรียา สุขพธิ ี

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 2
ด.ญ.ณัฎฐ์ณชิ า ฉั่วตระกลู

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3
ด.ช.เตชวตั ร สังขจ์ ุ้ย
ด.ช.กันต์ธรี ์ ทฆี ะสวัสด์ิ
ด.ช.ชนนชน ตนั สบื เช้ือสาย
ด.ช.อภิภู พรหมสาขา ณ
สกลนคร
ด.ญ.ปณชนก นคั ครีพงศ์
ด.ญ.อุรัสยา พจนสภาวรรณ์
ด.ช.ปัณณภทั ร คงรอด
ด.ญ.วลยั กร สว่างงาม
ด.ช.นพคณุ สงิ หจ์ ุ่น
ด.ช.วิทยากร เปาอินทร์
ด.ญ.นิรดา แก้วออ่ น
ด.ญ.ศภุ สิ รา นพเกา้
ด.ญ.ณฏั ธดิ า แสงสวุ รรณ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 35

ผลงานนกั เรยี น หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้อง ชอ่ื - นามสกลุ
บริษทั เสริมปญั ญา จากดั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3
เหรยี ญทองแดง โครงการทดสอบความรู้วชิ า ด.ช.ภัทรพล ม่งุ หมาย
คณิตศาสตร์ แบบ Online ครั้งที่ 34 (2564) ด.ญ.จริ ภิญญา รักษาชนม์
ด.ญ.สุประภา กล่าสิรนิ นุ่
เหรยี ญทอง โครงการทดสอบความรวู้ ชิ า บริษัท เสริมปญั ญา จากัด ด.ช.ณภัทร รัตนาพร
คณิตศาสตร์ แบบ Online คร้ังที่ 34 (2564) บริษทั เสริมปัญญา จากดั ด.ช.ไกรฤทธ์ิ กนกะปณิ ฑะ
ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
เหรียญเงิน โครงการทดสอบความรวู้ ิชา ด.ช.อธษิ ฐ์รบดี อุทยั หงษ์
คณติ ศาสตร์ แบบ Online ครั้งที่ 34 (2564)
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4
เหรียญทองแดง โครงการทดสอบความรวู้ ิชา บริษัท เสรมิ ปญั ญา จากดั ด.ญ.มนธิรา สิทธนิ นั ทน์
คณิตศาสตร์ แบบ Online คร้งั ท่ี 34 (2564) ด.ญ.ปภัสสร ศิลาคะจิ

เหรียญเงิน โครงการทดสอบความรู้วชิ า บริษัท เสริมปญั ญา จากัด ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4
ด.ช.บลุ เสฎฐ์ นพวงศ์ ณ อยุธยา
คณิตศาสตร์ แบบ Online คร้งั ท่ี 34 (2564) ด.ช.ณัฐดนัย สขุ มณี
ด.ญ.วรัญญา รูปขาดี
เหรยี ญทองแดง โครงการทดสอบความรูว้ ชิ า บริษทั เสรมิ ปัญญา จากัด
คณติ ศาสตร์ แบบ Online ครั้งท่ี 34 (2564) บริษทั เสริมปญั ญา จากดั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 5
ด.ช.คณธัช ภัทรมทุ ธา
เหรียญเงนิ โครงการทดสอบความรูว้ ิชา ด.ช.ชินวฒุ ิ จาปาหอม
คณิตศาสตร์ แบบ Online ครั้งที่ 34 (2564) ด.ญ.ธญั พร เกษรสิทธ์ิ
ด.ช.ภัทธวชั ธรรมวฒุ า
เหรยี ญทองแดง โครงการทดสอบความร้วู ิชา บริษัท เสรมิ ปัญญา จากดั
คณติ ศาสตร์ แบบ Online ครงั้ ท่ี 34 (2564) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5
ด.ช.อิทธพิ ทั ธ์ พงษส์ ุรยะวรรณ
ชนะเลศิ รุ่นตา่ กวา่ 8 คิว Go Zodiac Friendship สมาคมกีฬาหมากล้อม
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
Game Online แหง่ ประเทศไทย ด.ช.วรินทร มวยดี
ด.ญ.ธปิ ุณญา องิ คเวทย์
ด.ญ.กมลวดี ทิพยรตั น์

ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6
ด.ช.ภรู พิ ฒั น์ ทองแท้
ด.ช.รัชชาพงศ์ ฉัตรพงศม์ งคล
ด.ญ.พรกนก แกว้ ศิริโกมล

ด.ช. อภิภู พรหมสาขา ณ
สกลนคร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 36

1.28 การปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ เลศิ /การดาเนินการทสี่ ามารถเป็น

แบบอยา่ งท่ีดีได้ (Best Practices)

บทนา
ข้อมูลทั่วไปของสถานศกึ ษา
ชอ่ื สถานศกึ ษา

โรงเรียนประชานิเวศน์ ตั้งอยู่ที่ ซอย 10 ถนนเทศบาลรังรักษ์เหนือ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร 10900 โทรศัพท์ 02-5884231 02-5884028 ต่อ 107 โทรสาร ต่อ 104 เว็บไซด์
www.prachaniwet.ac.th E-mail : [email protected] เปิดการเรียนการสอนในระดับช้ันอนุบาล ถึง
ประถมศึกษาปที ี่ 6 เขตพนื้ ทบี่ รกิ าร คือพ้นื ทใ่ี นเขตจตจุ กั ร กรุงเทพมหานคร

ประวตั ิสถานศกึ ษา
โรงเรียนประชานิเวศน์ มีเน้ือท่ี 5 ไร่ 1 งาน 7 ตารางวา เริ่มเปิดการเรียนการสอนในวันที่ 18

ตุลาคม 2520 สังกัดกรุงเทพมหานคร ในบริเวณหมู่บ้านประชานิเวศน์ 1 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร จัดการเรียนการสอนระดับประถมศึกษาปีท่ี 1-6 ต่อมาในปีการศึกษา 2536 เปิดขยาย
โอกาสทางการศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ในขณะเดียวกันโรงเรียนได้ขยาย
พ้ืนที่เพ่ิมจากพื้นท่ีเดิมแต่อยู่คนละส่วนของถนนห่างกันประมาณ 500 เมตร ได้มีการก่อสร้างอาคารเรียน 5
ช้ัน ของมัธยมศึกษาขึ้นในพื้นที่ 7 ไร่เศษ แล้วเสร็จเมื่อต้นปี 2538 และได้นานักเรียนระดับมัธยมมาเรียนใน
พื้นท่แี หง่ ใหม่

ปีการศึกษา 2540 ได้เปิดขยายการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 - 6
และในปีการศึกษา 2542 ได้งบประมาณสร้างอาคารเรียน 7 ช้ัน 1 หลัง ปีการศึกษา 2547 ได้มีประกาศ
กรุงเทพมหานคร ลงวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 2547 แยกออกเป็น 2 โรงเรียน คือโรงเรียนประชานิเวศน์ สังกัด
สานักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร และ โรงเรียนมัธยมประชานิเวศน์ สังกัดสานักการศึกษา
กรุงเทพมหานคร ซ่ึงต่อมาได้โอนมาสังกัดสานักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ปัจจุบันโรงเรียนประชา
นเิ วศน์ จดั การเรียนการสอนตั้งแตช่ ้นั อนบุ าลถงึ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ขอ้ มลู ดา้ นผบู้ ริหาร
รายนามผู้อานวยการสถานศกึ ษา

พ.ศ.2520 - 2542 นางเสาวนีย์ คนั ธาแก้ว ผ้อู านวยการโรงเรียน ผูก้ อ่ ตง้ั และบุกเบกิ โรงเรียน
(ลาออกกอ่ นเกษยี ณอายุราชการเมอื่ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2542)

พ.ศ.2542 - 2543 นางจรีย์ ศิลาพันธ์ ผ้อู านวยการโรงเรียน
พ.ศ.2543 - 2548 นางสาวประทุม เข็มวิลาศ ผู้อานวยการโรงเรียน
(เกษยี ณอายุราชการ 30 กันยายน 2548)
พ.ศ.2548 - 2552 นางสาวประภา กิตตินานนท์ ผ้อู านวยการโรงเรยี น
(ลาออกก่อนเกษยี ณอายรุ าชการ เม่อื วันที่ 31 มีนาคม 2552)
พ.ศ.2552 - 2554 นางจริ ะพันธ์ นามชวัด ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา
(ยา้ ยไปดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรยี นประชาอุทิศ เมอื่ 1 พฤศจิกายน 2554)
พ.ศ.2554 - 2555 นางอณิยา นุชสาเนียง ผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา
(ย้ายไปดารงตาแหน่งผ้อู านวยการโรงเรียนไทยนยิ มสงเคราะห์ เมอื่ วนั ท่ี 1 ตุลาคม 2555)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 37

พ.ศ.2555 - 2556 นางอาไพ จันทปัญญาศลิ ป์
(ยา้ ยไปดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นเคหะทุ่งสองห้อง เม่ือ 1 พฤศจกิ ายน 2556)

พ.ศ.2556 – 2559 นางจิราพร ปทุมเทวาภบิ าล
(ย้ายไปดารงตาแหน่งผอู้ านวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนไทยนิยมสงเคราะห์ เม่ือ 15 ตลุ าคม 2559)

พ.ศ.2559 – 2562 นางสาวหทยั พัชร์ ชินวงศอ์ มร ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา

(เกษยี ณายรุ าชการเมอื่ วนั ท่ี 30 กันยายน 2562)
พ.ศ. 2562 – ๒๕๖๔ นางจฑุ าภคั มฉี ลาด ผอู้ านวยการสถานศึกษา

(ยา้ ยมาดารงตาแหน่งเมอื่ วนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2562)

พ.ศ. 2564 - ปจั จุบัน นางดวงสุมาลย์ ช่ืนชูจติ ร์ ผอู้ านวยการสถานศึกษา
(ย้ายมาดารงตาแหน่งเมอื่ วันที่ 1 ตุลาคม 2564)

ข้อมลู ส่วนบคุ คลของผู้บริหารสถานศกึ ษา
นางดวงสมุ าลย์ ชนื่ ชูจติ ร์ ผ้อู านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นประชานเิ วศน์
ระดบั การศึกษา ปริญญาโท
วุฒิการศึกษาสงู สุด การศกึ ษามหาบัณฑติ

สาขาการบริหารการศกึ ษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ดารงตาแหน่งตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2564
โทร. 061-4014165

นางสาววชั รี โลห่ ์จินดา รองผ้อู านวยการสถานศึกษา โรงเรียนประชานิเวศน์
ระดับการศึกษา ปริญญาโท
วุฒกิ ารศึกษาสูงสดุ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา จากมหาวทิ ยาลัยรามคาแหง
ดารงตาแหน่ง ณ โรงเรยี นนี้ ตง้ั แต่ 16 พฤศจิกายน 2563
รบั ผิดชอบฝา่ ยบริหารงานทั่วไป โทร 064-301-4009

นางศิรพิ ร ใยดา รองผอู้ านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นประชานิเวศน์
ระดับการศกึ ษา ปรญิ ญาโท
วุฒิการศึกษาสงู สดุ การศึกษามหาบณั ฑติ

สาขาการบริหารการศกึ ษา จากมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
ดารงตาแหนง่ ณ โรงเรียนนี้ ตง้ั แต่วันที่ 20 มกราคม 2557
รับผดิ ชอบฝา่ ยบรหิ ารงานทั่วไป โทร. 086 – 9770157

นางสาวสุพนิ ยา สร้อยทอง รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นประชานิเวศน์
ระดับการศกึ ษา ปริญญาโท
วฒุ ิการศึกษาสูงสดุ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา จากมหาวทิ ยาลยั รามคาแหง
ดารงตาแหน่ง ณ โรงเรยี นนี้ ตั้งแต่วนั ท่ี 5 มกราคม 2558
รบั ผิดชอบฝ่ายบริหารงานวิชาการ โทร. 081 – 5678331

นางวิชญาภรณ์ แสงบตุ รดี รองผอู้ านวยการสถานศึกษา โรงเรียนประชานิเวศน์
ระดับการศึกษา ปรญิ ญาโท

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 38

วฒุ กิ ารศึกษาสงู สดุ ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา จากมหาวิทยาลยั รามคาแหง
ดารงตาแหน่ง ณ โรงเรยี นนี้ ตงั้ แต่วันท่ี 1 พฤศจิกายน 2558
รับผดิ ชอบฝ่ายบริหารงานวิชาการ โทร.062-2415923

การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในองคก์ ร (Internal Environment)
คณะผูจ้ ดั ทา ระดมความคดิ เหน็ ของบุคลากรของโรงเรยี นประชานเิ วศน์ สานักงานเขตจตจุ กั ร

กรงุ เทพมหานคร และผเู้ ก่ียวขอ้ ง ดว้ ยการสนทนากลุม่ ย่อย (Focus Group Discussion) เพ่อื วเิ คราะห์
สภาพแวดลอ้ มการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาโรงเรยี นประชานิเวศน์ (พ.ศ. 2563- 2567 ปรากฎ
รายละเอยี ด ดังน้ี

การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร (Internal Environment)

จดุ แข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weakness)

S1.ครมู ศี ักยภาพการจัดการเรยี นการสอน W1.ครไู ม่ได้รับการพฒั นาทีต่ ่อเนอื่ งและหลากหลาย

S2.ครูมีความรู้ ความสามารถ และสอนตรงตามวฒุ ิ W2.การประชาสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี น ครู

ความสามารถ ความถนัด ปกครอง ชุมชน ขาดความเท่ียงตรง และควรไปใน

ทศิ ทางเดียวกนั

S3.ครมู คี วามเอาใจใสท่ มุ่ เท ดแู ลนักเรยี นอย่างเตม็ W3.นักเรียนขาดระเบยี บวินัย คารวะธรรม

กาลงั ความสามารถ มีความมุ่งมั่น ทมุ่ เทเสียสละเพื่อ

พฒั นา มจี ิตสานึก และมจี รรยาบรรณ รักองศก์ ร

และผู้เรยี น

S4.ครเู พยี งพอกับจานวนนักเรยี น w4.ขาดความตระหนกั และคุณค่าในการใช้

ทรัพยากร ( ส่วนตวั และ ส่วนรวม )

S5.ครูให้ความรว่ มมือในการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี มีความ

รบั ผดิ ชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมาย

S6.ครมู ีวิสยั ทัศน์และพร้อมรับการเปล่ยี นแปลง

และการพัฒนาตนเอง

S7.ผู้บรหิ ารมนี โยบายดา้ นการจดั การศึกษาทชี่ ัดเจน

S8.ผ้บู รหิ ารมีความเปน็ ผนู้ า สนบั สนนุ การจดั

กิจกรรม

S9.นักเรียนเชอื่ มัน่ ในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก

S10.นกั เรยี นมคี วามพร้อมในการพัฒนาศกั ยภาพ

ดา้ นวิชาการ

S11.นกั เรยี นมคี วามสามารถทีห่ ลากหลาย

S12.นักเรียนมีความสนุ ทรียภาพในการเรยี นรู้

S13.สถานที่ สงิ่ แวดลอ้ มเอื้อต่อการจดั การเรียนรู้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 39

จากข้อมลู การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในองค์กร ตามตารางข้างตน้ ทาให้คณะผจู้ ัดทาทราบถึง
จุดแขง็ และจุดอ่อนของการดาเนินงานการจัดการศึกษาในโรงเรียนประชานิเวศน์ ทัง้ ในมิตขิ องโครงสร้าง
งบประมาณ ทรพั ยากร นโยบาย บุคลากรและกลไกต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องในการจัดการศกึ ษา

การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในองค์กร (external Environment)

โอกาส (opportunities) อปุ สรรค (Threats)

O1.คณะกรรมการสถานศึกษามีความเข้มแข็ง ให้ T1.ความต้องการของผ้ปู กครองทจ่ี ะนาบุตรหลาน

ความรว่ มมอื เขา้ เรียนทีโ่ รงเรยี น เกดิ การแขง่ ขนั

O2.ผูป้ กครองและชมุ ชนให้การสนับสนนุ การจดั T2.การเปลีย่ นแปลงทางสังคม เทคโนโลยี มีผลต่อ

การศกึ ษาของโรงเรยี น การมีผลตอ่ พฤติกรรมของนักเรยี น

O3.โรงเรียนไดร้ บั ความเช่ือม่ัน การยอมรับและ

ความเชื่อมั่นท้ังในและต่างประเทศ

O4.มีโอกาสต่อการพฒั นาการจัดการเรยี นร้ดู ว้ ย

ดจิ ทิ ัล เมอ่ื เกดิ การเปลีย่ นแปลงในการจดั การเรยี นรู้

โรคอบุ ัตใิ หม่ในกรุงเทพมหานคร

วสิ ยั ทศั น์ (Vision)

“วชิ าการเดน่ ดี มคี ณุ ธรรมนาตน ทุกคนร่วมพฒั นา สู่ความเปน็ พลเมอื งโลก”

พันธกจิ (Mission)

1. สง่ เสริม และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของผเู้ รียนสู่ความป็นเลศิ
2. ส่งเสริม และพฒั นาผ้เู รยี นให้มอี ตั ลักษณ์แห่งมหานคร
3. เสริมสร้างประสิทธภิ าพการศึกษาตอบสนองความต้องการของผูเ้ รียนทุกกลุ่มอย่างเทา่ เทยี ม
4. ส่งเสรมิ และพฒั นาประสิทธิภาพการจัดการดิจทิ ัลเพื่อการศกึ ษา
5. เสริมสรา้ ง และพัฒนาทุนมนุษย์และบรหิ ารจดั การสู่องคก์ ารสมรรถนะสูง

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 40

ประเดน็ ยุทธศาสตร์

ประเด็นยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยกระดับคุณภาพการศึกษาสคู่ วามเป็นเลิศ
ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาผูเ้ รยี นตามอัตลักษณ์แหง่ มหานคร
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับประสิทธภิ าพจัดการศึกษาตอบสนองความต้องการของผ้เู รยี นทกุ กลมุ่ อย่าง
เทา่ เทียมและทวั่ ถึง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาประสิทธิภาพการจดั การดิจทิ ลั เพ่ือการศึกษา
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาทนุ มนุษยแ์ ละบริหารจัดการสูอ่ งค์การสมรรถนะสูง

ขอบขา่ ยของการบริหารงานวิชาการ

1. การวางแผนงานวิชาการ
1.1 การจัดทาขอ้ มูลสารสนเทศงานวชิ าการ
1.2 การจดั ทาแผนงานวิชาการ

2. การบรหิ ารจัดการหลกั สตู รสถานศกึ ษา
2.1 การจดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษา
2.2 การนาหลกั สูตรสถานศึกษาไปใช้
2.3 การนเิ ทศตดิ ตามการใชห้ ลกั สตู ร
2.4 การประเมนิ ผลการใชห้ ลกั สูตรสถานศึกษา
2.5 การรายงานการประเมินผลการใชห้ ลักสูตรสถานศึกษา
2.6 การพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา

3. การบรหิ ารจัดการเรยี นรู้
3.1 การบรหิ ารการจดั การเรยี นรทู้ ่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคญั
3.2 การบรหิ ารการจัดการเรยี นรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
3.3 การสง่ เสรมิ และพฒั นาศักยภาพผ้เู รียน
3.4 การจดั การศึกษาพเิ ศษ

4. การนิเทศงานวิชาการภายในโรงเรียน
5. การวัดประเมนิ ผลการเรยี น
6. การพัฒนาสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยี แหลง่ เรียนรู้

6.1 การพัฒนาส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยี
6.2 การบริหารจัดการเพอ่ื พัฒนาแหล่งเรียนรู้
7. การวจิ ยั เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
8. การใหช้ ุมชนมสี ่วนรว่ มในการเสรมิ สร้างความเข้มแข็งทางวิชาการ
9. การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา กับงานวิชาการ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 41

โครงการ กจิ กรรม

ท่ี ชื่อโครงการ / กิจกรรม
1 โครงการตรวจสอบและพฒั นาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
2 โครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพการเรยี นรู้สคู่ วามเปน็ เลศิ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

1. กจิ กรรมลายมืองามตามแบบไทย
2. กิจกรรมประกวดแขง่ ขัน พฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
3. กิจกรรมวนั สุนทรภู่
4. กิจกรรมวันภาษาไทย
โครงการสง่ เสริมศักยภาพการเรยี นร้สู ู่ความเปน็ เลศิ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
1.กิจกรรมคา่ ยคณติ ศาสตร์ / นทิ รรศการวิชาการ/Open house ในโรงเรียน
2.กจิ กรรมมีนัดกับสตู รคูณ
3.กิจกรรมสนับสนุนและสง่ เสริมการเรยี นการสอนคณิตศาสตร์ดว้ ยบรรยากาศทีเ่ ออื้
ตอ่ การเรยี นรู้
4.กจิ กรรมหมากล้อม
5.กิจกรรมยกระดบั ผลสัมฤทธกิ์ ลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
6. กจิ กรรมประกวดแข่งขนั พฒั นาสู่ความเปน็ เลิศกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
4 โครงการส่งเสรมิ ศักยภาพการเรยี นรู้สคู่ วามเปน็ เลศิ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
1. กจิ กรรมประกวดแขง่ ขัน พัฒนาสู่ความเปน็ เลศิ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
2. กจิ กรรมค่ายวิทยาศาสตร์
3.กจิ กรรมสัปดาหว์ ทิ ยาศาสตร์
5 โครงการสง่ เสริมศักยภาพการเรยี นรู้สู่ความเป็นเลิศกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
1. กิจกรรมประกวดแข่งขัน พฒั นาสคู่ วามเป็นเลศิ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษาฯ
6 โครงการสง่ เสริมศักยภาพการเรยี นรสู้ คู่ วามเป็นเลิศกลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศึกษา
1. กจิ กรรมประกวดแขง่ ขนั พัฒนาสคู่ วามเปน็ เลศิ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศึกษาและ
พลศกึ ษา
โครงการส่งเสรมิ ศักยภาพการเรียนรู้สูค่ วามเปน็ เลิศกลุ่มสาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ
1. กิจกรรมประกวดแขง่ ขัน พัฒนาสู่ความเป็นเลศิ กลุ่มสาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ
2. กิจกรรมทัศนศลิ ป์
3. กิจกรรมเส้นสายลายเสยี ง
4. กิจกรรมลลี านาฏศิลป์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 42

ท่ี ชอื่ โครงการ / กจิ กรรม
โครงการสง่ เสรมิ ศักยภาพการเรียนรู้สคู่ วามเปน็ เลิศกลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
1. กจิ กรรมประกวดแข่งขัน พฒั นาสู่ความเป็นเลิศกลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี ฯ
2 กิจกรรมส่งเสรมิ ความถนดั จดั ต้พู รรณไมน้ า้
3 กจิ กรรมงานประดิษฐ์
โครงการสง่ เสริมศักยภาพการเรียนรู้สคู่ วามเปน็ เลศิ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ
1. กจิ กรรมวนั คริสต์มาส
2. กิจกรรม English Camp
3. กจิ กรรม One week One sentence
โครงการสง่ เสริมศักยภาพการเรยี นร้สู คู่ วามเป็นเลศิ ดา้ นกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น
1. กิจกรรมทบทวนคาปฏญิ าณและการเดินสวนสนามเนือ่ งในวันคลา้ ยวนั สถาปนา
ลกู เสอื แห่งชาติ
2. กิจกรรมพิธีเขา้ ประจากองลกู เสือสารอง
3. กิจกรรมพิธีเข้าประจากองลูกเสอื สามญั
4. กจิ กรรมอยคู่ ่ายกลางวนั ลูกเสือสารองและยวุ กาชาด ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1- 3
5. กิจกรรมการเดนิ ทางไกลและเขา้ ค่ายกลางวันลูกเสือสามัญและยุวกาชาดชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4
6. กจิ กรรมการเดนิ ทางไกลและเขา้ ค่ายกลางวนั ลกู เสือสามญั และยุวกาชาดชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 5
7. กจิ กรรมการเดินทางไกลและเขา้ ค่ายกลางวันลูกเสือสามัญและยุวกาชาดชน้ั
ประถมศึกษาปที ี่ 6
8. กิจกรรมวันคล้ายวันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ วั (ถวายราช
สดดุ ี)
9. กิจกรรมวนั ทบทวนคาปฏิญาณตนและสวนสนามยุวกาชาด
10. กิจกรรมเขา้ พธิ ีประจาหมขู่ องยวุ กาชาดชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1
โครงการสง่ เสรมิ สนับสนุน ให้นกั เรยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานเพ่ือการเรยี นรู้
โครงการสง่ เสรมิ สนบั สนุนครูผลติ และใชส้ อ่ื การเรียนรู้
โครงการโรงเรยี นรักการอ่าน
1. กิจกรรมบนั ทึกการอา่ น
2. กิจกรรมมุมรักการอ่าน
3. กิจกรรมบันทึกตามรอยพระจริยวัตรฯ
4. กจิ กรรมปลูกฝังลูกรักเป็นนกั อ่าน
5. กจิ กรรมธนาคารการอ่าน
6. กิจกรรมเพือ่ นช่วยเพ่ือน พช่ี ่วยนอ้ ง ผู้ปกครองชว่ ยเสรมิ ครูเพมิ่ เติมการอา่ น
7. กิจกรรมหนังสือเลม่ โปรดโปรโมทผา่ นสอื่
8. กจิ กรรมนักขา่ วเสยี งใส
9. กิจกรรมหนงั สือลอยฟา้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 43

ที่ ชอ่ื โครงการ / กจิ กรรม
10. กจิ กรรมอ่านหลากหลาย สไตลป์ น.
11. กจิ กรรมสร้างหนังสืออ่านด้วยมอื เรา
12. กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นกับพซิ ซา่

โครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาด้วยกระบวนการนเิ ทศภายใน
1. กจิ กรรมการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารครูวัดผลสายชั้นโปรแกรมงานวัดผล
2. กิจกรรมรวบรวมและวเิ คราะหข์ ้อสอบ
3. กจิ กรรมการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการงานทะเบยี นวัดผล

โครงการโรงเรยี นหลักสตู รสองภาษา
1. กิจกรรมตรวจสอบและพัฒนาหลักสตู รโครงการโรงเรียนสองภาษา
2. กิจกรรม PN 's God Talent

โครงการทนุ ส่งเสรมิ การศึกษานักเรยี นทีเ่ รยี นดี
โครงการคา่ ยวชิ าการ
โครงการสง่ เสริมวจิ ยั ในชน้ั เรยี น
โครงการโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ

1. กจิ กรรมพธิ ีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
2. กจิ กรรมตักบาตร สวดมนต์ยาวเช้าวนั ศกุ ร์
3. การเรียนการสอนธรรมศึกษา
4. โรงเรียนศลี 5
โครงการหอ้ งเรยี นสเี ขยี วลดการใช้พลงั งานไฟฟ้า
1. กจิ กรรมโรงเรยี นคาร์บอนตา่ ลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า
2. กจิ กรรมโรงเรยี นคาร์บอนต่าสูช่ มุ ชน
22 โครงการวนั สาคัญ
2 กิจกรรมวนั วสิ าขบูชา
3 กิจกรรมวนั เฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมราชนิ ี
4 กจิ กรรมวันไหว้ครปู ชู นยี บุคคล
5 กจิ กรรมวันอาสาฬหบชู าและวันเขา้ พรรษา
6 กจิ กรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษารชั กาลที่ 10
7 กิจกรรมวันแม่แหง่ ชาติ
8 กิจกรรมวันปิยมหาราช
9 กจิ กรรมวันลอยกระทง
10 กจิ กรรมวนั พ่อแห่งชาติ
11 กิจกรรมวันมาฆบูชา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 44

ท่ี ชอื่ โครงการ / กิจกรรม
12 กจิ กรรมวนั คล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอ
ดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
13 กจิ กรรมทาบญุ เปดิ ศักราชใหม่

โครงการ PN OPEN HOUSE เปิดบ้านนิทรรศการทางวิขาการ
1. กิจกรรมนิทรรศการผลงานทางวชิ าการครู
2. กจิ กรรมนิทรรศการผลงานทางวชิ าการนักเรียน



รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 45

ความเป็นมา
จากข้อเสนอแนะในบทสรุปสาหรับผบู้ ริหาร และข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษา

ในรายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก สมศ. รอบ 3 ประกอบด้วย ๑. มาตรฐานด้านผลการจัด
การศกึ ษา ประกอบด้วย ๑.) สถานศึกษาควรร่วมกันวิเคราะห์สาเหตทุ ีท่ าให้ผลสัมฤทธขิ์ องผู้เรยี นต่ากวา่
ระดับดี เพื่อจัดทาโครงการสอนซ่อมเสริม และทาการทดสอบความรู้ของผู้เรียนเพื่อวางแผนการจัดกลุ่มสอน
ซ่อมเสริมอย่างเป็นระบบครบวงจร ๒.) ครูควรจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ซ่อมเสริมท่ีมีเนื้อหาสาระตรงกับ
จดุ บกพรอ่ งของผู้เรียนแต่ละกลมุ่ ทต่ี ้องจัดสอนซ่อมเสริม จัดลาดับเน้ือหาสาระจากง่ายไปหายาก เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รียน
ได้เข้าใจเรื่องราวไปตามลาดับ จัดทาแบบทดสอบประเมินความรู้ผู้เรียนเป็นระยะ เพื่อทราบความก้าวหน้าว่า
พัฒนาไปตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ ๓.) ผู้บริหารมีการกากับ ติดตาม การดาเนินงาน ประเมินผลการ
ดาเนินงาน นาผลมาใช้ปรับปรงุ การเรียนการสอนให้ดีขึ้นตามลาดับตอ่ ไป และมีการรายงานผลการดาเนินงาน
อย่างเป็นระบบ ๒. มาตรฐานด้านการบริหารจัดการศึกษา ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ควร
มีการกากับและติดตามการดาเนินงานตามแผนของสถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง ๓. มาตรฐานด้านการจัดการ
เรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ได้แก่ สถานศึกษาควรให้ความสาคัญในการจัดให้ผู้เรียนในแต่ละห้อง
และจดั พ้นื ท่ีจัดกจิ กรรมในหอ้ งเรียนแตล่ ะห้องตามเกณฑ์มาตรฐาน

ดังนั้น โรงเรียนประชานิเวศน์ มีความตระหนักในบทบาทหน้าท่ีของสถาบันการศึกษาในชุมชนที่ต้อง
ให้ความสาคัญกับการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และการส่งเสริมผู้เรียนให้ได้รับการพัฒนา
ศักยภาพใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาที่กาหนดอยา่ งจริงจงั โดย การนาผลการประเมนิ ส่กู ารพัฒนา
ให้เป็นรูปธรรม เพื่อให้เกิดการพัฒนาเชิงประจักษ์สืบต่อไป จึงดาเนินงานโครงการพัฒนากระบวนการจัดการ
จัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมสู่ความเป็นเลศิ หรือ PNE Style โดยให้ความสาคัญในการดาเนินการ ๓ ประเด็น
หลักในการนาข้อเสนอแนะจากผลการประเมิน สมศ. รอบ ๓ สู่การพัฒนาอย่างครอบคลุม ประกอบด้วย การ
ส่งเสริมการมีส่วนร่วม (Participation) และความเป็นสากล (National) และการส่งเสริมความเป็นเลิศ
(Excellence)
วัตถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื พฒั นากระบวนการบริหารงานในสถานศึกษาแบบมีสว่ นร่วม
2. เพื่อส่งเสริมการพฒั นาศักยภาพครใู นการการจดั การเรียนรู้อยา่ งเข้มแข็งแกผ่ ้เู รียนทุก

กลมุ่ เป้าหมายอย่างเสมอภาค
๓. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของผูเ้ รียนทุกคนและส่งเสริมความเป็นเลศิ ด้าน

วชิ าการ
เปา้ หมาย

เชิงปริมาณ
๑. ผ้เู รยี นมผี ลการเรียนในระดบั ดีข้นึ ไปของทุกรายวชิ าสูงกวา่ ร้อยละ 75
๒. คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน คณะกรรมการเครือข่ายผูป้ กครอง ผู้ปกครอง
และผูม้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสีย เข้ามามีสว่ นรว่ มในการยกระดบั คุณภาพการศึกษา ไม่น้อยกว่า
ร้อยละ ๗๐
๓. สถิติผู้เรียนมีผลการประกวด แข่งขันภาควิชาการและกจิ กรรมไม่น้อยกว่าระดับรอง
ชนะเลศิ มีจานวน ร้อยละ ๔๐ ขน้ึ ไป

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 46


Click to View FlipBook Version