The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปน. อินทนิล, 2022-10-20 05:34:35

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ปีการศึกษา 2564

Keywords: sar64

เชงิ คุณภาพ
โรงเรียนประชานิเวศน์ ได้รบั ความร่วมมือจากผเู้ ก่ียวข้องทุกฝา่ ยในการสง่ เสรมิ พัฒนาคุณภาพ

การศึกษา และการพฒั นาผูเ้ รียนทกุ ระดับได้รับการพฒั นาศักยภาพเต็มความสามารถและมสี ถติ กิ ารได้รบั
รางวัลจากการประกวด แขง่ ขันและการสอบแข่งขันในระดับแนวหน้าสู่ความเปน็ เลศิ ทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้
นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปี่ 6 มผี ลการทดสอบการศึกษาขั้นพื้นฐานระดบั ชาติคะแนนเฉล่ียสูงกวา่
ระดับประเทศทุกรายวชิ า
ขันตอนการดาเนินงาน

การบริหารโรงเรียนคุณภาพโดยใช้ PRACHANIWET 3Ps Model น้ันเป็นรูปแบบการบริหาร
โรงเรียนคุณภาพท่ีมุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพของโรงเรยี นอย่างสมดุลรอบด้าน เพื่อให้นักเรียนที่เป็นผลผลิต เป็น
มนุษย์ทส่ี มบรู ณ์ เปน็ คนดี มีความสามารถ และมคี วามสขุ เป็นรปู แบบการบริหารทม่ี ีความสอดคล้องกับบริบท
ของโรงเรียน และเหมาะสมตามห้วงเวลาน้ันๆ จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และประสบการณ์ในการบริหาร
โรงเรียน ทาให้ได้นวัตกรรมรูปแบบการบริหารโรงเรียนที่สอดคล้องกับการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนประชา
นิเวศน์ ทาให้การดาเนินการบริหารจัดการศึกษาบรรลุตามเป้าหมาย มีรายละเอียดของการพัฒนานวัตกรรม
การบริหารโรงเรยี นคณุ ภาพ ดังนี้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 47



รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 48

ขั้นตอนท่ี 1 ปัจจยั นาเข้า (INPUTS) ประกอบดว้ ย 5 กิจกรรม ได้แก่
P : Planning quality หมายถงึ การวางแผนท่ีมคี ุณภาพ โดย การร่วมกันวางแผนพฒั นาคณุ ภาพ

การศึกษา แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี แผนพัฒนาคณุ ภาพการบริหารงานทั้ง 4 ฝา่ ย เพ่ือให้การวางแนวทาง
ในการดาเนนิ งาน แนวทางปฏิบตั อิ ย่างรอบคอบ รัดกุม เตรยี มความพร้อมรับมือกับผลกระทบที่อาจเกิดขน้ึ ได้
เป็นภมู คิ ุ้มกนั ท่ดี ีแกอ่ งคก์ าร

R : Research หมายถงึ การสง่ เสรมิ ให้ครูใช้การวิจัยในชั้นเรียนในการแก้ปัญหาผูเ้ รยี น ผ้บู ริหาร ใช้
การวจิ ยั สถาบันเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริหารในสถานศึกษา ตลอดจนการวจิ ัยพัฒนางานของขา้ ราชการครู
เพื่อขอมี ขอเลื่อนวทิ ยฐานะซ่ึงสง่ ผลต่อการพัฒนาครู พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นและสถานศึกษา

A : Active Learning หมายถงึ การส่งเสริมกระบวนการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ใหผ้ ้เู รียนมีสว่ นร่วมและ
มี ปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลายรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์
การระดมสมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และการทากรณีศึกษา เป็นต้น โดยเน้นการจัดกิจกรรมท่ีช่วย
พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การส่ือสาร/นาเสนอ และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างเหมาะสม ส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นมีปฏิสัมพนั ธ์กับผู้สอน และผู้เรยี นกบั ผเู้ รยี นดว้ ยกันด้วย ผู้สอนลด
บทบาทในการถ่ายทอดความรู้แก่ผู้เรียนในลกั ษณะการบรรยายลง และเพิ่มบทบาท ในการกระตุ้นให้ผู้เรียนมี
ความกระตือรือร้นที่จะท ากิจกรรมต่างๆ รวมถึงการจัดเตรียมสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมใน การเรียนรู้
ลักษณะของการเรี

C : Curriculum and Course Design หมายถึง การจดั หลกั สตู รและการออกแบบการจัดการ
เรยี นรทู้ ส่ี อดคล้องกับลักสูตรการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 การออกแบบหลักสูตรสถานศึกษาที่
ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ผปู้ กครองและชุมชน

H : Human resource หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรมนุษย์ หรือการบริหารทรัพยากรมนุษย์โดย
เป็นการใช้กลยุทธ์วางแผนการทางานใหม้ ีความสมั พันธ์กับทุกๆฝ่ายในองค์กรให้มีประสิทธภิ าพมากที่สุด โดย
ต้องบรรลุวัตถุประสงค์ในการทางานต่อการทางานเป็นหมู่คณะและการทางานคนเดียว และต้องมีการพัฒนา
ปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา การบริหารและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสู่ครูมืออาชีพ ส่งเสริม
ความก้าวหน้า สรา้ งขวญั กาลังใจ

A : Assignment of Staff หมายถงึ สถานศกึ ษามีโครงสร้างการบริหารสถานศึกษาท่ีชดั เจน มี
ระบบการตดิ ต่อสื่อสารและอานาจการบังคับบัญชาทเ่ี ชอื่ มตอ่ คนและกลมุ่ คนเขา้ ด้วยกัน เพื่อทางานร่วมกันจน
บรรลเุ ปา้ หมายของสถานศึกษา มกี ารมอบหมายงานโดยคานงึ ถึงความรู้ ความสามารถ ความถนัดสว่ นบคุ คล
หรือความร้คู วามสามารถในการทางานเป็นทีม เชน่ การจดั ครูเข้าสอนตรงสาขาวิชาเอก การมอบหมายภาสระ
งานสนบั สนนุ การสอนทต่ี รงกับความถนดั และความสนใจเพือ่ เพ่มิ ผลผลิตในการพัฒนาคุณภาพของงาน
โดยเฉพาะคุณภาพผ้เู รียน ตลอดจนความสุขในการปฏิบตั งิ านและประสิทธภิ าพในการทางานเปน็ ทมี

ขัน้ ตอนที่ 2 กระบวนการ (PROCESSES) ประกอบดว้ ย 3 กิจกรรม ได้แก่
1. การมีสว่ นรว่ ม (P1 : Participation ) เป็นกระบวนการที่เปดิ โอกาสให้ผูม้ สี ่วนได้เสยี ใน

การจัดการศึกษาร่วมกับโรงเรียน เป็นกระบวนการเรียนรู้ซึ่งกันและกันของทุกฝ่าย นับต้ังแต่การแสดงความ
คิดเห็น การวางแผน การดาเนินการและการแก้ไขปัญหา ตลอดจนการควบคุม กากับ ติดตามและ
ประเมินผล เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนาการศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ซึ่งสามารถทาได้ ทั้ง
ทางตรง คือ ร่วมเป็นคณะทางานและทางอ้อมร่วมวางแนวทางนโยบาย การบริหารแบบมีส่วนร่วมดังกล่าวได้
นาทฤษฎตี ่างๆ มาใช้ ได้แก่ ทฤษฎีการเกลยี้ กลอ่ มมวลชน ทฤษฎแี รงจูงใจ ทฤษฎีความคาดหวงั เปน็ ตน้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 49

2. การจัดการกระบวนการ (P2 : process management) การบริหารจัดการใน
สถานศึกษาทง้ั 4 ดา้ น ใช้กรอบการบรหิ ารของสถานศึกษา “โรงเรียนคณุ ธรรม” โดยนาหลกั การว่าดว้ ยการ
บริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมท่ีดี ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่า “ธรรมาภิบาล” ได้แก่ หลักนิติธรรม หลัก
คณุ ธรรม หลักความโปรง่ ใส หลกั การมีส่วนร่วม หลกั ความรบั ผดิ ชอบ และหลักความคมุ้ ค่า มาบรู ณาการใน
การบรหิ ารและจัดการศึกษา เพือ่ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั โรงเรยี น โดยนาหลักธรรมาภบิ าลบูรณาการเข้า
กับการดาเนินงานของสถานศึกษา ได้แก่ การบริหารงานด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงาน
บุคคล และด้านบริหารท่ัวไป และเป้าหมายในการจัดการศึกษา คือทาให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่ง และมี
ความสุข

3. การประเมินจากชุมชน (P3 : Public Assessment ) การควบคุมกากับและ
ประเมินผลแบบมีส่วนร่วม จาเป็นต้องมีการวัดความก้าวหน้าและผลที่เกิดข้ึนจากการร่วมกันวางแผนพัฒนา
โรงเรียนเพ่ือ สร้างโอกาสและพัฒนาคุณภาพการศึกษา ส่ิงนี้จะเป็นบทเรียนที่มีคุณค่าและปรับปรุงให้เกิดความ
โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ สร้างความเช่ือมั่นให้กับชุมชน เพ่ือเป็นการสร้างความโปร่งใสในการบริหารจัดการ
โรงเรยี น ชุมชนเห็นภาพการบริหารงานชดั เจนมากขน้ึ เปน็ สภาพความเป็นจริงในระดบั ท้องถิน่ เป็นการเปิดโอกาส
ให้ประชาชน ชื่นชมกับผลสาเร็จ จากการเข้ามาเกี่ยวข้องในการมีส่วนร่วมและจะกลายเป็นการเสริมสร้างพลงั
ประชาชน เกิดกระบวนการชว่ ยเหลือพฒั นาและเห็นภาพการเปลยี่ นแปลงต่างๆ

ข้ันตอนที่ 3 ผลผลิต/ผลลพั ธ์ (OUTPUTS/OUTCOMES) ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่
N : Network หมายถึง โรงเรียนมีเครือข่ายความร่วมมือ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างกันใน

ทีมงาน และในชมุ ชน มีความเป็นกลั ยาณมิตร เกดิ ความรักสามัคคี สมานฉันท์ เป็นเครอื ข่ายและพนั ธมิตรทาง
ความรู้ และความรว่ มมืออยา่ งตอ่ เนื่อง

I : Innovation หมายถึง ผลจากการร่วมกันคิดรว่ มกันทาส่งผลใหเ้ กิดวธิ คี ิดใหม่ และการคน้ พบส่ิง
ใหม่ๆ ไดต้ ลอดการดาเนนิ งาน สิ่งทค่ี ้นพบถือได้ว่าเปน็ นวตั กรรมใหมท่ ีส่ ง่ เสรมิ ให้ประสบความสาเรจ็ ได้อย่างมี
คณุ ภาพ ประหยดั ค้มุ คา่ และภาคภูมิใจในผลงานmทงั้ ดา้ นผู้บริหาร ครแู ละผเู้ รยี น

W : Well-Rounded Students หมายถงึ ผลผลติ ผเู้ รียนเป็นผมู้ คี วามรรู้ อบดา้ นจากการได้รบั การ
ฝึกฝนทด่ี ี มีความรู้ ทักษะด้านวชิ าการ คุณลกั ษณะพึงประสงค์ตามหลักสูตร ทักษะสังคม มคี วามสามารถ
พิเศษด้านดนตรี นาฏศิลป์ กีฬา และนนั ทนาการ หรอื ทกั ษะอน่ื ๆ มีผลงานเปน็ ท่ีประจักษแ์ ละมรี างวัลจากผล
การทดสอบ การประกวด แข่งขนั

E : Excellence School หมายถึง โรงเรยี นแห่งความเป็นเลิศ สอดคลอ้ งกับที่ สมศักด์ิ ดลประสิทธิ์
( 2541 : 11 ) ท่กี ลา่ วว่า โรงเรียนแห่งความเปน็ เลิศ คอื โรงเรียนทมี่ คี ุณภาพท่ีแสดงผลลัพธใ์ หเ้ หน็ ถึง “มิติ
แห่งคณุ ภาพ ( Quality Dimensions )” ในด้านต่างๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี ประกอบดว้ ย

1) มคี วามสามารถในการจัดการศึกษา (Performance) โรงเรยี นมคี วามสามารถทจี่ ะจดั
การศกึ ษาไดม้ าตรฐานตามท่ีมุ่งหวงั และเปน็ ไปตามจดุ มุ่งหมายของหลกั สูตร

2) โรงเรยี นมลี กั ษณะพิเศษ (Features) เปน็ ลักษณะที่โรงเรียนจัดขนึ้ เพิ่มเติมจากการจัด
การศกึ ษาปกติ เช่น มบี รเิ วณทีส่ ะอาดรม่ รื่น สือ่ การสอนทันสมัย จดั หลกั สตู รทอ้ งถน่ิ

3) บคุ ลากรเป็นที่เช่อื ถือไวใ้ จได้ (Reliability) ท้งั ผ้บู ริหารเป็นท่เี ช่ือถือได้ว่ามีการบรหิ าร
จัดการทีด่ ี มภี าวะผู้นา ครูทาหน้าทที่ าการสอนเปน็ ท่เี ช่ือถือไวใ้ จได้ เป็นครูมืออาชพี

4) โรงเรยี นสามารถทาตามที่ประกาศ หรอื ตกลงไว้กบั ผ้เู รียน หรอื ผปู้ กครอง
(Conformance ) รวมทัง้ ทาตามกฎเกณฑ์ ระเบยี บท่เี กี่ยวขอ้ ง

5) โรงเรียนใช้ส่ือการสอนที่มีคุณภาพ อาคารสถานทมี่ ั่นคงถาวร (Durability) สามารถ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 50

ใช้ในกิจกรรมการเรยี นการสอนไดเ้ ตม็ ศักยภาพ เหมาะกับวัย สะดวกและปลอดภยั
6) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจดั กจิ กรรมบรกิ ารนกั เรียน ผปู้ กครอง ชุมชน(Service Ability)

เชน่ เป็นทีพ่ ักผอ่ นหย่อนใจ มีสนามกีฬา หอประชุม ฯลฯ รับฟังความคิดเห็นของทกุ ฝา่ ยนามาปรับปรงุ แกไ้ ข
7) โรงเรียน จดั บรรยากาศ ทีเ่ อื้อต่อการจัด การเรียนการสอน มสี นุ ทรยี ภาพ

(Aesthetics) เชน่ จัดบรรยากาศร่มรืน่ จัดกจิ กรรมนนั ทนาการ เป็นตน้
8) มีช่ือเสียงเป็นท่ีประจกั ษ์ ผูร้ ับบรกิ าร / หนว่ ยงานยอมรับ ในคุณภาพ ของโรงเรียน

(Reputation or Perceived Quality) เป็นโรงเรยี นทท่ี กุ คนยอมรับวา่ จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ได้
ตามทีค่ าดหวังไว้

T : Top-notch Education Achievement หมายถงึ สถานศึกษามผี ลสาเร็จด้านผลสัมฤทธิ์ทาง
การศกึ ษาชัน้ ยอด มกี ารขยายผลและต่อยอดองคค์ วามรู้นาไปสเู่ ปา้ หมายความสาเรจ็ ที่สงู ขน้ึ อยา่ ต่อเนื่องทัง้
ดา้ นการบรหิ าร คุณภาพครู และคุณภาพผูเ้ รยี น

ขนั้ ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะ/ปรับปรงุ (Feedback)
ขน้ั ตอนน้เี ป็นขนั้ ตอนสดุ ท้ายของบา้ นหันน้อยโมเดลท่ีจะรับรูถ้ งึ ปญั หาทง้ั หมดจากขอ้ เสนอแนะ

ข้อคิดเห็นต่าง ๆ และคาติชม ซงึ่ จะเปน็ ข้อมูลทีจ่ ะสะท้อนกลบั ให้เห็นทง้ั จุดดอ้ ยหรือจุดอ่อน และจุดเด่นของ
แผนงาน ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน การประสานงาน และกระบวนการดาเนนิ งาน โดยได้ใชห้ ลกั การวจิ ยั มา
บูรณาการในการศึกษาหาแนวทางแก้ปัญหาเพ่ือปรับปรุงพัฒนาตอ่ ไป
เอกลกั ษณ์/จุดเด่นของนวัตกรรม

เปน็ นวัตกรรมสงั เคราะห์ขึน้ จากแนวคดิ ทฤษฎกี ารบรหิ ารท่ปี ระสบผลสาเร็จทัง้ ในและต่างประเทศ
เพอ่ื เปน็ การยนื ยนั ความนา่ เชื่อถือของนวัตกรรมการบริหารท่สี รา้ งขน้ึ และชื่อของนวตั กรรมมคี วามสอดคล้อง
กบั ช่ือของผู้บริหารโรงเรียนซ่ึงเป็นบคุ คลสาคัญในการขับเคลอื่ นการทางานและการใชน้ วัตกรรมการบรหิ าร ให้
ประสบผลสาเร็จ จึงถอื ไดว้ ่าเป็นเอกลักษณ์ของนวตั กรรมช้ินนี้

นวตั กรรมมีผลดตี อ่ การจดั การศึกษาของโรงเรียนอย่างไรบา้ ง
1) การส่งเสรมิ ศักยภาพการเรยี นรกู้ ล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
2) Bilingual Foreign Teacher’s Best Practice
3) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นและผลการทดสอบทาง

การศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET)
4) การพัฒนากระบวนการวัดผลเพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์สิ คู่ วามเปน็ เลิศ
5) โครงการสัมพนั ธ์ไทย-ญ่ีปุ่น ณ เมอื งฮโิ รชมิ า ประเทศญี่ปุ่น ระหวา่ งโรงเรยี นมินามคิ ันนอนกบั

โรงเรียนประชานิเวศน์ ประเทศไทย

6) นักเรยี นเป็นคนดี มีคณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคต์ ามหลักสูตรสถานศึกษา 8 ประการ มีจติ สานกึ
สจุ ริต 5 ประการตามคุณลกั ษณะนักเรียนมีค่านิยมพืน้ ฐาน 12 ประการ

7) นกั เรียนมีผลงานดา้ นวชิ าการ ศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ กฬี า นนั ทนาการ
8) นักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นทกุ ชนั้ เรียน ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ช้ันประถมศึกษา
ปที ี่ 6 สูงกวา่ ค่าเฉล่ยี ระดับประเทศ ทุกกลุ่มสาระการเรียนร้เู ป็นเวลา 8 ปกี ารศกึ ษาต่อเนอ่ื ง ผลการทดสอบ
การอา่ นระดบั ชาติ (Reading Test: RT) ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 ผลการทดสอบระดบั ชาติ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี
3 (National Test: NT) สงู กวา่ ระดบั ชาตทิ กุ ด้าน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 51

9) นกั เรียน ครูและบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามรทู้ ีเ่ ปน็ สากล มีความพร้อมในการเปน็ ประชาคม
อาเซียน และประชาคมโลกโรงเรียนสร้างภาคีเครือข่ายร่วมมอื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาท่ีหลากหลายจากทุก
ภาคส่วนและระดับนานาชาติ มกี ารดาเนนิ งานตามกิจกรรมโครงการแลกเปลยี่ นระหวา่ งประเทศอยา่ งต่อเนื่อง

10) ผู้บริหารโรงเรยี น ครูและบคุ ลากรทางการศึกษามีความเปน็ มอื อาชพี มคี ุณภาพมาตรฐานเป็นที่
ยอมรับของชุมชนและสังคม ใชก้ ระบวนการพฒั นาคุณภาพงาน PDCA มีการกระตุ้นการทางาน นิเทศ กากับ
ตดิ ตาม ดว้ ยกระบวนการ PLC ตามโครงการพฒั นาโรงเรียนทั้งระบบ และผา่ นการอบรมพฒั นาเพ่อื พัฒนา
ตนเองมากกว่าคนละ 30 ชัว่ โมงตอ่ ปี

11) โรงเรยี นไดร้ ับการพฒั นาใหน้ ่าดู น่าอยู่ น่าเรียน มีบรรยากาศท่ีสะอาด ร่มรน่ื สวยงาม ปลอดภัย
และเป็นโรงเรียนปลอดยาเสพติด พฒั นาเป็นสวนสาธารณะ และลานกฬี าของชุมชน

12) โรงเรียนมกี ารพัฒนาระบบบรหิ าร ระบบประกนั คุณภาพภายใน สร้างและพัฒนานวตั กรรม การ
บรหิ ารจดั การสู่การสกู่ ารเปน็ โรงเรียนคณุ ภาพ โดยใช้ PRACHANIWET 3Ps Model มผี ลงานเป็นท่ีพึงพอใจ
ของชมุ ชน

13) โครงการพัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา โดย สง่ เสรมิ การประชมุ สัมมนา ศกึ ษาและดูงาน
ตลอดจนการจดั กจิ กรรมเสริมสรา้ งความสมั พนั ธ์อันดรี ะหว่างขา้ ราชการครูทง้ั หลกั วสูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ทัว่ ไป และครูในหลกั สตู รห้องเรยี นสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) บคุ ลากรทางการศึกษาทุกตาแหนง่ เพ่อื ใหก้ าร
ปฏบิ ัติงานในความรบั ผดิ ชอบมีประสทิ ธิภาพ มีความก้าวหนา้ ในวิชาชีพ ส่งผลดีตอ่ การปฏิบัตงิ านอยา่ งมี
ความสุข เสรมิ สรา้ งการพัฒนาการบริหารสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพสงู ข้ึน

14) โรงเรียนมีผลงานเชงิ ประจักษ์ รายละเอียดดงั เอกสารท่ีแนบ

การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์
โรงเรียนประชานิเวศน์ ได้นาเสนอรายงานผลการปฏบิ ัตทิ เ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) PRACHANIWET

3Ps MODEL ส่สู าธารณชนและผ้เู กยี่ วขอ้ ง ดังน้ี
1. จดั ทารายงานผลการดาเนินงานเพื่อเปน็ สารสนเทศในการพฒั นาคุณภาพงานวชิ าการของโรงเรียน
2. รายงานผลการดาเนนิ งานต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พน้ื ฐานเพอื่ รบั ทราบ เสนอแนะเพ่ือปรับปรุงให้มี
ความสมบูรณ์ ก่อนเผยแพรส่ ู่สาธารณชน
3. ประชาสมั พันธ์ผ่านเวบ็ ไซต์ของโรงเรยี น ในรปู แบบไฟล์และ QR Code

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 52

ส่วนท่ี ๒ ผลการประเมินตนเอง

“เสยี สละ จริงใจ มีวินัย ค้นคว้า รอบรู้ สูง้ าน”

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 53

สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

2.1 ผลการประเมนิ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนประชานิเวศนไ์ ด้กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาและค่าเป้าหมายระดบั
คณุ ภาพยอดเย่ยี มทกุ มาตรฐานแสดงผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาดงั ตาราง

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา คา่ เปา้ หมาย ผลการประเมนิ ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น 82 87.14 ยอดเยี่ยม
82 86.85 ยอดเย่ียม
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ้ รียน 82 83.04 ยอดเยี่ยม

1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่อื สารและการ 82 78.54 ดีเลศิ
คดิ คานวณ 72 95.62 ยอดเย่ียม
82 87.91 ยอดเยี่ยม
2) มีความสามารถในการวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 82 90.88 ยอดเยี่ยม
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น และแก้ปัญหา 82 87.14 ยอดเย่ียม
77 93.76 ยอดเยี่ยม
3) ความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 77 86.81 ยอดเย่ียม
82 94.24 ยอดเยี่ยม
4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ 77 91.83 ยอดเย่ียม
สื่อสาร
77 91.66 ยอดเย่ียม
5) ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 87 96.70 ยอดเย่ียม

6) มีความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชีพ 87 100 ยอดเยี่ยม

1.2 คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น 87 95.41 ยอดเยี่ยม
87 99.00 ยอดเยี่ยม
1) การมีคุณลักษณะและคา่ นิยมทด่ี ตี ามท่ีสถานศึกษากาหนด

2) ความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเป็นไทย

3) การยอมรับที่จะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและ
หลากหลาย

4) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผบู้ ริหาร
สถานศึกษา

1. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนด
ชัดเจน

2. มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา

3. ดาเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน
ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุม่ เปา้ หมาย

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 54

มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมิน ระดับคณุ ภาพ

4. พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี 87 96.75 ยอดเย่ียม
87 94.38 ยอดเยี่ยม
5. จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเี่ ออื้ ต่อการจดั การ
เรยี นรูอ้ ย่างมีคุณภาพ 85 94.58 ยอดเยี่ยม
87 96.80 ยอดเย่ียม
6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสรเทศเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ 87 95.42 ยอดเยี่ยม
และการจดั การเรียนรู้
87 90.26 ยอดเยี่ยม
7. องคก์ รมภี าพลักษณท์ ี่ดี
87 98.70 ยอดเยี่ยม
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผ้เู รยี น 87 94.53 ยอดเย่ียม
เปน็ สาคญั 82 95.90 ยอดเย่ียม

1. มีการจดั การเรียนรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ และนาไป 87 97.73 ยอดเยี่ยม
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตได้

2. ใชส้ อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรียนรทู้ ่เี อื้อต่อการ
เรยี นรู้

3. มกี ารบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชิงบวก

4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอยา่ งเป็นระบบและนาผลมา
พัฒนาผู้เรียน

5. มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะท้อนกลบั เพื่อพัฒนา
และปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้

สรปุ การตง้ั ค่าเปา้ หมาย ระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน
1. ระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
2. วธิ กี ารพฒั นา/ผลท่ีเกดิ จากการพัฒนา ข้อมลู หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่ีสนบั สนนุ ผลการ
ประเมินตนเอง

2.1. แผนการดาเนนิ การและกระบวนการพัฒนา
1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รยี น
โรงเรียนประชานเิ วศนม์ ีกระบวนการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรยี น เร่ิมจากคน้ หา

ศกั ยภาพและความสามารถของผ้เู รียน เพ่ือเปน็ ฐานข้อมูลในการพัฒนาผเู้ รียนในด้านตา่ งๆ โดยโรงเรยี นมีการ
พัฒนาความสามารถในการอ่าน การเขยี น และการสอื่ สารโดยผ่านการเรยี นรจู้ ากการดาเนินโครงการโรงเรียน
รกั การอา่ น สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นเกิดเจตคติที่ดีท่ีมีต่อการอ่าน มกี ารค้นหาความรู้ตามท่ตี นเองสนใจ และจด
บันทกึ ในประเดน็ ทีต่ นเองสามารถสรปุ และเกิดความเข้าใจในเร่อื งท่ีอ่านได้ โดยผา่ นกจิ กรรมทหี่ ลากหลายของ
ทางโรงเรยี นทจี่ ัดขน้ึ เชน่ กจิ กรรมปลกู ฝังลกู รักเป็นนกั อ่าน ผู้ปกครองชว่ ยเสริม ครูเพิม่ เติมการอา่ น กิจกรรม
บนั ทกึ ตามพระจรยิ วัตรสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ กิจกรรมบันทึกการอา่ นของพิซซา่ เป็นต้น และยงั พัฒนา
ความสามารถของนกั เรียนดา้ นการอา่ น การเขียน และการสอ่ื สารภาษาองั กฤษใหก้ บั นักเรยี นในกิจกรรมการ
เรยี นการสอนในห้องเรียน นอกจากน้ที างโรงเรยี นยงั สง่ เสรมิ ความสามารถการคิดคานวณในรายวชิ า

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 55

คณิตศาสตร์ และเสรมิ ดว้ ยกิจกรรมทีก่ ระตุ้นความสนใจ และพัฒนาศกั ยภาพใหก้ ับนักเรียนผ่านกิจกรรมการ
อา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนสื่อความในทุกระดับชั้น อีกท้งั โรงเรยี นได้ส่งเสรมิ ให้นักเรียนได้ทดสอบ
ความสามารถของตนเองด้วยการทดสอบทางวิชาการของบรษิ ัทเสริมปญั ญา สสวท. โรงเรียนมกี ารทดสอบการ
อา่ นของนักเรียนเป็นรายบุคคลตามแนวทางของสานักการศึกษา นกั เรียนทีม่ ปี ัญหาการพัฒนาการอา่ นจะ
ไดร้ บั การฝกึ ฝนเพ่ิมเติมจากครู ผู้ปกครองชว่ ยเสรมิ ครเู พ่มิ เตมิ การอ่าน จนมีการพฒั นาทด่ี ีขน้ึ ส่งผลให้ผลการ
สอบ RT ของชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ผลการสอบ NT ของชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓ สงู กว่าระดับประเทศและผล
การทดสอบระดับชาติ (O-NET) สูงกวา่ ระดับประเทศทุกกล่มุ สาระตดิ ต่อกนั ทุกปี

โรงเรียนส่งเสริมความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความ
คิดเห็น และแกป้ ัญหาให้กบั ผู้เรยี น ผ่านโครงการส่งเสรมิ ศักยภาพการเรยี นรู้ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สอดแทรกในการจดั การเรียนรใู้ นห้องเรียน
กระตุ้นให้นักเรยี นคิดอยา่ งมเี หตุผล คดิ สงสยั และคน้ ควา้ หาคาตอบตามหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ คิดได้อย่าง
เปน็ ระบบ จัดใหม้ ีการเรียนรใู้ นรายวิชาการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนสอ่ื ความ เพื่อเน้นยา้ และใหค้ าแนะนา
ในการคดิ ได้อยา่ งเปน็ ระบบมากยิง่ ขนึ้ อีกทั้งโรงเรยี นยังกาหนดใหม้ ีการทดสอบการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และ
เขียนสื่อความ ภาคเรียนละ ๑ ครัง้ ประเมินรว่ มกับการสร้างผลงานจากการอา่ นท่ีมเี ป็นระยะในแตล่ ะเทอม
ทาใหผ้ ้เู รียนมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนส่ือความเป็นไปตามหลักสูตรสถานศกึ ษากาหนด
นอกจากน้นั โรงเรียนยังม่งุ เน้นใหน้ กั เรียนนากระบวนการคิดมาปรบั ใช้ในชวี ติ จริง

ผ้เู รยี นไดร้ บั การสง่ เสริมและเรียนรู้ในรปู แบบการจัดการเรียนแบบ STEM เปน็ การบูรณาการความรู้
ในศาสตรว์ ิชาต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องอนั นาไปสูก่ ารหาคาตอบ และวธิ ีการใหม่ ๆ ซงึ่ เปน็ การสร้างนวัตกรรมตาม
ศักยภาพของนักเรยี น นกั เรียนแต่ละสายชัน้ ไดร้ ับการสง่ เสริมให้มีการทานวัตกรรมสร้างสรรค์ ผลงานแต่กลุ่ม
สาระการเรียนรู้

การพฒั นาความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารผา่ นการจัดการเรยี นการสอน
ท้ังหมด 5 รปู แบบ ประกอบดว้ ย

1. Online โดยการสอนสดผ่านโปรแกรมออนไลน์ชอ่ งทางตา่ งๆ จดั ทาคลิปวิดโี อการสอนออนไลน์
2. On air โดยใช้ส่ือ DLTV พรอ้ มเอกสารประกอบการเรยี น ภายใต้คาแนะนาและการติดตามของครู
3. On hand สอนและเยี่ยมนกั เรยี นถงึ บ้าน เช่น กรณีนักเรยี นบางคนไมพ่ ร้อมเรยี นออนไลน์ หรือ

ไม่มีอุปกรณ์เรยี นออนไลน์
4. On-demand ผา่ นระบบแอปพลเิ คชนั
5. On site จดั การเรียนการสอนเป็นกลมุ่ เล็กๆ โดยจะนดั มาเรยี น โดยการจัดการเรยี น ผ่าน 5 ON
นอกจากน้ีรายวิชาคอมพิวเตอร์ และวิทยาการคานวณทุกคน ในระดับประถมต้น ผเู้ รียนไดร้ ับความรู้
พืน้ ฐานเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และการใช้คอมพวิ เตอรพ์ ื้นฐาน นาความรู้มาใช้ในการเรยี นและใช้ใน
ชีวติ ประจาวัน เชน่ การพิมพ์ การวาดภาพ และระบายสใี นคอมพิวเตอร์ การใช้เกมคอมพิวเตอรเ์ พอ่ื พัฒนา
ทักษะต่างๆ อกี ทัง้ ยงั ไดร้ บั คาแนะนาถึงการใช้เทคโนโลยไี ด้อยา่ งถูกต้อง สามารถนาโทรศัพทม์ ือถือมาใช้ให้เกดิ
ประโยชน์อย่างคุ้มค่า มีการสืบคน้ ข้อมูลที่สนใจได้อย่างถูกต้อง และรวดเรว็ การสง่ งาน ส่งรายงานโดยผา่ น

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 56

แอปพลิเคชนั เพ่ือพัฒนาการสอ่ื สาร และเปน็ การลดปริมาณการใช้กระดาษ แผ่นซดี ี ผลการดาเนนิ การ ทาให้
ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีในการเรยี น การส่อื สารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตามวยั และวฒุ ภิ าวะ

ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเปน็ ไปตามหลักสตู รสถานศึกษาทกี่ าหนดไว้ โดยครูผู้สอนดาเนินการ
วิเคราะห์หลกั สตู ร และจัดการเรียนการสอนเป็นไปตามตัวช้วี ดั ทีก่ าหนดไว้ และยังมกี ารดาเนินการระบบวดั ผล
และประเมินผลการเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ มีการทดสอบผ้เู รียนตามตัวช้ีวดั และทดสอบปลายปภี าคเรยี นละ ๑
ครั้ง มีการทดสอบอยา่ งต่อเนื่องและเปน็ ระบบ ทาใหผ้ ู้เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเป็นไปตามเป้าหมายที่
สถานศึกษากาหนดไว้โรงเรียนมแี นวทางในการส่งเสริมความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี ่องานอาชีพ
ให้กบั ผเู้ รียน และมีความพร้อมท่ีจะศกึ ษาตอ่ ในระดบั ชั้นท่ีสูงข้ึนไป ในภาพรวมอยู่ในระดับ ยอดเยยี่ ม

๑.๒ คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผู้เรียน
ผู้เรยี นมีพฤตกิ รรมเปน็ ผู้ทีมีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกตกิ า มีค่านยิ มและจิตสานกึ ตามที่

สถานศึกษากาหนด โดยไม่ขดั กบั กฎหมายและวฒั นธรรมอันดขี องสังคม โรงเรยี นมกี จิ กรรมท่ีสง่ เสริมให้ผ้เู รียน
มคี ณุ ลกั ษณะ และคา่ นยิ มท่ดี ีตามที่สถานศึกษากาหนด พัฒนาใหผ้ เู้ รียนมีความรกั ต่อสถาบันสาคญั ท้ังชาติ
ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และฝกึ ระเบียบวินัย ตรงต่อเวลาและรักความเป็นไทย มกี ารจัดกจิ กรรมตามวาระวนั
สาคญั ทัง้ ดา้ นชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ วนั สาคัญตามประเพณี วฒั นธรรมที่สง่ ใหผ้ ู้เรียนมีจติ ใจท่ีอ่อนโยน
ซื่อสตั ย์ และรักความกตญั ญู เช่น กิจกรรมจิตอาสา บาเพ็ญประโยชน์

ผู้เรยี นมีความภมู ิใจในท้องถิ่น เห็นคุณคา่ ของความเปน็ ไทย มสี ่วนร่วมในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรม
และประเพณีไทย รวมทั้งภูมิปญั ญาไทย โดยโรงเรียนจดั กิจกรรมให้ผู้เรียนเกดิ ความภมู ใิ จในท้องถ่ิน และความ
เปน็ ไทยของตนเองจากการทากจิ กรรมในวันสาคัญต่าง ๆ เชน่ วันลอยกระทง วนั สาคัญทางศาสนา เปน็ ต้น อัน
เป็นการสืบทอดวฒั นธรรมอนั ดงี ามของไทย ผเู้ รยี นยอมรับและอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างระหว่างบคุ คลใน
ด้านเพศ วยั เชือ้ ชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี ผู้เรียนของโรงเรียนประชานเิ วศนม์ ีโอกาสได้เรยี นรู้ใน
วัฒนธรรมทแ่ี ตกตา่ ง เกิดการยอมรบั ท่ีจะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผา่ นกิจกรรมของ
โครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรยี น เกดิ การยอมรับฟังความคดิ เหน็ ท่ีแตกต่างของคนอ่ืนอย่างเปิดใจ
เกดิ การเรียนรู้รว่ มกนั ในความรู้ใหม่ ๆ และแนวคิดใหม่ๆ ที่ไดม้ าจากผู้อื่น เกดิ การเรียนร้รู ว่ มกันในการทา
กิจกรรมกฬี าสี ผู้เรยี นตอ้ งยอมรับถงึ ผลการแขง่ ขนั ท่เี กดิ ขน้ึ และสรา้ งวฒั นธรรมในการแสดงความยินดีอย่าง
จริงใจกับผู้ชนะ ผูเ้ รยี นมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คมทดี่ ี ผ่านการทากจิ กรรมพัฒนาทักษะด้านกีฬา
ผู้เรยี นได้มกี ารออกกาลังกายเสรมิ สรา้ งกล้ามเน้ือ เกดิ การเคลอ่ื นไหวร่างกายทาใหร้ ่างกายแขง็ แรง ได้รบั การ
ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยมีการปอ้ งกันการเกิดโรคตดิ ต่อตา่ ง ๆ มีการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ และส่งตอ่ ให้กบั
โรงพยาบาลอยา่ งทันทว่ งที และยังไดร้ ับอาหารท่ีมีโภชนาการครบท้ัง ๕ หมู่ อาหารสะอาด ปลอดภยั และดีต่อ
สขุ ภาพด้วย

2.2. ผลการดาเนนิ งานและการบรรลุผลสาเรจ็
ผูเ้ รยี นมคี วามสามารถดา้ นการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร การคิดคานวณ การคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมี

วจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความเหน็ และการแก้ปัญหา ส่งผลให้
1. การประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่าน (RT) ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ได้คะแนนร้อยละ 87.08

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 57

2. ผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (NT) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ได้คะแนน
เฉลยี่ ร้อยละ 75.56

3. ผลการทดสอบระดบั ชาติ (O-NET) สูงกว่าระดบั ประเทศทุกกลมุ่ สาระตดิ ต่อกบั เป็นปที ี่ 10
-วิชาภาษาไทย มีผลการทดสอบระดบั โรงเรยี นร้อยละ 57.34 สงู กว่าระดบั ประเทศร้อยละ 6.96
-วิชาภาษาอังกฤษมผี ลการทดสอบระดบั โรงเรยี นรอ้ ยละ 60.06 สงู กว่าระดับประเทศร้อยละ

20.84
-วชิ าคณิตศาสตร์ มผี ลการทดสอบระดับโรงเรยี นร้อยละ 44.65 สงู กว่าระดับประเทศร้อยละ
7.82
-วทิ ยาศาสตร์ มีผลการทดสอบระดบั โรงเรยี นรอ้ ยละ 39.25 สูงกว่าระดบั ประเทศร้อยละ 4.94
ผู้เรียนมคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารอย่างมีคุณภาพ มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเปน็ ไปตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา และมีผลการ
ประเมนิ เฉลย่ี สงู กว่าระดับประเทศทกุ การทดสอบ นอกจากน้ผี เู้ รียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน และเจคติท่ีดีตอ่
งานอาชพี

ผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ มีคุณลักษณะและคา่ นยิ มท่ีดตี ามทีส่ ถานศกึ ษากาหนด ผู้เรยี นมี
ความภมู ิใจในท้องถิ่น เหน็ คณุ ค่าของความเป็นไทย มีส่วนร่วมในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรม ประเพณี และภูมิ
ปญั ญาไทย มกี ารยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย มีสุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม
ทด่ี ี

ผลการประเมนิ คุณภาพผเู้ รียนโรงเรียนประชานเิ วศน์ในปีการศึกษา 2564 ตามมาตรฐาน
การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานพบว่า ระดบั คุณภาพของนักเรียนโรงเรียนประชานเิ วศน์อยู่ในระดับยอดเย่ียมโดยผลการ
ประเมนิ ด้านผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการ พบวา่ นกั เรียนมีความรู้ สามารถอา่ น เขียน ส่ือสาร และคดิ คานวณได้
เหมาะสมตามเป้าหมายของโรงเรยี น มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ วิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี น
ความคิดเห็น แกป้ ญั หาในสถานการณ์ต่างๆอย่างเหมาะสม โดยนกั เรยี นได้เรียนรผู้ ่านกจิ กรรมศึกษาคน้ ควา้
ดว้ ยตนเอง กิจกรรมส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการคิดอยา่ งเป็นระบบ มกี ารนาเทคโนโลยีและการสื่อสารมาใช้ได้
อย่างเหมาะสม เพือ่ พฒั นาตนเองและสังคม ท้ังในดา้ นการเรียนรู้ การส่อื สาร การทางานอยา่ งสรา้ งสรรค์ ท้ังน้ี
ทางดา้ นผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรยี นตามหลักสูตรเปน็ ไปตามเป้าหมายทโ่ี รงเรยี นกาหนด และมี
ค่าเฉล่ยี ผลการทดสอบระดับชาติ ( O-NET ) สูงกวา่ ค่าเฉลี่ยระดบั สังกัด และระดบั ประเทศ นักเรยี นมีทกั ษะ
พ้นื ฐานทางอาชพี ตลอดจนมีเจตคตทิ ีด่ ีต่อการประกอบอาชีพในอนาคต และมคี วามพร้อมทจี่ ะศึกษาต่อใน
ระดับชน้ั ทส่ี ูงขึน้ ไป ในภาพรวมอยใู่ นระดับยอดเยย่ี ม ผลการประเมินด้านคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ นกั เรียนมี
ความประพฤตดิ ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกตกิ า มคี า่ นิยม และจติ สานกึ ตามท่ีสถานศึกษากาหนด
โดยไม่ขดั กบั กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสงั คมภาพภมู ิใจในทอ้ งถ่นิ ในความเปน็ ไทย มสี ว่ นรว่ มในการ
อนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและประเพณีไทย และเหน็ คุณคา่ กับภูมิปญั ญาไทย มีเหตุมีผลและยอมรบั เหตผุ ลความ
คิดเหน็ ของผอู้ ่ืน มีมนุษยส์ มั พันธท์ ีด่ สี ามารถอยรู่ ่วมกับผู้อืน่ ได้อย่างมคี วามสุข ตลอดจนสามารถดูแลรักษา

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 58

ผู้อานวยการโรงเรียน รองผู้อานวยการโรงเรียน หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูผู้สอน

๑.กาหนดนโยบาย ๒.นิเทศภายใน (A = Act)

๔. พจิ ารณาความ ๓.จัดทาโครงการ/กจิ กรรมพฒั นา
เหน็ ชอบ ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผู้เรยี นด้าน

ต่างๆ (P = Plan) ๗. พฒั นา
ความสามารถและ
๕. ดาเนนิ โครงการ (D = Do) สมั ฤทธิ์ ทางการเรยี น
ของผู้เรียนตาม
๖. วางแผนกาหนดแนวทางพฒั นา / ออกแบบ แนวทาง การพัฒนา
เกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของ ของแตล่ ะกลมุ่ สาระฯ

ผ้เู รยี นดา้ นต่างๆ ตามตัวช้ีวัดของแต่ละ
ระดับชนั้ (ป.๑-๖) และตามจดุ เนน้ ของโรงเรียน

๙. ดาเนนิ การซ่อม ๘.ประเมิน
เสริมและพฒั นา ความสามารถและ
ผเู้ รยี นท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์ ผลสมั ฤทธทิ์ างการ
ตามโครงการ ตา่ งๆ เรยี น ของผู้เรียน

๑๑. ตดิ ตามผลระหวา่ งการ
ดาเนินโครงการ

๑๐.ประเมนิ ๑๒.พัฒนาความสามารถและ
ความสามารถและ สัมฤทธท์ิ างการเรียนของผู้เรยี น
ผลสัมฤทธิท์ างการ ท่ีผา่ นเกณฑ์ ตามแนวทางการ
เรียนของผเู้ รียน พัฒนาของแต่ละกลุ่มสาะระฯ
อยา่ งต่อเนือ่ ง
๑๕. รับทราบ
๑๓.ประเมนิ ผลโครงการ (C = Check)

๑๔.จัดทารายงานผลการพัฒนา (A = Act)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 59

2.3 ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมินผลการประเมนิ ตนเอง
๑. สรุปผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นปีการศึกษา ๒๕๖4
๒. สรุปผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน (RT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖4
๓. สรปุ ผลการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ปีการศกึ ษา

๒๕๖4
๔ สรปุ ผลรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน(O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖

ปีการศึกษา ๒๕๖4
๕. สรปุ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนสอื่ ความ
๖. รายงานผลการตดิ ตามผลการศกึ ษาการศกึ ษาต่อของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖
๗. แบบสรปุ ผลการประเมินสมรรถภาพทางกาย
๘. แบบสรปุ รายงานภาวะโภชนาการ
๙. แบบบนั ทึกผลการเรยี นประจารายวิชา (ปพ.๕) ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4
๑๐.รายงานสรปุ โครงการ/และกิจกรรมต่างๆ
๑๑.รางวลั ต่างๆ

3. จดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดับให้สูงขน้ึ
3.1. จดุ เด่น
1.นกั เรยี นสว่ นใหญ่มีความสามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการแสวงหาความร้ไู ด้ด้วยตนเอง และประยกุ ต์

ใช้ไดส้ อดคล้องกับสถานการณป์ ัจจบุ นั มีความสามารถด้านการอ่าน การเขียนเพอื่ การส่ือสารได้ สง่ ผลให้
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรยี นเป็นไปตามเปา้ หมายที่ สถานศกึ ษากาหนด คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ
ทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐาน (O-NET) สงู กวา่ ระดบั ประเทศ 10 ปกี ารศึกษาติดตอ่ กนั

2.นักเรยี นมีคณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มท่ดี ตี รงตามอตั ลักษณโ์ รงเรยี น นกั เรียนมีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์
ศลิ ปวฒั นธรรมไทยและภมู ิใจในท้องถนิ่ ยอมรับทีจ่ ะอยู่ร่วมกันในความแตกต่างอยา่ งมคี วามสขุ

3. นักเรียนทีจ่ บการศึกษา มีการศกึ ษาต่อร้อยละ 100
4. นักเรยี นมีภาวะโภชนาการที่สมวัย มีการบาเพ็ญประโยชน์ เขา้ รว่ มโครงการและกจิ กรรมท่ี
ส่งเสริมจติ สาธารณะ
3.2. จุดทค่ี วรพัฒนา
เนอื่ งจากปีการศึกษา 2564 มีภาวะการแพรร่ ะบาดโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา (COVID-19)
โรงเรียนประชานเิ วศนจ์ ึงมีการจดั การเรยี นการสอนรปู แบบออนไลน์ตลอดปีการศึกษา
1.พัฒนานกั เรยี นทุกคนใหม้ ีพัฒนาการได้เต็มตามศักยภาพ และมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นเป็นไปตาม
เปา้ หมายของสถานศึกษา
2.การยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการ เชน่ ผลการทดสอบทางวิชาการระดบั ชาติ O-NET
รายวชิ าคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ซ่งึ นกั เรยี นขาดการฝกึ ทกั ษะกระบวนการและลงมือปฎิบตั จิ ริง
3.ผูเ้ รยี นขาดการอภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็นและกระบวนการทางานเปน็ ทมี
3.3. แผนพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั ใหส้ ูงข้ึน (ข้อเสนอแนะ)
จดั กจิ กรรมสนับสนุน
ควรพัฒนานกั เรียนในดา้ นการอา่ น การเขยี น การส่ือสารคิดคานวณให้มากขึ้น
จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมีความมงุ่ มัน่ ในการทางานมากยิง่ ขน้ึ ดว้ ยการเสริมแรงสร้างแรงจงู ใจในทางบวก

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 60

สง่ เสรมิ ให้นกั เรียนมีความสามารถในการคดิ รวบยอด คิดเชิงเหตผุ ลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาก
ยงิ่ ข้นึ เพ่ือส่งผลใหน้ ักเรยี นสร้างนวัตกรรมของตนเอง

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
1. ระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม
2. วิธีการพฒั นา/ผลทีเ่ กดิ จากการพัฒนา ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนับสนุนผลการ
ประเมินตนเอง

2.1. แผนการดาเนนิ การและกระบวนการพัฒนา
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา คณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ประชุมรว่ มกับคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
คณะกรรมการเครือขา่ ยผปู้ กครองเพอื่ รับฟงั ข้อเสนอแนะ ขอ้ คิดเหน็ ในการพฒั นาการศึกษาของโรงเรยี น ร่วม
กาหนดทศิ ทางการจัดการศกึ ษา กาหนดวสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์ไวอ้ ยา่ งชัดเจน ดาเนินการจัดทา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา (ปี พ.ศ.2563-2567) จดั ทาแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2564
แผนปฏบิ ัติงาน 4 ฝ่าย ที่เป็นแนวทางในการพฒั นาการดาเนินงานของโรงเรยี น สอดคล้องกบั บรบิ ทของ
สถานศกึ ษา ความต้องการของชมุ ชนและท้องถิน่ สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงานต้นสงั กัด และผา่ นความ
เหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา

มีการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและปรบั ปรุงพฒั นา
งานอย่างต่อเนื่อง มีการบรหิ ารอัตรากาลงั มรี ะบบการนิเทศภายในรับฟงั ข้อคดิ เห็นและเสนอแนะ จัดทา
โครงสร้างการบรหิ ารงาน จดั ทาปฏทิ ินการปฏบิ ัติงาน มีการมอบหมายงานอย่างชัดเจน มีการจัดทา
โครงการ/กิจกรรมท่ีสอดรับกับมาตรฐาน สง่ เสริมผู้เรยี นบรรลตุ ามเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ และจุดเนน้ ของ
สถานศกึ ษา ตามแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา และพฒั นาระบบข้อมูลสารสนเทศนักเรียนเปน็ รายบคุ คล เพื่อ
ใช้ในระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน มกี ารรวบรวมขอ้ มลู และจดั กระทาข้อมลู สารสนเทศ ท่ีผเู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่าย
สามารถนาข้อมลู สารสนเทศไปใช้ในการบริหารและการพัฒนาการเรยี นการสอน เพื่อใหไ้ ด้คณุ ภาพมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง และมกี ารจัดวางระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา มี
ข้ันตอนอยา่ งชดั เจนและสามารถนาไปสูก่ ารปฏิบัติไดจ้ รงิ

ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา คณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ประชมุ รว่ มกนั ในการวางแผนร่วมกันในการ
พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ ดาเนินการพฒั นาหลกั สตู ร ครบทุกกลุม่ สาระครบชัน้ เรยี นทงั้ หลกั สตู รภาคปกติ และ
หลกั สูตรโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) มีการแตง่ ต้ังคณะกรรมการบริหารวชิ าการ ประชุมปฏบิ ตั ิการ
ตรวจสอบหลักสตู รสถานศกึ ษา โดย เสนอความคดิ เหน็ ความตอ้ งการ จาเปน็ ในการพัฒนาหรอื ปรับปรุง
หลกั สตู รสถานศกึ ษาให้มีความเหมาะสมและทันสมยั และพฒั นาหลักสตู รโดยสง่ เสรมิ การนาไปใช้โดยเชือ่ มโยง
กับบริบทของสถานศึกษาทุกกลุม่ เป้าหมาย และเชอ่ื มโยงกบั วิถีชีวติ จรงิ ทม่ี อี งค์ประกอบตามเกณฑ์ท่ี
กระทรวงฯ กาหนด รวมถงึ การจัดการเรียนรู้ วัดผลประเมินผลครบทุกกลุม่ เป้าหมายและนาไปใชไ้ ด้จรงิ
มหี ลกั สตู รโครงการ/กิจกรรม เพ่ือการสง่ เสริมและตอบสนองความสามารถทางวชิ าการและความคิดสรา้ งสรรค์
ตามความถนัดของผูเ้ รียนใหเ้ ต็มตามศักยภาพ

การกาหนดแผนงานพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลาการทางการศกึ ษา ในการเข้ารบั การอบรมและ

รายงานผลการอบรมให้ผ้บู รหิ ารได้รับทราบพร้อมทั้งขยายผลใหผ้ ู้อ่ืนได้รับทราบ ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ในการขอรบั

การประเมนิ เพื่อขอมีหรือเล่อื นวทิ ยฐานะ มกี ารประกาศเกียรตคิ ุณเพ่ือเสริมสร้างขวัญและกาลังใจให้การ

สง่ เสริมครูและบุคลากรให้ไดร้ ับการพฒั นาองค์ความรตู้ รงตามความต้องการของบคุ คล พัฒนาครูใหม้ คี วามรู้

ความเข้าใจในเร่อื งชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ ส่งเสริมให้ครูจดั การเรียนร้ใู นการสอนรูปแบบออนไลน์ใน

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 61

สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ทม่ี ีประสทิ ธิภาพโดยนักเรยี นได้มสี ่วน
รว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และสง่ เสริมให้ครูใชส้ ื่อเทคโนโลยี รวมถงึ การวัดประเมนิ ผลทเ่ี หมาะสมกบั และ
เทย่ี งตรง

จัดสภาพแวดล้อมทางภายภาพและสงั คมทเี่ ออื้ ต่อการจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ
ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานอาคารสถานท่ปี ระชุมรว่ มกันในการ
วางแผนงานและเตรียมการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนและสภาพแวดลอ้ ม
ทางสงั คม ทเ่ี อ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้เปน็ รายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบรว่ มมอื ร่วมใจ มมี ุมประสบการณ์
หลากหลาย มีสือ่ การเรียนรู้เพ่ือการสบื เสาะหาความรู้อย่างเพยี งพอ โดยคานึงถึงความปลอด มีการบรู ณาการใช้
แหล่งเรียนรทู้ งั้ ภายในและนอกสถานศึกษา และเปิดโอกาสใหช้ มุ ชนเข้ามาศึกษาแหล่งเรียนรภู้ ายใน
สถานศึกษา และด้วยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนได้มี
มาตรการป้องกันและปรบั สภาพแวดลอ้ มให้มีความปลอดภัย มีจดุ คัดกรอง จดั หาและติดเครือ่ ง
Termo scan วดั อุณหภูมิ จุดเจลลา้ งมอื และปรบั สภาพแวดล้อมเพือ่ ป้องกันฝุ่นละออง PM2.5 โดยติดตงั้
ระบบพน่ ละอองไอนา้ บนอาคารเรยี น และบรเิ วณสนามเอกนกประสงค์ นอกจากน้ี โรงเรียนจงึ ได้จัดทาคู่มือ
มาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ และประชาสัมพันธ์ผา่ นชอ่ งทาง Facebook Website ของ
โรงเรยี น และ Line กลุ่มห้องเรียน

การพฒั นาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ ใชใ้ นการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรทู้ ี่
เหมาะสมกับสภาพสถานศกึ ษา อานวยความสะดวกและให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ จดั หาวัสดแุ ละ
อุปกรณ์เพื่อสนบั สนนุ การจัดประสบการณ์ และพฒั นาครูอยา่ งต่อเนื่อง โดยจัดทาคมู่ ือสารสนเทศ จดั ต้งั
Website ของโรงเรยี น Facebook โรงเรียน มีการตั้งกลุ่ม Line โรงเรียน กลมุ่ Line ห้องเรยี น มีการ
ดาเนินโครงการส่งเสรมิ การใช้ส่ือและเทคโนโลยคี อมพวิ เตอรเ์ พ่ือการศึกษา กิจกรรมส่งเสรมิ การใช้สอ่ื
เทคโนโลยี ICT เพ่ือการศึกษา สนบั สนุนงบประมาณการจดั กิจกรรมการเรียนให้ครูในการสอนดว้ ยโปรแกรม
ZOOM และส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนได้ใช้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้อย่างเหมาะสม ได้
ประสานงานกบั หนว่ ยงานต้นสังกดั ในการจัดหาอปุ กรณ์ในการเรยี นออนไลน์โทรศัพท์มอื ถือแบบสมาร์ทโฟน
ระบบ Android โครงการ “ปันน้าใจ สูน่ ้องเรยี นออนไลน์” มอบใหแ้ ก่นักเรยี นในโรงเรียนที่ขาดความพร้อม
ดา้ นอุปกรณ์
องคก์ รมีภาพลกั ษณท์ ีด่ ี

การดาเนนิ การสร้างภาพลกั ษณท์ ด่ี ใี นองค์กรด้วยการบรหิ ารจดั การในรปู แบบ Prachaniwet 3Ps
Model เสริมสร้างความเข้มแขง็ ของผู้ปกครอง การสือ่ สารกับผปู้ กครองตั้งแต่การประชุม การรายงานผล
การพัฒนาผ้เู รียน การประชาสัมพนั ธท์ ุกช่องทาง เสรมิ สร้างวฒั นธรรมองค์กรด้วยการทางานเป็นทมี การให้
เกยี รตซิ ึ่งกันและกัน ปฏิบัติงานเปน็ กิจวัตร ม่งุ ม่ันในการทางานใหส้ าเร็จ มีการพฒั นาตนเองอย่างสม่าเสมอ
สร้างความตระหนักให้กบั ครแู ละบุคลากรในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ นกั เรยี นเข้าสเู่ วทีประกวดแข่งขนั มกี าร
ประเมนิ ความพร้อมนักเรียนในการเขา้ เรยี นโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ) อยา่ งเปน็ ระบบ มีการ
จัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลท่หี ลากหลาย จดั แสดงนิทรรศการผลงานครูและนักเรียนเป็นเชิง

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 62

ประจกั ษ์ตอ่ สารณชน พร้อมทง้ั สร้างความสัมพันธ์อันดีต่อชมุ ชน หนว่ ยงานภายนอกท้ังภาครฐั และเอกชน

และให้ความร่วมมอื กบั ตา่ งประเทศท่ีขอให้ดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหวา่ งประเทศ

2.2. ผลการดาเนินงานและการบรรลผุ ลสาเร็จ
- มแี ผนพัฒนาการศกึ ษา มีเปา้ หมาย วิสยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากาหนดชัดเจน สอดคลอ้ งกบั
บริบทของสถานศึกษา ความตอ้ งการชมุ ชน นโยบายรฐั บาล แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ เป็นไปได้ในการปฏิบัติ
ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง - มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาที่ชดั เจน มปี ระสทิ ธิภาพ ส่งผลตอ่
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมอื ของผเู้ กี่ยวขอ้ งทุกฝ่าย มีการนาข้อมลู มาใช้
ในการปรบั ปรงุ พฒั นางานอย่างต่อเน่ือง และเป็นแบบอย่างได้ - ดาเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่เี น้นคุณภาพ
ผเู้ รยี นรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกล่มุ เปา้ หมาย เชอ่ื มโยงกบั ชีวติ จรงิ และเป็นแบบอย่างได้ -
พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวชิ าชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศกึ ษา และจัดให้
มีชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี เพอ่ื พฒั นางาน - จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอ่ การจัดการ
เรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ และมีความปลอดภยั - จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
มกี ารบรหิ ารงานอย่างเป็นระบบ เป็นรปู ธรรม มกี ระบวนการในการดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาคุณภาพ
การศึกษา และปฏิทนิ ปฏิบัติราชการประจาปี ดาเนนิ กิจกรรม โครงการท่สี อดคลอ้ งตามแผนพฒั นาการศึกษา
มีแผนการปฏิบัติงานท่ีทันสมัยสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ รองรับนโยบายการศกึ ษากรงุ เทพมหานคร

2.3. แหลง่ ข้อมูล หลักฐานอ้างองิ
1. แผนพฒั นาคุณภาพการการศกึ ษา (ปี พ.ศ.2563 – 2567)
2. แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี
3. แผนปฏิบตั ิงาน 4 ฝ่าย
3. สารสนเทศ
4. แผนพฒั นาสายชน้ั
5. หลักสตู รสถานศึกษา / หลักสูตรกล่มุ สาระฯ / หลกั สตู รโรงเรียนสองภาษา (ไทย-องั กฤษ)
6.รายงานโครงการตรวจสอบ ทบทวนและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
7. รายงานโครงการโรงเรียนสองภาษา (ไทย-อังกฤษ)
8. รายงานการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา (SAR)
9. คู่มือผ้ปู กครองและนกั เรยี นโรงเรียนประชานิเวศน์
10. บนั ทึกการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
11. รายงานการประชุมผปู้ กครองแต่ละสายช้นั
12. คาสง่ั แตง่ ต้ังมอบหมายงานตา่ ง ๆ
13. บนั ทึกการประชมุ ขา้ ราชการ
14. รายงานระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี น
15. รายงานโครงการประกันคุณภาพการศึกษาสู่ SAR โรงเรียน
16. รายงานโครงการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ยกระบวนการนเิ ทศภายใน
17. รายงานโครงการประชมุ สมั มนาคณะกรรมการเครอื ขา่ ยผปู้ กครอง
18. รายงานการประเมินโครงการ/กิจกรรม ต่างๆ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 63

จุดเด่น

ผู้บรหิ ารมีวิสยั ทัศน์ มคี วามเชี่ยวชาญในการบรหิ ารงานการศกึ ษา บรหิ ารงานแบบมสี ่วนรว่ ม โดยการ
กระจายอานาจ มขี อบข่ายโครงสร้างการบรหิ ารงานทช่ี ดั เจน โรงเรยี นมีช่ือเสียงเป็นทีย่ อมรับจากชมุ ชน
หน่วยงานต้นสังกดั องคก์ รภายนอก

1. โรงเรียนปรบั เปลีย่ นวสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ เปา้ หมายทส่ี อดคล้องกบั แผนพัฒนาคุณภาพการจัด
การศกึ ษา จดั ทาแผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปที สี่ อดคล้องกับผลการจดั การศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการ
พัฒนาและนโยบายการปฏริ ูปการศกึ ษาท่ีมุ่งเน้นการพฒั นาให้ผเู้ รียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ตาม
หลกั สตู รโรงเรยี นและมีคุณลกั ษณะและทกั ษะการเรยี นรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ และเป็นไปไดใ้ นการปฏิบัติ

2. มีการบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบทั้งในสว่ นการวางแผนพัฒนาคณุ ภาพ
การจดั การศกึ ษา การนาแผนไปปฏิบัตเิ พื่อพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา มีการติดตามตรวจสอบประเมนิ ผลและ
ปรบั ปรงุ พัฒนางานอยา่ งต่อเนอื่ ง มกี ารบรหิ ารอตั รากาลัง ทรพั ยากรทางการศึกษาและระบบดแู ลชว่ ยเหลือ
นกั เรยี น มรี ะบบการนิเทศภายใน การนาข้อมลู มาใชใ้ นการพฒั นาบุคลากรและผู้เกีย่ วข้อง ทุกฝ่ายมสี ว่ นรว่ ม
การวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และรว่ มรบั ผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา

3. สถานศึกษามีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารวิชาการและหลกั สตู ร ทีม่ ีองค์ประกอบตามเกณฑท์ ี่
กระทรวงฯ กาหนดครูมสี ว่ นร่วมในการวเิ คราะห์ ปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อนาไปใชใ้ น
การจดั การเรยี นรูท้ ี่เช่อื มโยงกับชีวติ จรงิ และเปน็ แบบอย่างได้

4. ครมู คี วามรู้ในดา้ นเทคนิคการสอนในรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการผลิตส่อื การเรียนรู้
ดา้ นเทคโนโลยี และนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพอ่ื พัฒนาผูเ้ รียนให้มีความรูไ้ ดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธิภาพ

5. สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสถานศกึ ษาที่มคี ุณภาพ คานึงถึงความ
ปลอดภัยส่งเสริมใหเ้ กดิ การเรียนรู้ และเปิดโอกาสให้ชุมชนเขา้ มาศึกษาแหลง่ เรียนร้ภู ายในสถานศกึ ษา

6. สถานศึกษามีการใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการจดั
ประสบการณเ์ หมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา และสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นได้ใช้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ
และส่อื การเรียนรอู้ ย่างสมา่ เสมอ

7. สถานศกึ ษามภี าพความสาเรจ็ ทั้งดา้ นโรงเรียน ผบู้ รหิ าร ครูและนักเรยี นเปน็ ทีย่ อมรับจากบคุ คล
ทั่วไป

จดุ ท่ีควรพฒั นา
พัฒนาครูให้มีความรู้ความเข้าใจในด้านการจัดการเรียนสอนฐานสมรรถนะ ตามโครงการโรงเรียนนา

ร่องของโรงเรยี นสงั กดั กรุงเทพมหานคร และส่งเสรมิ การใช้สือ่ เทคโนโลยีในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
แผนพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดับให้สูงขึ้น

1. สถานศกึ ษาพฒั นาหลักสูตรและพัฒนาครใู นด้านการจัดการเรียนสอนฐานสมรรถนะ ตาม
โครงการโรงเรียนนารอ่ งของโรงเรยี นสังกดั กรงุ เทพมหานคร

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 64

2. สถานศึกษาพฒั นาระบบเครือขา่ ยสารสนเทศ และจดั การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี

สอดคล้องกับการเรียนร้ขู องนักเรยี นเพิม่ มากขนึ้

3. ส่งเสริมชมุ ชนให้มคี วามเข้มแขง็ ทางวิชาการและประสานงานความร่วมมือ ในการพัฒนาวิชาการ

กบั สถานศึกษาและองค์กรอนื่

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
1. ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
2. วธิ ีการพฒั นา/ผลทีเ่ กดิ จากการพัฒนา ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนนุ ผลการ
ประเมินตนเอง

2.1. แผนการดาเนนิ การและกระบวนการพัฒนา
ครูมีการดาเนินการตรวจสอบ ทบทวน และวเิ คราะหห์ ลกั สูตร นาไปสกู่ ระบวนการจัดการเรียนการสอน -
มโี ครงการอบรมการผลติ ส่อื และเทคโนโลยใี นการสอน ทาใหค้ รมู คี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีในการสอน
-มคี รคู รบช้ันเรยี น ตรงตามวชิ าเอก -ครูจัดกจิ กรรมท่ีเน้นพัฒนานักเรียนตามศกั ยภาพ เน้นความแตกต่าง
เฉพาะบุคคล แกไ้ ขปัญหาโดยการทาวจิ ัยในช้ันเรยี น

สถานศึกษามีการดาเนนิ การพัฒนากระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญโดยไดร้ ับ
ความร่วมมอื จาก ครู ผู้บริหาร คณะกรรมการสถานศึกษา รว่ มกันวางแผนกาหนดนโยบายการส่งเสริมพัฒนา
ครใู ห้ครูมีความสามารถในการจัดกระบวนการเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั โดยสง่ เสริมใหม้ ีการจัด
กระบวนการสอนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรสถานศกึ ษาสร้างโอกาสใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนร่วมในการ
เรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริง สง่ เสรมิ ใหม้ ีการจัดทาแผนการเรยี นรู้ทสี่ ามารถนาไปจดั ทากจิ กรรม
ไดจ้ รงิ ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นได้รบั การฝกึ ทักษะการแสดงออก การแสดงความคิดเห็นการสรปุ องค์ความรู้ การ
สร้างบรรยากาศให้ผเู้ รยี นเรยี นรอู้ ยา่ งมีความสขุ ตรวจสอบและประเมินผลผเู้ รียนอย่างเป็นระบบและนาผลมา
พัฒนาผู้เรียนโดยมีการตรวจสอบและประเมนิ คุณภาพการจัดการเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบการถาม ตอบ ระหวา่ ง
ผู้สอนกบั ผู้เรียนขณะทากจิ กรรมการเรยี นรู้ ใชแ้ บบสังเกตและการประเมินพฤติกรรมการเรียนในช้นั เรยี น มี
การทดสอบก่อนเรียน ระหว่างเรียนและหลังเรยี น มีการบนั ทึกผลการสอน มกี ารทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการ
เรยี นรรู้ ะหว่างภาค และปลายภาคเครื่องมอื ท่ใี ชว้ ัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้การใช้คาถาม การใชแ้ บบ
สงั เกตและแบบประเมินพฤติกรรมการเรียนในชนั้ เรยี น แบบบนั ทกึ ผลการสอน การใชแ้ บบทดสอบ การให้
ข้อมูลย้อนกลบั แกผ่ ูเ้ รยี น และนาไปบันทกึ หลังสอนเพ่ือนาไปใช้พัฒนาการเรยี นร้แู ละผเู้ รยี นดว้ ยวธิ การต่าง ๆ
เข่น วิจัยในชน้ั เรียน บันทกึ การสอนซอ่ มเสรมิ การประเมินSDQ และบนั ทึกการใหค้ าปรึกษาเพ่อื แก้ปญั หา
นกั เรียน พร้อมท้ังมกี ารจดั ทาใบแจง้ ผลการเรียนรรู้ ายบคุ คลให้แกน่ ักเรยี นและผปู้ กครอง เพื่อนาไปเป็นข้อมลู
ในการปรบั ปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู้ จดั ใหม้ ีการแลกเปล่ยี นเรยี นรูร้ ะหว่างครู เพื่อรว่ มกันพฒั นาและ
ปรับปรุงการเรียนร้ใู ห้มปี ระสิทธิภาพ โดยเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั

2.2. ผลการดาเนนิ งานและการบรรลผุ ลสาเร็จ
จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ ริงตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ัดของหลกั สตู รสถานศึกษา
มแี ผนการจัดการเรยี นรทู้ ีส่ ามารถนาไปจดั กิจกรรมได้จรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตได้ มนี วตั กรรม
ในการจัดการเรียนรู้และมีการเผยแพร่ - ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมท้ังภูมิปญั ญา
ท้องถิน่ ท่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้ โดยสรา้ งโอกาสใหผ้ ้เู รียนได้แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง - ตรวจสอบและประเมิน
ผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบ มีขนั้ ตอนโดยใช้เครอื่ งมอื และวิธีการวดั และประเมินผลที่เหมาะสมกบั เป้าหมายในการ
จดั การเรยี นรู้ ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แก่ผเู้ รียน และนาผลมาพัฒนาผูเ้ รยี น - มกี ารบริหารจัดการชนั้ เรียนเชงิ บวก

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 65

เดก็ รักทีจ่ ะเรียนรู้ และเรียนรู้รว่ มกนั อยา่ งมคี วามสุข - มีชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพระหวา่ งครูและ
ผู้เกี่ยวขอ้ งเพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรียนรู้ ครู และผเู้ กยี่ วข้องมกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู
สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้

2.3. แหลง่ ขอ้ มูล หลกั ฐานอา้ งอิง
1. หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้
2. แผนการจัดการเรยี นรู้ ๘ กล่มุ สาระ
3. วจิ ยั ในชั้นเรยี น
4. รายงานสรุปโครงการ/กิจกรรม
5. เกยี รตบิ ัตร/เหรียญรางวัลจากการแขง่ ขนั ต่าง ๆ
6. รายงานบันทึกการอบรม/ประชมุ /ศึกษาดงู าน
7. ภาพถ่ายกจิ กรรมต่างๆ

3. จุดเดน่ จดุ ทีค่ วรพัฒนา แผนพฒั นาคุณภาพเพ่ือยกระดับใหส้ ูงขนึ้
๓.๑. จดุ เดน่
1. มกี ระบวนการจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สตู รสถานศึกษาที่สอดคล้องกบั ความสนใจ ความถนัด

ของผ้เู รียนแต่ละบุคคล โดยเน้นจัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ โดยใชว้ ิธีการวจิ ัย เพ่อื
พฒั นาการจดั การเรยี นการสอนให้เกดิ ประสิทธิภาพ สร้างโอกาสให้ผู้เรยี นได้มสี ่วนร่วม ฝกึ ทักษะ แสดงออก
นาเสนอผลงาน คดิ เป็นทาเป็น เรยี นรู้โดยเชื่อมโยงถึงทักษะการใช้ชวี ิตเพื่อนาไปใชใ้ นสถานการณต์ า่ งๆใน
ชวี ติ ประจาวันได้

2. ครผู ูส้ อนมีความตง้ั ใจ มุ่งม่ันในการพฒั นาการสอน โดยจัดโครงการ/กจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ รียนรโู้ ดย
การคดิ ไดล้ งมือปฏิบัตจิ ริง มีวิธีการใหน้ ักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดผเู้ รียนได้รับการฝกึ ทักษะ แสดงออก แสดง
ความคดิ เหน็ สรุปองค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ มกี ารทางาน
วจิ ัยในชัน้ เรยี นของครทู ุกคนโดยเน้นการจดั การเรียนการสอนเพื่อสรา้ งโอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วมไดล้ ง
มือปฏิบตั ิจรงิ จนสรปุ ความรู้ไดด้ ้วยตนเอง

3.โรงเรยี นมีการตรวจสอบประเมนิ ผู้เรียนจากสภาพจรงิ และมขี ้ันตอนตรวจสอบและประเมนิ อย่าง
เปน็ ระบบ และมีการให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แกผ่ ู้เรยี นเพื่อนาไปใช้พฒั นาตนเอง

4. ครมู ีความรู้ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ มีความเชี่ยวชาญในวชิ าท่สี อน สามารถจดั กิจกรรม
การเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ กี ารที่หลากหลายเพ่อื ให้ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรเู้ ต็มศกั ยภาพของผูเ้ รยี นแตล่ ะบุคคล เปิดโอกาส
ใหผ้ ู้เรียนมสี ว่ นรว่ มในการออกแบบการเรยี นรู้ และแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง

3.2. จุดท่คี วรพัฒนา
1. การใหน้ กั เรียนมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ ในการวัดผล การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน

การออกแบบรรยากาศห้องเรียนของตนเอง และการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

2. ควรนาสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหม้ ากขึน้ เพื่อให้
สอดคล้องกบั สถานภาพปัจจุบนั

3.3. แผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือยกระดบั ให้สูงขึน้ (ข้อเสนอแนะ)
ควรสง่ เสริมให้ครมู คี วามเขา้ ใจในเขยี นแผนการจัดการเรียนรแู้ ละการเรียนการสอนหลกั สูตรฐาน

สมรรถนะใหเ้ ป็นรูปธรรมมากข้นึ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 66

สรุปผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ปีการศึกษา 2564

มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา ระดับคุณภาพ

สรุปภาพรวมของสถานศกึ ษา ยอดเย่ยี ม

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผ้เู รยี น ยอดเยย่ี ม

1.1. ผลสัมฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรียน ยอดเยย่ี ม

1.2. คุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ของผเู้ รียน ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยยี่ ม

2.1. มเี ปา้ หมายวิสยั ทศั นแ์ ละพันธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนดชดั เจน ยอดเยีย่ ม

2.2. มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยี่ยม

2.3. ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษาและ ยอดเยี่ยม
ทกุ กลุ่มเป้าหมาย

2.4. พฒั นาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ ยอดเยี่ยม

2.5. จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเอ้ือตอ่ การจัดเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ ยอดเยี่ยม

2.6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจดั การและการจดั การเรยี นรู้ ยอดเยย่ี ม

2.7. องคก์ รมีภาพลกั ษณ์ท่ดี ี ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคญั ยอดเยี่ยม

3.1. จัดการเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริง และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิต ยอดเยย่ี ม
ได้

3.2. ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ ี่เอื้อต่อการเรียนรู้ ยอดเยย่ี ม

3.3. มกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวก ยอดเยย่ี ม

3.4. ตรวจสอบและประเมินผ้เู รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รียน ยอดเยย่ี ม

3.5. มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจัดการ ยอดเยย่ี ม
เรียนรู้

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 67

สว่ นที่ ๓ สรุปผล แนวทางการพัฒนา
และความต้องการการช่วยเหลอื

“วชิ าการเดน่ ดี มีคณุ ธรรมนาตน ทกุ คนรว่ มพัฒนา สู่ความเปน็ พลเมืองโลก”

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 68

สว่ นท่ี 3 สรปุ ผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ

สรปุ ผลผลการประเมิน

โรงเรยี นประชานิเวศนใ์ ช้ระบบประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในเป็นกลไกทีส่ าคญั ในการขับเคล่อื น
การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาให้ดาเนนิ ไปอย่างต่อเนื่อง โดยยึดหลักการทีส่ าคญั ได้แก่ การกระจายอานาจ
การเปดิ โอกาสใหท้ ุกภาคส่วนมสี ว่ นร่วมในการทางาน และเป็นการแสดงความรับผดิ ชอบทีส่ ามารถตรวจสอบ
ได้ จากการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวม ประสบผลสาเรจ็ ตามที่ตัง้ เปา้ หมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน
ผลการประเมินภาพรวม อยู่ในระดับ ยอดเยยี่ ม ท้ังนี้เพราะ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผเู้ รยี นอยใู่ นระดับ ยอด
เย่ยี ม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการศกึ ษาอยใู่ นระดับยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ ๓
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอยใู่ นระดับยอดเย่ยี ม

๑. สถานศึกษามีการดาเนินโครงการและกิจกรรมนามาบูรณาการเพื่อให้ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในด้าน
การอ่าน การเขียน การสือ่ สาร ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ตลอดจนการคดิ คานวณได้เหมาะสมตาม
ระดับช้นั มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในดา้ นการคิดวิเคราะห์ คิดวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียน
ความคดิ เหน็ แก้ปญั หาและนาไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณ์ต่างๆ โดยทุกกลุ่มสาระการเรียนรไู้ ด้ดาเนินการให้
นกั เรียนจัดทาโครงงานหรอื กิจกรรมต่างๆ ทชี่ ่วยสง่ เสริมทักษะในการคิดท่ีเหมาะสมกบั วัยของนกั เรียนในแต่
ละระดบั ชน้ั ทาใหผ้ ู้เรยี นมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนผา่ นเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาซ่ึงเปน็ ผลมา
จากกระบวนการจดั การเรยี นรู้ท่เี นน้ พัฒนาผเู้ รยี นเป็นสาคัญ และดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น
สถานศึกษาได้ดาเนนิ โครงการพัฒนาความรู้คูค่ ุณธรรมคา่ นิยม อกี ทง้ั สถานศกึ ษาไดจ้ ดั กจิ กรรมให้นักเรียนมี
ความภาคภูมิใจในทอ้ งถ่นิ ในความเปน็ ไทย เห็นคุณคา่ ของภูมิปัญญาไทย จัดกิจกรรมแสดงออกด้านดนตรี
นาฏศลิ ป์ไทย ด้านสุขภาวะทางรา่ งกาย สถานศึกษาได้ดาเนินกจิ กรรมและบรู ณาการสร้างสขุ ภาวะทางรา่ งกาย
และลักษณะจิตสงั คม

๒. สถานศึกษาตระหนักในความสาคัญของการพัฒนาผเู้ รยี นใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมาย วิสัยทัศน์ และ
พันธกจิ ทีส่ ถานศกึ ษากาหนด โดยมุง่ พฒั นาผู้เรียนทุกคนให้มคี ุณลักษณะและทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่
๒๑ โดยเนน้ การมีสว่ นร่วมจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ชุมชน ใน
การร่วมกัน สถานศกึ ษาได้มกี ารวางแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา ทั้งการวางแผนงานวชิ าการ
แผนพฒั นาครบู ุคลากร แผนงานบริหารงบประมาณและแผนงานจัดสภาพแวดล้อมทเ่ี อ้ือตอ่ การจดั การเรยี นรู้
โดยการมสี ว่ นรว่ มของคณะครู บุคลากร และคณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการเครือข่ายผปู้ กครองใน
การร่วมวางแผน สถานศึกษาได้มกี ระบวนการกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารจดั การศึกษาอยา่ งชัดเจน
โปร่งใส ตรวจสอบได้

๓. สถานศกึ ษาได้ มีแผนงาน โครงการ ในการพัฒนาครู ด้วยการประชุม สัมมนา ศึกษาและดูงาน
สง่ เสริมให้ครูมคี วามรู้ ทักษะวชิ าชีพ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามจรรยาบรรณของวชิ าชพี ครู ออกแบบแผนการ
จดั การเรียนรู้ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ การนาแผนไปใช้โดยมีระบบการตรวจสอบการทางานตามวงจรคณุ ภาพ
PDCA ครูมีการบนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ จัดให้มีการนเิ ทศการสอนแบบกัลยาณมิตร และหลักการ PLC
มกี ารสะทอ้ นผลการนเิ ทศตดิ ตาม การนาผลการจดั การเรยี นรไู้ ปเป็นฐานข้อมลู การทาวิจัยในชน้ั เรียนเพ่อื
แก้ปัญหาผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ ครสู ามารถนาผลการพัฒนางานไปจดั ทาผลงานวชิ าการในการเลื่อนวิทยฐานะ
ในช่วงสถานการณ์การระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา่ 2019 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้จัดทาหลายรูปแบบ ใช้
แนวทาง 5 ons ของสานักการศึกษา จัดทาเอกสารและจดั ตารางการจัดการเรยี นรู้ สง่ ผลให้ผลสัมฤทธ์ิเป็นไป

ตามเป้าหมายที่สถานศึกษากาหนด

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 69

แนวทางการพัฒนาในอนาคต
๑. สถานศึกษาจัดกิจกรรมท่สี ่งเสริมและพฒั นาด้านการอา่ น การเขยี น การส่ือสารคดิ คานวณของนักเรียนให้
สูงขน้ึ
๒. สถานศึกษาจดั กจิ กรรมส่งเสริมใหน้ กั เรยี นมีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เช่น ดา้ นความประหยดั ความ
พอเพยี งใหเ้ กิดผลเปน็ รปู ธรรมมากยิ่งขึ้น
๓. สถานศกึ ษาส่งเสริมการจัดกจิ กรรมใหน้ ักเรยี นมีความสามารถในการคิดรวบยอด คดิ เชงิ เหตผุ ลทางทาง
คณิตศาสตร์มากย่ิงขึ้น
๔. สถานศึกษาพฒั นาระบบเครือขา่ ยสารสนเทศ และจัดการบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศทสี่ อดคลอ้ งกับการ
เรียนรขู้ องนักเรยี นเพิ่มมากข้ึน สรา้ งหอ้ งเรยี นออน์ไลน์ทม่ี เี ครือ่ งมือทันสมยั รองรบั การจัดการเรยี นการสอนใน
ระบบทางไกล
๕. ครจู ดั กจิ กรรมให้นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และกจิ กรรมการเรียนการสอนการ
ออกแบบรรยากาศห้องเรยี น ท่ีสอดคล้องกบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19
6. สง่ เสรมิ ชมุ ชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการและประสานงานความร่วมมือ ในการพัฒนาวิชาการกบั
สถานศกึ ษาและองคก์ รอืน่
ความต้องการและการชว่ ยเหลือ
๑. สถานศกึ ษามีความต้องการในการพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทัง้ ในห้องเรียนและนอก
หอ้ งเรยี นเพ่ือใหน้ ักเรยี นไดเ้ กิดการพัฒนาด้านการอา่ น การเขียน การสื่อสารคิดคานวณ คุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงค์ และความสามารถในการคดิ รวบยอด คิดเชิงเหตุผลทางทางคณิตศาสตร์อยา่ งเต็มศกั ยภาพ
๒. สถานศึกษามีความต้องการระบบเครือข่ายสารสนเทศ และจัดการบรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศทส่ี อดคลอ้ ง
กับการเรียนรู้ของนักเรยี นเพ่ิมมากขึน้ ส่อื เทคโนโลยีที่ทันสมยั และเพยี งพอกับความต้องการ ไดแ้ ก่ เคร่ืองฉาย
โปรเจคเตอร์ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมการสอนสาเร็จรูป
๓. ครูมีความตอ้ งการในการพัฒนาการจัดกิจกรรมท่สี อดคล้องกบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ
โรคโควิด-19
๔. ครมู คี วามต้องการในการพัฒนาตนเองเก่ียวกับการพัฒนารูปแบบการแลกเปล่ยี นการเรยี นรู้ (PLC) เพ่ือ
ทีจ่ ะสามารถนาไปพัฒนาผเู้ รียนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 70

สว่ นที่ ๔ ภาคผนวก

- คาส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการการประกันคณุ ภาพภายใน
- ประกาศมาตรฐานและคา่ เป้าหมายของโรงเรียน
- บันทึกเหน็ ชอบรายงานการประเมนิ ตนเองของกรรมการสถานศึกษา
- คาสง่ั คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน
- ผลการประเมินคุณภาพภายนอก
- หลักฐานการนาเสนอผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน ผลการจดั การของสถานศกึ ษาตอ่
ผู้เกีย่ วขอ้ ง
- เอกสารอน่ื ๆ และเอกสารท่ีสนบั สนนุ ผลการประเมินคุณภาพภายใน

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 71

คาสัง่ โรงเรยี นประชานิเวศน์
ท่ี / 2564

เร่ือง แตง่ ตั้งคณะกรรมการดาเนนิ การประกนั คุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน

.....................................................................
เพ่ือใหก้ ารดาเนนิ งานการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นประชานเิ วศน์ ซง่ึ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของ
กระบวนการบริหารการศึกษาทีต่ อ้ งดาเนินการอยา่ งต่อเน่ือง และเพ่ือใหก้ ารดาเนินงานที่ต้องประเมินตาม

มาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานตามตัวบ่งช้แี ละเกณฑ์การพิจารณาเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ จึงแตง่ ตง้ั
คณะกรรมการดาเนนิ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา โรงเรยี นประชานเิ วศน์ดาเนนิ งานดังน้ี

1. คณะกรรมการทีป่ รึกษา

1.1 นางดวงสมุ าลย์ ชื่นชูจิตร์ ผู้อานวยการสถานศึกษาฯ ประธาน

1.2 นางสาวสพุ นิ ยา สร้อยทอง รองผอู้ านวยการสถานศึกษาฯ รองประธาน
รองผูอ้ านวยการสถานศึกษาฯ รองประธาน
1.3 นางศริ ิพร ใยดา รองผูอ้ านวยการสถานศึกษาฯ รองประธาน

1.4 นางวชิ ญาภรณ์ แสงบตุ รดี

1.5 นางสาววชั รี โลห์จนิ ดา รองผอู้ านวยการสถานศึกษาฯ รองประธาน

หน้าที่ - จัดประชุมเพือ่ สรา้ งความเข้าใจและวางแผนกรอบการประกนั คุณภาพตามมาตรฐาน

- ติดตามประเมินผลตามกรอบการประกนั คุณภาพท่รี ่วมกันกาหนดเปน็ แนวทางในการพัฒนา

คุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน

- รายงานผลการประกนั คุณภาพในสถานศึกษาให้หนว่ ยงานต้นสงั กดั ทราบภายในเดือนเมษายนของ

ทุกปี

2. คณะกรรมการตดิ ตามผลการประกนั คณุ ภาพการศึกษาข้ันพื้นฐานทัง้ 3 ด้าน

2.1 นางกรพนิ ธ์ุ ณัฐมหาธนานันท์ ครู คศ.3 ประธาน

2.2 นางระจติ บาเปีย ครู คศ.3 รองประธาน

2.3 นางรชั นี รตั นกุล ครู คศ.3 กรรมการ

2.4 นางวไิ ลพร รัฐสมุทร ครู คศ.3 กรรมการ

2.5 นางสาวจินห์จฑุ า พงษ์สมัครไทย ครู คศ.3 กรรมการ

2.6 นางนสิ รา องั กรู สทิ ธ์ิ ครู คศ.3 กรรมการ

2.6 นางสาวธนทิวา ปญั ยางหงส์ ครู คศ.2 กรรมการ

2.7 นางสาวทพิ ย์วาที เกียรตสิ มบูรณช์ ยั ครู คศ.2 กรรมการ

2.8 นางสาวศภุ ดา ดหี งษ์ ครู คศ.2 กรรมการ

2.9 นางศภุ รินทรญ์ า นาคงาม ครู คศ.2 กรรมการและเลขานุการ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 72

หน้าที่ - ตดิ ตามผลการประเมินตามมาตรฐานทัง้ 3 ดา้ น ตามเวลาท่ีกาหนด

- นาผลการประเมนิ มาสรปุ และจดั ทารายงานประจาปี (SAR) ในภาพรวมของโรงเรยี น สง่ หนว่ ยงาน

ตน้ สงั กัด

- นาผลการประเมนิ ทง้ั จุดแขง็ และจุดอ่อนท่ีควรพฒั นา นาเสนอตอ่ ที่ประชุมเพือ่ วางแผนพฒั นาและ

แก้ปัญหาในปีการศึกษาต่อไป

3. จานวนมาตรฐานและตัวบ่งช้ีท่ีกาหนด

3.1 มาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน 3 มาตรฐาน ประกอบดว้ ย

3.1.1 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรียน มี 2 ตวั บ่งชี้ (6) (4)

3.1.2 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ (7)

3.1.3 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (5)

4. คณะกรรมการผรู้ ับผิดชอบการประกนั คุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

4.1 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรยี น

ผรู้ ับผดิ ชอบ นางกรพินธ์ุ ณัฐมหาธนานันท์ ครู คศ. 3 หวั หนา้

นางศุภรินทรญ์ า นาคงาม ครู คศ. 2 กรรมการ

นางสาวทพิ ยว์ าที เกียรติสมบูรณช์ ัย ครู คศ. 2 กรรมการ

1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน

1.1.1 ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คานวณ

ผู้รับผดิ ชอบ นางสาวเบญจวรรณ เจนแขตกิจ ครู คศ. 3 หวั หนา้

นางสาวสุพร ศรเี มอื ง ครู คศ. 3 กรรมการ

นางชวาลัย สงิ หส์ ถติ ย์ ครู คศ. 2 กรรมการ

นางสาวสริ ภิ าพ ไพบลู ย์ ครู คศ. 3 กรรมการ

นายศภุ ักษร ทรวงประโคน ครู คศ. 1 กรรมการ

นางสาวพนิดา ภเู ขยี ว ครู คศ. 1 กรรมการ

1.1.2 ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยน

ความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา

ผูร้ บั ผิดชอบ นางสาวจณิ หจ์ ุฑา พงษ์สมัครไทย ครู คศ. 3 หัวหนา้

นายสุบรรณ พงษ์สุพรรณ ครู คศ. 2 กรรมการ

นางสาวเยาวลักษณ์ นาคเงนิ ครู คศ. 1 กรรมการ

1.1.3 ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม

ผรู้ ับผดิ ชอบ นางสภุ ัทรา จ๋อยศรที อง ครู คศ. 2 หัวหนา้

นายคนอง ชาญอาวธุ ครู คศ. 2 กรรมการ

นางสาววรรณวิภา บญุ ญทิม ครู คศ. 1 กรรมการ

นายเกียรติภมู ิ คงขา ครูผชู้ ว่ ย กรรมการ

1.1.4 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวจันทรา แสวงดี ครู คศ. 3 หัวหนา้

นางสาวปทั มา เพง็ โตวงษ์ ครู คศ. 2 กรรมการ

นางสาวศภุ ดา ดีหงษ์ ครู คศ. 2 กรรมการ

นางสาวกนกพร เตียไธสง ครู คศ. 1 กรรมการ

1.1.5 มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 73

ผู้รับผดิ ชอบ นางสาวปัทมาพร ตาใคร้ ครู คศ.1 หวั หน้า
กรรมการ
นางสาวปวีณา คงทวี ครู คศ.1 กรรมการ

นางสาววรางคณา รัตนวราหะ ครู คศ.1 หัวหน้า
กรรมการ
1.1.6 มีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ กรรมการ
กรรมการ
ผู้รบั ผิดชอบ นางอัมพร วามะศิริ ครู คศ. 2
หัวหน้า
นางสาวประไพพิศ เชอ้ื ทอง ครู คศ. 2 กรรมการ
กรรมการ
นางสาวนฤมล แซโ่ ง้ว ครู คศ. 1
หวั หน้า
นางสาวอรณุ คาสขุ ครู คศ. 1 กรรมการ
กรรมการ
1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น กรรมการ
กรรมการ
1.2.1 การมีคณุ ลักษณะและค่านิยมที่ดตี ามทสี่ ถานศึกษากาหนด
หัวหน้า
และวัฒนธรรมอนั ดีงามของสงั คม กรรมการ
กรรมการ
ผู้รับผิดชอบ นางสาวทพิ ย์วาที เกียรติสมบูรณ์ชัย ครู คศ. 2
หัวหน้า
นางสาวบรรพตี วงษ์พรพันธ์ุ ครู คศ. 2 กรรมการ
กรรมการ
นายภวู ิทย์ ก้อนตาล ครู คศ. 1 กรรมการ
กรรมการ
1.2.2 ความภูมใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวลาพลู ไหมพรม ครู คศ. 1

นางสาวสุนษิ า สอนสุภาพ ครู คศ. 2

นายวัฒนพร สุนทรเกตุ ครู คศ. 2

นางสาวสรญั รชั ญ์ เจรญิ พทิ ักษ์ ครู คศ. 1

นางสาวณัฐณิชา ศักดิ์แสงวริ ัตน์ ครู คศ. 1

1.2.3 การยอมรบั ที่จะอย่รู ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวอทติ ยา บุญประเสริฐ ครู คศ. 3

นางสาวสุจติ รา แสนงาม ครู คศ. 1

นายสชุ นนั ต์ จะนต ครูผู้ชว่ ย

1.2.4 สขุ ภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คม

ผู้รบั ผิดชอบ นางนิสรา อังกรู สทิ ธ์ิ ครู คศ. 3

นายไพโรจน์ น้อยเอีย่ ม ครู คศ. 2

นายศรบี ุตร บตุ รวงศ์ ครู คศ. 2

นายกติ ติศักด์ิ สาสาย ครู คศ. 1

นางสาวสพุ ตั รา ฤทธกิ ลาง ครู คศ. 1

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ

รับผดิ ชอบ นางวิไลพร รฐั สมุทร ครู คศ. 3 หัวหน้า
ครู คศ. 2 กรรมการ
นางสาวธนธวิ า ปญั ยางหงษ์
ครู คศ. 3 หวั หนา้
2.1 มีเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน ครู คศ. 2 กรรมการ

ผู้รับผิดชอบ นางวิไลพร รัฐสมุทร ครู คศ. 3 หัวหนา้

นางสาวธนธิวา ปัญยางหงษ์

2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา

ผู้รบั ผิดชอบ นางวิไลพร รัฐสมทุ ร

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 74

นางสาวธนธิวา ปญั ยางหงษ์ ครู คศ. 2 กรรมการ

2.3 ดาเนนิ งานพฒั นางานวชิ าการทเี่ น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทุก

กลุ่มเปา้ หมาย

ผรู้ ับผดิ ชอบ นายเกียรติศักด์ิ ลัยวงษ์ ครู คศ. 1 หัวหน้า

นางสาวอมรกานต์ รอดเดช ครู คศ. 2 กรรมการ

นางสาวช่นื นภา ชูใจ ครผู ูช้ ว่ ย กรรมการ

2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ

ผู้รบั ผดิ ชอบ นางศริ ริ ัตน์ พรพริ ยิ ะศานติ ครู คศ. 3 หัวหน้า

นางสาวธนภรณ์ นิตกิ ลุ ครู คศ. 2 กรรมการ

นางณฐั พร แผลงฤทธ์ิ ครู คศ. 2 กรรมการ

2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ อื้อต่อการจัดการเรยี นรู้

ผ้รู ับผดิ ชอบ นางสาวสวุ ิมล บุญจันทร์ ครู คศ. 2 หวั หนา้

นางสาวสวุ สิ า ย่ิงดี ครู คศ. 1 กรรมการ

นายจตพุ ล รกั ษาธรรม ครู คศ. 1 กรรมการ

นางสาวชลลดา เลศิ นา ครูผ้ชู ่วย กรรมการ

2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้

ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางสาวศุภดา ดหี งษ์ ครู คศ. 2 หวั หน้า

นางปัทมา เพ็งโตวงษ์ ครู คศ. 2 กรรมการ

นางสาวกนกวรรณ บรู ะพา ครู คศ. 1 กรรมการ

2.7 องคก์ รมภี าพลักษณท์ ีด่ ี

ผู้รบั ผิดชอบ นางวไิ ลพร รฐั สมุทร ครู คศ. 3 หัวหนา้

นางระจิต บาเปีย ครู คศ. 3 กรรมการ

มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั

รบั ผิดชอบ นางระจิต บาเปีย ครู คศ. 3 กรรมการ

นางรชั นี รัตนกลุ ครู คศ. 3 กรรมการ

นางสาววัลลิการ์ กุลชะโร ครู คศ. 3 กรรมการ

3.1 จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการ

ดาเนนิ ชวี ติ

ผู้รบั ผดิ ชอบ นายประสงคส์ ทิ ธิ์ ราชชมภู ครู คศ. 3 หวั หน้า

นางสุวรรณา บุญยนิ ดี ครู คศ. 3 กรรมการ

นางสาวสุธรี า ลกิ ขะไชย ครู คศ. 2 กรรมการ

3.2 การใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ ่ีเออ้ิ ต่อการเรยี นรู้

ผ้รู บั ผิดชอบ นายกฤตพล บวรถริ วัฒน์ ครู คศ. 2 หวั หนา้

นางอรวรรณ สมใจนึก ครู คศ. 3 กรรมการ

นางสภุ ทั รา ไคลพิมาย ครู คศ. 1 กรรมการ

3.3 มกี ารบริหารจัดการชั้นเรยี นเชิงบวก

ผรู้ บั ผิดชอบ นางสาววิภา รอดสดุ ครู คศ.3 หวั หนา้

นางสาวณชั พิมพ์ รัตนเดชานาคนิ ทร์ ครู คศ.3 กรรมการ

นางสาวสาวติ รี แขมจงั หรีด ครู คศ.1 กรรมการ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 75

3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รียน

ผรู้ ับผิดชอบ นางสาวสริ วิ ิภา แสนเสน ครู คศ.1 หวั หนา้

นางสาวน้าผง้ึ หอขุนทด ครู คศ.1 กรรมการ

นางสาวทพิ ย์ชนก คาท้วม ครผู ู้ชว่ ย กรรมการ

3.๕ มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้และใหข้ ้อมลู ป้อนกลบั เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู้

ผูร้ บั ผดิ ชอบ นางวรลักษณ์ เดชะไกศยะ ครู คศ.๓ หวั หน้า

นางสาวอทิตยา สีทิม ครู คศ.2 กรรมการ

นางสาวเชาว์ รามะนา ครู คศ.1 กรรมการ

หนา้ ท่ี - จัดทากรอบการประกนั คุณภาพการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน รายละเอียด ข้อพิจารณาท่ี

ไดร้ ับมอบหมาย

- สรา้ งเครอ่ื งมือเพ่ือเกบ็ รวบรวมข้อมลู

- สรปุ แบบประเมนิ จดุ เดน่ จุดดอ้ ย แนวทางการพัฒนาและ ความสมั พันธก์ ับ

โครงการ/กิจกรรมของโรงเรยี น

- รายงานผลการประเมินกบั คณะกรรมการจัดทารายงานประจาปีตามเวลาที่กาหนด

5 คณะกรรมการจดั ทารายงานการประเมินตนเอง (SAR)

5.1 นางกรพนิ ธ์ุ ณฐั มหาธนานนั ท์ ครู คศ.3 หวั หน้า

5.2 นางระจติ บาเปีย ครู คศ.3 กรรมการ

5.3 นางรชั นี รัตนกลุ ครู คศ.3 กรรมการ

5.4 นางวไิ ลพร รฐั สมทุ ร ครู คศ.3 กรรมการ

5.5 นางสาวจิณหจ์ ฑุ า พงษ์สมัครไทย ครู คศ.3 กรรมการ

5.6 นางศุภรนิ ทร์ญา นาคงาม ครู คศ.2 กรรมการ

5.7 นางสาวทิพย์วาที เกยี รติสมบูรณ์ชัย ครู คศ.2 กรรมการ

5.8 นางสาวสธุ รี า ลิกขะไชย ครู คศ.2 กรรมการ

5.9 นางสาววรรณวภิ า บุญญทมิ ครู คศ.1 กรรมการ

5.10 นางสาวสาวติ รี แขมจงั หรดี ครู คศ.1 กรรมการ

5.11 นางสาวศุภดา ดีหงษ์ ครู คศ.2 กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้าที่ รวบรวมผลการประเมนิ แต่ละมาตรฐานมาจัดพิมพ์เปน็ รายงาน แล้วจดั ทารูปเลม่

รายงานสน้ิ ปีการศึกษา

6. คณะกรรมการลงระบบการบริหารจดั การคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาด้วยระบบ SAR Online

6.1 นางกรพนิ ธุ์ ณฐั มหาธนานนั ท์ ครู คศ.3 หวั หน้า

6.2 นางสาวศภุ ดา ดีหงษ์ ครู คศ.2 กรรมการ

6.3 นางสาววรรณวภิ า บญุ ญทมิ ครู คศ.1 กรรมการ

6.4 นางสาวสาวติ รี แขมจงั หรดี ครู คศ.1 กรรมการ

6.5 นางสาวสธุ รี า ลกิ ขะไชย ครู คศ.2 กรรมการ

6.6 นางสาวปทั มา เพง็ โตวงษ์ ครู คศ.2 กรรมการ

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 76

มีหนา้ ท่ี รวบรวมขอ้ มูลพ้นื ฐานของโรงเรยี น การบรหิ ารจัดการคณุ ภาพ โครงการ/กิจกรรม
และมาตรฐานการศึกษาทุกตัวชี้วดั เพือ่ รายงานต่อต้นสงั กัดและผเู้ กยี่ วข้อง อีกท้งั เปน็ ข้อมูลในการ
ประเมินคุณภาพภายนอกต่อไป

ท้ังน้ใี หผ้ ไู้ ดร้ ับแต่งต้งั ดาเนนิ งานประเมนิ ผลตามมาตรฐาน ข้อพิจารณาและรายงานผลแก่
คณะกรรมการตดิ ตามงานต่อไป

สัง่ ณ วนั ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2564
(นางจุฑาภคั มฉี ลาด)

ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา โรงเรยี นประชานเิ วศน์

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 77

ประกาศโรงเรียนประชานิเวศน์
เร่ือง กาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
เพอื่ การประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
.....................................................................

ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน

คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ ซึง่ เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับน้ี คอื แนวทางในการดาเนินงาน

ตามประกาศกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ไม่

สอดคล้องกับหลักการประกันคุณภาพการศึกษาที่แท้จริง จึงส่งผลให้การดาเนินการประกันคุณภาพทั้งภายใน

และภายนอกไม่สัมพันธ์กัน เกดิ ความซ้าซ้อนและคลาดเคลื่อนในการปฏบิ ัติ ทาให้ไมส่ ะท้อนความเป็นจริงและ

เปน็ การสรา้ งภาระให้สถานศกึ ษา

ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อการประกันคุณภาพ

ภายในของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ฉบับลงวันท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑

โรงเรียนประชานเิ วศน์ปรับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับปฐมวัย และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

จากการมสี ่วนร่วมของผู้เกย่ี วขอ้ ง ท้งั บคุ ลากรทกุ คนในโรงเรยี น ผปู้ กครอง และประชาชนในชมุ ชนใหเ้ หมาะสม

และสอดคล้องกัน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ระดับ

ปฐมวัย และระดับขั้นพื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายในและรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดยความ

เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ในการประชุม ครั้งที่ 1/ 25๖4 เม่ือวันท่ี 21 เดือน

กรกฎาคม พ.ศ. 25๖4

เพอ่ื ใหก้ ารพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนประชานเิ วศน์มีคุณภาพและมาตรฐาน

จึงกาหนดค่าเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และระดับ

การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ตามเอกสารแนบทา้ ยประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ 25 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒5๖4

(นางจฑุ าภคั มฉี ลาด)
ผอู้ านวยการสถานศกึ ษาโรงเรียนประชานิเวศน์

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 78

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 79

การกาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาปฐมวยั
เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
แนบท้ายประกาศโรงเรียนประชานิเวศน์

เรื่อง กาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย
เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/
ประเด็นการพจิ ารณา

มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก ระดบั ยอดเยย่ี ม

๑.๑ มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ขุ นิสัยท่ดี ี และดูแลความปลอดภยั ของ ยอดเยีย่ ม

ตนเองได้

๑.๒ มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ ยอดเย่ยี ม

๑.๓ มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกทดี่ ขี องสงั คม ยอดเย่ยี ม

๑.๔ มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มที ักษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหา ยอดเยย่ี ม

ความรไู้ ด้

มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บริหารสถานศึกษา ระดับยอดเยยี่ ม

๒.๑ มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการ ๔ ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของท้องถน่ิ ยอดเย่ียม

๒.๒ จดั ครใู หเ้ พียงพอกบั ชน้ั เรียน ยอดเยี่ยม

๒.๓ สง่ เสริมให้ครูมคี วามเชีย่ วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ ยอดเยี่ยม

๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและส่ือการเรียนรู้อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ ยอดเยี่ยม

๒.๕ ใหบ้ รกิ ารส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนร้เู พื่อสนบั สนุนการจัด ยอดเยี่ยม

ประสบการณ์

๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปิดโอกาสใหผ้ ้เู กย่ี วข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นรว่ ม ยอดเยย่ี ม

2.7 องค์กรมีภาพลักษณ์ทด่ี ี ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ระดับยอดเย่ียม

๓.๑ จดั ประสบการณ์ทสี่ ่งเสริมให้เดก็ มีพฒั นาการทุกดา้ นอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ ยอดเยย่ี ม

๓.๒ สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอยา่ งมีความสุข ยอดเยีย่ ม

๓.๓ จดั บรรยากาศท่เี อื้อต่อการเรยี นรู้ใช้ส่อื และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั วยั ยอดเย่ียม

๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนาผลการประเมินพฒั นาการเด็ก ยอดเยี่ยม

ไปปรับปรงุ การจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 80

การกาหนดคา่ เปา้ หมาย

๑. ศกึ ษาข้อมลู เดิม ผลการประเมนิ ตา่ ง ๆ ท่ผี า่ นมา เพื่อเป็นข้อมูลฐานในการกาหนดคา่ เปา้ หมาย

๒. การกาหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกาหนดเป็น ระดับคุณภาพ ๕ ระดับ เพ่ือให้

สอดคล้องกับการประเมนิ ดงั น้ี

ระดบั ๕ ยอดเยย่ี ม ระดับ 4 ดเี ลศิ

ระดับ 3 ดี ระดบั 2 ปานกลาง

ระดับ 1 กาลงั พฒั นา

๓. การกาหนดคา่ เป้าหมาย จะกาหนดเปน็ ระดับคุณภาพ หรือเปน็ ร้อยละ ตามความเหมาะสมกับ

บริบทของสถานศึกษา

๔.การตั้งค่าเป้าหมายเชิงปริมาณในบางประเด็น โรงเรียนควรกาหนดเพ่ือใช้ตรวจสอบว่าการ

ดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนได้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้หรือสูงกว่า คงท่ี หรือ

ตา่ กว่า (ลกั ษณะข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ)

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 81

การกาหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
เพื่อการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
แนบท้ายประกาศโรงเรียนโรงเรยี นประชานเิ วศน์

เรือ่ ง กาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน
เพอื่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
.............................................................

มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/
ประเดน็ การพิจารณา
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รยี น
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน ระดบั ยอดเย่ยี ม
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สารและการคิดคานวณ ยอดเยย่ี ม
ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากาหนดในแต่ละระดบั ชัน้ ยอดเย่ียม
๒) มีความสามารถในการวิเคราะหแ์ ละคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลยี่ น
ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา ยอดเยี่ยม
๓) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม
๔) มคี วามกา้ วหนา้ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร ยอดเยย่ี ม
๕) มผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา ยอดเยย่ี ม
๖) มคี วามรทู้ ักษะพื้นฐานและเจตคติทีด่ ีตอ่ งานอาชีพ ยอดเยี่ยม
๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผ้เู รยี น ยอดเยี่ยม
๑) การมคี ุณลักษณะและค่านิยมที่ดตี ามที่สถานศกึ ษากาหนด ยอดเยี่ยม
๒) ความภมู ิใจในท้องถิน่ และความเป็นไทย ยอดเยี่ยม
๓) ยอมรบั ทีจ่ ะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ยอดเยี่ยม
๔) มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ยอดเยี่ยม
ยอดเยย่ี ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ระดบั ยอดเย่ยี ม
๒.๑. การมเี ป้าหมาย วิสยั ทศั น์ และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน ยอดเยี่ยม
๒.๒. มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ยอดเยยี่ ม
๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่เี น้นคุณภาพผู้เรยี นรอบด้านตามหลกั สตู ร ยอดเยย่ี ม

สถานศกึ ษาและทกุ กลุม่ เป้าหมาย ยอดเยย่ี ม
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม
๒.๕ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อ้ือต่อการจดั การเรียนรอู้ ย่างมี
ยอดเยี่ยม
คุณภาพ
๒.๖. จัดระบบสารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบริหารจัดการและการจัดการ ยอดเยย่ี ม
ระดับยอดเยี่ยม
เรียนรู้
2.7 องค์กรมีภาพลกั ษณ์ทด่ี ี ยอดเยยี่ ม

มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั
๓.๑ จัดกระบวนการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ตั ิจรงิ และสามารถ

นาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตได้

รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา 82

มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/
๓.๒ ใช้สอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ ประเดน็ การพจิ ารณา

ยอดเยี่ยม

๓.๓ มีการบริหารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก ยอดเยย่ี ม
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเป็นระบบและนาผลมาพัฒนาผู้เรยี น ยอดเยย่ี ม
๓.๕ มีการแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละให้ข้อมูลสะท้อนกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ ยอดเยี่ยม
การจดั การเรียนรู้

การกาหนดคา่ เป้าหมาย

๑. ศึกษาขอ้ มลู เดิม ผลการประเมินตา่ งๆ ท่ผี ่านมา เพือ่ เปน็ ขอ้ มลู ฐานในการกาหนดค่าเปา้ หมาย
๒. การกาหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกาหนดเป็น ระดับคุณภาพ ๕ ระดับ เพ่ือให้
สอดคล้องกบั การประเมนิ ดังนี้

ระดบั ๕ ยอดเยยี่ ม
ระดับ 4 ดีเลศิ
ระดบั 3 ดี
ระดับ 2 ปานกลาง
ระดบั 1 กาลงั พัฒนา
๓. การกาหนดค่าเปา้ หมาย จะกาหนดเป็นระดับคณุ ภาพ หรือเป็น ร้อยละ ตามความเหมาะสมกบั
บรบิ ทของสถานศึกษา
๔.การตั้งค่าเป้าหมายเชิงปริมาณในบางประเด็น โรงเรียนควรกาหนดเพื่อใช้ตรวจสอบว่าการ
ดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนได้บรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้หรือสูงกว่า คงที่ หรือ
ตา่ กว่า (ลกั ษณะข้อมลู เชิงปริมาณ)

รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา 83

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 84

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 85

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 86

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 87

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 88

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 89

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 90

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 91

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 92

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 93

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 94

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 95


Click to View FlipBook Version