The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pmjphuket, 2021-03-22 00:09:41

มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ กระทรวง พม.

มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่

Keywords: มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่,พม

ตัวชว้ี ัด 26  จ�ำ นวนโครงการท่ีมีลกั ษณะเป็นนวัตกรรม
เกณฑ ์ 1 โครงการ

จำ�นวนโครงการทม่ี ีลกั ษณะเปน็ นวตั กรรม คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• มโี ครงการทม่ี ลี ักษณะเปน็ นวัตกรรมอยา่ งนอ้ ย 1 โครงการ
• ไมม่ ีโครงการทีเ่ ปน็ นวัตกรรม 10 • เอกสารโครงการ ทีต่ อ้ งระบุ
0 ให้ชดั เจนวา่ มีนวตั กรรม 

ในเร่ืองอะไรบ้าง
• รายงานผลการดำ�เนนิ การ

มาตรฐาน 19  การใหบ้ ริการตอ่ กลุ่มเป้าหมาย 
ตัวชี้วดั  27  มแี ผนผงั แสดงขนั้ ตอน และกำ�หนดเวลาของกิจกรรมท่ใี หบ้ ริการแตล่ ะประเภท
เกณฑ ์ มแี ผนผงั ครบทกุ กจิ กรรมทใ่ี หบ้ รกิ าร

มีแผนผงั แสดงขัน้ ตอน และกำ�หนดเวลาของกิจกรรม  คะแนน หลกั ฐานประกอบ
ที่ให้บริการแตล่ ะประเภท

• มแี ผนผังแสดงขั้นตอนและกำ�หนดเวลาของกจิ กรรมทีใ่ ห้บรกิ าร  10  • ภาพถา่ ยแผนผัง
ครบทุกประเภท 7.5 
5 
• มีแผนผงั แสดงขั้นตอนและก�ำ หนดเวลาของกิจกรรมท่ีใหบ้ รกิ าร  2.5 
รอ้ ยละ 80–99 ของประเภทกิจกรรมทั้งหมดในการใหบ้ รกิ าร 0

• มแี ผนผงั แสดงขนั้ ตอนและก�ำ หนดเวลาของกิจกรรมท่ใี ห้บริการ 
ร้อยละ 60–79 ของประเภทกิจกรรมทง้ั หมดในการให้บรกิ าร

• มีแผนผงั แสดงขนั้ ตอนและก�ำ หนดเวลาของกิจกรรมทใี่ ห้บริการ 
ร้อยละ 40–59 ของประเภทกิจกรรมทง้ั หมดในการให้บริการ

• มีแผนผังแสดงข้นั ตอนและก�ำ หนดเวลาของกจิ กรรมทใี่ ห้บรกิ าร 
นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 39 ของประเภทกจิ กรรมทัง้ หมดในการให้บรกิ าร

ตัวชว้ี ัด 28  ร้อยละของผรู้ ับบริการทีม่ คี วามพึงพอใจตอ่ การใหบ้ รกิ าร
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 85

ร้อยละของผรู้ ับบรกิ ารท่มี ีความพึงพอใจ  คะแนน หลักฐานประกอบ
ตอ่ การใหบ้ รกิ าร
10 • ผลการประเมินความพงึ พอใจ
• ร้อยละ 85 ขึ้นไป 7.5
• รอ้ ยละ 75–84 5
• รอ้ ยละ 65–74 2.5
• ร้อยละ 55–64  0
• รอ้ ยละ 54 ลงมา

มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าท่ขี องสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวัด 43

วิธีการคำ�นวณ

จ�ำ นวนผู้ทพ่ี ึงพอใจตอ่ การรับบริการ X 100
จำ�นวนผ้มู ารบั บรกิ ารท้งั หมดทีต่ อบแบบสอบถาม

มาตรฐาน 20  การส่งเสรมิ ความเขม้ แข็งในการปฏิบัตงิ านดา้ นพฒั นาสังคม 
และการจัดสวสั ดิการสังคมให้กบั องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ  

ตัวช้ีวดั  29  จำ�นวนคร้ังการอบรม/สัมมนาดา้ นพฒั นาสงั คมและการจดั สวสั ดิการสังคม 
แกบ่ ุคลากรทรี่ บั ผดิ ชอบในหนว่ ยงานท้องถิ่น

เกณฑ ์ 6 ครง้ั ตอ่ ปี

จ�ำ นวนครั้งการอบรม คะแนน หลักฐานประกอบ

• 6 ครั้งตอ่ ปี 10 • รายงานผลการจดั อบรม /สมั มนา
• 4–5 คร้งั ตอ่ ปี 7.5
• 2–3 คร้ังต่อปี 5
• 1 คร้งั ต่อปี 2.5
• ไมม่ ีการจดั อบรม 0

ตวั ชี้วัด 30  รอ้ ยละขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ทไ่ี ด้เข้าร่วมการอบรม/สมั มนา 
ถ่ายทอดความรู้
รอ้ ยละ 80 ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทไ่ี ดร้ บั เชญิ เขา้ อบรม/สมั มนา 
เกณฑ ์ ในแตล่ ะครง้ั


รอ้ ยละขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นทีเ่ ข้าร่วม  คะแนน หลักฐานประกอบ
การอบรมถ่ายทอดความรู้
10 • เอกสารเชญิ เข้ารว่ มอบบรม/สัมมนา
• รอ้ ยละ 80 ขนึ้ ไป 7.5 • เอกสารลายมอื ชอื่ ของตวั แทน
• รอ้ ยละ 70–79 5 องค์กรเครอื ขา่ ยทเี่ ขา้ รว่ ม
• รอ้ ยละ 60–69 2.5
• รอ้ ยละ 50–59  0
• รอ้ ยละ 49 ลงมา

วธิ คี �ำ นวณ

จ�ำ นวนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ทส่ี ง่ เจา้ หน้าที่เขา้ อบรม X 100
จ�ำ นวนองคก์ รท้องถ่ินทเ่ี ชญิ เขา้ ร่วมอบรมในแตล่ ะคร้งั

44 มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทขี่ องสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

มาตรฐาน 21  การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปญั หาเรง่ ดว่ น
ตัวชว้ี ดั  31  รอ้ ยละของผู้ประสบปัญหาเร่งด่วนทีไ่ ดร้ บั การช่วยเหลอื ทนั เหตุการณ์
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100

ร้อยละของผู้ประสบปญั หาเร่งด่วน  คะแนน หลักฐานประกอบ
ทไี่ ดร้ บั การช่วยเหลือทันเหตกุ ารณ์
• รอ้ ยละ 100 10 • เอกสารการช่วยเหลือ ส่งต่อ 
• รอ้ ยละ 80–99 7.5 ประสานงาน
• ร้อยละ 70–79  5
• ร้อยละ 60–69  2.5
• ร้อยละ 59 ลงมา 0

วธิ ีค�ำ นวณ

จำ�นวนผู้ประสบปัญหาเร่งด่วนทไี่ ดร้ ับการชว่ ยเหลอื  X 100
จ�ำ นวนผปู้ ระสบปัญหาเรง่ ดว่ นทข่ี อความชว่ ยเหลอื

6. ด้านการกำ�กับดูแลหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ให้ดำ�เนินการตามกฎหมาย นโยบาย 
ของกระทรวง และติดตามและประเมินผล แผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงในความ 
รับผิดชอบของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวงในระดับจังหวัด มี 1 มาตรฐาน 
4 ตวั ช้วี ัด ดงั นี้
มาตรฐาน 22  การก�ำ กบั  ดแู ล และตดิ ตามการด�ำ เนินงานตามนโยบายของกระทรวง
ตัวชว้ี ัด 32  จ�ำ นวนแผนบูรณาการของหนว่ ยงานในพนื้ ที่จังหวัด
เกณฑ ์ 1 แผนตอ่ ปี

จ�ำ นวนแผนบูรณาการของหนว่ ยงานในพนื้ ทจี่ งั หวดั คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• 1 แผน • 10 • แผนบรู ณาการของหน่วยงาน 
• ไมม่ แี ผน • 0 ในพน้ื ที่จงั หวัด

ตวั ช้ีวดั  33  จำ�นวนครัง้ การรายงานผลตามแผนบูรณาการ
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 1 ครง้ั  ตอ่ ไตรมาส

จำ�นวนคร้งั ในการรายงานผลตามแผนบรู ณาการ คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• ครบทุกไตรมาส ( 4 ไตรมาส) 10 • เอกสารรายงานผลการปฏบิ ตั  ิ
• 3 ไตรมาส 7.5
• 2 ไตรมาส 5 ตามแผนบูรณาการ
• 1 ไตรมาส 2.5
• ไมไ่ ด้สง่ ข้อมูล 0

มาตรฐานการปฎิบตั ิหนา้ ท่ีของสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัด 45

ตัวชว้ี ดั  34  จ�ำ นวนรายงานการเบกิ จา่ ยงบประมาณของหนว่ ยงานในพืน้ ทจี่ ังหวัด
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 1 ครง้ั ตอ่ ไตรมาส

จ�ำ นวนรายงานการเบกิ จา่ ยของหนว่ ยงาน  คะแนน หลกั ฐานประกอบ
ในพ้ืนท่จี งั หวัด
10 • เอกสารรายงานการเบิกจ่าย 
• ครบทกุ ไตรมาส (4 ไตรมาส) 7.5 งบประมาณ
• 3 ไตรมาส 5
• 2 ไตรมาส 2.5
• 1 ไตรมาส 0
• ไมไ่ ดส้ ง่ ข้อมูล

ตัวชี้วัด 35  จำ�นวนครงั้ ของการประชมุ หน่วยงาน พม.ในพ้นื ท่จี งั หวดั
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 6 ครง้ั ตอ่ ปี

จำ�นวนครั้งของการประชมุ หนว่ ยงาน พม.ในพนื้ ท่จี งั หวดั คะแนน หลักฐานประกอบ
• 6 ครั้งต่อปี 10 • รายงานการประชมุ
• 4–5 คร้งั ตอ่ ปี 7.5
• 2–3 ครั้งตอ่ ปี 5
• 1 คร้ังตอ่ ปี 2.5
• ไมม่ ีการจัดประชุม 0

7. ด้านการเป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด 
ม ี 5 มาตรฐาน 5 ตวั ช้วี ดั  คือ
มาตรฐาน 23  การจัดต้งั ศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นขอ้ มูล 
ตัวชวี้ ดั  36  มศี นู ย์ปฏิบตั ิการด้านขอ้ มูลการพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์
เกณฑ ์ 1 ศนู ย์

จำ�นวนศูนย์ปฏิบตั กิ ารดา้ นขอ้ มลู คะแนน หลักฐานประกอบ
10 • คำ�สง่ั มอบหมาย
• มศี ูนย์ 0 • ภาพถา่ ยพน้ื ท่ี
• ไมม่ ศี ูนย์ • ระบบขอ้ มลู

46 มาตรฐานการปฎิบัตหิ นา้ ทขี่ องสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวดั

มาตรฐาน 24  ความครอบคลุมของขอ้ มลู  
ตัวชี้วดั  37  จำ�นวนเร่ืองทม่ี กี ารเกบ็ รวบรวม
เกณฑ ์ ครบทกุ เรอ่ื งตามขอ้ ก�ำ หนดของกระทรวง

จ�ำ นวนเร่อื งท่ีมกี ารเก็บรวบรวมข้อมูล คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• ครบทกุ เรอื่ งตามข้อก�ำ หนดของกระทรวง 10 • เอกสารดรรชนีและเน้ือหาข้อมลู
• มีร้อยละ 80–99 ของท่กี ระทรวงก�ำ หนด 7.5
• มรี อ้ ยละ 70–79 ของท่กี ระทรวงก�ำ หนด 5 ในระบบตามท่กี ระทรวงก�ำ หนด
• มีร้อยละ 60–69 ของที่กระทรวงก�ำ หนด 2.5
• มีรอ้ ยละ 59 ลงมา ของทก่ี ระทรวงกำ�หนด 0

วธิ ีคำ�นวณ

จำ�นวนเร่อื งที่มกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลในรอบป ี X 100
จ�ำ นวนเร่ืองทก่ี ระทรวงฯ กำ�หนดให้เก็บขอ้ มูล

มาตรฐาน 25  ความทนั สมัยของขอ้ มลู
ตวั ชว้ี ัด 38  จำ�นวนครัง้ ในการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู ในแตล่ ะเรือ่ ง
เกณฑ ์ 2 ครง้ั ตอ่ ปี

จำ�นวนครงั้ ในการปรับปรุงข้อมูลในแต่ละเรอ่ื ง คะแนน หลกั ฐานประกอบ

• 2 ครงั้ ต่อปี ครบทกุ เรอื่ ง 10 • รายงานการปรบั ปรุงข้อมูล  
• 2 ครง้ั ตอ่ ปี แตไ่ ม่ครบทุกเรื่อง 7.5 (ครบทุกเร่อื ง)
• 1 ครง้ั ต่อป ี ครบทกุ เรอ่ื ง 5
• 1 ครัง้ ตอ่ ปี แต่ไมค่ รบทุกเรอ่ื ง 2.5
• ไมไ่ ดป้ รับปรงุ 0

มาตรฐาน 26  ความน่าเช่ือถอื ของข้อมูล
ตัวช้ีวัด 39  รอ้ ยละของเรอ่ื งท่ีจัดเกบ็ สามารถอา้ งองิ แหลง่ หรอื แสดงวิธกี ารจัดเก็บ
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100

ร้อยละของเรื่องทีจ่ ัดเก็บสามารถอา้ งองิ แหลง่   คะแนน หลักฐานประกอบ
หรอื แสดงวธิ กี ารจดั เกบ็
10 • เอกสารรายงานการอา้ งอิง 
• รอ้ ยละ 90–100  7.5 แหล่งท่มี าของข้อมูล  
• ร้อยละ 80–89 5.0 หรือการอธบิ ายวธิ ีการจัดเกบ็ ข้อมลู
• ร้อยละ 70–79 2.5
• รอ้ ยละ 60–69  0
• ร้อยละ 59 ลงมา

มาตรฐานการปฎิบัติหน้าทขี่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวัด 47

วธิ ีค�ำ นวณ

จำ�นวนเรอ่ื งทจ่ี ัดเก็บข้อมูลซ่ึงมแี หลง่ อ้างอิง X 100
จ�ำ นวนเรอ่ื งท่จี ดั เก็บขอ้ มลู ทั้งหมด

มาตรฐาน 27  การนำ�ขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชน์
ตัวช้วี ัด 40  จำ�นวนครง้ั ในการใหบ้ รกิ ารด้านขอ้ มูล
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 5 ครง้ั ตอ่ ปี

จำ�นวนครั้งการใหบ้ ริการด้านข้อมูล คะแนน หลักฐานประกอบ

• มากกวา่  5 ครั้งต่อปี 10 • เอกสารการขอขอ้ มลู
• 4–5 ครงั้ ตอ่ ปี 7.5 • หรอื สมดุ การใหบ้ ริการดา้ นข้อมูล
• 2–3 ครง้ั ต่อปี 5
• 1 ครง้ั ต่อปี 2.5
• ไม่มี 0

8. ด้านการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการดำ�เนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม 
และความม่ันคงของมนุษย์ รวมท้ังความก้าวหน้าทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานของ 
กระทรวง มี 5 มาตรฐาน 7 ตัวชี้วดั  คือ 
มาตรฐาน 28  แผนการประชาสมั พันธ์
ตัวชี้วัด 41  จำ�นวนแผนการประชาสัมพนั ธข์ องหนว่ ยงาน
เกณฑ ์ 1 แผนตอ่ ปี

แผนการประชาสมั พนั ธข์ องหนว่ ยงาน คะแนน หลักฐานประกอบ
• เอกสารแผนการประชาสัมพันธ ์
• 1 แผนต่อปี 10
• ไม่มแี ผนการประชาสมั พนั ธ์ของหน่วยงาน 0 ของหนว่ ยงาน

มาตรฐาน 29  การด�ำ เนินงานดา้ นเว็บไซต ์
ตวั ชว้ี ดั  42  จำ�นวนครง้ั ของการเข้าชมเวบ็ ไซต์
เกณฑ ์ 6,000 ครง้ั ตอ่ ปี

จ�ำ นวนครงั้ ของการเขา้ ชมเว็บไซต์ คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• 6,000 ครงั้ ตอ่ ปีขึ้นไป 10 • จ�ำ นวนผูเ้ ขา้ ชมทป่ี รากฏในระบบ
• 4,000–5,999 ครง้ั ต่อปี  7.5
• 2,000–3,999 ครั้งตอ่ ปี  5 บนั ทกึ จ�ำ นวนผเู้ ข้าชมของเว็บไซต์
• 1000–1,999 คร้งั ตอ่ ปี 2.5
• นอ้ ยกวา่  1,000 ครงั้ ตอ่ ปี 0

48 มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัด

ตัวชีว้ ดั  43  ความถ่ีในการปรบั ปรงุ ขอ้ มูล
เกณฑ ์ 4 ครง้ั ตอ่ เดอื น

ความถใ่ี นการปรบั ปรงุ ขอ้ มูล คะแนน หลักฐานประกอบ

• 4 คร้ังตอ่ เดอื นหรอื มากกว่า 10 • บันทึกการปรบั ปรุง
• 3 ครั้งต่อเดือน 7.5
• 2 ครง้ั ตอ่ เดอื น 5
• 1 ครัง้ ต่อเดือน 2.5
• ไม่มกี ารปรบั ปรงุ ข้อมูล 0

มาตรฐาน 30  มกี ารดำ�เนินงานดา้ น Social Media 
ตัวชี้วดั  44  จ�ำ นวนชอ่ งทางการเผยแพร ่ Social Media
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 2 ชอ่ งทาง

จำ�นวนช่องทางการเผยแพร ่ Social Media คะแนน หลักฐานประกอบ

• มากกว่า 2 ชอ่ งทาง 10 • ส�ำ เนา หรอื ภาพถา่ ยการเผยแพร่
• 2 ช่องทาง 7.5
• 1 ชอ่ งทาง 5
• ไม่มี 0

มาตรฐาน 31  การรณรงค์รว่ มกบั ภาคประชาสังคม และองคก์ ารภาครฐั  
ตวั ช้วี ดั  45  จำ�นวนโครงการรณรงค์
เกณฑ ์ 5 โครงการตอ่ ปี

จ�ำ นวนโครงการรณรงค์ คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• 5 โครงการข้นึ ไป 10 • เอกสารโครงการ ระบเุ รอ่ื ง 
• 4 โครงการตอ่ ปี 7.5
• 3 โครงการต่อปี 5 ที่มกี ารรณรงค ์ หนังสอื ประสานงาน 
• 1–2 โครงการต่อปี 2.5 หรือภาพถ่าย วดิ โิ อ ฯลฯ
• ไมม่ โี ครงการรณรงค์ 0

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวดั 49

ตวั ชีว้ ดั  46  ร้อยละขององคก์ ารภาคประชาสงั คมและองคก์ ารภาครฐั ทีร่ ่วมรณรงค์
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 70

ร้อยละขององคก์ ารภาคประชาสงั คม  คะแนน หลกั ฐานประกอบ
และองค์การภาครัฐท่รี ่วมรณรงค์
10 • รายช่ือองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน  
• รอ้ ยละ 70 ข้ึนไป 7.5 องคก์ ารภาคประชาสังคม  
• ร้อยละ 60–69 5 และองค์การภาครฐั ท่ีไดร้ ับเชิญ 
• รอ้ ยละ 50–59 2.5 และเขา้ ร่วมการรณรงค์
• รอ้ ยละ 40–49  0
• ร้อยละ 39 ลงมา

วิธคี �ำ นวณ
จำ�นวนองคก์ ารภาคประชาสังคมและภาครฐั ทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรมรณรงค์ X 100

จำ�นวนองคก์ ารภาคประชาสงั คมและภาครฐั ทั้งหมดทไี่ ด้รบั เชญิ

มาตรฐาน 32  การประชาสมั พันธ์ผ่านส่อื มวลชน 
ตวั ช้ีวัด 47  จำ�นวนขา่ วสารทไ่ี ด้รับการตีพมิ พ์ในหนังสอื พมิ พ ์ และ/หรอื การกระจายเสยี ง

ในวิทยุชุมชนหรอื เคเบ้ิล TV ท้องถนิ่
เกณฑ ์ 12 ขา่ วตอ่ ปี

จ�ำ นวนข่าวสาร คะแนน หลักฐานประกอบ

• 12 ขา่ วต่อปขี ้ึนไป 10 • สำ�เนาหนงั สือน�ำ ส่ง
• 9–11 ข่าวต่อปี 7.5 • สำ�เนาขา่ วที่สง่
• 5–8 ขา่ วต่อปี 5 • ส�ำ เนาขา่ วทไี่ ดร้ ับการตพี มิ พ์
• 1–4 ขา่ วต่อปี 2.5 • เทปบนั ทึกการกระจายเสยี ง
• ไมม่ ีข่าวสารตีพิมพ์หรอื กระจายเสียงในวิทยุ 0 • บันทกึ การให้การสมั ภาษณ์

9. ดา้ นการรบั เรอ่ื งราวรอ้ งทกุ ขแ์ ละแกไ้ ขปญั หาสงั คมในระดบั จงั หวดั  ม ี 1 มาตรฐาน 3 ตวั ชว้ี ดั  คอื
มาตรฐาน 33  การรบั เรอ่ื งราวรอ้ งทุกขแ์ ละแกไ้ ขปญั หาสังคม
ตัวช้วี ดั  48  รอ้ ยละที่ได้รบั การช่วยเหลอื หรือส่งต่อจากการรับเรอื่ งราวร้องทุกข์
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 100

ร้อยละท่ไี ด้รับการช่วยเหลอื หรือสง่ ต่อ  คะแนน หลกั ฐานประกอบ
จากการรบั เร่อื งราวรอ้ งทุกข์
10 • รายงานการชว่ ยเหลอื
• รอ้ ยละ 100 7.5 • เอกสารการส่งตอ่
• รอ้ ยละ 90–99 5
• ร้อยละ 80–89  2.5
• รอ้ ยละ 70–79  0
• รอ้ ยละ 69 ลงมา

50 มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ที่ของสำ�นักงานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั

ตวั ชวี้ ดั  49  ระยะเวลาในการรายงานการช่วยเหลอื หรือส่งตอ่
เกณฑ ์ ภายใน 3 วนั

ระยะเวลาในการรายงานการชว่ ยเหลอื หรือส่งต่อ คะแนน หลักฐานประกอบ
• ภายใน 3 วนั หรอื นอ้ ยกว่า 10 • รายงานการช่วยเหลอื
• มากกวา่  3 วัน 5 • เอกสารการสง่ ตอ่
• ไม่รายงาน  0

ตวั ชีว้ ัด 50  ช่องทางในการเขา้ ถงึ การรอ้ งทกุ ข์
เกณฑ ์ อยา่ งนอ้ ย 3 ชอ่ งทาง

ชอ่ งทางในการเข้าถงึ การร้องทุกข์ คะแนน หลกั ฐานประกอบ
• 3 ช่องทาง หรือมากกวา่ 10 • ส�ำ เนา หรอื ภาพถ่าย
• 2 ชอ่ งทาง 7.5
• 1 ช่องทาง 5
• ไม่มี 0

10. ด้านการปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้
รับมอบหมาย ม ี 1 มาตรฐาน 1 ตัวช้วี ดั  คือ
มาตรฐาน 34  การปฏิบัติงานตามภารกิจทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากจงั หวดั
ตัวชวี้ ดั  51  รอ้ ยละของภารกิจหรอื งานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย
เกณฑ ์ รอ้ ยละ 95

ร้อยละของงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายท่ีมีการนำ�ไปปฏบิ ตั ิ คะแนน หลักฐานประกอบ
• รอ้ ยละ 95 ข้ึนไป 10 • หนังสือตอบรบั  หรือบนั ทึก 
• ร้อยละ 85–94 7.5
• รอ้ ยละ 75–84 5 การปฏิบัตงิ าน
• ร้อยละ 65–74  2.5
• รอ้ ยละ 64 ลงมา 0

วิธกี ารค�ำ นวณ

จ�ำ นวนงานทีไ่ ดป้ ฏิบตั ิตามทไี่ ดร้ ับมอบหมาย X 100
จำ�นวนงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายท้งั หมด

มาตรฐานการปฎิบัตหิ นา้ ที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด 51

ตัวอยา่ งการคดิ คะแนนมติ ิผลผลิตและผลลัพธ์

1. กรณ ี การคดิ คะแนนประเมนิ มาตรฐานในแตล่ ะดา้ นของมติ ผิ ลผลติ ผลลพั ธ ์ ใหน้ �ำ คะแนนจากตวั ชว้ี ดั  
ในแต่ละมาตรฐานของแต่ละด้านมาบวกกัน แล้วหารด้วยจำ�นวนตัวชี้วัด ตัวอย่างเช่น การคิดคะแนนประเมิน 
ด้านการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธฯ์  ซึ่งเปน็ การปฏบิ ตั ิหน้าทห่ี ลกั ประการท่ี 8 ทีม่ ี 5 มาตรฐาน 7 ตวั ช้วี ัด ดงั น้ี

มาตรฐาน จ�ำ นวนและตวั ชี้วัด คะแนน

28. แผนการประชาสัมพันธ์ ตัวชีว้ ัดที ่ 41 10

29. การด�ำ เนินการดา้ นเวบ็ ไซต์ ตัวชว้ี ดั ที่ 42 7.5
ตัวชวี้ ดั ที่ 43 10
30. มกี ารดำ�เนินงานด้าน Social Media ตวั ชว้ี ดั ท่ี 44 10
31. การรณรงคร์ ่วมกับภาคประชาสงั คมและภาครัฐ ตวั ชี้วดั ที ่ 45 5
ตัวชี้วดั ที่ 46 2.5
32. การประชาสัมพันธผ์ ่านสือ่ มวลชน ตัวช้ีวดั ท ี่ 47 7.5
รวม (5 มาตรฐาน) (รวม 7 ตัวช้วี ัด) 52.5
7.5 คะแนน
คะแนนเฉลีย่ มาตรฐานด้านการเผยแพร่ = 52.5/7 =

เมื่อเทียบกับค่าระดับคะแนน หมายถึง ด้านที่ 8 ด้านการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ฯ 
มีคะแนน 7.5 อยใู่ นระดบั  ผ่านเกณฑ์ในระดับคอ่ นข้างดี

2. กรณ ี การคดิ คะแนนรวมมติ ผิ ลผลติ และผลลพั ธท์ ง้ั หมด 10 ดา้ นใหน้ �ำ คะแนนรวมทง้ั หมดมาบวกกนั  
แล้วหารดว้ ยจ�ำ นวนตวั ช้วี ัด (51 ตวั ชีว้ ัด) 

ผลรวมคะแนนมิติผลผลิตและผลลพั ธท์ ้งั หมด
จำ�นวนตัวชว้ี ัด (51 ตัวชวี้ ดั )

ตวั อย่าง            45510  = 8.82  

เม่ือเทียบกับค่าระดับคะแนน หมายถึง มิติท่ี 4 ผลผลิตและผลลัพธ์ มีคะแนน 8.82 อยู่ในระดับ 
ผ่านเกณฑใ์ นระดบั ดี

52 มาตรฐานการปฎบิ ัติหนา้ ทขี่ องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จังหวดั

บทสรุป

แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ใน 3 มิติ คือ มิติระบบและกระบวนการ มิติวัฒนธรรม และมิติผลผลิตและผลลัพธ์ 
ท่ีได้นำ�เสนอมาแล้วในตอนต้นนั้น เม่ือได้คะแนนประเมินผลในแต่ละมิติทั้ง 3 มิติ แล้วให้นำ�ไปเปรียบเทียบกับ
ระดบั คะแนนทกี่ �ำ หนดไวใ้ นรายละเอยี ด เพอื่ สรปุ ผลภาพรวมการปฏบิ ตั งิ านตามมาตรฐานและรายงานผล พรอ้ มทงั้  
มีข้อเสนอแนะการดำ�เนินการต่อไป หากมีระดับคะแนนท่ีควรปรับปรุงสำ�หรับการพัฒนาองค์การสำ�นักงาน 
พัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์จงั หวัดสู่องคก์ ารคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพสงู  ตอ่ ไป

มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าทขี่ องสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวัด 53

วิสัยทัศน์
“เป็นหนว่ ยงานหลักในการขบั เคลือ่ นและบรู ณาการนโยบายและยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาสังคม

ส่กู ารปฏบิ ตั ิอยา่ งมผี ลสมั ฤทธ์”ิ
ค่านยิ มองคก์ าร

“อทุ ิศตน อาสางาน เอื้ออาทร อ�ำ นวยประโยชนส์ ขุ ”

บทท ี่ 5

คู่มอื การปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานการปฏิบัติหนา้ ที่

ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวัด

เพื่อเป็นการสร้างความเข้าใจมาตรฐาน ตัวชี้วัด และเกณฑ์ ในบทนี้จึงขอนำ�เสนอ หลักการและ
เหตุผล นิยามศัพท์ วัตถุประสงค์และเป้าหมายของมาตรฐานในแต่ละด้าน พร้อมท้ังแนวทางในการปฏิบัติตาม
มาตรฐาน ตัวชี้วัด และเกณฑ์ รวมถึงเอกสารหลักฐาน เพื่อประกอบในการดำ�เนินการตามมาตรฐาน และตัวช้ีวัด
เหล่าน้ัน ดังน้ี

มิติท่ี 1 มติ ปิ จั จยั น�ำ เข้า 55

มิติปัจจัยนำ�เข้า ซ่ึงมี 4 ด้าน ได้แก่ ด้านโครงสร้างองค์การ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และงบประมาณ 
เป็นมาตรฐานท่ีมีเงื่อนไขที่หน่วยงานส่วนกลางของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ 
ต้องดำ�เนินการสนับสนุน เพ่ือให้สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดมีทรัพยากรท่ีมีคุณภาพ 
มีความเพียงพอ และเหมาะสม กับการปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุผลสำ�เร็จตามเป้าหมาย 
ของกระทรวง 

1. ดา้ นโครงสรา้ งองคก์ าร

หลักการและเหตผุ ล
องค์การท่ีมีการจัดและกำ�หนดโครงสร้างองค์การท่ีเหมาะสม จะเอ้ืออำ�นวยต่อการประสานงาน 
การสร้างความสัมพันธ์ และการแบ่งงานกันทำ�อย่างมีประสิทธิภาพ อีกท้ังช่วยลดปัญหาความซ้ําซ้อนของงาน และ
ทำ�ใหก้ ารบริหารงานมคี วามราบรื่นและมีประสิทธภิ าพ 
นิยามศพั ท์
โครงสร้างองค์การ หมายถึง การนำ�งานมาจัดกลุ่มอย่างเป็นทางการภายในองค์การซึ่งมอบหมาย 
ให้ปัจเจกบุคคล ฝ่ายและกลุ่มเป็นผู้ดำ�เนินการ และมีความสัมพันธ์ท่ีเป็นทางการประกอบด้วยอำ�นาจหน้าที่ 
ความรับผิดชอบ การตัดสินใจ ระดับชั้นการบังคับบัญชาและขอบเขตการควบคุมหรือจำ�นวนของสมาชิกที่อยู่ 
ภายใตก้ ารบังคบั บญั ชาของหวั หน้ากล่มุ /ฝา่ ย
วัตถปุ ระสงค์
เพ่ือกำ�หนดจำ�นวนสมาชิก อำ�นาจหน้าที่ สายบังคับบัญชา ความรับผิดชอบ ของแต่ละกลุ่ม/ฝ่าย 
ใหเ้ หมาะสม
เป้าหมาย
1. มีการแบง่ กลุ่ม/ฝา่ ยอยา่ งเหมาะสม จำ�นวน 1 ฝา่ ย 2 กลุ่ม
2. มจี ำ�นวนสมาชกิ แต่ละกล่มุ /ฝา่ ย 4–11 คน

มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัด

2. ดา้ นบุคลากร

หลักการและเหตุผล
บุคลากรเป็นองคป์ ระกอบท่สี ำ�คัญขององคก์ าร การดำ�เนินงานเพอ่ื ใหอ้ งค์การบรรลปุ ระสทิ ธิผลนน้ั  
จำ�เป็นท่จี ะต้องมีปริมาณบุคลากรท่เี พียงพอและมีคุณภาพสูงในการปฏิบัติงาน โดยบุคลากรต้งั แต่หัวหน้าสำ�นักงาน 
หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย และผู้ปฏิบัติจะต้องมี สมรรถนะ ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการปฏิบัติงานท่ีตนเอง 
รับผิดชอบอย่างชำ�นาญและเชี่ยวชาญ และมีคุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานพร้อมๆ กันไปด้วย รวมทั้ง
บุคลากรบางส่วนควรมีความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษและภาษาของกลุ่มประเทศอาเซียน เพราะงานของ สนง.พมจ.
ในปัจจบุ ันและอนาคตจะมีความเกย่ี วข้องเชอ่ื มโยงกับนานานาชาติมากขน้ึ  
นยิ ามศัพท์
บุคลากรหมายถึง ผู้ปฏิบัติหน้าที่ใน สนง.พมจ. ซ่ึงประกอบด้วย ข้าราชการ พนักงานราชการ 
และลกู จา้ งประจำ�
วตั ถุประสงค์
1. เพื่อให้ สนง.พมจ. มีบุคลากรทั้งในเชิงปรมิ าณและคุณภาพทเ่ี หมาะสมกบั งาน
2.  เ พื่ อ ใ ห้ บุ ค ล า ก ร ข อ ง   ส น ง . พ ม จ . มี ส ม ร ร ถ น ะ สู ง   มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใจ   แ ล ะ ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร 

ปฏิบตั ิงานอยา่ งชำ�นาญและเชีย่ วชาญ
3. เพอ่ื ใหบ้ คุ ลากรของ สนง.พมจ.มที กั ษะในการใชภ้ าษาองั กฤษและภาษาของกลมุ่ ประเทศอาเชยี น
เป้าหมาย
1. พมจ.และหวั หนา้ กลมุ่ ผา่ นการอบรมหลกั สตู รการบรหิ ารทส่ี อดคลอ้ งกบั การด�ำ รงต�ำ แหนง่ ทกุ คน
2. บุคลากรร้อยละ 80 ไดร้ ับการพัฒนาใหเ้ พิม่ ความรู้และทกั ษะในการท�ำ งานอย่างตอ่ เน่อื งทุกปี
3. มนี กั สงั คมสงเคราะห์รบั อนญุ าตตาม พ.ร.บ.วิชาชพี สงั คมสงเคราะห์ พ.ศ. 2556
4. บุคลากรร้อยละ 50 ได้รบั การฝกึ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
5. บุคลากรร้อยละ 90 ปฏิบัตงิ านตรงตามกรอบอัตราก�ำ ลัง
6. บุคลากรทกุ คนมสี มรรถนะตามท ี่ กพ. กำ�หนด

56 มาตรฐานการปฎิบัตหิ นา้ ที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

3. ด้านวัสดุอุปกรณ์

หลกั การและเหตุผล
วัสดุอุปกรณ์เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานสำ�หรับการปฏิบัติงาน หากมีวัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีท่ี
เพยี งพอและเหมาะสมก็จะทำ�ให้องค์การสามารถท�ำ งานไดอ้ ยา่ งราบรืน่ ยิ่งขึ้น
นิยามศพั ท์
วัสดุอุปกรณ์ หมายถึง วัตถุพื้นฐานท่ีจำ�เป็นต่อการปฏิบัติงานของ สนง.พมจ. ซึ่งประกอบด้วย 
เครอื่ งคอมพิวเตอร ์ เครือ่ งมอื สอ่ื สาร เครื่องมอื ในการผลติ เอกสารและสื่อประชาสมั พนั ธ์ เครื่องมอื การนำ�เสนองาน 
เคร่อื งมอื การประชาสัมพนั ธ ์ และเครอ่ื งมอื ในการเดินทางไปปฏบิ ตั ริ าชการ
วัตถุประสงค์
เพอ่ื ให ้ สนง.พมจ. มเี ครอ่ื งมอื และเทคโนโลยใี นการปฏบิ ตั งิ านทเ่ี พยี งพอ มคี ณุ ภาพด ี และเหมาะสม 
ตอ่ การปฏิบัติหน้าท่ีตามภารกจิ
เป้าหมาย
การมีอปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื ในการปฏบิ ัติราชการอย่างครบถ้วนตามเกณฑ์

4. ด้านงบประมาณ

หลกั การและเหตผุ ล
ง บ ป ร ะ ม า ณ เ ป็ น ปั จ จั ย พื้ น ฐ า น ที่ เ อ้ื อ อำ � น ว ย ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น   เ ป็ น ส่ิ ง ที่ ทุ ก อ ง ค์ ก า ร พึ ง มี  
ให้เหมาะสมกับความรับผิดชอบท่ีได้รับ เม่ือได้รับการจัดสรรงบประมาณแล้ว องค์การจะต้องใช้จ่ายงบประมาณ 
ใหค้ ้มุ ค่าอย่างมีประสทิ ธิภาพ
นยิ ามศัพท์
งบประมาณ หมายถึง จำ�นวนเงินที่ สนง.พมจ.ได้รับการจัดสรรจากสำ�นักงานปลัดกระทรวง 
และกรมตา่ งๆ ของกระทรวง และมีการเบกิ จา่ ยครบตามเกณฑท์ ่กี �ำ หนด
วัตถุประสงค์
เพ่ือให ้ สนง.พมจ.ได้รบั การจัดสรรงบประมาณทเี่ หมาะสมและทันเวลาในการเบกิ จา่ ย
เป้าหมาย
มีการเบิกจ่ายครบตามเกณฑท์ ี่สำ�นกั งบประมาณก�ำ หนด

มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั 57

58 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มติ ิที่ 1. มาตรฐานและตวั ช้ีวดั มิติปจั จัยนำ�เขา้  4 ด้าน 6 มาตรฐาน 37 ตัวช้วี ัด

1. ด้านโครงสรา้ งองคก์ าร

มาตรฐาน ตวั ช้วี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ
มคี รบทัง้  1 ฝ่าย 2 กลมุ่ จดั ท�ำ ผังโครงสรา้ งองค์การ ปรับปรงุ ใหท้ ันสมัย และด�ำ เนินการ • ผังโครงสร้าง  
1. การแบ่งฝ่าย 1. จำ�นวน 1 ฝา่ ย 2 กลมุ่  ประกอบด้วย สนง.พมจ.
ครอบคลุม -- ฝ่ายบรหิ ารทว่ั ไป  เผยแพร่
บทบาทหน้าท่ี -- กลุม่ นโยบายและวิชาการ
-- กลมุ่ การพฒั นาสังคมและสวสั ดิการ
 

2. โครงสร้าง  2. สนง.พมจ. มพี นื้ ทปี่ ฏบิ ัตงิ านทเ่ี ปน็ สดั ส่วน  ไมน่ ้อยกวา่    1. ตรวจสอบและคำ�นวณพื้นท่ีการใชส้ อย • ภาพถ่าย
เชิงกายภาพ และเหมาะสม โดยมอี าคารสำ�นักงานทีแ่ ยกเปน็ 2.3 ตารางเมตรต่อคน  2. พยายามหาพ้นื ที่ให้เพียงพอตามมาตรฐาน • ผงั สำ�นักงาน
เอกเทศ หรือมสี ถานปฏบิ ัติงานท่อี ย่ใู นศาลากลาง   3. จัดหาห้องประชุมที่เป็นสัดส่วน  
  เพยี งพอตอ่ ภารกจิ 4. จดั หาและดำ�เนนิ การใหม้ ีหอ้ งสำ�หรบั สอบขอ้ เท็จจริง   
  1 หอ้ ง และให้คำ�ปรึกษาแก่ผู้บรกิ าร  
  3. มีหอ้ งประชมุ เป็นสัดสว่ น 1 ห้อง  5. จัดหาและดำ�เนินการให้มหี ้องเก็บพัสดุ  
  4. มหี อ้ งส�ำ หรบั สอบขอ้ เท็จจริงและให้ค�ำ ปรกึ ษา  6. จัดหาและด�ำ เนินการให้มีพ้นื ทสี่ ำ�หรับผูใ้ ชบ้ ริการอยา่ งเพยี งพอ

แกผ่ ู้ใช้บริการ 1 หอ้ ง 7. จัดหาและดำ�เนนิ การให้มีมมุ อเนกประสงค์ส�ำ หรับบริการ
5. มหี ้องเกบ็ พสั ดุเป็นสดั ส่วน อย่างนอ้ ย 9 ตารางเมตร ประชาชนและบุคลากร
6. มพี น้ื ท่ีสำ�หรบั ผู้ใช้บริการอย่างเพยี งพอ อย่างนอ้ ย 4 ตารางเมตร
7. มมี มุ อเนกประสงค์สำ�หรบั บริการประชาชน 

และบคุ ลากร

2. ดา้ นบุคลากร

มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ
4-11 คนตอ่ กลุ่ม/ฝา่ ย
3. ปรมิ าณบคุ ลากร  8. จ�ำ นวนข้าราชการ พนักงานราชการ และ/หรือ 1. ตรวจสอบจำ�นวนบคุ ลากรที่มีอยู่จรงิ  และตามกรอบ  • กรอบอตั ราก�ำ ลัง  
เพียงพอ  ลูกจา้ งประจ�ำ  ต่อกล่มุ /ฝ่าย โดยเปรยี บเทยี บกบั กรอบอัตราก�ำ ลงั   กับจำ�นวนบคุ ลากร
ต่อการปฏบิ ัติ ทม่ี อี ย่จู รงิ
ตามบทบาท 2. กรณีท่อี ัตรากำ�ลงั ไม่เพียงพอใหน้ �ำ เสนอผู้บริหารกระทรวง • สำ�เนาหนงั สือแจ้ง 
หนา้ ที่ พิจารณาใหก้ ารสนบั สนุน (ควรด�ำ เนินการรายงานข้อเทจ็ จรงิ ผูบ้ รหิ ารกระทรวง
เก่ียวกบั อตั รากำ�ลงั ของ สนง.พมจ.ตอ่ ผู้บรหิ ารกระทรวงทกุ ปี 
ไตรมาสทสี่ ามของปงี บประมาณ)

4. คณุ ภาพของ 9. พมจ.ผา่ นการอบรมการบริหารระดบั สูง ผ่าน 1. เจ้าหนา้ ท่ีแจ้งความประสงคข์ อเขา้ อบรมเพ่อื พัฒนาความร ู้ • เอกสารสรุปขอ้ มูล
บุคลากร  10. รอ้ ยละของหัวหนา้ กล่มุ /ฝ่ายไดร้ บั การอบรม  รอ้ ยละ 100  ทีเ่ ก่ียวข้องกับงาน บุคลากรทกุ ระดับ 
มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด เหมาะสมตอ่ การ ผูบ้ รหิ ารระดบั กลาง ทผ่ี า่ นการอบรม
ปฏบิ ัติหนา้ ท่ี 11. จำ�นวนนักสังคมสงเคราะห์รับอนญุ าต   อย่างนอ้ ย 1 คน  2. หนว่ ยงานหาข้อมูลเกี่ยวกับหลักสตู รการอบรมตา่ งๆ และสง่   ตามเกณฑ์
ตาม พ.ร.บ.วชิ าชพี สงั คมสงเคราะห์ พ.ศ.2556 ต่อสำ�นักงาน เจ้าหน้าท่ไี ปอบรมเกี่ยวกบั หลกั สตู ร • หนงั สอื ขออนญุ าต
12. ร้อยละของบคุ ลากรท่เี ข้าอบรมพฒั นาความร ู้ ร้อยละ 80  เข้ารับการอบรม 
ที่เกีย่ วขอ้ งกบั งานในแตล่ ะปี 3. สนง.พมจ. จัดหลักสูตรการอบรมแกบ่ ุคลากร หรอื  วฒุ ิบตั ร
13. รอ้ ยละของบุคลากรทไ่ี ด้รับการฝกึ ทกั ษะ  รอ้ ยละ 50  4. สง่ บคุ ลากรไปเข้ารบั การอบรมกับหน่วยงานอนื่ • บนั ทกึ การฝึกฝน
การใชภ้ าษาองั กฤษ และ/หรือ ภาษาของประเทศ   5. บุคลากรฝกึ ฝนทักษะการใช้ภาษาองั กฤษดว้ ยตนเอง  ด้วยตนเอง
สมาชิกประชาคมอาเซยี น • บันทกึ การจดั
14. ร้อยละของบุคลากรทส่ี ามารถใช้ภาษาอังกฤษ  รอ้ ยละ 20  อย่างตอ่ เน่ือง เชน่  ฝกึ การพดู  การอา่ น การเขยี น การฟัง กิจกรรมและ
ในการสอ่ื สาร 6. จัดชว่ั โมงการพดู และน�ำ เสนอเป็นภาษาอังกฤษในส�ำ นกั งาน  ภาพถา่ ย
15. รอ้ ยละของบุคลากรท้ังหมด ท่ีมีวุฒกิ ารศึกษา  ร้อยละ 80 • ประวัติการศึกษา
ไมต่ าํ่ กว่าระดับปรญิ ญาตรี   เชญิ ผู้มีทักษะการพูดภาษาอังกฤษมาพดู คุยกับเจ้าหนา้ ท ี่ ของบคุ ลากร
16. รอ้ ยละของบคุ ลากรปฏบิ ัตงิ านตรงตามกรอบอัตรา ร้อยละ 90 เพือ่ ให้เกิดทักษะในการใช้ภาษา • เอกสารแสดงขอ้ มลู  
7. ตรวจสอบจำ�นวนบคุ ลากรทปี่ ฏบิ ัต ิ บุคลากรท่ไี มต่ รง
ไม่ตรงตามกรอบอตั ราก�ำ ลัง กรอบ
8. รายงานน�ำ เสนอผู้บริหารเพอ่ื ปรบั ปรุงให้ตรงตามกรอบ

กำ�ลงั ทกี่ ำ�หนด

59

60 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตัวช้วี ัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ
17. รอ้ ยละของบคุ ลากรท่มี สี มรรถนะตามที่ กพ.  ร้อยละ 100 9. บคุ ลากรประเมินสมรรถนะตนเอง

ก�ำ หนด 1 คน/ป ี /สนง.พมจ. -- การมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ิ
18. จ�ำ นวนบคุ ลากรท่ไี ด้ไปอบรม/ศึกษาดูงาน/  -- บรกิ ารที่ดี
-- การส่งั สมความเชยี่ วชาญในงานอาชีพ
ประชุมวิชาการ ในต่างประเทศ -- การยดึ ม่ันในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม 
-- การท�ำ งานเปน็ ทีม
10. หวั หนา้ กล่มุ ประเมินสมรรถนะบคุ ลากร
11. พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะไมต่ ่าํ กวา่ ท่ ี กพ. ก�ำ หนด
12. เสนอผ้บู รหิ ารกระทรวงพจิ ารณาจัดสรรทนุ ใหบ้ คุ ลากรใน 
สนง.พมจ.ไป อบรม/ศกึ ษาดูงาน/ประชุมวชิ าการ  
ในต่างประเทศ

3. ด้านวัสดุอปุ กรณ์

มาตรฐาน ตัวช้วี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ
• บญั ชคี รภุ ัณฑ์
5. ความเพยี งพอ  19. จ�ำ นวนคอมพวิ เตอร์แบบต้ังโตะ๊ 16 – 24 เครื่อง   1. จดั ทำ�บญั ชคี รภุ ณั ฑ์ • ส�ำ เนาค�ำ ขอ 
ของวสั ดุอปุ กรณ ์ ตอ่ ส�ำ นักงาน 2. กรณไี ม่เพยี งพอ จดั ทำ�ค�ำ ของบประมาณในการจดั ซื้อ งบประมาณ 
ทจี่ ำ�เป็นต่อการ 20. จ�ำ นวนคอมพวิ เตอรก์ ระเป๋าห้วิ  (Note book) 4 เครอ่ื งตอ่ ส�ำ นกั งาน 3. กรณมี ีรถยนต์ตอ้ งจดั ทำ�ประกนั ภยั ทุกคันในแต่ละปี ประจ�ำ ปี
ทำ�งาน 21. จ�ำ นวนเครื่องพิมพ์ (Printer) 5 เครอ่ื งตอ่ สำ�นักงาน • เอกสารประกนั
22. จ�ำ นวนเครือ่ งถ่ายเอกสาร 1 เครอ่ื งต่อสำ�นักงาน รถยนต์
23. จ�ำ นวนเครือ่ งฉาย LCD 2 เครื่องต่อสำ�นักงาน
24. จำ�นวนโทรศัพท์สายตรง 4-6 คู่สายต่อสำ�นักงาน
25. จำ�นวนโทรศัพทม์ ือถอื 4 เครอ่ื งตอ่ ส�ำ นักงาน
26. จ�ำ นวนเครอ่ื งโทรสาร 2 เครื่องต่อส�ำ นกั งาน
มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 27. จำ�นวนเครอ่ื งโรเนียวดิจติ อล 1 เครอ่ื งตอ่ ส�ำ นักงาน
28. จำ�นวนกลอ้ งดจิ ติ อล 4 เครื่องต่อสำ�นกั งาน
29. จ�ำ นวนเครอ่ื งฉายวสั ดทุ บึ แสง (Visualize) 1 เครื่องตอ่ สำ�นักงาน
30. จำ�นวนเครอื่ งขยายเสียงเคลือ่ นที่ 1 ชุดตอ่ สำ�นักงาน
31. จำ�นวนโทรทัศน์ 2 เครอื่ งต่อสำ�นักงาน
32. จ�ำ นวนชดุ ประชาสมั พนั ธ์เคล่ือนท่ี 1 ชุดตอ่ สำ�นักงาน
33. ระบบประชมุ ทางไกลออนไลน ์ (web conference) 1 จดุ ใช้งานต่อสำ�นกั งาน
34. จ�ำ นวนยานพาหนะ รถยนต์ท่ีสามารถใชง้ านได้  4-6 คนั ต่อส�ำ นักงาน
ตามเกณฑม์ าตรฐานของส�ำ นกั งบประมาณ
35. จำ�นวนยานพาหนะที่ไดท้ ำ�ประกันภัย   ร้อยละ 100
ตามมต ิ ครม. พ.ศ.2548
36. จำ�นวนรถจักรยานยนต์ท่ีสามารถใชง้ านได ้ 1 คันตอ่ ส�ำ นักงาน
ตามเกณฑ์มาตรฐานของสำ�นักงบประมาณ

61

62 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 4. ดา้ นงบประมาณ

มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

6. ความทนั เวลาใน 37. ร้อยละการเบกิ จา่ ยตามที่ส�ำ นกั งบประมาณก�ำ หนด ครบตามเกณฑ ์ 1. ตรวจสอบและรายงานผลการเบกิ จ่ายรายเดอื นตอ่ ไตรมาส • ส�ำ เนารายงาน 
การเบกิ จ่าย  ที่สำ�นกั งบประมาณ 2. ใชแ้ ผนเปน็ เครอ่ื งมอื ในการเรง่ รดั การปฏบิ ตั งิ านและการเบกิ จา่ ย การเบิกจ่าย
งบประมาณ ก�ำ หนด
• แผนการเบกิ จ่าย
งบประมาณ

มติ ทิ ี่ 2 มติ ิระบบและกระบวนการ

แนวทางการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน มิติระบบและกระบวนการ มี 4 ด้านประกอบด้วย ระบบ 
และกระบวนการสื่อสารขององค์การ ระบบและกระบวนการกำ�กับติดตามงาน ระบบและกระบวนการประเมินผล 
และระบบและกระบวนการควบคมุ ภายใน มีรายละเอียดดังน้ี

1. ดา้ นระบบและกระบวนการสือ่ สารขององค์การ

หลักการและเหตุผล
หากองค์การมีการส่ือสารภายในองค์การอย่างมีประสิทธิผล จะทำ�ให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าใจ
นโยบาย เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์ กฎหมาย ระเบียบ และวิธีการปฏิบัติงานได้ดีย่ิงขึ้น ทำ�ให้การปฏิบัติงานมี
ประสทิ ธิภาพและบรรลเุ ป้าประสงคข์ ององคก์ าร
นยิ ามศพั ท์
การส่ือสาร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดและแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างบุคคลกับบุคคล 
หรอื  บคุ คลกบั กล่มุ คน โดยมุ่งหวงั เพ่อื สร้างความเขา้ ใจ โน้มนา้ วจูงใจ และเปล่ียนแปลงพฤติกรรม
วัตถุประสงค์
1. เพ่ือสรา้ งความชดั เจนในการส่อื สารภายใน สนง.พมจ. 
2. เพอ่ื ใหเ้ กดิ การไหลเวียนของข้อมูลขา่ วสารทีร่ วดเร็วใน สนง.พมจ.
3. เพ่อื เพ่มิ ความเขา้ ใจต่อขา่ วสารตา่ งๆ แกเ่ จ้าหนา้ ท่ี สนง.พมจ.ใหก้ ระจ่างชัดยง่ิ ข้นึ
เป้าหมาย
1. มีรปู แบบของการสือ่ สารภายใน สนง.พมจ. อยา่ งน้อย 5 รูปแบบ
2. หนังสือจากภายนอก สนง.พมจ. ที่เข้ามายัง สนง.พมจ. จะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 

รับทราบภายใน 1 วัน
3. มีการจดั ประชุมประจำ�เดอื นและเขยี นรายงานการประชมุ เดือนละ 1 ครงั้  

2. ดา้ นระบบและกระบวนการก�ำ กับติดตามงาน

หลกั การและเหตผุ ล
การกำ�กับติดตามงาน เป็นการประเมินผลการดำ�เนินงานในลักษณะหน่ึง โดยเป็นการติดตามผล 
การดำ�เนินงานว่าได้ดำ�เนินการไปตามแผนท่ีมีการวางหรือไม่ เพื่อใช้เป็นสารสนเทศในการตัดสินใจ แก้ไข 
และปรับปรุงการดำ�เนนิ งาน

มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทขี่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัด 63

วัตถุประสงค์
1. เพื่อสรา้ งระบบการควบคมุ ติดตามงาน
2. เพ่อื สรา้ งแบบฟอร์มรายงานการปฏบิ ตั งิ าน
เป้าหมาย
1. มแี ผนผงั แสดงระบบการควบคมุ ตดิ ตามงานทม่ี ลี กั ษณะเปน็ โครงการในภาพรวมและทกุ กลมุ่ งาน
2. มแี บบฟอรม์ รายงานการปฏิบัติงานโครงการ

3. ด้านระบบและกระบวนการประเมนิ ผล

หลกั การและเหตุผล
การประเมินผลการปฏิบัติงานประจำ�ปีขององค์การเป็นส่ิงที่มีความสำ�คัญเป็นอย่างย่ิง ในอดีต 
การประเมินผลการปฏิบัติเป็นเร่ืองท่ีมีความลึกลับ ไม่มีการเผยแพร่เกณฑ์ต่างๆ ท่ีใช้ในการประเมิน ทำ�ให้ 
ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ต ก อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ ก า ร เ ล่ น พ ร ร ค เ ล่ น พ ว ก   ผู้ ท่ี มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ไ ม่ ไ ด้ รั บ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล 
การปฏิบัติงานที่ดี ผู้ที่ไม่ทำ�งานแต่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้มีอำ�นาจหน้าที่กลับได้รับตำ�แหน่งและความดี 
ความชอบกันถ้วนหน้า ทำ�ให้เจ้าหน้าท่ีผู้มีความสามารถ อุทิศ ทุ่มเทกับการทำ�งาน เกิดความท้อถอยหมดกำ�ลังใจ 
ในการปฏิบัติงานไปเป็นจำ�นวนมาก การบริหารงานแนวใหม่นั้นมุ่งท่ีผลลัพธ์ขององค์การหรือมุ่งการบรรลุ
เป้าประสงค์ขององค์การเป็นหลัก ดังนั้นจึงจำ�เป็นต้องมีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างโปร่งใส และอย่างเป็น
ภาวะวิสัย พิจารณาจากผลงานที่แท้จริง ไม่ใช่จากความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบของผู้บังคับบัญชา ดังนั้นจึงต้องมีการ
ก�ำ หนดมาตรฐานและตัวชี้วัดในการประเมนิ ผลงานขน้ึ มา
วตั ถุประสงค์ 
1. เพอ่ื สร้างความโปร่งใสในการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านประจำ�ปี
2. เพอ่ื ใหเ้ จา้ หนา้ ทีไ่ ดเ้ ขยี นรายงานผลการปฏบิ ัติงานประจ�ำ เดือน
เป้าหมาย 
1. เจา้ หนา้ ที่รอ้ ยละ 100 ขึน้ ไปรบั รเู้ กณฑ์การประเมนิ ความดคี วามชอบประจ�ำ ปี
2. เจ้าหน้าท่ีรอ้ งเรียนเกี่ยวกบั การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงานประจำ�ปไี ม่เกินร้อยละ 10
3. เจ้าหนา้ ทที่ ุกคนเขยี นรายงานผลการปฏิบตั ิงานประจำ�เดอื น

64 มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าท่ขี องสำ�นกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จงั หวัด

4. ดา้ นระบบและกระบวนการควบคมุ ภายใน

หลกั การและเหตผุ ล
กระบวนการปฏิบัติงานท่ีผู้กำ�กับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากร เพ่ือสร้างความมั่นใจอย่าง
สมเหตุสมผล ว่าการดำ�เนินงานขององค์การจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผลและ
ประสทิ ธภิ าพของการด�ำ เนนิ งาน ซง่ึ รวมถงึ การดแู ลรกั ษาทรพั ยส์ นิ  การปอ้ งกนั หรอื ลดความผดิ พลาด ความเสยี หาย 
ความรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตในหน่วยรับตรวจ ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานการเงินและด้านการ
ปฏบิ ัติตามกฎหมาย ระเบยี บ และมติคณะรัฐมนตรี
วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื สรา้ งระบบและกระบวนการควบคุมภายในให้ครอบคลุมทกุ กลมุ่ /ฝ่าย
เปา้ หมาย
1. จัดท�ำ แผนการจัดวางระบบการควบคมุ ภายในให้ครอบคลุมทกุ กลมุ่ /ฝา่ ย
2. มีการประชุมชแ้ี จงบุคลากรและก�ำ กับให้มกี ารด�ำ เนนิ งานตามแผนควบคุมภายใน
3. มีรายงานผลการดำ�เนินงานตามแผนควบคุมภายใน 1 ฉบบั ต่อปี

มาตรฐานการปฎิบตั หิ น้าทข่ี องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวดั 65

66 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มิต ิ 2. มาตรฐานและตวั ชว้ี ัดมติ ริ ะบบและกระบวนการ 4 ดา้ น 8 มาตรฐาน 12 ตัวชว้ี ดั

1. ดา้ นระบบและกระบวนการสื่อสารขององคก์ าร

มาตรฐาน ตัวชวี้ ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ
อย่างน้อย  
1. การกำ�หนดรปู แบบ  1. จำ�นวนรูปแบบการส่อื สาร 5 รปู แบบ การสอื่ สาร หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดและแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ระหว่าง บันทกึ การประชมุ
การสื่อสาร  ภายในสำ�นักงาน บคุ คลกับบคุ คล หรอื  บุคคลกบั กลุ่มคน โดยมุ่งหวงั เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจ โนม้ น้าว --ภาพถา่ ยแสดงรูปแบบ
ในสำ�นกั งาน --ผังการส่อื สารในองคก์ าร
จงู ใจ และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (แผนผงั แสดงข้นั ตอน 
แนวทาง การสอ่ื สารภายในสำ�นักงาน
ในภาพรวม 1 แผนผัง  
1. จัดประชมุ หวั หนา้ กลมุ่ /ฝ่ายเพื่อก�ำ หนดรปู แบบการสือ่ สารภายในองคก์ าร   และในแต่ละกลมุ่ /ฝ่าย 
ทงั้ แบบทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ เช่น การจัดตง้ั กลุ่ม Line การจัดบอร์ด  ฝ่ายละ 1 แผนผงั )
ประชาสัมพนั ธ์ การจัดท�ำ แผนผงั แสดงการส่ือสารตามลักษณะงาน  
การประชุมกลมุ่ ยอ่ ยตามภารกิจ การแจ้งเวยี น ฯลฯ 
2. แจ้งบคุ ลากรใหร้ บั ทราบและเหน็ ชอบรว่ มกัน
3. ดำ�เนินการสอื่ สารภายในองคก์ ารอยา่ งต่อเนอื่ ง

2. ความทนั เวลา  2. ระยะเวลาทม่ี ีการสง่ ต่อข่าวสาร ไมเ่ กนิ  1 วัน  กรณเี ปน็ หนงั สอื ราชการ • ทะเบียนคุมหนังสอื รับ-สง่  
ของการสือ่ สาร แกผ่ เู้ ก่ียวขอ้ ง ท�ำ การ หลงั จาก 1. เมื่อหนงั สือจากภายนอกเข้ามา ใหธ้ รุ การลงเลขรบั ทนั ที • สำ�เนาหนงั สือมอบหมาย 
รบั เรอื่ ง 2. เม่อื ลงเลขรับเสร็จแล้ว สง่ ต่อใหผ้ ้ทู ี่เกยี่ วข้องภายใน 1 วนั ทำ�การ และให้ผทู้ ี่

เก่ยี วข้องลงชือ่ และวันทร่ี บั แนวการปฏบิ ัตหิ นงั สอื เอาไวด้ ้วย
กรณเี ปน็ เร่ืองด่วน 

พมจ. ควรมอบหมายและก�ำ ชบั ผรู้ บั ผดิ ชอบ และถา่ ยทอดขา่ วสาร จะทำ�ให้
ผูร้ ับข่าวสารมคี วามเขา้ ใจมากขน้ึ  และเปน็ การสอ่ื สารแบบสองทางท่ีเปดิ โอกาส 
ให้ผ้รู บั ข่าวสารได้ซักถามเพิม่ เตมิ ได้

มาตรฐาน ตัวชว้ี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

3. ความถ่ีในการ 3. จ�ำ นวนครงั้ ของการประชุม 1 คร้ังต่อเดอื น 1. ก�ำ หนดวนั ประชมุ ประจ�ำ เดอื นใหช้ ดั เจน อาจกำ�หนดสปั ดาห์แรก หรอื สปั ดาห์ • รายงานการประชมุ
ถา่ ยทอดข่าวสาร ช้แี จงและแลกเปลย่ี นข่าวสาร อย่างนอ้ ย 4 คร้ัง สดุ ท้ายของเดอื น ตามความเหมาะสม และประกาศใหท้ กุ คนทราบ • บนั ทึกการประชมุ
ในส�ำ นักงาน ตอ่ เดือน 2. จัดท�ำ ระเบยี บวาระการประชมุ  และแจ้งให้เจา้ หนา้ ทที่ กุ คนทราบล่วงหนา้
อย่างน้อย 2 วนั ก่อนการประชุม
4. จ�ำ นวนครงั้ ของการประชุม 3. ในการประชุม ในวาระแจง้ เพื่อทราบ พมจ. ควรแจง้ ขา่ วสารทไี่ ดร้ บั ทราบ 
ช้แี จงและแลกเปลีย่ นขา่ วสาร จากภายนอก ให้ท่ปี ระชมุ ทราบอย่างครบถ้วน
ภายใน/ระหวา่ งกลุ่ม/ ฝา่ ย  4. สร้างบรรยากาศในการประชุม เพอื่ ให้เจา้ หน้าท่ที กุ คนกล้าแสดงความคิดเหน็
หรอื  ระหวา่ งกลมุ่ ฝา่ ย   อยา่ งกว้างขวาง
และ/หรือ กับ พมจ. 5. บนั ทกึ การประชุมทกุ ครงั้

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 6. จัดเกบ็ บนั ทกึ การประชุมใหเ้ ปน็ ระบบ

2. ดา้ นระบบและกระบวนการก�ำ กบั ตดิ ตามงาน

มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

4. การก�ำ กบั   5. มีแผนก�ำ กบั และติดตามงาน มีครบทุกกลุม่ /ฝา่ ย 1. ใช้แผนปฏบิ ัตงิ านประจำ�ปีเป็นเครอ่ื งมือในการกำ�กับติดตามงาน • แผนปฏบิ ัตงิ านประจ�ำ ปี
ตดิ ตามงานตามแผน  ภาพรวม และของแต่ละ  2. ก�ำ กบั ให้มีการรายงานการปฏบิ ตั งิ านโครงการตามระยะเวลาที่กำ�หนด  (ดเู พม่ิ เตมิ ภาคผนวก
ปฏบิ ตั งิ านประจ�ำ ปี กลุ่ม/ฝ่าย และรวบรวมสำ�เนารายงาน ตวั อย่างที่ 1 และตัวอยา่ ง
ท ี่ 3)

5. การมรี ายงาน  6. รอ้ ยละของโครงการท่ีมรี ายงาน ร้อยละ 100 1. ใชแ้ ผนปฏิบัติงานประจ�ำ ปเี ปน็ เครอื่ งมอื ในการก�ำ กับติดตามงาน • ส�ำ เนาการรายงาน
การปฏบิ ตั ิงานตาม ตามระยะเวลาที่ก�ำ หนด 2. กำ�กับใหม้ กี ารรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านโครงการตามระยะเวลาที่ก�ำ หนด  (ดเู พมิ่ เตมิ ภาคผนวก
โครงการ ตวั อยา่ งท่ ี 2)
และรวบรวมสำ�เนารายงาน

67

68 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 3. ด้านระบบและกระบวนการประเมนิ ผล

มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบัติ หลกั ฐานประกอบ
1. ประกาศเกณฑ์ในการประเมนิ ผลท้ังหมดให้เจา้ หน้าที่ทราบ • บันทกึ การประชุม
6. ความโปร่งใส  7. ร้อยละของ จนท. ท่ีได้รับรู้ รอ้ ยละ 100 2. สง่ หนงั สอื เวียนให้เจ้าหนา้ ทแี่ ต่ละคนรบั ทราบ • ส�ำ เนาหนังสอื แจ้งเวียน
ของระบบ  เกณฑ์ในการประเมนิ ผล 3. สรา้ งการมสี ่วนร่วมในการพิจารณาการประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน • ภาพถ่ายกล่อง 
การประเมนิ ผล 4. จัดท�ำ ช่องทางการร้องเรยี น เชน่  กลอ่ งรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น รบั เร่ืองร้องเรยี น
8. ร้อยละของบุคลากรทร่ี อ้ งเรียน ไม่เกนิ ร้อยละ 10 • การเขียนรายงาน 
เกีย่ วกบั การประเมินผล  1. จดั ท�ำ แบบฟอร์มการเขยี นรายงานชี้แจงแบบบันทกึ รายงานรายบคุ คล ตามแบบฟอรม์
การปฏิบัติงาน 2. พมจ. ช้ีแจงความสำ�คญั และวิธีการเขียนแบบบันทึกรายงานการปฏบิ ตั ิงาน (ดเู พิม่ เตมิ ภาคผนวก
ตัวอยา่ งท ่ี 5)
7. การเขียนรายงาน 9. รอ้ ยละของ จนท. ทเี่ ขยี น ร้อยละ 100 ประจ�ำ เดอื น ใหบ้ ุคลากรทราบ
ผลการปฏบิ ตั ิงาน รายงานผลงานในแบบฟอรม์ 3. หัวหนา้ กลุ่ม/ฝา่ ย ตรวจสอบรวบรวมรายงานการปฏบิ ตั งิ านและนำ�เสนอต่อ  หลกั ฐานประกอบ
ประจำ�เดือน  • แผนการจัดวางระบบ 
ของบคุ ลากร พมจ. การควบคุมภายใน
• บนั ทกึ การประชุม
4. ดา้ นระบบและกระบวนการควบคุมภายใน แนวทางปฏบิ ตั ิ • สำ�เนารายงานผล
1. จดั ท�ำ แผนการจัดวางระบบการควบคมุ ภายในให้ครอบคลมุ ทุกกลุม่ /ฝ่าย
มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั เกณฑ์ 2. ประชุมชี้แจงบคุ ลากรและกำ�กบั ใหม้ กี ารด�ำ เนินงานตามแผน
3. รวบรวมรายงานผลการด�ำ เนินงานตามแผน
8. การจดั วางระบบ 10. จำ�นวนแผนการจัดวาง 1 แผนตอ่ ปี
การควบคุมภายใน ระบบการควบคุมภายใน 
ครอบคลมุ ทุกกลุ่ม/ฝ่าย
11. จำ�นวนการประชมุ ชีแ้ จงและ 2 คร้ังต่อปี
กำ�กับให้มกี ารด�ำ เนินงานตาม
แผนควบคมุ ภายใน
12. จำ�นวนรายงาน  1 ฉบบั ต่อปี
ผลการดำ�เนินงาน 
ตามแผนควบคมุ ภายใน

มติ ทิ ่ ี 3 มติ วิ ัฒนธรรมองคก์ าร

แ น ว ท า ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม ม า ต ร ฐ า น มิ ติ วั ฒ น ธ ร ร ม อ ง ค์ ก า ร   ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย   ม า ต ร ฐ า น   2   ด้ า น   คื อ 
ดา้ นวฒั นธรรมองค์การ และด้านภาวะผนู้ �ำ  รวม 8 มาตรฐาน 11 ตัวชีว้ ัด ดงั น้ี

1. ด้านวฒั นธรรมองค์การ

หลกั การและเหตผุ ล
สนง.พมจ. มีแนวโน้มยึดวัฒนธรรมแบบเครือญาติ (Clan Culture) เป็นหลัก มีการเกื้อกูลกัน 
แบบครอบครวั  มลี กั ษณะแบบพน่ี อ้ ง รองลงมาคอื  วฒั นธรรมแบบล�ำ ดบั ชนั้  (Hierarchy Culture) ซงึ่ เปน็ วฒั นธรรม 
ทย่ี ดึ ถอื กฎระเบยี บและความเปน็ ทางการในการปฏบิ ตั งิ าน ล�ำ ดบั ทส่ี ามเนน้ วฒั นธรรมแบบพนั ธกจิ  (Mission Culture) 
ซึ่งเป็นวัฒนธรรมที่มุ่งเน้นความสำ�เร็จของงาน ส่วนลำ�ดับสุดท้ายคือ วัฒนธรรมนวัตกรรม (Innovation Culture) 
ซึ่งเป็นวัฒนธรรมท่ีมุ่งเน้นความคิดสร้างสรรค์ แต่จากการปฏิรูประบบราชการได้เน้นวัฒนธรรมแบบพันธกิจ 
วัฒนธรรมธรรมาภิบาล และวัฒนธรรมนวัตกรรมมากขึ้น ดังน้ัน สนง.พมจ. จึงควรมีแนวทางในการดำ�รงรักษา
วัฒนธรรมเดิมที่ดีอยู่แล้ว ขณะเดียวกันก็จำ�เป็นต้องพัฒนาและปลูกฝังวัฒนธรรมใหม่ให้สอดคล้องกับบริบทสังคม
และการบรหิ ารงานราชการยคุ ใหมเ่ พอ่ื สรา้ งความย่ังยืนและได้รับการยอมรับจากกลุม่ ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ทกุ ฝา่ ย
วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื สรา้ งบรรยากาศการทำ�งานทีม่ กี ารชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ภายใน สนง.พมจ. 
2. เพื่อสร้างความสมั พันธแ์ ละความสมดลุ ในชวี ิตและงานของเจา้ หนา้ ท่ีใน สนง.พมจ.
3. เพื่อสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ แสวงหาแนวทางใหม่ในการแก้ปัญหาและการปฏิบัติงานแบบ 

ม่งุ ผลสมั ฤทธภ์ิ ายใน สนง.พมจ.
4. เพื่อสร้างค่านยิ มตามหลกั ธรรมาภิบาล
เปา้ หมาย
1. มีการจัดกิจกรรมหรือโครงการท่ีส่งเสริมการทำ�งานเป็นทีมไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรมหรือ

โครงการตอ่ ปี
2. มกี จิ กรรมสร้างสมดุลในชวี ติ และงานอย่างน้อย 4 คร้งั ต่อปี 
3. มีการจัดกิจกรรมเสวนาในประเด็นใหมๆ่  เกยี่ วกบั งานตา่ งๆ ไมน่ อ้ ยกวา่  6 ครง้ั ต่อปี
4. มกี ารจัดการความรใู้ นองค์การอย่างน้อย 1 เร่อื ง ต่อกลมุ่ /ฝ่ายตอ่ ปี

มาตรฐานการปฎิบัตหิ น้าที่ของสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั 69

2. ด้านภาวะผูน้ ำ�

หลักการและเหตผุ ล
จ า ก ง า น วิ จั ย จำ � น ว น ม า ก พ บ ว่ า   ภ า ว ะ ผู้ นำ � ก า ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง เ ป็ น ปั จ จั ย สำ � คั ญ ท่ี มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ 
ความสำ�เร็จขององค์การ ดังน้ันในปัจจุบันภาวะผู้นำ�จึงเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจและพัฒนาให้กับผู้บริหาร
ทุกระดับ ภาวะผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงเป็นกระบวนการใช้อิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ โดยผู้นำ�จะมีวิสัยทัศน์ 
กว้างไกลและสามารถสร้างวิสัยทัศน์ร่วมของหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิผล มีความสามารถถ่ายทอดวิสัยทัศน์ 
แ ล ะ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ แ ก่ ผู้ ต า ม   ป ฏิ บั ติ ตั ว เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ท้ั ง ใ น ท า ง จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น   มี ก า ร ก ร ะ ตุ้ น 
สร้างแรงดลใจให้กับผู้ตามเพื่อทุ่มเทในการปฏิบัติงาน มีการพัฒนาสติปัญญาของผู้ตามให้รู้จักการแก้ปัญหา 
และแสวงหาวิธีการใหม่ๆ ในการปฏิบัติงานอย่างมีเหตุผล รวมท้ังคำ�นึงถึงความต้องการของผู้ตาม และช่วยแก้ไข
ปญั หาตา่ งๆ อย่างเอ้อื อาทร
วตั ถุประสงค์
1. เพ่อื พัฒนาภาวะผ้นู �ำ การเปลี่ยนแปลงใหก้ บั  พมจ.
2. เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพของเจ้าหน้าที ่ สนง.พมจ. ให้มภี าวะผูน้ ำ�มากข้นึ
เปา้ หมาย
1. เจ้าหนา้ ทไ่ี ด้รับการอนุญาตใหไ้ ปอบรม ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป
2. พมจ. มีการถ่ายทอดเน้ือหาวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์แก่บุคลากรภายในหน่วยงาน 

อย่างนอ้ ย 12 ครง้ั ต่อปี
3. พมจ. มกี ารถา่ ยทอดกระบวนการท�ำ งานเชงิ ยทุ ธศาสตรภ์ ายในหนว่ ยงาน อยา่ งนอ้ ย 4 ครง้ั ตอ่ ปี
4. พมจ. มีการถา่ ยทอดความรใู้ หมๆ่  ให้กบั ผ้ใู ต้บังคบั บัญชาไมต่ ํ่ากวา่  1 ครั้งตอ่ เดอื น

70 มาตรฐานการปฎบิ ัตหิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

มิติ 3. มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั มิติวัฒนธรรมองคก์ าร ม ี 2 ดา้ น 8 มาตรฐาน 11 ตวั ช้วี ดั

1. วฒั นธรรมองค์การ

มาตรฐาน ตัวชี้วัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

1. การทำ�งานเปน็ ทมี 1. จ�ำ นวนกจิ กรรมหรือ ไมน่ อ้ ยกวา่    1. พมจ. ตอ้ งพัฒนาให้บุคคลในกลุ่มงานเดียวกนั  เรยี นรู้งานซง่ึ กนั และกัน  • รายงานผลการสง่ เสริมการทำ�งาน
โครงการทสี่ ่งเสริม  5 กิจกรรมหรือ และทำ�งานแทนกนั ได้ เปน็ ทีม
การทำ�งานเป็นทมี โครงการต่อป ี • เอกสารทรี่ ะบุถึงการมอบหมายงาน
1 กจิ กรรมหรอื 2. จดั ใหม้ ีกิจกรรมที่สง่ เสริมการท�ำ งานเปน็ ทมี  เช่น การจัดงานวนั คนพิการ • โครงการหรอื กิจกรรมพฒั นาทีมงาน
2. จ�ำ นวนกิจกรรม  โครงการตอ่ ปี สากล วนั ผ้สู งู อาย ุ การรณรงคใ์ นประเดน็ ทางสังคมตา่ งๆ เป็นตน้ • รายงานผลการพัฒนาทีมงาน
พฒั นาทมี งาน • เอกสารที่ระบุถงึ การมอบหมายงาน
3. จัดกจิ กรรมเพอ่ื พัฒนาทีมงาน เชน่  การประชุมกล่มุ ยอ่ ยเพือ่ รว่ มกนั • ภาพถ่าย
วางแผน และแก้ปัญหาในการปฏบิ ัติงาน

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 2. การสร้าง  3. จ�ำ นวนกิจกรรมสรา้ งสมดุล  อยา่ งนอ้ ย   1. จดั ทำ�แผนกิจกรรมสร้างสมดลุ ในชีวติ และงาน • โครงการสร้างสมดุลในชีวติ และงาน
ความสัมพนั ธ ์ ในชีวติ และงาน  4 ครง้ั ต่อปี 2. นำ�แผนไปปฏิบัติ • รายงานผลการสรา้ งสมดุลในชีวิต 
ในส�ำ นกั งาน (Work Life Balance)  3. สรา้ งและรักษาบรรยากาศในการปฏิบัติงานเอาไวด้ จุ ดงั ครอบครวั เดยี วกัน  และงาน
4. ร้อยละของบคุ ลากร  ร้อยละ 80 เช่น การจัดแข่งขันกีฬา หรือ กิจกรรมกลมุ่ สมั พนั ธ ์ หรือ การแสดงบนเวที • เอกสารท่รี ะบุถงึ การมอบหมายงาน
ทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรมแตล่ ะ อย่างง่ายๆ หรือ การรบั ประทานอาหารร่วมกัน เปน็ ตน้ • ภาพถ่าย
กจิ กรรม

3. การเรียนรู้รว่ มกนั 5. จำ�นวนการจดั เสวนา  อยา่ งน้อย 6 ครัง้ 1. การเรียนรภู้ ายในกลมุ่ งานโดย ในแตล่ ะเดอื น พมจ. ควรใหท้ กุ กลมุ่ /ฝา่ ย  • บันทกึ สรปุ การจัดเสวนา
ภายในองค์การ ในประเด็นใหมๆ่  ที่เกี่ยวขอ้ ง ต่อปี ทบทวนงานทที่ ำ� ช่วยกนั วเิ คราะหส์ ภาพปญั หาของงานในรอบเดอื น   (ไม่ใช่ลกั ษณะการประชมุ ประจำ�เดือน)
กบั สังคมภายในหน่วยงาน ท่แี ต่ละคนไดป้ ระสบพบมา รวมทัง้ วธิ กี ารที่แตล่ ะคนใชใ้ นการแก้ไขปัญหา
เหลา่ นัน้

71

72 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตัวชี้วัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ
2. การเรยี นรูร้ ะหว่างกลุ่มงาน นอกจากจะเปน็ เรอ่ื งวธิ กี ารปฏบิ ัติงาน 
ภายในกลุม่ งานแล้ว พมจ. อาจใหแ้ ตล่ ะกล่มุ งานเตรียมประเด็น 
ที่เกยี่ วขอ้ งกับงานตนเองมานำ�เสนอเพื่อแลกเปลี่ยนความคดิ เห็นกบั  
กลุ่มงานอืน่ ๆ บา้ ง อาจเป็น 2 เดือนตอ่ ครง้ั  หรือ ตามแต่โอกาสอำ�นวย
3. การเรยี นรใู้ นภาพรวม นอกจากเรอ่ื งการปฏบิ ตั งิ านแลว้  พมจ. ควรสง่ เสรมิ  
เจ้าหนา้ ทไ่ี ดม้ ีการแลกเปลย่ี นทางวชิ าการ นโยบาย หรอื  กฎหมาย 
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการพัฒนาสงั คม ความม่นั คงของมนุษย์ และสวัสดกิ าร
สงั คม เช่น แนวคิดทุนทางสังคม แนวทางการออกมาพฒั นากลุม่ อาสา
สมัครพฒั นาสังคม กฎหมายใหม่ๆ การค้ามนษุ ย์ ปญั หาสังคมในจังหวัด 
เปน็ ตน้  การเรียนรใู้ นลักษณะน ี้ อาจด�ำ เนินการโดยจัดเสวนา 
และเชิญบคุ คลภายนอกที่มคี วามเชย่ี วชาญในเรอ่ื งหรอื ประเดน็ ท ่ี สนง.พมจ. 
สนใจ มาเปน็ วทิ ยากรก็ได้
4. ในการประชุมหรอื เสวนาทง้ั สามรูปแบบ ควรมกี ารบนั ทกึ เทป  
และสรปุ เปน็ เอกสาร ซ่งึ อาจนำ�ไปเป็นบทเรียนในการปฏบิ ตั ิงาน  
และเป็นการสรา้ งและจัดการความรู้ในองค์การ รวมทง้ั เผยแพร ่
ต่อสาธารณะเป็นผลงานของสำ�นกั งานตอ่ ไปได้

4. การจัดการความร ู้ 6. จ�ำ นวนเรื่องทม่ี กี ารจัดการ อยา่ งน้อย 1 เรื่อง 1. พมจ.สง่ เสริมการจดั การความรู้ และจดั ท�ำ แผน/โครงการจัดการความรู้ • เอกสารแผน/โครงการการจัดการ
ในองค์การ ความรู ้   ตอ่ กลุ่ม/ฝา่ ยตอ่ ปี ของสำ�นกั งาน  ความรู้
• เอกสารสรปุ ผลการจดั การความรู้
2. จัดท�ำ ระบบจดั การความรู้ การแลกเปลย่ี นความร ู้ คลังความร้ ู  
การน�ำ ความรู้ไปใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน และการเผยแพร่ความรู้ 

มาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ
อย่างน้อย 6 ขอ้ 1. จดั ประชมุ เพอ่ื ก�ำ หนดค่านิยมธรรมภิบาลรว่ มกันภายในส�ำ นกั งาน   • เอกสารบนั ทึกการประชมุ  
5. การสรา้ งคา่ นยิ ม  7. จำ�นวนค่านยิ มรว่ ม  และขอ้ กำ�หนดคา่ นยิ ม
ธรรมาภิบาล  ทสี่ อดคลอ้ งกบั   ทค่ี รอบคลมุ ถงึ คา่ นยิ มตอ่ ไปน ้ี • ภาพถา่ ยแสดงกจิ กรรมรณรงค์
ในองคก์ าร หลกั ธรรมาภิบาลทมี่  ี 1) นติ ิธรรม
การประกาศตอ่ สาธารณะ 2) คุณธรรม
3) ความโปรง่ ใส
4) ความมสี ่วนร่วม
5) ความรบั ผิดชอบ
6) ความค้มุ คา่
2. ด�ำ เนินการรณรงคค์ ่านิยมอย่างต่อเน่ือง

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด

73

74 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 2. ภาวะผูน้ �ำ

มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์ แนวทางปฏิบัติ หลกั ฐานประกอบ

6. การสนบั สนนุ   8. ร้อยละของเจา้ หนา้ ท ี่ รอ้ ยละ 80 1. ติดตามขา่ วสารในการอบรมหรือสัมมนาของกระทรวงฯ   • บญั ชีรายช่ือขา้ ราชการ/เจา้ หนา้ ท ี่
การพัฒนา  ทไี่ ดร้ บั อนุญาตใหไ้ ปอบรม และหน่วยงานอ่นื ๆ  ทเ่ี ข้าอบรม/สัมมนา
ผู้ใตบ้ งั คบั บัญชา หรอื สมั มนาในรอบปี • รายงานการอบรม/สมั มนา
2. เมอ่ื มกี ารจัดอบรมหรอื สมั มนาในเรอ่ื งทเ่ี ก่ียวข้องกบั การปฏิบตั งิ าน 
ของกระทรวงฯ แจง้ ใหผ้ ใู้ ต้บงั คบั บัญชาทราบโดยเร็ว

3. หากผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาขออนญุ าตไปอบรมหรือสมั มนา ควรอนญุ าตให ้
ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชาไปรว่ มการอบรมหรือสัมมนาตามท่ีขอ

4. ให้ผู้ท่ีเขา้ ไปอบรมหรอื สมั มนาเขยี นรายงานสรุป และอธิบายให้กบั บคุ คล
อน่ื ๆ ในส�ำ นกั งานทราบ ในการประชุมประจำ�เดือน

7. การสอ่ื สาร  9. จำ�นวนครั้งทมี่ ีการถ่ายทอด อยา่ งนอ้ ย 12 ครั้ง 1. ท�ำ ความเข้าใจกบั วิสยั ทัศน ์ พนั ธกิจ และยุทธศาสตร์ของกระทรวง จังหวัด  รายงานการประชมุ ประจำ�เดอื น
วสิ ยั ทัศน ์ พนั ธกจิ   เนื้อหา วิสยั ทัศน ์ พนั ธกจิ   ตอ่ ปี และสนง.พมจ.ใหช้ ัดเจน
ยทุ ธศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์ 2. อธบิ ายส่งิ เหลา่ น้ีใหก้ ับบคุ ลากรในส�ำ นกั งานทราบ โดยชใ้ี ห้เหน็ ถึงความ
10. จ�ำ นวนครง้ั ทมี่ ีการถา่ ยทอด อย่างนอ้ ย 4 ครั้ง เชือ่ มโยงระหวา่ งงานที่แตล่ ะคนทำ�กบั วสิ ยั ทศั นแ์ ละยทุ ธศาสตร ์
กระบวนการท�ำ งาน  ตอ่ ปี ของกระทรวงฯ 
เชิงยทุ ธศาสตร์ 3. กระตุน้ ใหบ้ ุคลากรคดิ เป็นยุทธศาสตร ์ คอื  ในการทำ�งานใหต้ ระหนกั ถงึ  
ผลสัมฤทธ์ขิ องงาน กลุ่มเปา้ หมาย ระยะเวลาเปา้ หมาย  
และการเชอ่ื มโยงของงานทแ่ี ตล่ ะคนปฏบิ ตั กิ บั งานของผอู้ น่ื

8. การถา่ ยทอด  11. จำ�นวนครั้งในการถ่ายทอด 1 ครัง้ ตอ่ เดอื น 1. พมจ. ควรอ่านหนงั สอื  หรือบทความทเ่ี กยี่ วกับการปฏบิ ตั งิ าน   รายงานการประชมุ
ความรใู้ หมๆ่    ความร้แู ก่ผูใ้ ตบ้ งั คบั บัญชา การบรหิ ารงาน การพัฒนาสังคม สวสั ดกิ ารสงั คม หรอื หนังสืออืน่ ๆ  
ให้กบั ผู้ใตบ้ ังคับ ท่เี ก่ียวข้องทางออ้ มและเป็นประโยชนเ์ ดอื นละ 1 เล่ม และสรุปสาระ
บัญชา ส�ำ คญั ของหนงั สือทอ่ี ่าน
2. ถา่ ยทอดสงิ่ ท่สี รุปจากหนงั สอื ให้กับเจ้าหนา้ ท่ฟี ังในวนั ประชุมประจำ�เดือน
หรอื จะจดั การถ่ายทอดในลักษณะอ่ืนๆ เช่น การเสวนากไ็ ด้
3. แนะน�ำ ให้เจา้ หนา้ ทสี่ ำ�นักงานไปอ่านหนังสือดังกลา่ ว

มติ ทิ ี ่ 4 มติ ิผลผลติ และผลลัพธ์

แนวทางการปฏิบัติงานตามมิติผลผลิตและผลลัพธ์ มีทั้งหมด 10 ด้าน 34 มาตรฐาน 51 ตัวช้ีวัด 
ได้แก่ 

1. ด้านการจัดทำ�นโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด 
รวมทั้งรายงานสถานการณ์ทางสงั คม และเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข

2. ด้านการประสานและจัดทำ�แผนงาน โครงการและกิจการด้านการพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนุษย์ในระดับจงั หวัด ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวง

3. ด้านการส่งเสริมและประสานการดำ�เนินงาน การจัดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจและเป้าหมาย 
ของหน่วยงานในกระทรวง

4. ด้านการส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดำ�เนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัด ทั้งภาครัฐ
และภาคเอกชน

5. ด้านการส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม รวมท้ังการส่งต่อ 
ให้หน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้อง ท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีอำ�นาจหน้าที่ในการจัดสวัสดิการสังคม
ตามกฎหมาย

6 .   ด้ า น ก า ร กำ � กั บ ดู แ ล ห น่ ว ย ง า น ใ น สั ง กั ด ก ร ะ ท ร ว ง   ใ ห้ ดำ � เ นิ น ก า ร ต า ม ก ฎ ห ม า ย   น โ ย บ า ย ข อ ง
กระทรวง และติดตามและประเมินผล แผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงในความรับผิดชอบ
ของสว่ นราชการและหน่วยงานสังกดั กระทรวงในระดบั จงั หวดั

7. ด้านการเป็นศนู ยข์ อ้ มูลด้านการพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยใ์ นระดับจังหวัด
8. ด้านการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการดำ�เนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม

และความม่นั คงของมนุษย ์ รวมท้งั ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการและผลการปฏบิ ัตงิ านของกระทรวง
9. ด้านการรบั เรือ่ งราวรอ้ งทุกข์และแกไ้ ขปญั หาสงั คม ในระดบั จงั หวัด
10. ด้านการปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ

มอบหมาย

1. ดา้ นการจัดทำ�นโยบายและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย ์
ในระดบั จังหวัด รวมทัง้ รายงานสถานการณ์ทางสังคม และเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข

หลักการและเหตุผล
การวิเคราะห์และรายงานสถานการณ์ทางสังคมเป็นเงื่อนไขเบื้องต้นที่ทำ�ให้ทราบถึงปัญหาต่างๆ 
ท่ีเกิดขึ้นได้อย่างต่อเนื่องเป็นระบบ ซ่ึงจะเป็นรากฐานในการกำ�หนดนโยบายได้อย่างตรงประเด็นและถูกต้อง 
ต่อไป หากข้อมูลข่าวสารที่นำ�มาใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์มีรากฐานจากงานวิจัยก็จะทำ�ให้เป็นระบบ 
และมีความนา่ เชอ่ื ถือยง่ิ ข้นึ
องค์การต่างๆ ในปัจจุบันต่างก็ได้ใช้ยุทธศาสตร์เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน ดังนั้น สนง.พมจ. 
จึงควรมีการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ขึ้นมาเพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการปฏิบัติงานระยะยาว โดยแผนดังกล่าวต้องมีลักษณะที่สำ�คัญ 2 ประการคือ ประการแรกสอดคล้อง 
กับยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงฯ และประการที่สอง สามารถสะทอ้ นลักษณะพิเศษของปัญหาด้านสงั คมของจงั หวัด

มาตรฐานการปฎิบัติหนา้ ท่ีของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์จังหวัด 75

ค�ำ อธิบายเพ่ิมเติม
การวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคม เป็นการรวบรวมข้อมูลท่ีเกิดข้ึนภายใต้เงื่อนไขเวลา สถานท่ี 
และกลมุ่ เปา้ หมายทกี่ ระทรวงฯ ไดก้ �ำ หนด และรวมไปถงึ ขอ้ มลู ท ี่ สนง.พมจ. ประเมนิ วา่ มคี วามส�ำ คญั ส�ำ หรบั จงั หวดั  
ของตนเอง โดยจัดให้มีการวิเคราะห์สถานการณ์ทางสังคมร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และหากข้อมูลข่าวสาร 
ท่ีนำ�มาใช้ในการวิเคราะห์สถานการณ์มีรากฐานจากงานวิจัย ก็จะย่ิงทำ�ให้เกิดความถูกต้องและมีความน่าเช่ือถือ 
มากยิ่งขึ้น ดังน้ันหาก สนง.พมจ. จังหวัดใดมีความพร้อมในการทำ�วิจัยก็ควรดำ�เนินการเพ่ือพัฒนามาตรฐาน 
การปฏิบตั ใิ หส้ งู ย่ิงขนึ้  ซ่งึ จะทำ�ใหก้ ารยอมรับจากผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสียทกุ ฝ่ายท่ีเกย่ี วข้องสูงตามไปด้วย
วตั ถปุ ระสงค์ 

1. เพอ่ื วิเคราะห์สถานการณท์ างสงั คมของจงั หวดั รว่ มกับหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้อง
2. เพื่อจดั ท�ำ รายงานการวเิ คราะห์สถานการณ์ทางสงั คมของจงั หวดั
3. เพอ่ื ศกึ ษาวจิ ยั ในประเดน็ ทางสงั คมของกล่มุ เป้าหมายและประเด็นการบริหารของหน่วยงาน
4. เพื่อจดั ทำ�แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ ังหวัด
5. เพอ่ื ผลกั ดนั โครงการดา้ นสงั คมบรรจใุ นแผนกลยุทธด์ า้ นสงั คมของจงั หวัด
เป้าหมาย
1. จดั วิเคราะหส์ ถานการณ์ 1 คร้ังตอ่ ปี
2. จดั ทำ�รายงานการวิเคราะห์สถานการณ ์ 1 ฉบับตอ่ ปี  
3. จดั ทำ�รายงานการวจิ ยั  1 เรอ่ื งต่อปี
4. มแี ผนยทุ ธศาสตร์การพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวดั  1 แผนต่อ 5 ปี
5. มีโครงการบรรจุในแผนกลยทุ ธด์ ้านสังคมของจังหวดั  1 โครงการ

2. ด้านการประสานและจัดท�ำ แผนงาน โครงการและกจิ การดา้ นการพฒั นาสังคม 
และความมน่ั คงของมนษุ ยใ์ นระดบั จงั หวดั ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวง

หลกั การและเหตุผล
เมอ่ื มกี ารจดั ท�ำ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั แลว้ เสรจ็  สนง.พมจ. 
จะต้องดำ�เนินการประสานและจัดทำ�แผนงาน/โครงการ เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยต้องจัดทำ�
แผนงานด้านสังคมตามกลุ่มเป้าหมายหลักของกระทรวงให้ครบทุกแผนงาน และดำ�เนินการแปลงแผนงานต่างๆ 
ลงไปส่แู ผนปฏิบตั ิงานประจำ�ปี รวมท้ังมกี ารประเมนิ ผลแผนงานด้านสงั คมและแผนปฏิบัตงิ านประจำ�ปดี ว้ ย 
วตั ถุประสงค์

1. เพอ่ื จัดท�ำ แผนงานและโครงการดา้ นสงั คมตามกลมุ่ เปา้ หมาย
2. เพื่อจัดทำ�แผนปฏิบัติงานประจ�ำ ปี
3. เพอื่ ประเมนิ ผลแผนงานดา้ นสังคมและแผนปฏบิ ัติประจำ�ปี

76 มาตรฐานการปฎิบตั ิหนา้ ทขี่ องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั

เปา้ หมาย

1. มแี ผนงานด้านสงั คมทม่ี กี ารจดั ท�ำ และขับเคล่ือน 6 แผนงาน (6 กลุ่ม/ประเดน็ )
2. มีแผนปฏิบัติงานประจ�ำ ปีของ สนง.พมจ. 1 แผนตอ่ ปี
3. มีการประเมนิ ผลแผนปฏิบตั งิ านประจำ�ปี 1 ฉบบั ตอ่ ปี
4. มกี ารประเมนิ ผลแผนงานดา้ นสงั คมเม่อื เสร็จสิน้ แผน 

3. ดา้ นการส่งเสรมิ และประสานการด�ำ เนนิ งาน การจัดกจิ กรรมต่างๆ ตามภารกิจ 
และเปา้ หมายของหนว่ ยงานในกระทรวง

หลักการและเหตผุ ล

การดำ�เนินงานของ สนง.พมจ. ในบางส่วนจะต้องปฏิบัติตามภารกิจและเป้าหมายของหน่วยงาน 
ส่วนกลางในกระทรวง สนง.พมจ. เป็นผู้ส่งเสริม ประสานการดำ�เนินงาน ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ตามที่หน่วยงาน 
ส่วนกลางรอ้ งขอ ดังน้นั หนา้ ทนี่ ้ีจงึ เปน็ บทบาทอกี ประการท่ี สนง.พมจ. จะต้องปฏิบตั ิดว้ ย 

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อด�ำ เนินงานท่ไี ด้รบั การประสานมีความครบถ้วน
2. เพ่ือด�ำ เนนิ งานทไ่ี ด้รับการประสานไดท้ ันเวลา

เปา้ หมาย

1. มีการนำ�ภารกิจที่ไดร้ บั การประสานไปปฏิบตั ริ ้อยละ 100 ข้ึนไป
2. ภารกิจทีป่ ฏบิ ตั เิ ปน็ ไปตามเวลาที่ก�ำ หนดร้อยละ 80 ข้ึนไป
3. โครงการ/กิจกรรมทด่ี ำ�เนนิ งานมีรายงานผลการด�ำ เนินงานร้อยละ 80

4. ดา้ นการส่งเสรมิ  สนับสนนุ  และประสานการดำ�เนินงานกบั องค์กรเครอื ข่ายในจังหวัด 
ทง้ั ภาครัฐและภาคเอกชน

หลักการและเหตุผล

การทำ�งานเครือข่ายเป็นการทำ�งานภายใต้หลักคิดที่มีความเท่าเทียมกัน และเน้นการมีส่วนร่วม 
การเรียนรู้ร่วมกัน มีการส่ือสารติดต่อกันอย่างสมํ่าเสมอต่อเนื่อง มีการแลกเปล่ียนหรือใช้ทรัพยากรร่วมกัน 
ในบางส่วนทั้งในด้านข้อมูล ด้านวิชาการ บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ในการประสานการดำ�เนินงาน 
กับองค์กรเครือข่ายให้มีประสิทธิภาพน้ัน สนง.พมจ. ควรจะมีการจัดต้ังศูนย์ข้อมูลเครือข่ายข้ึนมาเพ่ือใช้เป็นกลไก
ในการดำ�เนนิ งาน

นอกจากนั้นการสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรเครือข่าย ก็ควรเป็นภารกิจสำ�คัญประการหนึ่ง 
ของ สนง.พมจ. เพราะหากองค์กรเครือข่ายมีความเข้มแข็ง ก็จะทำ�ให้ภารกิจในการพัฒนาสังคมและการสร้าง
ความมั่นคงของมนุษย์ สามารถบรรลตุ ามเป้าประสงคข์ องกระทรวงฯ 

มาตรฐานการปฎบิ ัตหิ นา้ ทีข่ องสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัด 77

วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ สรา้ งระบบ และวเิ คราะห์ขอ้ มูลเครือข่าย
2. เพื่อจดั ต้ังแกนน�ำ  ประสานเครอื ขา่ ยครบทกุ กลมุ่ เป้าหมายระดบั ต�ำ บล
3. เพ่ือสร้างความเข้าใจ ประสานงานและความรว่ มมอื ในการปฏิบตั กิ ับองคก์ รเครอื ข่าย
4. เพ่ือสง่ เสรมิ  และสนับสนนุ  การด�ำ เนนิ งานกบั องค์กรเครอื ขา่ ย

เป้าหมาย
1. จดั ทำ�ระบบข้อมลู องคก์ รเครอื ขา่ ย 1 ระบบ
2. จัดการปรับปรุงขอ้ มูลองค์กรเครือขา่ ย 1 ครัง้ ตอ่ ปี
3. มีแกนนำ�ประสานงานเครือข่ายครบทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ระดับตำ�บลร้อยละ 80
4. จดั สง่ ขอ้ มลู ข่าวสารใหอ้ งค์กรเครอื ข่ายทกุ องคก์ ารอย่างน้อยไตรมาส ละ 1 ครง้ั
5. จดั ประชุมแกนน�ำ องคก์ รเครือข่าย 12 ครั้งต่อป ี (นบั รวมทุกเครอื ขา่ ย)
6. จดั อบรมให้กบั องคก์ รเครอื ข่าย 12 ครัง้ ตอ่ ป ี (นบั รวมทุกเครอื ขา่ ย)
7. ให้การสนับสนนุ งบประมาณองคก์ รเครอื ขา่ ยรอ้ ยละ 50 ขององค์กรที่ขอรับการสนบั สนนุ
8. มีการประเมินผลการดำ�เนินงานด้านองค์กรเครือข่าย 1 ฉบับต่อปีทุกโครงการที่ได้รับการ
สนบั สนนุ งบประมาณ

5. ด้านการสง่ เสริมและประสานงานการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสงั คม รวมท้ัง 
การสง่ ต่อให้หน่วยงานอ่นื ท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งภาครฐั และภาคเอกชน ทมี่ อี �ำ นาจหนา้ ท ี่
ในการจดั สวสั ดกิ ารสังคมตามกฎหมาย

หลักการและเหตผุ ล
เน่ืองจากกระทรวงฯ มียุทธศาสตร์การพัฒนาบริการทางสังคมเชิงรุก ดังน้ันเพ่ือให้การปฏิบัติงาน 
ของ สนง.พมจ. สอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวง สนง.พมจ. จ�ำ เปน็ ตอ้ งมกี ารปฏบิ ตั งิ านเชงิ รกุ  การปฏบิ ตั งิ าน 
เชงิ รกุ นน้ั  จะเนน้ การปอ้ งกนั ปญั หามากกวา่ แกป้ ญั หา เนน้ การสง่ เสรมิ พฒั นามากกวา่ การสงเคราะห ์ เนน้ ความสามารถ 
ในการตอบสนองตอ่ วกิ ฤตกิ ารณไ์ ดอ้ ยา่ งรวดเรว็  การจะปฏบิ ตั งิ านเชงิ รกุ ไดน้ น้ั  ผปู้ ฏบิ ตั จิ ะตอ้ งมที กั ษะในการวเิ คราะห์ 
สถานการณ์ กำ�หนดประเด็นปัญหาและแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างชัดเจน ในกรณีผู้ประสบ
ปัญหาสังคมนั้น ผู้ปฏิบัติจะต้องสามารถวิเคราะห์ได้ว่ากลุ่มเป้าหมายทั้งเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ 
และผู้ด้อยโอกาส มีโอกาสจะประสบปัญหาใดบ้าง และมีเงื่อนไขอะไรที่ทำ�ให้เกิดปัญหานั้น จากนั้นจึงกำ�หนด
โครงการเพื่อตดั ทอนหรือสกดั ก้ันเงอื่ นไขทน่ี �ำ ไปสู่ปัญหานัน้
วัตถุประสงค์

1. เพื่อส่งเสริมการจดั สวสั ดกิ ารสังคมให้ครอบคลุมกลมุ่ เปา้ หมาย
2. เพอ่ื จัดทำ�โครงการท่ีมีลักษณะเป็นนวตั กรรม
3. เพ่ือใหก้ ารช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบปญั หาสงั คมเรง่ ด่วน

78 มาตรฐานการปฎิบตั หิ น้าทขี่ องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวดั

เปา้ หมาย

1. โครงการท่เี กยี่ วข้องกับกล่มุ เปา้ หมาย 1 โครงการตอ่ กล่มุ เปา้ หมาย
2. จัดท�ำ โครงการทมี่ ลี กั ษณะเปน็ นวตั กรรม 1 โครงการ
3. จัดส�ำ รวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ าร โดยผูร้ ับบรกิ ารต้องมคี วามพงึ พอใจร้อยละ 85 ข้นึ ไป
4. จัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินท่ีรับผิดชอบงานสวัสดิการสังคม 

6 ครั้งต่อปี และมีจำ�นวนบุคลากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเข้ารับการอบรมร้อยละ 80 
ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ  เฉพาะทีไ่ ดร้ ับเชญิ เข้าอบรม/สมั มนาในแตล่ ะครั้ง
5. จัดการช่วยเหลือผ้ปู ระสบปญั หาสงั คมเรง่ ด่วนรอ้ ยละ 100

6. ดา้ นการก�ำ กบั ดแู ลหน่วยงานในสงั กัดกระทรวง ให้ดำ�เนินการตามกฎหมาย นโยบาย 
ของกระทรวง และติดตามและประเมนิ ผล แผนการปฏิบัตริ าชการของกระทรวง 
ในความรับผิดชอบของสว่ นราชการและหนว่ ยงานสังกัดกระทรวงในระดบั จงั หวัด

หลกั การและเหตผุ ล

สนง.พมจ. ถอื เป็นหน่วยงานราชการบรหิ ารสว่ นภูมิภาค ซง่ึ เปน็ ตัวแทนของกระทรวง ท่ปี ฏิบัตภิ ารกจิ  
ในจงั หวดั ตา่ งๆ ทงั้ นใี้ นแตล่ ะจงั หวดั กม็ หี นว่ ยงานภายใตก้ รมตา่ งๆ ในสงั กดั กระทรวง ปฏบิ ตั หิ นา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ 
อยู่เช่นกัน ในการรับนโยบายในการปฏิบัติราชการจึงเป็นไปในแนวทางเดียวกัน สอดคล้องกัน หรือปฏิบัติ 
ไปด้วยกัน ควบคู่กัน ดังน้ัน พมจ. จึงน่าจะเป็นศูนย์กลางในการท่ีจะบูรณาการแผนปฏิบัติการของหน่วยงานสังกัด
กระทรวงในเขตจงั หวัด รวมไปถงึ การรายงานผลการปฏิบตั งิ าน และการเบกิ จา่ ยเงินงบประมาณใหเ้ ป็นไปตามแผน

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือจดั ทำ�แผนบรู ณาการของหน่วยงานในพ้นื ท่จี งั หวดั
2. เพ่อื รายงานการปฏบิ ตั งิ านตามแผนบรู ณาการตอ่ ผู้บรหิ ารในจงั หวดั  และกระทรวง
3. เพอ่ื การเบิกจา่ ยเงนิ งบประมาณ ใหเ้ ปน็ ไปตามแผน หรอื เป้าหมายท่กี �ำ หนด

เป้าหมาย

1. มแี ผนบูรณาการของหนว่ ยงานสังกัดกระทรวงในพื้นทีจ่ ังหวัด 1 แผนต่อปี
2. มีรายงานผลการปฏิบัติตามแผนบูรณาการต่อผู้บริหารในจังหวัด และกระทรวง อย่างน้อย 

1 ครัง้  ต่อไตรมาส
3. มีรายงานผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณของหน่วยงานในพ้ืนท่ีจังหวัด อย่างน้อย 1 ครั้ง 

ต่อไตรมาส
4. มกี ารประชุมรว่ มระหวา่ งหน่วยงาน พม.ทุกแหง่ ในพน้ื ท่ ี 6 คร้ังต่อปี 

มาตรฐานการปฎบิ ัตหิ นา้ ท่ีของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัด 79

7. ด้านการเป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์ในระดับจังหวัด

หลักการและเหตุผล
ก า ร กำ � ห น ด น โ ย บ า ย   ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์   แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น   ท่ี ส า ม า ร ถ แ ก้ ปั ญ ห า ไ ด้ อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ 
และมีประสิทธิภาพน้ัน จะต้องมีข้อมูลท่ีครอบคลุม ถูกต้อง เท่ียงตรง และเชื่อถือได้ เป็นรากฐานท่ีสำ�คัญ 
หากสิ่งท่ีกล่าวมาข้างต้นดำ�เนินไปโดยขาดข้อมูล หรือมีข้อมูลเพียงบางส่วนหรือข้อมูลท่ีได้มาไม่ตรงกับข้อเท็จจริง 
ก็ยากท่ีจะป้องกัน แก้ไขปัญหาสังคมได้ และหากไม่สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมได้ ก็ยิ่งไม่ต้องกล่าวถึง
การพฒั นาและการสร้างความมนั่ คงให้กบั มนุษย์ว่าจะเกิดขึ้นมาได้หรอื ไม่
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการจัดเก็บข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนษุ ยจ์ ังหวดั ในระดบั จงั หวดั

2. เพ่อื ใหไ้ ด้มาซง่ึ ขอ้ มลู ทม่ี ีความครอบคลมุ  ทันสมยั  และนา่ เชื่อถือ
เปา้ หมาย

1. มศี นู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารด้านข้อมลู
2. มีการจัดเกบ็ ข้อมูลครบถว้ นทุกเรอ่ื งตามท่ีกระทรวงฯ ก�ำ หนด
3. มกี ารปรบั ปรงุ ขอ้ มลู  2 คร้งั ตอ่ ปี
4. มีการจดั ท�ำ เอกสารแสดงแหลง่ อา้ งองิ หรือวธิ กี ารได้มาของขอ้ มูลครบทุกเรือ่ ง
5. มกี ารใหบ้ ริการข้อมลู ต่อสาธารณะอย่างน้อย 5 ครั้งตอ่ ปี
นอกจากจัดเก็บข้อมูลตามข้อกำ�หนดของกระทรวงฯ แล้ว ข้อมูลอื่นๆ ที่ควรจัดเก็บเพ่ือนำ�ไปใช้
ประโยชน์ในการวางแผนยทุ ธศาสตร ์ การวเิ คราะหส์ ถานการณ ์ และการปฏบิ ตั งิ านมดี งั น้ี
1. ด้านประชากร 
2. ด้านสุขภาพ ในเร่ือง อายุเฉลี่ยของประชากรในจังหวัด จำ�นวนและอัตราส่วนของผู้พิการ จำ�นวน
และอัตราการเป็นโรคซึมเศร้า จำ�นวนและอัตราการฆ่าตัวตาย จำ�นวนและอัตราการเกิดโรคเอดส์ 
จำ�นวนและอัตราตายคลอด
3. ด้านการศึกษา ในเร่ือง จำ�นวนและอัตราเด็กอายุ 3–4 ปี ท่ีเข้าเรียนชั้นอนุบาล จำ�นวนและอัตรา
ผู้จบชั้นมัธยมปีที่หก จำ�นวนและอัตราผู้ใหญ่อายุระหว่าง 25–55 ปี ที่อ่านและเขียนภาษาไทยได้ 
คะแนนเฉลย่ี  O–net ระดับประถมและมัธยม คะแนนเฉลีย่  IQ และ EQ ของเด็ก 
4. ด้านแรงงาน ในเร่ือง อัตราการว่างงาน รายได้เฉลี่ยจากค่าจ้างและเงินเดือน การบาดเจ็บ 
จากการทำ�งาน ความพึงพอใจในงาน
5. ด้านเศรษฐกิจ ในเร่ือง รายได้เฉล่ียของจังหวัด การกระจายรายได้ จำ�นวนและอัตราผู้อยู่ใต้เส้น
ความยากจน อัตราการพง่ึ พงิ ในครวั เรอื น
6. ด้านการเมือง ในเรื่อง อัตราการไปใช้สิทธิเลือกต้ัง จำ�นวนและอัตราผู้หญิงในองค์กรปกครอง 
ส่วนท้องถ่นิ  การรับร้เู ร่อื งการคอรัปชนั่ ของนักการเมอื งและข้าราชการ

80 มาตรฐานการปฎิบตั หิ น้าท่ขี องสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษย์จังหวดั

7. ด้านอัตลักษณ์วัฒนธรรม ในเร่ือง อัตราการใช้ภาษาถิ่นเป็นภาษาแรก ความภูมิใจในวัฒนธรรม
ท้องถ่นิ  จำ�นวนรายการวิทยุทอ้ งถ่นิ ทใ่ี ชภ้ าษาถิ่น 

8. ด้านนันทนาการ ในเรื่อง อัตราส่วนของประชากรวัย 15–65 ปี ที่ออกกำ�ลังกาย อัตราส่วน 
ของประชาชนทีเ่ ขา้ รว่ มกิจกรรมทางวัฒนธรรมและศิลปะ เวลาเฉล่ียทใี่ ช้เพือ่ นันทนาการ

9. ด้านความปลอดภัย ในเรื่อง อัตราการเกิดอาชญากรรม อัตราเด็กและเยาวชนท่ีประกอบ
อาชญากรรม อัตราเด็กที่ถูกทำ�ร้ายและถูกทอดท้ิง อัตราสตรีที่ถูกทำ�ร้ายภายในครอบครัว อัตรา 
ผู้เสพยาเสพตดิ  จ�ำ นวนและอตั ราการเกิดอบุ ตั ิเหตุบนทอ้ งถนน

10. ด้านสิ่งแวดล้อมกายภาพ ในเรื่อง คุณภาพอากาศ คุณภาพน้ําด่ืม อัตราส่วนของเกษตรกรที่มี 
การใชส้ ารเคมภี าคการเกษตร

11. ดา้ นทนุ ทางสงั คม ในเรอ่ื ง สดั สว่ นขององคก์ รไมแ่ สวงหาก�ำ ไรตอ่ ประชากร 1,000 คน สดั สว่ นองคก์ ร 
ท้ังหมดต่อประชากร 1,000 คน อัตราส่วนของประชาชนในชุมชนที่เป็นคณะกรรมการต่างๆ 
ในชุมชนในรอบปี อัตราส่วนของประชาชนท่ีใช้เวลาบ่อยครั้งในการเยี่ยมเพ่ือนบ้าน อัตราส่วน
ของประชาชนท่ีคิดว่าผู้อ่ืนสามารถไว้วางใจได้ อัตราของประชาชนท่ีคิดว่าผู้อื่นมีความซื่อสัตย์ 
อัตราสว่ นของประชาชนทร่ี สู้ ึกวา่ คนอ่นื สามารถพึง่ พาได้

12. ข้อมูลกลมุ่ เปา้ หมาย
13. ข้อมลู ดา้ นองค์กรเครือข่าย

8. ด้านการเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ ์่ และรณรงค์ใหม้ ีการดำ�เนนิ กจิ กรรมเกยี่ วกบั  
การพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย ์ รวมทง้ั ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ  
และผลการปฏบิ ตั งิ านของกระทรวง

หลักการและเหตผุ ล
ในสังคมปัจจุบันแม้ว่าองค์การจะปฏิบัติงานได้ดีเพียงไร แต่หากการปฏิบัติงานเหล่านั้นไม่เป็นที่รับร ู้
ของสาธารณชน โอกาสที่จะได้รับการสนับสนุนจากสาธารณะก็มีน้อยลง ผลท่ีตามมาคือ ทำ�ให้โอกาสในการ 
แสวงหา และระดมความร่วมมือจากประชาชนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและขยายขอบเขตของงานออกไปมีน้อยลง 
ดังนั้นจึงเป็นเร่ืองท่ีหลีกเล่ียงไม่ได้ที่องค์การจะต้องทำ�งานด้านประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างการรับรู้ที่กว้างขวาง 
และสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีให้กับองค์การ การเป็นที่รู้จักและมีภาพลักษณ์ที่ดีจะกลายมาเป็นต้นทุนทางสังคมให้กับ 
องค์กร และเป็นการเพิ่มโอกาสให้กับองค์การในการทำ�งานได้บรรลุตามเป้าประสงค์ โดยเฉพาะอย่างย่ิงงาน
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จะต้องอาศัยเครือข่ายและการร่วมมือจากประชาชน 
ทุกกลุ่ม ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาจึงจะทำ�ให้งานประสบความสำ�เร็จได้ ด้วยเหตุผลท่ีกล่าวมาทั้งหมด 
การประชาสมั พันธ์จึงเปน็ เร่อื งที่ควรด�ำ เนนิ การและควรใหค้ วามสำ�คญั ไมน่ ้อยกว่าเร่ืองอื่นๆ 

วัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อใหก้ ารประชาสมั พนั ธ์ของ สนง.พมจ. มีการวางแผนปฏิบตั ิการอย่างชัดเจน
2. เพ่ือให้ประชาชนในจังหวัดได้ทราบข้อเท็จจริงเก่ียวกับภารกิจหน้าท่ีและผลการปฏิบัติงาน 
ของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

มาตรฐานการปฎบิ ัติหนา้ ทีข่ องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั 81

3. เพ่ือใหป้ ระชาชนเกดิ ความเขา้ ใจและตระหนกั ในปญั หาและแนวทางการแก้ไขปัญหาสังคม
4. เพ่ือให้ประชาชนเปลย่ี นแปลงทัศนคติและพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนาไปสพู่ ฤติกรรม 

ทพ่ี งึ ปรารถนา
5. เพื่อให้ประชาชนมีช่องทางในการรับข้อมูลทางขา่ วสารทาง Social Media 
เป้าหมาย
1. มีแผนประชาสัมพนั ธป์ ระจำ�ปี 1 แผนต่อปี
2. มเี ว็บไซต์และมผี เู้ ข้าชม 6,000 ครัง้ ต่อปี
3. มชี ่องทางการเผยแพร่ข่าวสารทาง Social Media ไมน่ ้อยกวา่  2 ช่องทาง
4. มีจัดโครงการรณรงค์รว่ มกับองค์การภาครัฐและภาคประชาสงั คม 5 โครงการตอ่ ปี
5. มขี ่าวสารตพี ิมพใ์ นหนังสอื พมิ พ์ทอ้ งถน่ิ หรือวทิ ยทุ อ้ งถนิ่  12 ขา่ วต่อปี

9. ด้านการรบั เรื่องราวรอ้ งทุกขแ์ ละแก้ไขปัญหาสงั คม ในระดับจังหวดั

หลกั การและเหตผุ ล
ในบางกรณีประชาชนประสบกับปัญหาท่ีเกิดจากการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐหรือปัญหาในการ
ดำ�เนินชวี ติ  สนง.พมจ.จะต้องเขา้ ไปดำ�เนนิ การแกไ้ ขและชว่ ยเหลือเพือ่ ใหค้ วามทกุ ข์ของประชาชนไดบ้ รรเทาลงไป
วตั ถปุ ระสงค์

เพอ่ื ชว่ ยเหลือประชาชนที่ประสบปญั หาด้านสงั คมตา่ งๆ 
เป้าหมาย

ผทู้ ่ปี ระสบปัญหาทุกคนที่เขา้ มาร้องเรียนไดร้ ับการชว่ ยเหลือ

10. ดา้ นการปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั หรือสนบั สนนุ การปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงานอน่ื  
ทีเ่ ก่ียวข้องหรอื ที่ไดร้ ับมอบหมาย

หลกั การและเหตผุ ล
เนื่องจาก สนง.พมจ. เป็นหน่วยงานภูมิภาค ประกอบกับการบริหารราชการแผ่นดินส่วนภูมิภาค 
ในปัจจุบัน มีการใช้การบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ ซึ่งทุกหน่วยงานจะต้องดำ�เนินงานอย่างบูรณาการภายใต้ 
การน�ำ ของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั  ดงั นน้ั การประสานงาน สนบั สนนุ  และรว่ มมอื กบั จงั หวดั จงึ เปน็ สง่ิ ทไ่ี มอ่ าจละเลยได้
วัตถุประสงค์

เพื่อปฏบิ ตั งิ านตามที่ไดร้ ับมอบหมายจากจังหวดั
เป้าหมาย 

รอ้ ยละ 95 ของงานที่ไดร้ บั มอบหมายทมี่ ีการน�ำ ไปปฏบิ ตั ิ

82 มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าท่ขี องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

มิติ 4. มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั มติ ผิ ลผลติ และผลลัพธ์ มี 10 ด้าน 34 มาตรฐาน 51 ตัวชีว้ ัด

1. ดา้ นการจดั ท�ำ นโยบายและยุทธศาสตร์การพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์ในระดบั จงั หวัด รวมท้ังรายงานสถานการณท์ างสังคม และเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข

มาตรฐาน ตัวชว้ี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏิบตั ิ หลกั ฐานประกอบ

1. การจดั การวเิ คราะห์ 1. จำ�นวนครั้ง  1 ครง้ั ตอ่ ปี 1. ก�ำ หนดประเด็นในการวเิ คราะห์สังคมของจงั หวัดซ่งึ ประกอบด้วยประเด็น รายงานการประชมุ  
สถานการณ์ภาพรวม การวิเคราะห์ 1) โครงสรา้ งประชากรของจงั หวดั  วเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งอาย ุ เพศ และแนวโนม้ การเปล่ยี นแปลง คณะท�ำ งาน
และแนวโน้มด้านสงั คม 2) ดา้ นสขุ ภาพ วิเคราะห์สถานภาพและแนวโน้มในเรอ่ื งอายุเฉลี่ยของประชากรในจังหวัด  
และกลมุ่ เป้าหมาย  จำ�นวนและอัตราสว่ นของผพู้ ิการ จำ�นวนและอัตราการเป็นโรคซึมเศร้า  
ในจงั หวดั รว่ มกับ  จำ�นวนและอัตราการฆ่าตัวตาย จ�ำ นวนและอัตราการเกดิ โรคเอดส์  
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำ�นวนและอตั ราตายคลอด การตงั้ ครรภ์ไม่พรอ้ มในเดก็ และเยาวชน

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 3) ดา้ นการศกึ ษา วเิ คราะหเ์ รอ่ื ง จ�ำ นวนและอตั ราเดก็ อาย ุ 3-4 ป ี ทเ่ี ขา้ เรยี นชน้ั อนุบาล  
จำ�นวนและอตั รานักเรียนทอ่ี อกกลางคัน จำ�นวนและอตั ราผใู้ หญ่อายรุ ะหวา่ ง 25-55 ป ี
ท่ีอ่านและเขยี นภาษาไทยได้ คา่ เฉลีย่ คะแนน o-net ระดบั ประถมและมัธยม  
คา่ เฉลี่ยคะแนน IQ และ EQ เดก็ ประถมและมัธยมซ่งึ ด�ำ เนนิ การส�ำ รวจโดยกรมสุขภาพจติ
4) ด้านแรงงาน วเิ คราะห์เรอื่ ง อัตราการวา่ งงาน รายไดเ้ ฉล่ียจากคา่ จา้ งและเงนิ เดือน  
การบาดเจบ็ จากการท�ำ งาน ความพึงพอใจในงาน การเคล่อื นย้ายแรงงาน
5) ด้านเศรษฐกจิ  วเิ คราะห์เร่ือง รายได้เฉลี่ยของจงั หวดั  การกระจายรายได้  
จ�ำ นวนและอตั ราผอู้ ยใู่ ตเ้ ส้นความยากจน อัตราการพงึ่ พงิ ในครัวเรอื น อัตราการออม
6) ด้านการเมอื ง วิเคราะห์เรือ่ ง อัตราการไปใช้สทิ ธิเลอื กตัง้  จ�ำ นวนและอตั ราผู้หญงิ  
ในระบบการเมือง การรบั รู้เรือ่ งการคอรปั ชน่ั ของนักการเมอื งและข้าราชการ
7) ดา้ นอตั ลกั ษณว์ ฒั นธรรม วเิ คราะหเ์ รอ่ื ง ความภมู ใิ จในวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ  อตั ราการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
ทางสงั คมและวฒั นธรรม การสบื ทอดภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ  จ�ำ นวนคลงั ปัญญา  
อตั ราสถานที่ประกอบศาสนกิจต่อประชากรในจงั หวัด อตั ราการเขา้ ร่วมประเพณี  
หรอื พิธีกรรมทางศาสนา

83

84 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ

8) ด้านนนั ทนาการ วิเคราะหเ์ รื่อง อัตราส่วนของประชากรทีอ่ อกกำ�ลังกาย เวลาเฉล่ียของ
ประชาชนในจังหวดั ท่ีใช้เพือ่ นันทนาการและกีฬา พนื้ ท่ีสาธารณะสำ�หรบั การนันทนาการ

9) ด้านความปลอดภัยในเรอื่ ง อตั ราการเกิดอาชญากรรม อตั ราเดก็ และเยาวชนทป่ี ระกอบ
อาชญากรรม อัตราเด็กทถ่ี ูกทำ�ร้ายและถูกทอดท้ิง อัตราสตรีทถ่ี กู ท�ำ ร้ายภายในครอบครวั  
อตั ราผูเ้ สพยาเสพตดิ  จำ�นวนและอตั ราการเกดิ อบุ ัติเหตุ 

10) ดา้ นส่ิงแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาต ิ วเิ คราะหเ์ รื่อง คณุ ภาพอากาศ คุณภาพน้ําดืม่   
อัตราการเพ่มิ -ลด ของปา่ ไมต้ อ่ พน้ื ท่ี

11) ด้านทนุ ทางสงั คมในเรอ่ื ง สัดส่วนขององคก์ ารไมแ่ สวงหาก�ำ ไรต่อประชากร 1,000 คน  
สดั สว่ นองค์การทง้ั หมดตอ่ ประชากร 1,000 คน อัตราส่วนของประชาชนทีเ่ ป็น 
คณะกรรมการต่างๆ ในชมุ ชนในรอบปี อัตราส่วนของประชาชนที่ใช้เวลาบอ่ ยครง้ั  
ในการเยีย่ มเพ่อื นบ้าน อตั ราสว่ นของประชาชนทค่ี ดิ วา่ ผอู้ น่ื สามารถไวว้ างใจได ้ อตั ราของ
ประชาชนทค่ี ดิ วา่ ผอู้ น่ื มีความซ่ือสัตย ์ อัตราสว่ นของประชาชนทร่ี สู้ กึ ว่าคนอืน่ สามารถพึง่ พาได้

2. การวเิ คราะห์สถานการณด์ ้านกลุ่มเป้าหมาย เด็ก เยาวชน สตร ี ผูส้ งู อาย ุ คนพกิ าร 
และผูด้ อ้ ยโอกาส 

1) เดก็  วเิ คราะห ์ สดั สว่ นเดก็ เรร่ อ่ นตอ่ เดก็  1,000 คน สดั สว่ นเดก็ ถกู ทอดทง้ิ  ตอ่ เด็ก 1,000 คน 
สดั สว่ นของเด็กทก่ี ารถกู ล่วงละเมดิ ทางเพศ ต่อเด็ก 1,000 คน  
สัดสว่ นของถูกทำ�ร้ายจากครอบครวั  ตอ่ เด็ก 1,000 คน  
อัตราสว่ นของเด็กที่เปน็ เหยื่อการค้ามนุษย ์ ตอ่ เด็ก 1,000 คน เป็นต้น

2) เยาวชน วิเคราะหเ์ รอ่ื ง สัดสว่ นเยาวชนที่ประกอบอาชญากรรม ต่อเยาวชน 1,000 คน สัดส่วน
ของเยาวชนทีอ่ ยนู่ อกระบบการศกึ ษา ต่อเยาวชน 1,000 คน  
สัดส่วนของเยาวชนท่วี ่างงาน ต่อเยาวชน 1,000 คน

3) สตรี วเิ คราะห์เร่ือง สัดส่วนของสตรีทถ่ี ูกลว่ งละเมิดทางเพศ ต่อสตร ี 1,000 คน  
สัดส่วนของสตรที เ่ี ป็นกรรมการในองคก์ ารสาธารณประโยชนห์ รือองคก์ รประชาชน 
ตอ่ ประชากร 10,000 คน สัดส่วนของสตรที ีม่ ตี ำ�แหน่งในองคก์ ารปกครองส่วนท้องถิ่น 
ต่อผู้มีดำ�รงตำ�แหน่งในการเมอื งท้องถ่ินท้ังหมด อตั ราสตรวี ่างงาน

มาตรฐาน ตวั ช้วี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏิบตั ิ หลกั ฐานประกอบ

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 4) ผสู้ งู อาย ุ วเิ คราะหเ์ รอ่ื ง แนวโนม้ ผสู้ งู อาย ุ สดั สว่ นของผสู้ งู อายทุ ถ่ี กู ทอดทง้ิ  ต่อผู้สูงอาย ุ 1,000 คน 
สัดสว่ นผู้สงู อายุทเ่ี ปน็ กรรมการองค์กรสาธารณประโยชน ์ หรือองคก์ รประชาชนตอ่ ประชากร 
10,000 คน ผู้สงู อายุท่วี ่างงาน ผ้สู ูงอายุทต่ี ้องรบั ภาระเล้ียงดบู ตุ รหลาน ผสู้ ูงอายทุ ่ีเขา้ ร่วม
กจิ กรรมทางสังคม ผู้สูงอายทุ ีเ่ ขา้ ถึงการบริการของรัฐ

5) ผู้ดอ้ ยโอกาส วเิ คราะหเ์ ร่อื ง อตั ราผ้ดู ้อยโอกาสตอ่ ประชากรในพนื้ ท่ ี อัตราการรงั เกยี จทางสงั คม 
อัตราการเข้าถึงทรพั ยากร สดั สว่ นทไ่ี ดร้ ับความชว่ ยเหลือจากรฐั ต่อผู้ด้อยโอกาสในกลุ่มน้นั

6) คนพิการ วิเคราะห์เรอื่ ง แนวโน้มคนพิการในแตล่ ะประเภท สัดสว่ นการพง่ึ ตนเองได้ของผูพ้ ิการ
ต่อคนพิการทั้งหมด สาเหตุของการพกิ าร ความเข้มแขง็ ขององค์การดา้ นคนพกิ าร  
อัตราคนพกิ ารต่อประชากรในจังหวัด การจดั ส่งิ อำ�นวยความสะดวก การเข้าถึงบริการของรฐั

7) ครอบครวั  วิเคราะห์เรือ่ ง ความรุนแรงในครอบครัว ครอบครวั เลีย้ งเดย่ี ว ครอบครัวหย่าร้าง 
ลกั ษณะครอบครัว ครอบครวั เข้มแขง็

3. จัดต้งั คณะท�ำ งาน เพ่ือทำ�ขอ้ มูลเบือ้ งต้น
4. ท�ำ ขอ้ มลู เบ้อื งตน้  ในประเดน็ ทจ่ี ะวเิ คราะห ์ โดยอาจเลอื กในบางประเดน็ หรืออาจเลอื กทงั้ หมด 

ในการเตรียมขอ้ มลู อาจขอความร่วมมอื กับหนว่ ยงานทางสังคมอืน่ ทมี่ ีข้อมูลเหล่านั้นอยูแ่ ล้ว  
ชว่ ยจดั เตรียม และเชิญหนว่ ยงานเหล่านั้นเข้ามารว่ มกนั วเิ คราะห์

5. ก�ำ หนดวัน เวลา สถานท ่ี ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ จัดเตรียมเอกสารท่ีใชใ้ นการประชุมวิเคราะห ์

และออกจดหมายเชิญหนว่ ยงานและองค์การท่เี กี่ยวข้องเพอื่ เข้าร่วมการวิเคราะห์

6. รายงานขอ้ มูล ในวนั ทปี่ ระชุมวเิ คราะห์ สนง.พมจ. รว่ มกบั หน่วยงานท่มี ีขอ้ มลู  รายงานข้อมลู

สถานการณ ์ ให้ทีป่ ระชมุ ทราบ หลงั จากน้ันให้ที่ประชมุ แสดงความคิดเหน็ และวิเคราะห์รว่ มกนั

7. บันทกึ การประชุม วิเคราะหโ์ ดยใชแ้ ถบบนั ทึกเสยี ง และโดยการจดบนั ทกึ
8. สรุปผลการวเิ คราะห ์ ในแต่ละประเดน็ ให้ทีป่ ระชุมทราบ
9. จดั ทำ�รายงานการประชมุ  วิเคราะหส์ ถานการณส์ ง่ ให้กับหน่วยงานที่เข้าร่วมการวิเคราะห์

85

86 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

2. การจดั ท�ำ รายงาน  2. จำ�นวนรายงาน 1 ฉบับต่อปี 1. สนง.พมจ. จะตอ้ งจดั ทำ�รายงานการวิเคราะห์สถานการณท์ างสังคมข้อมูลในการจดั ท�ำ รายงาน รายงานการวิเคราะห ์
การวิเคราะหแ์ นวโนม้ รวบรวมผลจากฐานข้อมูลเดมิ ท่ีมีอยู่แล้วในสำ�นักงาน ขอ้ มลู ทตุ ยิ ภมู จิ ากหนว่ ยงานอน่ื ๆ ในจงั หวดั   แนวโน้มการจัดลำ�ดับ 
การจัดลำ�ดับ  ขอ้ มลู จากการส�ำ รวจ และขอ้ มลู จากการวิจัย ในเบ้ืองตน้ การจดั ท�ำ รายงานวเิ คราะหส์ ถานการณ์  ความส�ำ คัญดา้ นสังคม 
ความสำ�คัญด้านสงั คม  สนง.พมจ. อาจจะเร่มิ จากหยิบยกประเด็นท่ไี ดเ้ สนอไวใ้ นคูม่ ือเลม่ นบี้ างประเด็นมาวิเคราะห ์ และกลุ่มเปา้ หมาย 
และกลุ่มเป้าหมาย  และรายงาน ในปีถดั ไปหลังจากส่งั สมขอ้ มูลความเชี่ยวชาญในการวเิ คราะหแ์ ล้ว   ในจังหวัด
ในจังหวดั กอ็ าจขยายประเดน็ ในการวิเคราะหแ์ ละรายงานใหม้ ีความครอบคลมุ มากยงิ่ ข้ึน  
ดังนนั้ เนื้อหาของรายงานจงึ ข้ึนอยกู่ บั ความพรอ้ มของ สนง.พมจ. ในแตล่ ะแห่ง
2. นำ�ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู  โดยเลือกประเด็นส�ำ คญั ไปนำ�เสนอตอ่  ระดบั จงั หวัดและทอ้ งถ่ิน  
เพ่ือผลักดันสนู่ โยบายหรอื แผนของจงั หวดั และท้องถน่ิ
3. องคป์ ระกอบของรายงานโดยทว่ั ไป ประกอบดว้ ย บทน�ำ  เนอ้ื หาในแตล่ ะบท บทสรปุ  หนังสอื อ้างอิง 
และภาคผนวก
4. รูปแบบการนำ�เสนอข้อมลู  สามารถจัดทำ�ได้หลายรูปแบบ
1) การเสนอโดยใช้ตาราง ซงึ่ เป็นรูปแบบพ้ืนฐานทน่ี ิยมใชก้ ัน ดังในหนังสอื คมู่ อื เล่มนท้ี ใ่ี ช ้
การน�ำ เสนอแบบตารางเปน็ ตัวอยา่ ง การน�ำ เสนอแบบตาราง ท�ำ ใหเ้ ห็นภาพชดั เจนในเรอ่ื ง 
อตั ราสว่ น และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเด็นตา่ งๆ การเสนอตารางมที ้ังตารางเด่ยี ว  
ซง่ึ จะน�ำ เสนอจ�ำ นวน หรืออัตราสว่ นของประเด็นหนึง่ ๆ เพียงประเด็นเดยี ว และตารางไขว ้  
ซง่ึ มกี ารนำ�เสนอตงั้ แต่ 2 ประเดน็ ขน้ึ ไป
2) การน�ำ เสนอโดยการใช้แผนภมู เิ สน้  หรือ กราฟเส้น ใช้เสนอข้อมูลทมี่ คี วามต่อเนอื่ งเป็นระยะ 
เพ่ือท�ำ ใหเ้ ห็นแนวโน้มของสถานการณ์มคี วามชัดเจนย่งิ ขึน้
3) นำ�เสนอในรูปแบบ Infographic หรือ power point

มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ
3. การศึกษาวิจยั
3. จ�ำ นวนรายงานวิจัย 1 เร่ืองตอ่ ปี ขน้ั ตอนการท�ำ วิจยั
1. กำ�หนดประเด็นปญั หาการวจิ ยั  (Problem Identification) เปน็ ขัน้ ตอนแรก  
มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด
และมีความส�ำ คัญอยา่ งยิ่ง เพราะว่าปัญหาการวจิ ยั จะส่งผลสบื เนอ่ื งไปยังขน้ั ตอนตอ่ ไปท้ังหมด 
การก�ำ หนดปญั หาการวจิ ยั ท่ีดนี นั้  ตอ้ งมคี วามน่าสนใจ ก่อให้เกดิ การพฒั นาความรใู้ หม่ๆ  
และมปี ระโยชน์ในการนำ�ไปปฏบิ ตั  ิ
ปัญหาการวจิ ยั อาจมาจากแหล่งต่างๆ ดงั นี้
1) ปรากฏการณ์ทางสังคม เปน็ เหตุการณ์ท่เี กิดขนึ้ มาและมีแบบแผนบางประการใหส้ ังเกตได ้  

เช่น ในจงั หวัดหนึ่งมเี ดก็ เร่ร่อนจำ�นวนมาก มียวุ อาชญากรเพิ่มข้นึ อยา่ งมากในระยะ 3-4 ป ี
ทผ่ี า่ นมา เปน็ ตน้  ปรากฏการณเ์ หลา่ นย้ี อ่ มน�ำ ไปสกู่ ารก�ำ หนดประเดน็ และหวั ขอ้ การวจิ ยั ไดท้ ง้ั สน้ิ
2) นโยบายหรอื ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงฯ การเลอื กประเดน็ เพอ่ื ด�ำ เนนิ การวจิ ยั  ของ สนง.พมจ. นน้ั  
จะต้องน�ำ นโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงมารว่ มพิจารณาดว้ ย เชน่  นโยบายเก่ียวกบั  
การปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย ์ ส่งิ ต่างๆ เหล่าน้ ี สนง.พมจ. ยอ่ มที่จะน�ำ มา 
เปน็ ประเด็นในการวจิ ยั ได้ ท้ังยังเปน็ การหนนุ เสรมิ นโยบายเหล่าน้ันให้มรี ากฐานทางวชิ าการ
รองรบั อยา่ งหนกั แนน่ ยงิ่ ขน้ึ
3) ประเด็นทไ่ี ดจ้ ากการบริหารและ/หรือปฏบิ ตั งิ านในองค์การและกลมุ่ เป้าหมาย เปน็ กรณศี ึกษา
จากการปฏบิ ตั ิงาน เชน่  ประสิทธผิ ลในการด�ำ เนนิ งานโครงการ ภาวะผนู้ �ำ ในองคก์ าร ทนุ ทาง
สงั คมของชมุ ชน ความเข้มแข็งของชุมชน กรณศี กึ ษาเก่ียวกับการชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปา้ หมาย

2. การตง้ั ชอื่ เรอ่ื ง

เมอ่ื ไดป้ ระเด็นปญั หาการวิจยั แลว้  ขัน้ ตอนตอ่ ไปคือการต้งั ชอื่ เรอื่ ง ซง่ึ มีองค์ประกอบดังนี้
1) ระบถุ งึ ขอบเขตปญั หา ท�ำ ใหท้ ราบวา่ ศกึ ษาประเดน็ อะไร เชน่  ขบวนการและกระบวนการคา้ มนษุ ย์ 

บทบาททางการเมืองทอ้ งถน่ิ ของสตรี
2) ระบถุ งึ ลกั ษณะการเกบ็ ขอ้ มลู ในการวจิ ยั  เชน่  การส�ำ รวจพฤตกิ รรมทางเพศของเยาวชน  

การศกึ ษาเปรยี บเทยี บองคก์ รประชาชนทป่ี ระสบความส�ำ เรจ็  และองคก์ รทป่ี ระสบความลม้ เหลว

87

88 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ

3) ระบถุ งึ ประชากรเปา้ หมาย เชน่  วถิ ชี วี ติ ของเดก็ เรร่ อ่ นในเขตเทศบาลนครขอนแกน่   
ความพึงพอใจของผ้พู กิ ารต่อการจัดสวสั ดกิ ารสงั คม

4) ระบุสถานท่ีศกึ ษา เชน่  ปัจจัยทมี่ ีผลตอ่ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมของเยาวชนอำ�เภอ.......
ชอ่ื เรอ่ื งของการวจิ ยั ในบางเรอ่ื งอาจจะมที ง้ั ชอ่ื หลกั  และชอ่ื รอง ชอ่ื หลกั จะบอกใหท้ ราบวา่ ศกึ ษา 
เรอ่ื งอะไร ประเดน็ อะไร สว่ นชอ่ื รองเปน็ สว่ นขยายเพอ่ื สรา้ งความชัดเจนเกยี่ วกับกลุม่ เป้าหมาย 
สถานท่ีศึกษา และเวลาทศี่ กึ ษา เชน่  
-- บทบาทผ้สู งู อายุในการพัฒนาสงั คม : ศกึ ษากรณอี �ำ เภอปัว จังหวดั น่าน
-- ประสิทธผิ ลขององค์กรเครอื ข่าย : ศกึ ษากรณีองคก์ รเครือขา่ ยดา้ นสตรี อ�ำ เภอเมอื ง  

จังหวัดอบุ ลราชธานี

3. ก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั

เปน็ การระบใุ หช้ ดั เจนวา่  หวั ขอ้ ทท่ี �ำ วจิ ยั มเี ปา้ ประสงคศ์ กึ ษาในประเดน็ หลกั ๆ อะไรบา้ ง  
สง่ิ ทีส่ ำ�คญั กค็ ือ วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัยควรสอดคล้องกบั ประเดน็ ทตี่ อ้ งการศึกษา

หลกั การเขียนวตั ถปุ ระสงค ์ ดังน้ี

1) ให้ระบอุ ย่างชัดเจนวา่ เพ่ือศึกษาเร่ืองอะไร
2) วัตถปุ ระสงค ์ 1 ข้อ ควรมปี ระเดน็ เดียว หากมีหลายประเด็นควรแยกเปน็ ข้อใหม่
3) ในการวจิ ัย 1 เรื่อง อาจมีวตั ถุประสงค ์ 2-4 ข้อ หากมีวัตถุประสงค์หลายขอ้  ควรเรียงลำ�ดับ

ตามหลักเหตผุ ลให้ชัดเจน
4) ตัวแปรทใ่ี ช้ในการเขียนวัตถุประสงค์ตอ้ งนำ�ไปสกู่ ารวดั และการจัดเกบ็ ขอ้ มูลได้ 

ปกติวตั ถุประสงค์ของการวจิ ัยมี 4 ลกั ษณะ ดงั น ้ี คอื

1) เพื่อศึกษาสถานภาพและปญั หาที่เป็นอย ู่
2) เพื่อศกึ ษาปัจจัยหรือสาเหตุทม่ี ผี ลตอ่ สง่ิ ทีเ่ ปน็ ปัญหา
3) ศกึ ษาแบบแผนและกระบวนการการกอ่ เกิดปญั หา
4) ศึกษาตัวแบบหรอื แนวทางในการแก้ปัญหา

มาตรฐาน ตวั ช้วี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ
4. การสรา้ งกรอบคดิ และสมมตฐิ านในการวจิ ัย
มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด การสร้างกรอบคดิ ในการวิจัย มาจาก 2 แหล่งคือ
1) การทบทวนแนวความคดิ ทฤษฎีท่เี กย่ี วขอ้ งกับเรอื่ งที่จะทำ�
2) การศกึ ษางานวิจยั ที่เกีย่ วขอ้ ง
จากกรอบดังกล่าวสามารถนำ�มาสร้างเป็นสมมตฐิ านได ้ ซงึ่ สมมตฐิ านหมายถึง  
ขอ้ ความที่ระบุความสัมพนั ธ์ระหว่างตัวแปรตัง้ แตส่ องตัวข้นึ ไปที่นักวิจัยคาดการณไ์ วล้ ่วงหน้า  
และนำ�ไปทดสอบกับขอ้ เท็จจริงโดยใช้วิธีการจัดเก็บและวิเคราะหข์ ้อมลู อย่างเป็นระบบ
สมมติฐาน ทีน่ กั วิจยั น�ำ ไปทดสอบกนั สว่ นใหญม่ ีสองลักษณะคือ  
(1) การทดสอบความแตกตา่ ง เปน็ การทดสอบวา่ ความแตกตา่ งของตวั แปรอสิ ระ ว่ามผี ลท�ำ ให้
ตวั แปรตามแตกตา่ งกันหรอื ไม่ (2) การทดสอบความสมั พนั ธ์ เป็นการทดสอบวา่ ตวั แปรอสิ ระมี
ความสัมพนั ธ์หรอื ไม่กับตัวแปรตาม และหากสัมพันธก์ นั จะสมั พนั ธ์ในเชิงบวกหรอื เชงิ ลบ
การกำ�หนดสมมติฐานมีความสำ�คัญ เพราะจะไปมีส่วนในการก�ำ หนดสถิตทิ จี่ ะนำ�มาใช ้
ในการวิเคราะห์ดว้ ย
5. การสรา้ งเครือ่ งมือ
การสรา้ งเครือ่ งมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู  โดยน�ำ ตัวแปรไปนิยามเชิงปฏิบัติการ  
และสร้างตัวชว้ี ดั ขนึ้ มา เม่อื ไดต้ ัวบง่ ชแ้ี ลว้ กจ็ ะน�ำ ตัวบ่งชเี้ หล่าน้ีไปตั้งเปน็ ค�ำ ถาม  
ซ่ึงตัวบง่ ชแ้ี ต่ละตัวจะมขี อ้ ค�ำ ถามเทา่ ไรนั้น ขนึ้ อย่กู ับวา่ คำ�ถามทีใ่ ช้สามารถได้ขอ้ มลู มาตอบคำ�ถาม
ในประเด็นเหล่านน้ั เพยี งพอหรอื ไม่
6. การส่มุ ตวั อย่าง
สงิ่ ทต่ี อ้ งค�ำ นงึ ในการสุ่มตัวอยา่ งมีหลายประการดังนี้
1) ประชากรในการศึกษา หมายถงึ  หน่วยในการวิเคราะหท์ เี่ ป็นเป้าหมายในการศกึ ษา  
ในการกำ�หนดประชากรน้นั จะตอ้ งกำ�หนดใหช้ ดั เจนวา่ ประชากรเป็นใคร และประชากร 
ไมจ่ �ำ เปน็ ต้องหมายถงึ คนเท่านนั้ อาจเป็นส่งิ ของหรือกลุ่มก็ได ้
ประชากรอาจมีสองลกั ษณะ คือ ประชากรจ�ำ นวนจำ�กดั  ซงึ่ หมายถงึ  ประชากรที่มจี �ำ นวน
แนน่ อน สามารถแจงนบั ได้ และประชากรไม่จ�ำ กัดจำ�นวน ที่ไมส่ ามารถแจงนบั ได้  
หรอื  ไม่มขี ้อมลู เพียงพอท่ีจะประมาณได้

89

90 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตวั ช้วี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ

2) การสมุ่ ตวั อย่าง การสุ่มตวั อยา่ ง มี 2 ลกั ษณะคอื  การสุ่มตัวอยา่ งท่ใี ชท้ ฤษฎคี วามนา่ จะเปน็  
และการส่มุ ตัวอยา่ งท่ไี มใ่ ช้ทฤษฎีความนา่ จะเปน็

7. ขนาดของของกลุม่ ตวั อย่าง

ขนาดของกลมุ่ ตวั อยา่ งมวี ธิ กี ารค�ำ นวณหลายประการ เพอ่ื สะดวกในการใชง้ าน ขอเสนอใหใ้ ช ้
ขนาดตัวอยา่ งสำ�เร็จรปู ที่ได้รับการยอมรบั จากนกั วชิ าการของเครค็ กแี ละมอรแ์ กน

8. การเก็บรวบรวมข้อมูล

การเกบ็ รวมรวบข้อมลู มหี ลายแบบ ขอนำ�เสนอเพียงสองแบบทมี่ ีการใช้บอ่ ยครัง้ ในการวิจัย  
คอื  การสัมภาษณ ์ และการใช้แบบสอบถาม

การสัมภาษณ์ เป็นการที่นักวิจัยเขา้ ไปสอบถาม สนทนา กระตุน้ ให้เกิดการแสดงความคิดเห็น 

และบอกขอ้ เท็จจริงจากผู้ถูกสัมภาษณ์ เพ่ือให้ได้ข้อมลู ตามที่ตอ้ งการ

แบบสอบถาม เปน็ การเกบ็ ขอ้ มลู ทผ่ี ตู้ อบด�ำ เนนิ การตอบเองตามแบบสอบถามทใ่ี หไ้ ป  

โดยทผ่ี ้เู กบ็ ขอ้ มลู ไม่เขา้ ไปยงุ่ เกี่ยวกบั กระบวนการตอบ แต่อาจอธิบายลกั ษณะการตอบได้  
ขอ้ เสียของแบบสอบถามคอื  ผู้ที่ไม่รหู้ นงั สือไม่สามารถตอบได้

หลกั การสรา้ งแบบสอบถาม

1) มีความรู้ เข้าใจ ในแนวคิดทีต่ นเองศกึ ษาอยา่ งแจม่ ชดั
2) สอดคลอ้ งกบั การตอบปัญหาการวจิ ัยหรือตอบวัตถปุ ระสงค์
3) มกี ารก�ำ หนดตวั แปรหรอื ประเดน็ หลักของเนือ้ หา และมาตรวัดของตัวแปร
4) มีการแจกแจงจากประเดน็ หลกั ไปสู่ประเด็นยอ่ ยการก�ำ หนดประเภทและจ�ำ นวนข้อค�ำ ถาม

ประเภทคำ�ถาม

1) ปลายเปดิ  (Open-ended) เปน็ ค�ำ ถามทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้ตอบได้แสดงความคดิ เหน็ อยา่ งอสิ ระ  
และสามารถระบขุ อ้ เทจ็ จรงิ ตา่ งๆ ในรายละเอยี ดได้

2) ปลายปดิ  [Closed-ended] เป็นคำ�ถามทผ่ี ู้วิจยั สรา้ งคำ�ตอบใหผ้ ูต้ อบไดเ้ ลือก มขี ้อดคี อื  
สะดวกในการน�ำ มาประมวลและวิเคราะห์ขอ้ มลู

3) ค�ำ ถามต่อเนื่อง (Contingency Questions) ค�ำ ถามตอ่ มาข้ึนกบั คำ�ตอบในขอ้ ที่มาก่อนน้ัน
4) ค�ำ ถามเมทรกิ ซ์ (Matrix Question) หลายคำ�ถามแต่มีกลุ่มค�ำ ตอบเป็นกลมุ่ เดียวกัน

มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบัติ หลกั ฐานประกอบ
9. การวเิ คราะห์ข้อมลู
มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการวิจยั น้นั นิยมใชส้ ถิติเป็นเครือ่ งมือในการวิเคราะห ์
สถติ พิ ้นื ฐานทใี่ ช้ในการวเิ คราะหค์ อื  
1) การเสนอโดยสถติ พิ รรณนา เชน่  ร้อยละ ซ่งึ มจี ุดประสงคเ์ พอ่ื จำ�แนกแยกแยะตวั แปร 
ทีเ่ ราสนใจศึกษา เชน่  ตอ้ งการทราบความพึงพอใจของผูร้ บั บริการว่า รอ้ ยละเทา่ ไร พึงพอใจ 
ร้อยละเทา่ ไรไมพ่ ึงพอใจ รวมท้งั อาจวเิ คราะห์ลงไปในรายละเอยี ดของแตล่ ะกลุม่ กไ็ ด้  
เชน่  ผรู้ บั บริการทม่ี าติดตอ่ ขอเงินสงเคราะห์ มคี วามพึงพอใจร้อยละเทา่ ไร  
ผู้ท่ีมาตดิ ตอ่ ขออนญุ าตดำ�เนนิ การกิจการมคี วามพงึ พอใจรอ้ ยละเท่าไร
2) การนำ�เสนอโดยคา่ เฉลยี่  เปน็ การเสนอภาพรวมของตวั แปร ทีม่ ีการวัดเปน็ คะแนน  
หรอื มมี าตรวัดตั้งแต่ชว่ งมาตร (Interval scale) หรืออตั ราส่วน (Ratio Scale)
3) การวเิ คราะห์และน�ำ เสนอโดยไคสแควร์ เป็นการวิเคราะหค์ วามแตกตา่ งและ/หรอื   
ความสมั พนั ธ์ระหว่างตัวแปรที่เปน็ ตัวแปรเชิงกลมุ่
4) การวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรโดยใชค้ า่ สหสมั พนั ธ ์ เปน็ การระบวุ า่  ตวั แปรอสิ ระ 
มีอทิ ธพิ ลตอ่ ตวั แปรตามมากนอ้ ยเพยี งใด ในทิศทางบวกหรือลบ คา่ สหสมั พนั ธม์ คี า่ ตง้ั แต ่ -1 ถงึ  
1 หากมคี า่  -1 หมายความวา่  ตวั แปรอสิ ระมอี ทิ ธพิ ลในทศิ ทางลบตอ่ ตวั แปรตามอยา่ งสมบรู ณ ์  
เชน่  ความอบอนุ่ ในครอบครวั  มคี วามสัมพันธก์ บั พฤติกรรมความรุนแรงของเดก็ เท่ากับ -1
หมายความว่า หากเด็กไดร้ ับความอบอนุ่ ในครอบครัว กจ็ ะไมป่ รากฏวา่ เดก็ คนน้นั  
แสดงพฤตกิ รรมที่รนุ แรง เป็นต้น ส่วนความสมั พนั ธ์เชิงบวก หมายถงึ  เมอื่ ตัวแปรอิสระ 
มคี ่าเพ่มิ ข้นึ  กจ็ ะสง่ ผลใหร้ ะดบั ตัวแปรตามเพม่ิ ขึน้ เช่นกัน  
โดยปกตติ วั แปรอสิ ระทางสงั คมศาสตร์ มีค่าสหสมั พันธต์ ่อตวั แปรตามไม่มากนัก  
เพราะมปี จั จยั หลายประการทเี่ ขา้ มาแทรกแซงความสมั พันธด์ งั กล่าว

91

92 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตัวชว้ี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏิบตั ิ หลกั ฐานประกอบ
1 แผน 
4. การจัดท�ำ   4. จ�ำ นวนแผน ตอ่  5 ปี แนวทางการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร ์ พม.จงั หวดั • เอกสารแผนยุทธศาสตร ์
แผนยทุ ธศาสตร ์ ยทุ ธศาสตร์ การพัฒนาสงั คม 
การพฒั นาสังคมและ 1. แตง่ ตั้งคณะท�ำ งานจัดทำ�แผนยทุ ธศาสตร์ พม.จังหวดั  ซึ่งประกอบดว้ ย และความมน่ั คง 
1) บคุ ลากรใน สนง.พมจ. ได้แก่ พมจ. หัวหนา้ กลุม่ /ฝ่าย
ความมั่นคงของมนุษย์ 2) ตัวแทนหนว่ ยงานภาคเี ครือข่าย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในจังหวัด ของมนษุ ยจ์ งั หวัด  
จงั หวัด 5 ป ี (ป ี 2560-2564)
3) หน่วยงาน พม.ในจังหวดั
2. กำ�หนด วัน เวลา สถานทีใ่ นการจดั ประชมุ แผนยทุ ธศาสตร์
3. เชิญผ้มู ีสว่ นได้สว่ นเสียกับแผนฯ มารว่ มประชมุ
4. ระดมความคิดเห็นในการจดั ทำ�แผนฯ พร้อมวพิ ากษ์แผน
5. สรปุ  และจดั ทำ�เปน็ แผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจดั ทำ�แผนฯ 
แผนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัด จะต้องสอดคลอ้ ง 
กับแผน จังหวัด กระทรวง และ ชาต ิ นโยบายของรฐั บาล และรฐั ธรรมนูญ
1. การริเริ่มและการตกลงในการวางแผนยุทธศาสตร ์ เป้าประสงคข์ องขัน้ แรกคอื การเจรจา 
เพอ่ื หาขอ้ ตกลงรว่ มกนั ระหวา่ งแกนน�ำ ผมู้ อี �ำ นาจในการตดั สนิ ใจ และผู้นำ�ทางความคดิ ท้ังภายใน
และนอกองคก์ าร 
ประเด็นที่ควรบรรลุในข้อตกลง
-- เปา้ ประสงค์ในการจดั ทำ�
-- ข้ันตอนและกระบวนการในการจัดทำ�แผน
-- รูปแบบและระยะเวลาในการทำ�รายงาน
-- บทบาท หนา้ ท่ี ของสมาชิกของกลุ่มหรอื คณะกรรมการทีด่ ูแลการจดั ทำ�แผน  
(Strategic Planning Coordinating Committee) บทบาท หนา้ ท่ี และ สมาชิกของกลุ่ม
ท�ำ งานเพอื่ ยกร่างแผนยทุ ธศาสตร์
-- พันธะในการจัดสรรทรพั ยากรเพื่อการจดั ท�ำ
-- ขอบเขตและขอ้ จำ�กัดในการจดั ทำ�แผน


Click to View FlipBook Version