The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pmjphuket, 2021-03-22 00:09:41

มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่ กระทรวง พม.

มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่

Keywords: มาตรฐานการปฏิบัติหน้าที่,พม

มาตรฐาน ตัวช้วี ัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบัติ หลกั ฐานประกอบ

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 2. การระบุอาณัติขององค์การ ระบุอำ�นาจหน้าทห่ี รือภารกิจท่เี ปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ 
ขององค์การ อาณตั ิทเี่ ปน็ ทางการดำ�รงอยใู่ น ระเบยี บ กฎ ค�ำ สง่ั  กฎหมาย และรฐั ธรรมนูญ 
สว่ นอาณตั ทิ ่ีไมเ่ ปน็ ทางการคอื การเมือง หรอื นโยบายเฉพาะ

3. การสรา้ งความชดั เจนในเรือ่ งพนั ธกจิ และคา่ นยิ ม พันธกจิ ขององคก์ าร เปน็ ส่งิ ทต่ี ่อจากอาณัต ิ
เปน็ เหตุผลทสี่ ร้างความชอบธรรมให้กบั การด�ำ รงอยู่ขององคก์ าร สำ�หรบั องคก์ ารราชการ 
และองคก์ ารสาธารณะประโยชน์ สิ่งนหี้ มายถงึ จะต้องระบุความจำ�เป็นด้านสังคมและการเมอื ง 
ที่องค์การจะต้องบรรล ุ ภายใต้หลกั คดิ นอ้ี งคก์ ารจงึ เป็นเครอื่ งมอื ในการบรรลจุ ดุ หมาย  
ไมใ่ ช่เปน็ จุดหมายของตวั เอง
การระบุและสรา้ งความชัดเจนให้กับพันธกิจจะชว่ ยขจัดความขดั แย้งท่อี าจเกดิ ขึน้ ในองคก์ าร 
และชว่ ยสร้างชอ่ งทางในการอภิปรายถึงกิจกรรมที่ตอ้ งท�ำ  และยังเป็นแหล่งสร้างแรงดลใจให้กับ
แกนหลักของกลุ่มผู้ที่มีส่วนได้สว่ นเสยี  (Stakeholder) โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ี
เปน็ ทช่ี ัดเจนว่าการบรรลุเป้าหมายที่ยิ่งใหญ่นน้ั ยากท่จี ะเกิดขึน้ ได้หากไม่มขี อ้ ตกลงพื้นฐาน 
ร่วมกนั ระหวา่ งผู้ทม่ี สี ่วนเกีย่ วข้องภายใตก้ ารดลใจของพนั ธกจิ
พนั ธกจิ อาจเปน็ ประโยคทส่ี น้ั  มเี พยี งยอ่ หนา้ เดยี ว หรอื  อาจเปน็ ค�ำ ขวญั กไ็ ด ้ แตก่ ารพฒั นาพนั ธกจิ   
ควรจะเกดิ จากการอภิปรายถกเถยี งเก่ียวกบั ลกั ษณะสำ�คัญขององคก์ าร เปา้ ประสงค ์  
และความปรารถนาท่ีจะตอบสนองผทู้ ่มี ีส่วนไดส้ ว่ นเสียสำ�คญั  ปรญั ญาและคา่ นยิ มแกนกลาง 
ตลอดจนมาตรฐานทางจริยธรรมขององคก์ าร 

93

94 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตวั ช้วี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

4. การประเมนิ สง่ิ แวดล้อมภายนอกและภายในองคก์ าร ควรประเมินสถานการณโ์ ดยใช้ 
การวเิ คราะห์โอกาส (Opportunities) และการคกุ คาม (Threats) จากภายนอกองคก์ าร  
และวเิ คราะหจ์ ดุ แขง็  (Strengths) และจดุ ออ่ น (Weakness) ขององคก์ าร  
โอกาสและการคกุ คามเนน้ มิติในช่วงเวลาอนาคตมากกว่าปจั จุบนั  สว่ นจดุ แขง็ และจดุ ออ่ นนน้ั  
เนน้ ในปจั จบุ นั  การวเิ คราะหเ์ งอ่ื นไขทง้ั สองนน้ั ท�ำ ไดโ้ ดยการติดตามสถานการณ์และแนวโนม้
ทางการเมอื ง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา เทคโนโลย ี และส่ิงแวดลอ้ มดา้ นกายภาพอน่ื ๆ 
การพิจารณาจดุ แขง็ และจุดออ่ นขององค์การจะทำ�ให้ทราบถงึ  สมรรถภาพพิเศษ  
หรอื  ความสมรรถภาพแกนกลาง (Core Competencies) ซ่ึงประกอบดว้ ยความสามารถ 
ที่เขม้ แข็งท่สี ดุ ขององค์การและยทุ ธศาสตร์และการปฏบิ ัตทิ ีม่ ปี ระสิทธิผลทัง้ หมด

5. การระบุประเดน็ ยทุ ธศาสตร ์ ประเดน็ ทางยุทธศาสตรม์ แี นวโนม้ ที่เกย่ี วข้องกับความขัดแยง้  
ในทางใดทางหนึ่ง ความขัดแยง้ ดังกลา่ วอาจเป็นความขัดแย้งเร่ืองเป้าหมาย วธิ กี าร ปรชั ญา 
สถานที่ เวลา และบคุ คล ดงั นน้ั องคก์ ารตอ้ งเตรยี มตวั ในการจดั การกบั ความขดั แยง้ ทห่ี ลกี เลย่ี ง 
ไมไ่ ด้เหลา่ นี้ องคป์ ระกอบของประเด็นยุทธศาสตรม์ ีสามลกั ษณะ คอื
-- ประเด็นควรไดร้ ับการอธิบายใหส้ ้ันและกระชับภายในหน่ึงย่อหน้า ควรถูกรา่ งในลกั ษณะ
ค�ำ ถามซึง่ องคก์ ารสามารถดำ�เนนิ การในเชงิ บวกเพอ่ื ตอบได้ หากองค์การไมอ่ าจท�ำ อะไรได้
กบั ประเดน็ นี ้ สิง่ ทดี่ ที ส่ี ุดคือไมค่ วรคิดถึงมันในฐานะทีเ่ ปน็ ประเด็นส�ำ หรับองค์การ  
เพราะองค์การมที รพั ยากรจ�ำ กดั  ทีไ่ มค่ วรสูญเสียไปกบั ประเดน็ ท่ีไม่อาจเกิดผลส�ำ เร็จได้
-- ควรก�ำ หนดตัวแปรในประเด็นยทุ ธศาสตร ์ ที่เกีย่ วขอ้ งกับอาณัติ พนั ธกิจ คา่ นิยม  
จดุ แข็งจุดออ่ นภายใน และโอกาสและการคกุ คามจากส่ิงแวดลอ้ ม
-- ทมี วางแผนควรระบุผลสบื เนอ่ื งที่เกิดข้ึน หากประเดน็ ดงั กลา่ วไม่ได้รบั การหยิบยกขึ้นมา
พิจารณาเป็นประเด็นยุทธศาสตร์

มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด วธิ ีการระบุประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ มวี ธิ ีหลกั  4 ประการ คือ

-- วิธกี ารทางตรง (Direct Approach) โดยใชก้ ารวเิ คราะหแ์ บบ SWOTs
-- วิธีการทางออ้ ม (Indirect Approach) โดยใชก้ ารระดมสมองเกยี่ วกับทางเลอื กหลายๆ ทาง 

ก่อนระบุประเดน็  จากน้นั รวบรวมเป็นกลมุ่  และพิจารณาวา่ ทางเลอื กใดมีศกั ยภาพ 
ทจี่ ะน�ำ ไปสกู่ ารต้ังประเดน็ ทางยทุ ธศาสตร์
-- วธิ กี ารก�ำ หนดจากเปา้ ประสงค ์ (Goal Approach) เรม่ิ จากเปา้ ประสงค์  
จากน้ันพจิ ารณาระบุว่ามปี ระเดน็ อะไรบ้างทจ่ี ะน�ำ ไปสเู่ ปา้ ประสงคน์ น้ั
-- วธิ กี ารกำ�หนดจากวิสยั ทัศน์ของความส�ำ เรจ็  (Vision of Success) เริม่ โดยการรา่ งวสิ ัยทศั น์
ทบ่ี อกถงึ ความส�ำ เรจ็  จากนัน้ ระบปุ ระเดน็ ที่ต้องดำ�เนนิ การเพ่อื ให้วิสยั ทศั น์น้ันเป็นจรงิ
6. กอ่ รูปยุทธศาสตรแ์ ละแผนในการจดั การประเดน็  ยุทธศาสตรท์ ี่มปี ระสทิ ธิผลจะตอ้ งตอบสนอง
เกณฑ์เป้าหมาย มคี วามเปน็ ไปไดใ้ นเชิงปฏิบัติเปน็ ทีย่ อมรบั ของผูม้ สี ่วนไดเ้ สีย และสอดคลอ้ ง
กบั ปรัชญาองคก์ ารกับค่านิยมแกนกลาง
7. ทบทวนและน�ำ เสนอแผน หากเป็นองค์การเล็ก ข้ันนร้ี วมเขา้ กบั ในขัน้ ทห่ี กได ้ ทบทวนเปา้ หมาย
และผลประโยชน์ของผทู้ มี่ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งท้งั ภายในและภายนอกองค์การ เพอ่ื ใหแ้ ผนท่ียอมรบั
และอนมุ ตั ิ
8. ก�ำ หนดวิสยั ทัศนท์ ีม่ ปี ระสทิ ธิผล พรรณนาวา่ องค์การจะมีรูปลกั ษณเ์ ป็นอย่างไร 
หากการน�ำ ยทุ ธศาสตร์ไปปฏบิ ัตปิ ระสบความสำ�เร็จ เรยี กว่า วสิ ัยทศั น์ของความส�ำ เร็จ  
การพรรณนา รวมถึง พนั ธกจิ  ยทุ ธศาสตร์พืน้ ฐาน ผลการปฏบิ ัติงาน เกณฑส์ �ำ คัญในการ 
ตดั สนิ ใจ และมาตรฐานทางจริยธรรมส่งิ ท่ที า้ ทายการบรรลวุ ิสัยทศั น์ คอื  สงิ่ ที่องคก์ ารต้องการ 
และสิง่ ท่อี งคก์ ารมี

95

96 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบัติ หลกั ฐานประกอบ

9. พฒั นากระบวนการปฏบิ ตั ิงานท่มี ปี ระสิทธภิ าพ หากเปน็ องค์การเดียวและมขี นาดเล็ก   • รายงานการประชุม
ขั้นน้อี าจรวมอยูใ่ นขน้ั ที่หก แตห่ ากมีความหลากหลายองค์การหรือเป็นองคก์ ารขนาดใหญ่   ปรบั ปรุง
กค็ วรมีการแยกออกมา แผนปฏิบัตงิ านควรมรี ายละเอยี ดดงั นี้ • เอกสารแผน 
-- บทบาทและความรบั ผิดชอบของคณะกรรมการดูแล ทมี ขององคก์ าร และปจั เจกชน ทป่ี รับปรงุ แลว้
-- วตั ถุประสงค์เฉพาะ ผลท่ีคาดหวงั • โครงการทเ่ี สนอ
-- การปฏิบัติทเี่ ฉพาะเจาะจง และรายละเอียด • ค�ำ สัง่ จงั หวัดที่แต่งตัง้
-- ผังรายละเอยี ด คณะกรรมการ
-- ทรพั ยากรที่ต้องการและแหลง่ • รายงานการประชุมของ
-- กระบวนการสอ่ื สาร คณะกรรมการ กบจ.
-- การทบทวน การก�ำ กบั  และวธิ กี ารแกค้ วามผดิ พลาดหากมปี ญั หาเกดิ ขน้ึ

5. การปรับปรงุ แผน 5. จำ�นวนครงั้ ทป่ี รบั ปรงุ 1 ครัง้ ตอ่ ปี 1. เมือ่ น�ำ แผนยุทธศาสตรไ์ ปปฏบิ ัติ 1 ป ี ให้ สนง.พมจ. น�ำ แผนฯ ดงั กล่าวมาทบทวนวา่  
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา แผนยทุ ธศาสตรก์ าร ควรมกี ารปรับปรงุ แผนอย่างไรบา้ ง
สังคมและความมัน่ คง พัฒนาสังคมและ 2. กำ�หนด วนั  เวลา สถานท่ใี นการจัดประชมุ ปรับแผนยทุ ธศาสตร์
ของมนุษยจ์ ังหวดั ความมนั่ คง  3. เชญิ ผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี กบั แผนฯ มารว่ มประชมุ
ของมนษุ ย์จังหวัด 4. ระดมความคดิ เห็นในการปรับแผน
5. สรปุ แผน/โครงการ ทคี่ วรมกี ารปรบั ปรงุ

6. แผนกลยทุ ธ์ดา้ นสังคม  6. จ�ำ นวนโครงการ  อยา่ งนอ้ ย   1. รว่ มเป็นกรรมการจดั ท�ำ แผนพฒั นาจงั หวดั
ในแผนพฒั นาจังหวัด ด้านสังคมท่ีไดร้ ับ  1 โครงการ 2. จดั เตรยี มขอ้ มลู สถานการณ์ดา้ นสังคมย้อนหลังอย่างน้อย 3 ปี ให้หนกั แน่น ถูกต้อง ครบถว้ น  
การบรรจุใน 
แผนพฒั นาจงั หวัด และทนั สมัย เพ่ือใชเ้ ตรยี มการประชุมจัดทำ�แผนฯ 
3. จดั เตรยี มแผนงานหรอื โครงการที่จะนำ�เสนอบรรจใุ นแผนพัฒนาจังหวดั  ใหพ้ รอ้ มเพื่อชแ้ี จง
4. หากโครงการได้รับอนมุ ัต ิ แล้วนำ�ไปด�ำ เนินการตามขัน้ ตอนราชการเพอ่ื ปฏิบัตติ อ่ ไป

2. ดา้ นการประสานและจัดทำ�แผนงาน โครงการและกิจการด้านการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์ในระดบั จงั หวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง

มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบัติ หลกั ฐานประกอบ

7. การจัดท�ำ   7. จ�ำ นวนแผนด้านสังคม  มี 6   แผนงานดา้ นสงั คม ไดแ้ ก่ แผนปฏบิ ตั ิงานตามกลุ่มเปา้ หมายท่ีสอดคลอ้ งกับแผนยุทธศาสตร์  เอกสาร 
และขับเคล่อื น  ท่ีมีการจดั ท�ำ   แผนงาน   พม.จังหวดั  เชน่   แผนงาน/โครงการ 
แผนด้านสงั คม และขับเคลื่อน ครบทกุ ครบถว้ นตามกลมุ่ /
กลมุ่ / • แผนพฒั นาเดก็ ประเด็น
ประเดน็   • แผนคมุ้ ครองเด็ก
(6 กลุ่ม/ • แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพกิ าร
ประเดน็ ) • แผนป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม
• แผนพัฒนาผู้สูงอายุ
มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด • แผนปอ้ งกันการค้ามนษุ ย์
• แผนสง่ เสริมการจัดสวสั ดิการสงั คม
ในการจัดทำ�แผนยุทธศาสตร์ ใช้ยทุ ธศาสตรข์ องรัฐบาล ยุทธศาสตรข์ องกระทรวงฯ และ
ยทุ ธศาสตรข์ องจงั หวดั  เป็นแนวทางในการจดั ทำ�
1. รวบรวมขอ้ มลู ขา่ วสารด้านกล่มุ เปา้ หมายทุกกล่มุ เพ่ือใชใ้ นการจดั ทำ�แผนงาน
2. วิเคราะห์สาเหตุและจดั ลำ�ดับความส�ำ คญั ของปัญหาในแตล่ ะกลมุ่
3. ก�ำ หนดวัตถุประสงค ์ เปา้ หมาย และตัวช้ีวัดของแผนงานแต่ละแผนงาน
4. จัดท�ำ แผนงาน/โครงการเพื่อดำ�เนนิ การแก้ปญั หา

8. แผนปฏบิ ตั ิงาน  8. จ�ำ นวนแผนปฏิบัติ 1 แผนตอ่ ปี 1. ในการจดั ทำ�แผนปฏิบัตงิ านประจ�ำ ปี ใชย้ ุทธศาสตรข์ องรฐั บาล ยุทธศาสตรข์ องกระทรวงฯ   • เอกสารแผนปฏบิ ัติงาน
ประจำ�ปี งานประจำ�ปี และยุทธศาสตร์ของจงั หวดั  เปน็ แนวทางในการจดั ทำ� ประจ�ำ ปี
9. รอ้ ยละของโครงการ รอ้ ยละ 100 2. จดั ประชุมหวั หน้ากลมุ่ งานเพ่อื กำ�หนดกรอบ ทิศทาง และประเดน็ ของแผนฯ  • รายงานการดำ�เนนิ งาน
ทไี่ ดร้ ับการนำ�ปฏิบตั ิ 3. หัวหนา้ กลุ่มงานนำ�กรอบ ทิศทาง และประเดน็ ของแผน ไประดมความคิดในกลุม่ งาน  ของโครงการทีไ่ ด้รับ
เพอ่ื กำ�หนดโครงการ การนำ�ไปปฏิบตั ิ

97

98 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตัวชี้วัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบัติ หลกั ฐานประกอบ
9. การประเมินผลแผน 4. หัวหนา้ กลมุ่ งานแต่ละกลมุ่ น�ำ เสนอโครงการในทปี่ ระชมุ  เปดิ โอกาสใหอ้ ภปิ รายแสดงความเหน็   • รายงานการประชมุ คณะ
เกย่ี วกบั โครงการต่างๆ อย่างกว้างขวาง จัดท�ำ แผนปฏิบัตงิ าน
5. พจิ ารณาโครงการจากสำ�นัก กรม /กอง จากสว่ นกลาง บรรจุลงในแผนปฏบิ ัตงิ านประจ�ำ ปี   ประจ�ำ ปีของสำ�นกั งาน
และน�ำ แผนปฏิบัตงิ านไปปฏบิ ัติ • คำ�สง่ั แตง่ ตัง้ คณะ
กรรมการจัดทำ�แผน
10. จำ�นวนแผน  ทุกแผน แผนที่ประเมิน คือ แผนด้านสงั คมที่มีการจัดทำ�และขบั เคลอ่ื น (จากแผนในตวั ชวี้ ดั ที่ 7) • ค�ำ สง่ั แตง่ ตง้ั  
ดา้ นสงั คมที่ไดร้ ับ ขน้ั ตอนการประเมินผลแผน  คณะกรรมการประเมนิ
การประเมิน (แผน • รายงานการประชมุ  
จากตวั ชว้ี ดั ท ่ี 7) 1. จัดทีมประเมนิ ผลแผน  คณะกรรมการประเมนิ
2. ก�ำ หนดกรอบและขอบเขตการประเมินให้ชัดเจน • ค�ำ สง่ั แตง่ ตง้ั  
11. จำ�นวนรายงานการ 1 ฉบบั ต่อปี 3. เขียนโครงการประเมนิ ผล คณะกรรมการประเมนิ
ประเมนิ ผลแผน 4. กำ�หนดตัวแปร ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ ที่ใชใ้ นการประเมนิ ผล • รายงานการประชมุ  
ปฏิบัติงานประจ�ำ ปี คณะกรรมการประเมนิ
5. ก�ำ หนดประชากร กลมุ่ ตวั อย่าง หรอื กลุ่มเป้าหมายในการประเมนิ ผล แผนปฏบิ ตั งิ านประจ�ำ ป ี
6. จัดท�ำ เครอ่ื งมือในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู  เช่น แบบสอบถาม หรอื  แบบสัมภาษณ์ ของส�ำ นกั งาน
7. เกบ็ รวบรวมข้อมลู โดยการใชแ้ บบสอบถามหรือการสมั ภาษณ ์ หรอื จดั เวทีวิพากษ์แผน • เอกสารการประเมนิ แผน
8. ประมวลผลขอ้ มลู และวเิ คราะห ์ โดยใชส้ ถติ  ิ รอ้ ยละ คา่ เฉลย่ี  คา่ สหสมั พนั ธ ์ เปน็ ตน้ ปฏบิ ตั งิ านประจ�ำ ปี
9. เขยี นรายงานการประเมนิ ผล • ทะเบยี นรบั สง่ หนงั สอื
ขั้นตอนการประเมนิ ผลแผนปฏิบตั ิงานประจำ�ปี • ส�ำ เนาเอกสาร 
1. จดั ตั้งคณะทำ�งาน ผลการด�ำ เนนิ งาน  
2. จัดประชมุ บคุ ลากร และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทเี่ กีย่ วขอ้ ง หรอื  เอกสารรายงาน 
3. สรุปรายงานผลการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน 
4. น�ำ เสนอตอ่ ผบู้ ังคับบญั ชา สง่ หนว่ ยงานสว่ นกลาง

3. ดา้ นการสง่ เสริมและประสานการด�ำ เนินงานการจดั กจิ กรรมตา่ งๆ ตามภารกจิ และเปา้ หมายของหนว่ ยงานในกระทรวง

มาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

10. ความครบถว้ นในการ 12. รอ้ ยละของภารกจิ   รอ้ ยละ 100 1. เมื่อได้รบั การประสานเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรจากหนว่ ยงานส่วนกลางในเรอื่ งใด โครงการใด  • เอกสารสรุปภารกิจ
ดำ�เนนิ งานที่ได้รบั   ท่มี ีการปฏบิ ัต ิ เพอ่ื ที่จะให ้ สนง.พมจ. ปฏิบตั  ิ กบั กลุม่ เป้าหมายหรือจดั กิจกรรม สนง.พมจ. จะตอ้ งบันทึกไว ้
การมอบหมาย  ตามท่ไี ด้รบั   อยา่ งเป็นระบบ
จากหนว่ ยงาน  การประสาน 2. น�ำ งานท่ไี ด้รบั การประสานไปปฏิบตั ใิ หค้ รบถว้ น
ในกระทรวง  3. เม่อื มกี ารดำ�เนนิ การตามท่หี น่วยงานสว่ นกลางรอ้ งขอแล้ว กใ็ หบ้ ันทกึ วา่  “ภารกิจนีไ้ ดป้ ฏิบัตแิ ลว้ ” 
เป็นลายลักษณอ์ ักษร 4. เมอ่ื ใกล้สนิ้ ปงี บประมาณสรุปภารกจิ ทีไ่ ดร้ ับการประสาน และดำ�เนินการในรอบปี

11. ความทนั เวลา  13. รอ้ ยละของภารกิจ  ร้อยละ 80 1. เมอ่ื ได้รับการประสานจากหนว่ ยงานส่วนกลางในเรอื่ งใด โครงการใด เพือ่ ท่จี ะให้ สนง.พมจ.  • เอกสารสรปุ ภารกิจ
ในการปฏบิ ัตงิ านทไ่ี ด้ ทีม่ ีการปฏบิ ตั ิตาม ปฏิบัติ กบั กลมุ่ เปา้ หมายหรอื จดั กิจกรรม สนง.พมจ. จะต้องบนั ทกึ  “เวลาเปา้ หมาย”  
มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด รับการมอบหมาย เวลาท่ีกำ�หนด ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ใิ ห้ชัดเจน

2. เมอ่ื มีการด�ำ เนนิ การตามท่หี น่วยงานสว่ นกลางร้องขอแล้ว ก็ให้บนั ทึกวา่   
“ภารกิจนไี้ ด้ปฏบิ ตั ภิ ายในกำ�หนดเวลาเปา้ หมาย”

3. เมื่อใกลส้ ้นิ ปีงบประมาณสรปุ การบรรลุตาม “เวลาเปา้ หมาย” ของภารกิจทีไ่ ด้รับการประสาน 
และดำ�เนินการในรอบปี

12. การรายงานผล  14. ร้อยละของ ร้อยละ 80 • จดั ท�ำ รายงานผลการดำ�เนนิ งาน • ส�ำ เนาเอกสารรายงาน 
การดำ�เนนิ งาน  โครงการ/กจิ กรรม  ผลการด�ำ เนินงาน
ตามภารกจิ ท่ไี ด้รบั ทด่ี �ำ เนนิ งาน 
มอบหมาย มกี ารรายงาน 
ผลการด�ำ เนนิ งาน

99

100 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 4. ด้านการสง่ เสริม สนบั สนนุ และประสานการดำ�เนินงานกบั องคก์ รเครือขา่ ยในจงั หวดั  ท้ังภาครฐั และภาคเอกชน

มาตรฐาน ตัวชีว้ ัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบตั ิ หลกั ฐานประกอบ

13. จดั ทำ�ระบบ และ 15. จำ�นวนระบบขอ้ มูล 1 ระบบ 1. รวบรวมขอ้ มลู องค์กรเครือข่ายที่มีอย่แู ล้ว ซึ่งกระจายอยู่ตามกลุ่มฝา่ ยมาจดั ให้เปน็ ระบบเดยี วกัน • เอกสารระบบข้อมลู
วิเคราะห ์ ขอ้ มูล องค์กรเครอื ขา่ ย 2. ส�ำ หรับตัวอย่างในการวเิ คราะห์ องค์กรเครือข่าย
องค์กรเครือข่าย 16. จ�ำ นวนการปรับปรุง 1 ครั้งต่อปี 2.1 การจำ�แนกประเภทขององค์กรเครอื ข่ายตามเกณฑต์ า่ งๆ เช่น ดเู พ่มิ เติมภาคผนวก 
ขอ้ มลู องคก์ ร  1) การจำ�แนกโดยใช้วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารเป็นเกณฑ์
เครือข่าย 2) การจ�ำ แนกโดยใช้ลักษณะกจิ กรรมทอ่ี งคก์ ารนนั้ ดำ�เนนิ การเปน็ หลกั เป็นเกณฑ์ ตวั อย่างท ่ี 4
• เอกสารแสดง 
3) การจ�ำ แนกโดยอาศัยความเปน็ ทางการขององค์การเปน็ เกณฑ์ เชน่  สมาคม มูลนิธ ิ จะตอ้ ง การปรบั ปรุงข้อมลู  
จดทะเบยี นเปน็ ทางการ แต่กล่มุ หรือชมรมตา่ งๆ ไม่ตอ้ งจดทะเบียน เครือขา่ ย
4) การจำ�แนกโดยใช้กลมุ่ เปา้ หมายหลักขององค์การน้นั เปน็ เกณฑ์
5) การจ�ำ แนกโดยใชพ้ ้ืนทขี่ ององคก์ ารเป็นเกณฑ์
6) การจ�ำ แนกโดยใชก้ ารสนบั สนนุ งบประมาณจาก สนง.พมจ. เปน็ เกณฑ์
นอกจากน้นั ในการวิเคราะหอ์ าจจ�ำ แนกเปน็ ตารางไขว้ โดยใชเ้ กณฑห์ ลายตวั รว่ มกัน  
เชน่  การใชเ้ กณฑ์พืน้ ท ี่ กบั  กลุ่มเป้าหมายขององค์การ เปน็ ต้น
2.2 จ�ำ นวนกรรมการขององค์กรเครอื ขา่ ยในภาพรวม โดยจำ�แนกเปน็ เพศ อาย ุ ระดบั การศกึ ษา
2.3 วิเคราะห์แนวโนม้ และสาเหตุการเพิ่มและการลดขององค์กรเครือขา่ ยแต่ละประเภท
2.4 ควรประเมินศกั ยภาพขององค์การโดยสังเขป และใชต้ ัวบง่ ช้ ี 4 ตวั  คือ ความเอางานเอาการ
ของคณะกรรมการ ความตอ่ เนื่องของกิจกรรม ทรพั ยากรพ้ืนฐานขององค์การ  
และการมสี ่วนรว่ มของสมาชิก
2.5 จดั ทำ�รายงานองค์กรเครือขา่ ย โดยรูปแบบรายงานเขยี นตามประเด็นข้างตน้  และมีบทสรุป 
ในภาพรวมและจัดพิมพร์ ายงานองคก์ รเครอื ขา่ ยและเผยแพร่ไปยงั หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้อง

มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ

14. การมแี กนน�ำ ประสาน 17. ร้อยละของตำ�บล  ร้อยละ 80 1. กำ�หนดสถานท่ีทจี่ ะเป็นศูนยป์ ระสานงานองคก์ รเครอื ขา่ ยในระดบั อำ�เภอ ตำ�บล และหมู่บา้ น • บัญชีรายชื่อแกนนำ� 
งานเครอื ข่าย  ที่มแี กนน�ำ   2. กำ�หนดตัวบคุ คลทีเ่ ป็นผปู้ ระสานงานในระดบั อำ�เภอ ต�ำ บล และหมู่บ้าน โดยการประชุม คัดเลือก  จ�ำ แนกตามต�ำ บล
-- อพม. ประสานงาน  เลือกต้ังและ/หรือแตง่ ตงั้  แกนน�ำ ประสานงานเครอื ข่าย • บนั ทึกการประชมุ  
-- เดก็ และเยาวชน เครือขา่ ยครบ  3. ก�ำ หนดประเด็น และวิธกี ารประสานงาน การเลอื กแกนน�ำ
-- ผสู้ งู อาย ุ   ทุกกลุม่ เปา้ หมาย  4. สนับสนนุ ทรัพยากรทจี่ �ำ เปน็ ในการประสานงาน และการปฏิบตั ภิ ารกิจแก่ศูนย์ประสานงาน 
(ชมรม หรอื  กลมุ่ ) ทก่ี �ำ หนด เครอื ขา่ ยในระดับอำ�เภอ ตำ�บล และหมูบ่ ้าน
-- สตรี
-- ครอบครวั
-- คนพิการ

มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด 15. การสือ่ สารกบั   18. ร้อยละขององค์กร รอ้ ยละ 80  1. จดั ท�ำ เอกสารดา้ นวชิ าการ กฎหมาย ระเบยี บ ท่ีเกย่ี วกับการพัฒนาสงั คม ความมนั่ คงของมนษุ ย์  • บนั ทกึ การตดิ ตอ่   
องค์กรเครือขา่ ย เครือขา่ ยท่มี กี ารสง่   และการจัดสวัสดกิ ารสงั คม หรือขอ้ มลู อน่ื ๆ ทเี่ ป็นประโยชนต์ อ่ องคก์ รเครอื ข่าย และแจกจา่ ย ท้ังทาง
ข้อมูลข่าวสาร 2. จัดสง่ เอกสารให้องค์กรเครือข่าย โดยจัดทำ�หนงั สอื ราชการแนบไปกับเอกสารทีจ่ ดั ส่งให้ไปดว้ ย  เอกสาร และ 
19. จำ�นวนคร้งั   อย่างน้อย โดยจัดส่งใหท้ ุกๆ ไตรมาส สอื่ อิเลก็ ทรอนคิ ส์ อืน่ ๆ
ในการส่งข้อมลู   ไตรมาส 
ขา่ วสารใหก้ บั ละ 1 ครัง้
องคก์ รเครือข่าย

16. การสนบั สนนุ การ 20. จำ�นวนการจดั 12 ครงั้ ตอ่ ป ี   1. จดั ประชมุ สมั มนาองคก์ รเครอื ข่ายเพือ่ แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็  ด้านวชิ าการ ดา้ นนโยบายและ • เอกสารโครงการ
ด�ำ เนนิ งานเครอื ข่าย ประชุมรว่ ม  (นบั รวมทกุ ยทุ ธศาสตรข์ องกระทรวงฯ ดา้ นกฎหมาย ดา้ นวธิ กี ารปฏบิ ตั งิ าน แนวทางในการรว่ มมอื ซง่ึ กนั และกนั   • เอกสารรายงานผลการ
แกนนำ�เครือขา่ ย เครือขา่ ย) รวมทั้งปัญหาอุปสรรคในการด�ำ เนนิ งาน ประชมุ  สมั มนา อบรม
21. จำ�นวนการจดั อบรม  12 ครัง้ ตอ่ ปี 2. จดั อบรมใหก้ บั องค์กรเครือขา่ ย • เอกสารการสนบั สนุน
ใหค้ วามรแู้ ละพฒั นา  (นับรวมทุก 3. สรปุ ผลการประชมุ /อบรม ความรวู้ ิชาการ 
ศักยภาพสมาชกิ เครือข่าย) 4. สนับสนนุ ความรวู้ ชิ าการ งบประมาณ ในการทำ�กิจกรรมของเครือขา่ ย
องคก์ รเครอื ข่าย

101

102 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั เกณฑ์ แนวทางปฏิบตั ิ หลกั ฐานประกอบ

22. ร้อยละขององคก์ ร รอ้ ยละ 80 • เอกสารลายมือชือ่  
เครอื ขา่ ยทเ่ี ขา้ รว่ ม   ของตัวแทนองค์กร 
กจิ กรรมกับ     เครือข่ายท่เี ข้ารว่ ม
สนง.พมจ. รอ้ ยละ 50 • เอกสารการอนุมตั  ิ
งบประมาณ
23. รอ้ ยละขององคก์ ร
เครอื ขา่ ยท่ยี ่นื ขอ
และไดร้ บั  
การสนบั สนนุ  
งบประมาณ 
จาก สนง.พมจ.

17. การตดิ ตามประเมนิ 24. ร้อยละของโครงการ รอ้ ยละ 100  1. ตรวจสอบจำ�นวนองค์กรเครอื ข่ายทไ่ี ดร้ ับงบประมาณจาก สนง.พมจ. • คำ�สั่งการแต่งตั้ง
ผลโครงการท ่ี ทม่ี รี ายงานประเมนิ (ทกุ โครงการ) 2. จัดตั้งทีม ผู้รับผิดชอบ หรือผู้มสี ่วนได้ สว่ นเสยี  เป็นผ้ตู ดิ ตามประเมินผล • รายงานผลการประเมนิ
เครือข่ายได้รับการ ผลการดำ�เนินงาน 3. ก�ำ หนดแผนการติดตามประเมนิ ผลองคก์ รทไี่ ด้รบั งบประมาณสนับสนุนจาก สนง.พมจ.  
สนบั สนนุ งบประมาณ โดยอาจประเมนิ เป็น 2 ระยะ
จาก กระทรวง  3.1 ประเมินระหว่างการดำ�เนินงานโครงการ เพื่อประเมินว่า องคก์ รเครอื ข่ายได้ดำ�เนนิ งานตาม
การพฒั นาสงั คม  แผนปฏบิ ตั ิงานในระดบั ใด
และความม่นั คง  3.2 ประเมนิ ภายหลงั ส้นิ สุดโครงการ เพ่อื ประเมินว่า องคก์ รเครอื ข่ายได้ด�ำ เนินงานโครงการ 
ของมนษุ ย์ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ท่ีได้ระบุไว้หรือไม่เพียงใด
4. ประมวลผลวเิ คราะห ์ การดำ�เนินงานขององค์กรเครอื ขา่ ย เพือ่ จดั ทำ�เป็นรายงาน  
และเสนอต่อผู้เก่ยี วข้อง

5. ดา้ นการสง่ เสรมิ และประสานงาน การชว่ ยเหลือผปู้ ระสบปญั หาทางสังคม รวมทงั้ การสง่ ตอ่ ใหห้ นว่ ยงานอืน่ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งทงั้ ภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีอำ�นาจหนา้ ท ่ี
ในการจัดสวัสดกิ ารสงั คมตามกฎหมาย

มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบตั ิ หลกั ฐานประกอบ

18. การส่งเสริมการจดั 25. จ�ำ นวนโครงการ  6 โครงการ  1. เขยี นโครงการท่เี กย่ี วกับการใหส้ วัสดกิ ารสงั คมแกท่ กุ กลุม่ เปา้ หมาย • เอกสารโครงการ
สวสั ดิการสังคม  ท่ีมีการชว่ ยเหลอื   (ครบทกุ กลมุ่   2. น�ำ โครงการไปปฏิบัติโดยยดึ ผลลพั ธเ์ ป็นหลัก • รายงานผล 
แกก่ ลุ่มเป้าหมาย ผ้ปู ระสบปัญหา  เป้าหมาย)  3. รายงานสรุปผลดำ�เนินการ รวมทัง้ ปญั หาอปุ สรรคในการด�ำ เนินโครงการ การด�ำ เนินการ
ทางสังคม
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด 4. เขยี นโครงการที่มีลักษณะเปน็ นวัตกรรม เก่ยี วกับการให้สวัสดกิ ารสังคมแกท่ กุ กลุ่มเป้าหมาย 
26. จำ�นวนโครงการ
ทม่ี ลี ักษณะเปน็ 1 โครงการ ลักษณะของโครงการนวัตกรรม มี 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่
นวตั กรรม
1) การปรบั ปรงุ โครงการเดมิ โดยน�ำ วิธีการใหมๆ่  มาใช้
2) การจัดทำ�โครงการใหมใ่ นเชงิ สร้างสรรค์ ท่ไี มเ่ คยทำ�ในพื้นท่มี าก่อน

19. การใหบ้ รกิ าร  27. มีแผนผังแสดง  มแี ผนผงั ครบ  1. จำ�แนกประเภทของงานบริการแตล่ ะงานใหช้ ดั เจน • ภาพถา่ ยแผนผัง
ตอ่ กล่มุ เปา้ หมาย ขัน้ ตอนและกำ�หนด ทุกกจิ กรรม  2. เขียนข้นั ตอนการให้บริการในงานบริการแต่ละประเภท • ผลการประเมนิ  
เวลาของกจิ กรรมท่ี ที่ใหบ้ รกิ าร  3. กำ�หนดระยะเวลาทใี่ ช้ในการด�ำ เนินการตามกจิ กรรมบริการต่างๆ ใหช้ ัดเจน ความพงึ พอใจ
ใหบ้ รกิ าร    4. ตดิ แผนผงั การใหบ้ รกิ าร บรเิ วณหนา้  สนง.พมจ. ใหผ้ มู้ ารบั บรกิ ารเหน็ ไดช้ ดั เจน
แต่ละประเภท 5. มีเจา้ หนา้ ที่ประชาสัมพนั ธ์ 1 คน คอยให้คำ�แนะน�ำ แก่ผู้รบั บรกิ ารอยู่ตลอดเวลา
28. รอ้ ยละ  รอ้ ยละ 85 6. จดั ทำ�แบบสอบถามความพึงพอใจในการให้บรกิ าร
ของผู้รับบรกิ าร  7. เมอ่ื ให้บรกิ ารเสร็จสน้ิ แลว้  ให้เจ้าหนา้ ท่แี จกแบบสอบถามแกผ่ ้มู ารับบริการ อธิบายวัตถุประสงค์
ท่ีมีความพงึ พอใจ ของแบบสอบถามแกผ่ ูร้ ับบรกิ ารใหช้ ดั เจน และขอใหผ้ ู้รบั บรกิ ารช่วยตอบแบบสอบถาม
ต่อการใหบ้ ริการ 8. กรณที ผ่ี ูเ้ ข้ารับบรกิ ารไมร่ ูห้ นงั สอื  หรือมีข้อจ�ำ กดั อน่ื ดา้ นกายภาพ ให้สอบถามโดยใช้วธิ สี ัมภาษณ์
9. รวบรวมแบบสอบถามในแต่ละวนั บันทึกลงในคอมพิวเตอร์
10. เม่อื ครบเดอื นใหป้ ระมวลและรายงานผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจในการรับบรกิ าร  
รวมท้ังข้อเสนอแนะต่างๆ เก่ยี วกับการใหบ้ รกิ าร
11. เมอ่ื ครบปใี ห้ประมวลผลข้อมูลทง้ั ป ี และเขียนรายงาน

103

104 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตัวชี้วัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั ฐานประกอบ

20. การสง่ เสรมิ   29. จำ�นวนคร้ัง  6 คร้งั ต่อป ี 1. จดั ทำ�โครงการฝึกอบรม/สัมมนา โดยก�ำ หนดประเดน็ และเน้อื หาด้านสวัสดกิ ารสังคมทีค่ วรอบรม/ • รายงานผล 
ความเข้มแข็ง  การอบรม/สัมมนา   สัมมนาแก่ เจ้าหน้าที ่ อปท.  การจัดอบรม /สมั มนา
ในการปฏิบัติงาน  ดา้ นพัฒนาสังคม   2. ดำ�เนินการอบรบ/สมั มนา
ด้านพฒั นาสังคม และการจัด   3. สรุป รายงานผลการอบรม/สัมมนา
และการจดั สวัสดิการ สวัสดิการสังคม   
สงั คมให้กบั องคก์ ร แก่บุคลากร   
ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ทีร่ ับผิดชอบ   
ในหน่วยงานทอ้ งถ่นิ
30. รอ้ ยละขององค์กร ร้อยละ 80 
ปกครองส่วน  ขององค์กร
ท้องถ่ินที่ได้เขา้ ร่วม ปกครอง
การอบรม /สัมมนา  ส่วนทอ้ งถ่นิ
ถา่ ยทอดความรู้ ท่ไี ดร้ ับเชญิ
เข้าอบรม/
สัมมนา 
ในแต่ละครง้ั

มาตรฐาน ตัวชวี้ ัด เกณฑ์ แนวทางปฏิบตั ิ หลกั ฐานประกอบ
รอ้ ยละ 100 1. เมื่อได้รับแจง้ หรอื ทราบว่ามผี ปู้ ระสบปญั หาสงั คมเร่งดว่ น ใหด้ �ำ เนนิ การชว่ ยเหลือทนั ที 1. เอกสารการสง่ ต่อ
21. การใหค้ วามชว่ ยเหลอื   31. ร้อยละของ  2. เอกสารรายงาน 
ผปู้ ระสบปญั หา  ผ้ปู ระสบปญั หา  2. กรณีท่กี ารช่วยเหลอื ดังกลา่ วตอ้ งการความรว่ มมอื จากหน่วยงานอ่นื  ให้ดำ�เนนิ การประสาน 
เรง่ ดว่ น เรง่ ดว่ นทีไ่ ด้รบั   อยา่ งเรง่ ด่วน การชว่ ยเหลอื ต่างๆ 
การช่วยเหลอื   3. ภาพถา่ ย
ทนั เหตกุ ารณ์ 3. กรณีต้องสง่ ผ้ปู ระสบความเดือดรอ้ นใหอ้ ยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของหน่วยงานอน่ื  ใหป้ ระสานงานกบั  
หนว่ ยงานนน้ั โดยดว่ น และอ�ำ นวยความสะดวกในการสง่ ตอ่
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด
4. เมอ่ื ด�ำ เนนิ การชว่ ยเหลอื เสร็จสน้ิ แลว้  บนั ทึกรายชือ่  ที่อยู่ (หากมี) ลกั ษณะของปัญหา  
ลักษณะของความช่วยเหลอื ลงในรายงาน และสภาพของผทู้ ่ีไดร้ ับการชว่ ยเหลือ 

ปญั หาเรง่ ด่วน เช่น 

-- การรับแจ้งความรนุ แรงในครอบครวั
-- การคมุ้ ครองสวสั ดิภาพเด็กสตรี
-- การคา้ มนุษย์
-- ภยั พิบตั ิต่างๆ ฯลฯ 

ทันเหตุการณ์ หมายถึง ด�ำ เนินการอย่างใดอยา่ งหนึ่งทนั ทีทีไ่ ดร้ บั เรือ่ ง เช่น การช่วยเหลือ

โดยตรง หรอื การประสานส่งตอ่ ให้หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ ง

105

106 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 6. ดา้ นการก�ำ กบั ดแู ลหน่วยงานในสงั กดั กระทรวง ใหด้ �ำ เนนิ การตามกฎหมาย นโยบายของกระทรวง และติดตามและประเมนิ ผล แผนการปฏบิ ัตริ าชการของกระทรวง  
ในความรับผิดชอบของสว่ นราชการและหนว่ ยงานสงั กดั กระทรวง ในระดบั จังหวัด

มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ

22. การก�ำ กับ ดูแล  32. จ�ำ นวนแผนบรู ณาการ 1 แผนต่อป ี 1. จดั ตั้งคณะทำ�งานทำ�แผนและตดิ ตามแผนบรู ณาการ 1. ค�ำ ส่งั ตั้งคณะท�ำ งาน
และติดตาม  ของหน่วยงาน  2. จดั ประชมุ หน่วยงานสังกดั  พม. ในจงั หวัดเพ่อื จดั ทำ�แผนบรู ณาการ 2. เอกสารเชิญประชมุ
การด�ำ เนินงาน  ในพนื้ ท่ีจงั หวดั 3. จดั ประชมุ กำ�กบั ตดิ ตามการด�ำ เนินงานตามแผนบูรณาการ 3. รายงานแผนการ
ตามนโยบาย  33. จ�ำ นวนคร้งั การ อยา่ งนอ้ ย  
ของกระทรวง รายงานผล  1 คร้ัง   บรู ณาการ
ตามแผนบรู ณาการ ตอ่ ไตรมาส 4. การรายงานผล (ตอ่  
34. จำ�นวนรายงานการ อย่างนอ้ ย  
เบกิ จา่ ยงบประมาณ  1 ครง้ั    ผวจ./กระทรวง)
ของหน่วยงาน  ตอ่ ไตรมาส  5. การเบกิ จา่ ยงบประมาณ 
ในพ้ืนท่ีจังหวัด
35. จำ�นวนคร้ังของการ อย่างนอ้ ย   (รายงานการเบกิ จา่ ย) 
ประชุมหน่วยงาน  6 ครั้งตอ่ ปี รายงานการเบกิ จ่าย 
พม.ในพนื้ ท่ี งบประมาณของ 
หน่วยงานในพนื้ ที่
6. รายงานการประชมุ

7. ด้านการเป็นศูนย์ข้อมูลดา้ นการพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยใ์ นระดับจังหวัด

มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ

23. การจัดต้ัง  36. มศี นู ยป์ ฏบิ ตั ิการ 1 ศนู ย์ 1. จัดหาหอ้ งใน สนง.พมจ. 1 ห้องหรอื  พื้นท ่ี ขน้ึ  เป็นการเฉพาะเพอื่ เปน็ มุมปฏบิ ตั กิ ารข้อมลู   1. คำ�ส่งั มอบหมาย
ศูนยป์ ฏิบัติการ  ด้านข้อมลู   โดยแยกจากส่วนอ่ืนๆ ใหช้ ดั เจน 2. ภาพถ่ายพืน้ ท่ี
ดา้ นข้อมลู การพัฒนาสงั คม 3. ระบบขอ้ มูล
และความม่ันคง  2. มอบหมายงานใหเ้ จา้ หนา้ ท ่ี 2 คนเพอ่ื รบั ผดิ ชอบงานดา้ นขอ้ มลู เปน็ การเฉพาะ
ของมนุษย์ 3. จัดหาคอมพวิ เตอร ์ 2 เคร่อื ง ในมมุ ปฏิบตั ิการดา้ นข้อมลู ตามตวั ช้วี ัดทก่ี ำ�หนดไว้

24. ความครอบคลมุ   37. จ�ำ นวนเรื่องท่มี ี  ครบทุกเรือ่ ง  1. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามที่กระทรวงฯ กำ�หนด โดยพจิ ารณาวา่ ข้อมลู แต่ละประเภทสามารถจัดเก็บ เอกสารดรรชนแี ละเนอื้ หา
ของข้อมูล การเก็บรวบรวม ตามข้อ จากแหลง่ ใดหน่วยงานใดได้บ้าง ขอ้ มูลในระบบตามที่
กำ�หนดของ 2. จัดทำ�หนงั สือขอขอ้ มูลจากหนว่ ยงานทีม่ ีการจดั เกบ็  เชน่  ขอ้ มูลประชากร จากสำ�นกั งานจงั หวดั   กระทรวงกำ�หนด
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด กระทรวงฯ  ข้อมลู ดา้ นสขุ ภาพจากสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวดั

3. กรณที ่ีเป็นขอ้ มลู ปฐมภมู  ิ ใหด้ ำ�เนินการในลักษณะเปน็ โครงการส�ำ รวจ เช่น ขอ้ มลู ดา้ นทนุ ทาง
สังคม ข้อมลู สภาวะของกลุม่ เป้าหมาย เช่น จ�ำ นวนผู้พกิ าร และสาเหตุการพกิ าร เปน็ ต้น  
กรณีท่เี ป็นขอ้ มูลกลมุ่ เปา้ หมายควรมกี ารจัดเก็บใหค้ รอบคลุมทุกหมบู่ ้าน โดยขอความรว่ มมอื  
จากอาสาสมัครพฒั นาสังคมประจ�ำ หมู่บ้านเป็นผู้ชว่ ยเหลอื ในการจัดเกบ็

4. นำ�ขอ้ มูลทไี่ ด้มาบันทกึ ไว้ในเคร่อื งคอมพิวเตอร์

25. ความทันสมัย  38. จ�ำ นวนคร้ังในการ 2 คร้งั ตอ่ ปี 1. ควรมกี ารปรับปรงุ ขอ้ มลู ใหเ้ ป็นปัจจุบัน รายงานการปรบั ปรุง
ของข้อมลู ปรับปรุงขอ้ มลู   2. จัดทำ�รายงานวา่ มีขอ้ มูลเร่อื งใดบ้างทไี่ ด้รบั การปรับปรงุ ใหท้ ันสมยั ขอ้ มูล
ในแต่ละเรื่อง

26. ความน่าเช่อื ถอื   39. รอ้ ยละของเรอื่ ง รอ้ ยละ 100 ข้อมลู ในแตล่ ะเรื่องแตล่ ะประเดน็ ทีไ่ ด้เก็บรวมรวบมาจะตอ้ งแสดงการอ้างองิ  กรณเี ปน็ ข้อมูลทตุ ยิ ภมู  ิ เอกสารรายงาน
ของข้อมูล ท่จี ัดเก็บสามารถ ใหร้ ะบชุ ่อื หน่วยงานทีเ่ ป็นเจ้าของข้อมลู  กรณีที่มาจากการสำ�รวจ ให้ระบวุ ่า “มาจากการส�ำ รวจ” 
อา้ งองิ แหลง่ หรอื โดยระบวุ นั /เดอื น/ปที สี่ ำ�รวจใหช้ ดั เจน
แสดงวิธีการจดั เกบ็

107

108 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตวั ช้วี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏิบตั ิ หลกั ฐานประกอบ
27. การนำ�ข้อมลู   40. จำ�นวนครง้ั   อยา่ งน้อย   1. ประชาสัมพนั ธ์การให้บริการขอ้ มลู ขา่ วสารต่อสาธารณะผ่านสื่อต่างๆ ของส�ำ นกั งาน 1. เอกสารคำ�ขอ 
5 ครัง้ ตอ่ ปี 2. กำ�หนดแนวทางและคำ�ขอบริการใช้ข้อมูล
ไปใช้ประโยชน์ ในการใหบ้ รกิ าร  การใช้บรกิ าร
ด้านขอ้ มลู 3. ดำ�เนนิ การจดั ส่งขอ้ มลู ใหผ้ ้ขู อบริการ 2. เอกสารรบั รอง 

หรอื จดหมายขอบคุณ
หรือหลักฐานอ่ืนที่ระบุ
วา่ หนว่ ยงานไดจ้ ดั สง่
ข้อมลู ให้ผู้ขอแล้ว

8. ด้านการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ และรณรงค์ให้มกี ารดำ�เนินกจิ กรรมเก่ียวกับการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย ์ รวมทั้งความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ 
และผลการปฏบิ ัตงิ านของกระทรวง

มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ

28. แผนการ 41. จ�ำ นวนแผน  1 แผนต่อปี 1. ให้แตล่ ะกลมุ่ งานจดั หาข้อมูลเพือ่ นำ�มาก�ำ หนดแผนประชาสมั พนั ธ์ เอกสารแผน 
ประชาสัมพันธ์ การประชาสมั พันธ์ 2. ประชุมร่วมกันเพือ่ ก�ำ หนดเรอ่ื งและประเด็นท่ีจะประชาสัมพันธ์ในรอบปี การประชาสัมพันธ ์
ของหนว่ ยงาน 3. ก�ำ หนดแนวทางการประชาสัมพนั ธใ์ นแต่ละเร่ืองในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ ของหน่วยงาน
3.1 การจดั ท�ำ จดหมายข่าว
3.2 เอกสารสงิ่ พมิ พ์
3.3 การจัดวันและสปั ดาหพ์ เิ ศษ
3.4 การจัดแสดงและนิทรรศการ
3.5 การจดั งานประกวด
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด 3.6 การเปิดเยีย่ มชมหน่วยงาน
3.7 การก�ำ หนดระยะเวลาการส่งขา่ วลงหนงั สอื พิมพ์ท้องถ่ิน
3.8 การก�ำ หนดระยะเวลาการส่งข่าวประกาศทางวทิ ยุกระจายเสียงท้องถิน่
3.9 กจิ กรรมอื่นๆ 
4. จัดทำ�แผนการประชาสมั พนั ธ์ โดย ก�ำ หนดกจิ กรรม ระยะเวลา งบประมาณวธิ ีการด�ำ เนนิ การ  
และผู้รบั ผิดชอบกิจกรรมต่างๆ ใหช้ ดั เจน

29. การดำ�เนินงาน  42. จ�ำ นวนคร้ังของการ 6,000 ครัง้ 1. จัดทำ�เว็บไซต ์ โดยอาจจัดท�ำ เองหรอื จ้างเหมาดำ�เนินการ • จำ�นวนผ้เู ข้าชมที่ปรากฏ
ด้านเวบ็ ไซต์ เข้าชมเวบ็ ไซต์ ตอ่ ปี 2. ปรบั ปรงุ ข้อมูลในเวบ็ ไซต์ 4 ต่อเดือน ในระบบบันทกึ จำ�นวน 
43. ความถ่ีในการ 4 ครั้ง  ผ้เู ข้าชมของเวบ็ ไซต์
ปรับปรงุ ข้อมลู ตอ่ เดือน • บนั ทึกการปรับปรุง

109

110 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ
อยา่ งน้อย   จดั ทำ� facebook หรือ webpage ของส�ำ นกั งาน หรือช่องทางอืน่ ๆ  Facebook  
30. มกี ารด�ำ เนินงาน  44. จ�ำ นวนชอ่ งทาง  2 ชอ่ งทาง ของส�ำ นกั งาน หรือ 
ด้าน Social Media การเผยแพร ่   ชอ่ งทางการสอ่ื สารอน่ื ๆ  
Social Media ทสี่ ามารถใช้การได้
• เอกสารโครงการ  
31. การรณรงค์ร่วมกบั   45. จำ�นวนโครงการ 5 โครงการ 1. เตรยี มประเด็นและโครงการรณรงคร์ ่วมกับองค์การภาคประชาสังคมและภาครัฐ ระบเุ รื่องท่ีมีการรณรงค์
ภาคประชาสังคม  รณรงค์ ตอ่ ปี 2. จดั ประชมุ เพอื่ ปรึกษาหารือในเร่อื งหรอื ประเด็น และระยะเวลาที่จะรณรงค์ร่วมกัน   • หนังสอื ประสานงาน 
และองค์การภาครฐั หรอื ภาพถา่ ย วิดิโอ  
46. ร้อยละขององค์การ ร้อยละ 70 เช่น รณรงคเ์ รื่องการสรา้ งความกตญั ญใู นโอกาสวันผู้สูงอายุ หรือรณรงคเ์ รือ่ งบทบาทสตร ี ฯลฯ 
ภาคประชาสงั คม  ในวันสตรีสากล หรอื รณรงค์สรา้ งจรยิ ธรรมแกเ่ ดก็  ในวนั เดก็  เป็นตน้ • รายชื่อองค์การ 
และองคก์ ารภาครฐั   3. กำ�หนดภาระงานและความรบั ผดิ ชอบท่ีหนว่ ยงานแต่ละหนว่ ยงานควรจะรับไปด�ำ เนนิ การ ภาคประชาสังคม 
ทร่ี ว่ มรณรงค์ 4. ประสานดำ�เนินการ สนบั สนนุ  ทรพั ยากรต่างๆ ในกจิ กรรมรณรงค์ และภาครฐั  
5. บนั ทึกจ�ำ นวนองค์การภาคประชาสังคมและภาครฐั ที่เข้ารว่ มกิจกรรมรณรงค์ ท่ีเข้าร่วมการรณรงค์

หมายเหตุ หลกั ฐานควรมีอย่างใด
อยา่ งหนง่ึ  หรือท้งั หมด 
การรว่ มรณรงค์ หมายถงึ  การมารณรงค์ร่วมกัน หรือ แตล่ ะองค์การมีการนำ�สอื่ ไปรณรงค์เอง  ดงั ต่อไปน้ี
หรือ องค์การภาคประชาสงั คมและภาครัฐคดิ รปู แบบการรณรงค์เองที่มเี นอ้ื หาสอดคล้อง  • สำ�เนาหนังสอื นำ�สง่
กับประเด็นที ่ พมจ. ขอความร่วมมือ • ส�ำ เนาขา่ วทสี่ ่ง
• สำ�เนาข่าวที่ไดร้ ับการ 
32. การประชาสัมพันธ์ 47. จำ�นวนข่าวสาร  12 ข่าวต่อปี 1. จัดท�ำ ประเด็นทจี่ ะนำ�เสนอเปน็ ข่าว ตีพิมพ์
ผา่ นสอื่ มวลชน ทไ่ี ดร้ บั การตีพิมพ์ 2. ยดึ หลกั การเขยี นขา่ ว คือ ใคร อะไร ทไ่ี หน เมือ่ ไร ทำ�ไม และอยา่ งไร ซ่งึ จะต้องเขียน  • เทปบันทกึ  
ในหนังสอื พิมพ์  โดยตอบคำ�ถามเหลา่ น้ไี ดใ้ นประโยคแรกของย่อหนา้ แรก พร้อมรายละเอยี ดท่ีตามมา การกระจายเสยี ง
และ/หรือ   3. ระบชุ ่ือ ทอ่ี ย ู่ หมายเลขโทรศัพท์ของผู้ส่งข่าว ควรพมิ พอ์ ยา่ งชดั เจนบนหัวกระดาษ • บนั ทึกการให้สมั ภาษณ์
การกระจายเสียง  4. เน้อื หาขา่ วไมจ่ ำ�เปน็ ต้องเขยี นใหย้ าวมาก ควรเขียนสน้ั ๆ ใหไ้ ดใ้ จความชัดเจนสมบูรณ์
ในวทิ ยชุ ุมชน หรอื 5. หากมภี าพประกอบ ควรเปน็ ภาพทชี่ ดั เจน มีค�ำ อธบิ ายภาพ
เคเบิลทีวที อ้ งถนิ่ 6. การประชาสัมพนั ธผ์ า่ นส่อื อาจท�ำ เปน็ รูปบทความหรอื สารคดี หรือบทสมั ภาษณ์กไ็ ด้
7. กรณมี กี ารตพี ิมพ์ตัดเนอ้ื ขา่ วหรือภาพขา่ วจากหนังสือพิมพ์และเข้าส่รู ะบบแฟม้ ประชาสัมพนั ธ์
8. กรณที ่ีมีการออกอากาศควรบันทกึ การออกอากาศด้วยเทปบนั ทกึ เสียงและจดั เก็บสู่ระบบ 
แฟ้มประชาสมั พันธ์

9. ด้านการรบั เรอื่ งราวร้องทกุ ขแ์ ละแก้ไขปัญหาสงั คมในระดบั จังหวดั

มาตรฐาน ตัวชวี้ ัด เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ัติ หลกั ฐานประกอบ
1. หลักฐานการมชี ่องทาง
33. การรบั เรอื่ งราว  48. ร้อยละทไี่ ดร้ ับการ ร้อยละ 100  1. จดั ทำ�ช่องทางการรบั เรอ่ื งรอ้ งทกุ ข์
ร้องทกุ ข ์ ชว่ ยเหลือหรือส่งต่อ   2. จดั ผ้รู บั ผิดชอบในการดำ�เนนิ การเรือ่ งราวร้องทกุ ข์ รับเร่อื งร้องทุกข์
และแก้ไขปญั หา จากการรบั เรือ่ งราว   3. ดำ�เนินการช่วยเหลือหรอื ส่งต่อภายในระยะเวลาทก่ี �ำ หนด 2. บนั ทกึ การรบั  
รอ้ งทุกข์
49. ระยะเวลาในการ ภายใน   การร้องทกุ ข์
รายงานการ  3 วนั   3. บันทึกการชว่ ยเหลือ 
ชว่ ยเหลอื  สง่ ตอ่
50. ช่องทางในการ  อยา่ งนอ้ ย   หรือสง่ ตอ่
เขา้ ถงึ การรอ้ งทกุ ข์ 3 ชอ่ งทาง
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด หลกั ฐานประกอบ
10. ด้านการปฏิบตั งิ านรว่ มกนั หรอื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของหน่วยงานอนื่ ท่ีเกย่ี วขอ้ งหรือท่ไี ดร้ ับมอบหมาย • หนงั สอื ตอบรับ หรือ
บนั ทกึ การปฏบิ ัตงิ าน
มาตรฐาน ตวั ชว้ี ดั เกณฑ์ แนวทางปฏบิ ตั ิ

34. การปฏิบัตงิ าน  51. ร้อยละของภารกิจ รอ้ ยละ 95 1. ตรวจสอบดูวา่ มงี านใดบา้ งทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากจังหวดั
ตามภารกจิ ทีไ่ ดร้ ับ  หรอื งานทไี่ ด้รับ 2. นำ�งานท่ไี ด้รบั มอบหมายจากจงั หวดั ไปปฏบิ ัติให้ครบถ้วน
มอบหมาย  มอบหมาย 3. เกบ็ เอกสารที่จงั หวดั มอบหมายงานให้ สนง.พมจ. ท�ำ ไวท้ ัง้ หมด
จากจังหวัด 4. รายงานผลการปฏบิ ัตขิ องงานที่ไดร้ ับมอบหมาย

111

บรรณานกุ รม

ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม ม่ั น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์   คำ � สั่ ง สำ � นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ 
ค ว า ม ม่ั น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์   ที่   4 8 8 / 2 5 5 8   เร่ื อ ง   จั ด ต้ั ง ส่ ว น ร า ช ก า ร ภ า ย ใ น สำ � นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง 
สง่ั  ณ วนั ท่ ี 6 มีนาคม 2558

กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ นโยบายของกระทรวง 8-5-11 และ 9-5-5
สำ�นักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์. คู่มือการปฏิบัติงานตามมาตรฐานและตัวช้ีวัด 

การปฏิบัติหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด เอกสารวิชาการ  สมพ.1 
ลำ�ดบั ท่ี 19 เลม่ ท่ี 17/2547
สำ�นักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. มาตรฐานการพัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัดการปฏิบัติ
หน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัด เอกสารวิชาการ สมพ.1 ลำ�ดับที่ 91 
เลม่ ท ี่ 3/2556
สำ � นั ก ม า ต ร ฐ า น ก า ร พั ฒ น า สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม ม่ั น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ .   ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ตั ว ช้ี วั ด ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ท่ี ข อ ง 
สำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และคู่มือการปฏิบัติงาน เอกสารวิชาการ 
สมพ.1 ลำ�ดบั ท่ี 26 เล่มท่ ี 6/2548
สำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการ สำ�นักงานปลัดกระทรวง 
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ พ.ศ.2559 เล่มที่ 133 ตอนที่ 94ก 1 พฤศจิกายน 
2559 หน้า 1
สำ�นักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี 14) 
พ.ศ.2558 เลม่ ที ่ 132 ตอนท ่ี 15ก 5 มนี าคม 2558 หนา้  49

112 มาตรฐานการปฎิบัตหิ นา้ ทข่ี องสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวดั

ภาคผนวก

มาตรฐานการปฎบิ ัติหนา้ ท่ีของสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวัด 113

วิสัยทัศน์
“เป็นหนว่ ยงานหลักในการขบั เคลือ่ นและบรู ณาการนโยบายและยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาสังคม

ส่กู ารปฏบิ ตั ิอยา่ งมผี ลสมั ฤทธ์”ิ
ค่านยิ มองคก์ าร

“อทุ ิศตน อาสางาน เอื้ออาทร อ�ำ นวยประโยชนส์ ขุ ”

แบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบตั หิ น้าท ี่
ของส�ำ นักงานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวดั ……………………………ณ วันที่........................................................

1. มิตปิ ัจจัยนำ�เขา้  (4 ด้าน 6 มาตรฐาน 37 ตัวช้วี ัด)

ดา้ น มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑ์ ผลการ ปญั หา/ แนวทาง
1. โครงสรา้ ง 1. การแบ่งฝา่ ยครอบคลุม มคี รบทัง้  1 ฝ่าย 2 กลุ่ม ดำ�เนินงาน อปุ สรรค แกไ้ ข
1. จ�ำ นวน 1 ฝ่าย 2 กลุม่  ประกอบดว้ ย
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด องค์การ บทบาทหน้าที่ -- ฝา่ ยบริหารทั่วไป  ไมน่ ้อยกว่า 2.3 ตารางเมตร
2. โครงสรา้ งเชิงกายภาพ -- กลุ่มนโยบายและวิชาการ ต่อคน 
2. บคุ ลากร -- กลมุ่ การพฒั นาสังคมและสวัสดิการ
3. ปรมิ าณบคุ ลากรเพียงพอ 1 ห้อง
ต่อการปฏิบัตติ ามบทบาท 2. สนง.พมจ. มพี นื้ ที่ปฏิบัติงานท่เี ป็นสดั สว่ นและเหมาะสม โดยมี 1 ห้อง
หนา้ ที่ อาคารส�ำ นักงานทีแ่ ยกเปน็ เอกเทศ หรือมสี ถานปฏบิ ตั งิ านท่อี ยูใ่ น 1 หอ้ ง
ศาลากลางเพยี งพอต่อภารกจิ อยา่ งนอ้ ย 9 ตารางเมตร
อยา่ งน้อย 4 ตารางเมตร
3. มหี ้องประชุมเป็นสัดส่วน 4-11 คน ตอ่ กลมุ่ /ฝ่าย
4. มหี อ้ งส�ำ หรับสอบข้อเทจ็ จรงิ และให้ค�ำ ปรึกษาแก่ผ้ใู ชบ้ ริการ
5. มีห้องเก็บพัสดเุ ป็นสดั ส่วน
6. มพี ้นื ทส่ี ำ�หรับผูใ้ ชบ้ รกิ ารอยา่ งเพยี งพอ
7. มีมุมอเนกประสงคส์ ำ�หรบั บริการประชาชนและบุคลากร
8. จ�ำ นวนข้าราชการ พนักงานราชการ และ/หรือ ลกู จา้ งประจ�ำ   

ตอ่ กลมุ่ /ฝ่าย

115

116 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ดา้ น มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑ์ ผลการ ปญั หา/ แนวทาง
3. วสั ดุ 4. คณุ ภาพของบคุ ลากร  ดำ�เนนิ งาน อปุ สรรค แกไ้ ข

อปุ กรณ์ เหมาะสมตอ่ การปฏิบตั ิ 9. พมจ.ผ่านการอบรมการบริหารระดับสงู ผ่าน
หนา้ ท่ี 10. ร้อยละของหัวหน้ากลุม่ /ฝ่าย ไดร้ บั การอบรมผู้บรหิ ารระดบั กลาง รอ้ ยละ 100
11. จ�ำ นวนนักสังคมสงเคราะหร์ บั อนุญาตตาม พ.ร.บ.วิชาชีพ อย่างนอ้ ย 1 คนต่อ
5. ความเพียงพอของวัสดุ สังคมสงเคราะห ์ พ.ศ.2556 ส�ำ นักงาน
อปุ กรณท์ ี่จ�ำ เป็น  12. ร้อยละของบคุ ลากรทีเ่ ขา้ อบรมพฒั นาความร้ทู เ่ี กีย่ วข้องกบั งาน  รอ้ ยละ 80 
ตอ่ การทำ�งาน ในแต่ละปี
13. ร้อยละของบคุ ลากรท่ไี ด้รบั การฝกึ ทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษ และ/ รอ้ ยละ 50 
หรอื ภาษาของประเทศสมาชกิ ประชาคมอาเซยี น
14. รอ้ ยละของบุคลากรท่ีสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ร้อยละ 20
15. ร้อยละของบคุ ลากรทั้งหมด ท่ีมวี ุฒิการศึกษาไม่ต่าํ กว่าระดับ รอ้ ยละ 80 
ปรญิ ญาตรี
16. รอ้ ยละของบคุ ลากรปฏิบัตงิ านตรงตามกรอบอัตรากำ�ลัง  ร้อยละ 90 
ท่ีก�ำ หนด
17. ร้อยละของบุคลากรท่มี ีสมรรถนะตามท ่ี กพ. กำ�หนด ร้อยละ 100
18. จ�ำ นวนบคุ ลากรทไ่ี ดไ้ ปอบรม/ศกึ ษาดงู าน/ประชมุ วชิ าการ   1 คน/ปี /สนง.พมจ.
ในตา่ งประเทศ

19. จำ�นวนคอมพิวเตอรแ์ บบตงั้ โตะ๊ 16–24 เครอ่ื ง ตอ่ ส�ำ นกั งาน
20. จำ�นวนคอมพวิ เตอร์กระเปา๋ ห้วิ  (Note book) 4 เครอ่ื งตอ่ สำ�นักงาน
21. จำ�นวนเครอื่ งพมิ พ ์ (Printer) 5 เครอื่ งต่อส�ำ นักงาน
22. จ�ำ นวนเครื่องถา่ ยเอกสาร 1 เครื่องต่อส�ำ นกั งาน
23. จำ�นวนเครอ่ื งฉาย LCD 2 เครอ่ื งต่อส�ำ นกั งาน
24. จ�ำ นวนโทรศัพทส์ ายตรง 4-6 คูส่ ายตอ่ สำ�นกั งาน
25. จำ�นวนโทรศพั ทม์ อื ถือ 4 เครื่องต่อส�ำ นกั งาน

ด้าน มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์ ผลการ ปญั หา/ แนวทาง
4. งบประมาณ 6. ความทนั เวลาในการ  ด�ำ เนนิ งาน อุปสรรค แก้ไข

เบกิ จา่ ยงบประมาณ 26. จ�ำ นวนเครอ่ื งโทรสาร 2 เครอ่ื งต่อส�ำ นกั งาน
27. จำ�นวนเครอื่ งโรเนยี วดจิ ติ อล 1 เคร่ืองต่อสำ�นักงาน
28. จ�ำ นวนกล้องดจิ ติ อล 4 เครือ่ งต่อสำ�นกั งาน
29. จ�ำ นวนเครื่องฉายวสั ดทุ ึบแสง (Visualize) 1 เครือ่ งต่อสำ�นกั งาน
30. จ�ำ นวนเคร่อื งขยายเสยี งเคลอื่ นที่ 1 ชุดตอ่ สำ�นักงาน
31. จำ�นวนโทรทศั น์ 2 เครื่องตอ่ ส�ำ นักงาน
32. ชดุ ประชาสัมพนั ธเ์ คลื่อนที่ 1 ชดุ ต่อสำ�นกั งาน
33. ระบบประชุมทางไกลออนไลน ์ (web conference) 1 จุดใชง้ านต่อสำ�นักงาน
34. จ�ำ นวนยานพาหนะ รถยนต์ ที่สามารถใชง้ านได้  4-6 คนั ตอ่ สำ�นักงาน 
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด ตามเกณฑ์มาตรฐานของส�ำ นกั งบประมาณ
35. จำ�นวนยานพาหนะที่ได้ท�ำ ประกันภยั  ตามมติ ครม. พ.ศ. 2548 รอ้ ยละ 100
36. จำ�นวนรถจกั รยานยนตท์ ่สี ามารถใช้งานได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของ  1 คันตอ่ สำ�นักงาน
ส�ำ นักงบประมาณ

37. รอ้ ยละการเบกิ จา่ ยตามทีส่ �ำ นักงบประมาณก�ำ หนด ครบตามเกณฑ์ท ่ี
ส�ำ นักงบประมาณก�ำ หนด

117

118 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 2. มติ ิระบบและกระบวนการ (4 ดา้ น 8 มาตรฐาน 12 ตัวชี้วัด)

ด้าน มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปญั หา/ แนวทาง
(คะแนน) ดำ�เนินงาน (คะแนน) อปุ สรรค แกไ้ ข

1. ระบบและ 1. การก�ำ หนดรูปแบบ  1. จำ�นวนรปู แบบการสอ่ื สารภายในส�ำ นักงาน อยา่ งนอ้ ย 5 รปู แบบ 10
กระบวนการ การส่อื สารในสำ�นกั งาน
ส่อื สาร 
ขององคก์ าร 2. ความทันเวลา  2. ระยะเวลาที่มีการส่งต่อขา่ วสาร  ไมเ่ กนิ  1 วนั ท�ำ การ   10
ของการส่อื สาร แก่ผเู้ ก่ยี วข้อง หลงั จากรับเร่ือง

3. ความถใี่ นการถา่ ยทอด 3. จำ�นวนคร้ังของการประชมุ ชแ้ี จง  1 คร้งั ตอ่  เดอื น 10 
ขา่ วสาร และแลกเปลี่ยนข่าวสารในส�ำ นกั งาน อยา่ งนอ้ ย 4 ครง้ั   10
ต่อเดอื น
4. จำ�นวนคร้งั ของการประชมุ ชี้แจง 
และแลกเปลีย่ นขา่ วสารภายใน/ระหว่าง
กลุ่ม/ ฝ่าย หรือ ระหวา่ งกลมุ่ ฝา่ ย  
และ/หรือ กบั  พมจ.

2. ระบบและ 4. การก�ำ กบั ติดตามงาน 5. มีแผนก�ำ กับและติดตามงานภาพรวมและ มีครบทุกกลุม่ /ฝา่ ย 10
กระบวนการ ตามแผนปฏิบตั ิงาน ของแต่ละกลมุ่ /ฝ่าย ร้อยละ 100 10
ก�ำ กบั   ประจ�ำ ปี
ติดตามงาน 5. การมรี ายงานการ  6. ร้อยละของโครงการทม่ี ีรายงาน 
ปฏบิ ัติงานตามโครงการ ตามระยะเวลาท่ีกำ�หนด

ดา้ น มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปญั หา/ แนวทาง
(คะแนน) ดำ�เนินงาน (คะแนน) อปุ สรรค แก้ไข

3. ระบบและ 6. ความโปร่งใสของระบบ  7. ร้อยละของ จนท. ท่ไี ดร้ บั รเู้ กณฑ ์ รอ้ ยละ 100  10 
กระบวนการ การประเมินผล ในการประเมินผล ไมเ่ กนิ ร้อยละ 10
ประเมนิ ผล 8. รอ้ ยละของบคุ ลากรทร่ี อ้ งเรยี นเกย่ี วกบั   10
การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน

7. การเขียนรายงานผล  9. ร้อยละของ จนท. ท่เี ขียนรายงานผลงานใน รอ้ ยละ 100 10
การปฏบิ ตั งิ าน  แบบฟอร์ม
ประจ�ำ เดอื น 
ของบุคลากร

มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด 4. ระบบและ 8. การจัดวางระบบ  10. จ�ำ นวนแผนการจดั วางระบบการควบคมุ 1 แผนตอ่ ป ี 10 
กระบวนการ การควบคุมภายใน ภายใน ครอบคลมุ ทุกกลมุ่ /ฝา่ ย 2 ครง้ั ตอ่ ป ี 10 
ควบคมุ 1 ฉบบั ต่อปี 10
ภายใน 11. จ�ำ นวนการประชมุ ช้แี จงและก�ำ กบั ใหม้ ี
การดำ�เนนิ งานตามแผนควบคมุ ภายใน 120 xxx

12. จำ�นวนรายงานผลการด�ำ เนนิ งาน  xxx  
ตามแผนควบคุมภายใน 12

รวมคะแนนมติ ิที ่ 2 XXX    (เช่น) ผา่ นเกณฑใ์ นระดับคอ่ นข้างดี

ระดับคะแนนมติ ิท ่ี 2 (คา่ คะแนนรวมหารดว้ ยจำ�นวนตัวชี้วดั )
ผลการปฏบิ ัตมิ ิติท ่ี 2

119

120 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 3. มติ ิวัฒนธรรมองคก์ าร (2 ดา้ น 8 มาตรฐาน 11 ตวั ชว้ี ดั )

ด้าน มาตรฐาน ตวั ชวี้ ัด เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปญั หา/ แนวทาง
1. วัฒนธรรม 1. การท�ำ งานเปน็ ทมี 1. จำ�นวนกจิ กรรมหรอื โครงการที่ส่งเสรมิ   (คะแนน) ด�ำ เนนิ งาน (คะแนน) อุปสรรค แกไ้ ข

องค์การ  2. การสรา้ งความสัมพนั ธ ์ การทำ�งานเปน็ ทีม ไมน่ ้อยกวา่  5 กิจกรรม  7.5
ในส�ำ นกั งาน 2. จ�ำ นวนกจิ กรรมพัฒนาทีมงาน หรอื โครงการตอ่ ปี  10
1 กิจกรรมหรือโครงการ
3. การเรียนรูร้ ่วมกนั   3. จ�ำ นวนกจิ กรรมสรา้ งสมดุลในชีวติ และงาน  ตอ่ ปี
ภายในองค์การ (Work Life Balance) 
อยา่ งน้อย 4 ครง้ั ตอ่ ปี 10
4. การจัดการความร ู้ 4. ร้อยละของบุคลากรท่เี ข้ารว่ มกจิ กรรม 
ในองคก์ าร แต่ละกิจกรรม ร้อยละ 80 10

5. การสร้างค่านิยม  5. จำ�นวนการจดั เสวนาในประเดน็ ใหม่ๆ   อย่างน้อย 6 ครง้ั ต่อปี 10
ธรรมาภิบาลในองค์การ ทเ่ี กยี่ วข้องกับสังคมภายในหน่วยงาน
อยา่ งน้อย 1 เรอ่ื ง  7.5
6. จำ�นวนเรอื่ งทีม่ กี ารจัดการความร ู้   ต่อกลุ่ม/ฝา่ ย ตอ่ ปี 10
อย่างน้อย 6 ขอ้
7. จำ�นวนค่านยิ มรว่ มท่สี อดคล้อง 
กับหลกั ธรรมาภิบาลทีม่ ีการประกาศ 
ต่อสาธารณะ

ดา้ น มาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปัญหา/ แนวทาง
2. ภาวะผู้นำ� (คะแนน) ด�ำ เนนิ งาน (คะแนน) อปุ สรรค แก้ไข

6. การสนับสนนุ การพัฒนา  8.รอ้ ยละของเจา้ หนา้ ท่ีทีไ่ ด้รบั อนญุ าต  ร้อยละ 80 10
ผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชา ให้ไปอบรมหรือสัมมนาในรอบปี

7. การสอ่ื สารวิสัยทัศน ์ 9. จำ�นวนคร้งั ที่มกี ารถา่ ยทอดเนอื้ หา วสิ ัยทัศน์  อย่างนอ้ ย 12 คร้ังต่อป ี 7.5
พนั ธกิจ ยุทธศาสตร์ พนั ธกจิ  ยทุ ธศาสตร์ 10

10. จ�ำ นวนครงั้ ทม่ี กี ารถา่ ยทอดกระบวนการ อยา่ งน้อย 4 ครัง้ ตอ่ ปี
ท�ำ งานเชิงยุทธศาสตร์

8. การถ่ายทอดความร้ใู หมๆ่   11. จำ�นวนครัง้ ในการถ่ายทอดความร ู้ 1 ครง้ั ต่อเดอื น 10
ให้กบั ผใู้ ต้บังคับบญั ชา แกผ่ ู้ใต้บังคับบญั ชา
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด
รวมคะแนนมิตทิ  ี่ 3 102.5 xxx

ระดับคะแนนมิตทิ ่ี 3 (ค่าคะแนนรวมหารดว้ ยจ�ำ นวนตัวชี้วัด) xxx 
11

ผลการปฏิบตั ิมติ ทิ ่ี 3 XXX    (เชน่ ) ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั ดี

121

122 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 4. มติ ผิ ลผลิตและผลลัพธ์ (10 ด้าน 33 มาตรฐาน 51 ตวั ชี้วดั )

ด้าน มาตรฐาน ตัวช้วี ัด เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปญั หา/ แนวทาง
(คะแนน) ด�ำ เนนิ งาน (คะแนน) อุปสรรค แก้ไข
1. การจัดท�ำ นโยบาย  1. การจัดการวเิ คราะห์ 1. จ�ำ นวนครัง้ การวิเคราะห์ 1 ครงั้ ตอ่ ปี
และยทุ ธศาสตร ์ สถานการณ์ภาพรวมและ  1 ฉบับต่อปี 10
การพัฒนาสังคมและ แนวโน้มดา้ นสังคมและ 
ความม่นั คงของมนษุ ย์ กล่มุ เป้าหมายในจงั หวัดรว่ มกับ  10
ในระดับจงั หวดั  รวมทง้ั หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง
รายงานสถานการณ ์ 10
ทางสังคม และเสนอ 2. การจดั ท�ำ รายงาน  2. จ�ำ นวนรายงาน 10
แนะแนวทางแก้ไข การวิเคราะห์แนวโน้มการจดั 10
ล�ำ ดบั ความส�ำ คญั ด้านสงั คม  10
และกลุม่ เป้าหมายในจงั หวดั

3. การศึกษาวจิ ัย 3. จ�ำ นวนรายงานวิจยั 1 เรื่องตอ่ ปี

4. การจัดท�ำ แผนยุทธศาสตร ์ 4. จ�ำ นวนแผนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาสงั คม 1 แผนตอ่  5 ปี
การพฒั นาสังคมและ  และความม่ันคงของมนษุ ย์จังหวดั
ความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั

5. การปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ 5. จ�ำ นวนคร้ังในการปรบั ปรงุ แผนยุทธศาสตร์ 1 ครั้งต่อปี
การพฒั นาสังคมและ  การพฒั นาสงั คมและความม่นั คง 
ความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัด ของมนุษย์จงั หวัด

6. แผนกลยุทธ์ดา้ นสงั คม  6. จำ�นวนโครงการดา้ นสงั คมที่ไดร้ ับ  อย่างนอ้ ย  
ในแผนพัฒนาจงั หวดั การบรรจใุ นแผนพัฒนาจังหวดั 1 โครงการ

ด้าน มาตรฐาน ตวั ชีว้ ัด เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปัญหา/ แนวทาง
(คะแนน) ด�ำ เนินงาน (คะแนน) อุปสรรค แก้ไข
2. การประสานและจัดท�ำ 7. การจดั ท�ำ และขบั เคล่อื นแผน 7. จำ�นวนแผนด้านสังคมที่มกี ารจัดท�ำ   6 แผนตอ่ ปี
แผนงาน โครงการ  ดา้ นสังคม และขบั เคล่ือน 10
และกจิ การด้านการ 10
พฒั นาสังคมและ  8. แผนปฏบิ ตั ิงานประจำ�ปี 8. จำ�นวนแผนปฏิบัติงานประจ�ำ ปี 1 แผน ต่อปี 10
ความมั่นคงของมนษุ ย ์ 9. รอ้ ยละของโครงการท่ไี ดร้ ับการน�ำ ไป รอ้ ยละ 100 10
ในระดับจังหวัด ใหเ้ ปน็ 9. การประเมนิ ผลแผน 10
ไปตามนโยบาย  ปฏบิ ัติ 10
ของกระทรวง
10. จ�ำ นวนแผนดา้ นสงั คมทไ่ี ดร้ บั การประเมนิ   ทุกแผน 10
11. จำ�นวนรายงานการประเมินผล  1 ฉบับตอ่ ปี 10
แผนปฏบิ ตั ิงานประจ�ำ ปี
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด
3. การสง่ เสรมิ และประสาน  10. ความครบถว้ นในการ  12. ร้อยละของภารกจิ ทมี่ กี ารปฏิบตั  ิ รอ้ ยละ 100
การดำ�เนินงาน  ดำ�เนินงานท่ีได้รับการ  ตามท่ีไดร้ บั การประสาน
การจัดกจิ กรรมตา่ งๆ   มอบหมายจากหนว่ ยงาน
ตามภารกิจ  ในกระทรวงเปน็ ลายลักษณ์
และเป้าหมาย  อักษร
ของหนว่ ยงาน 
ในกระทรวง 11. ความทันเวลาในการปฏบิ ตั ิ 13. ร้อยละของภารกิจท่ีมีการปฏบิ ัตติ ามเวลา ร้อยละ 80
งานที่ได้รับการมอบหมาย ทก่ี �ำ หนด

12. การรายงานผลการด�ำ เนนิ งาน  14. รอ้ ยละของโครงการ/กจิ กรรม  ร้อยละ 80
ตามภารกิจทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ทด่ี �ำ เนินงานมกี ารรายงาน 
ผลการด�ำ เนินงาน

123

124 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ดา้ น มาตรฐาน ตวั ช้ีวัด เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปัญหา/ แนวทาง
4. การสง่ เสรมิ  สนบั สนนุ (คะแนน) ด�ำ เนนิ งาน (คะแนน) อุปสรรค แกไ้ ข

และประสานการ  13. จัดท�ำ ระบบ และวเิ คราะห ์ 15. จ�ำ นวนระบบข้อมูลองค์กรเครือขา่ ย 1 ระบบ 10
ดำ�เนินงานกบั องคก์ ร ข้อมลู  องคก์ รเครอื ขา่ ย 16. จ�ำ นวนการปรบั ปรงุ ขอ้ มลู องคก์ รเครอื ขา่ ย 1 คร้ังตอ่ ปี 10
เครอื ข่ายในจงั หวัด 
ทงั้ ภาครฐั   14. การมแี กนนำ�ประสานงาน 17. ร้อยละของตำ�บลท่ีมีแกนนำ�ประสานงาน  รอ้ ยละ 80 10
และภาคเอกชน เครอื ขา่ ย เครือข่าย ครบทกุ กล่มุ เป้าหมายท่กี ำ�หนด

15. การสอ่ื สารกบั องคก์ รเครอื ขา่ ย 18. รอ้ ยละขององคก์ รเครอื ข่าย ท่มี กี ารส่ง รอ้ ยละ 80  10 
ขอ้ มลู ขา่ วสาร 10
19. จ�ำ นวนคร้งั ในการสง่ ข้อมูลขา่ วสารให้กับ อยา่ งนอ้ ยไตรมาส 
องคก์ รเครอื ขา่ ย ละ 1 คร้งั

16. การสนับสนุนการด�ำ เนนิ งาน 20. จ�ำ นวนการจดั ประชมุ รว่ มแกนน�ำ เครอื ขา่ ย 12 ครั้งต่อปี 10
เครือข่าย 21. จำ�นวนการจดั อบรมใหค้ วามรแู้ ละ  12 ครงั้ ตอ่ ป ี 10 
พฒั นาศักยภาพสมาชิกองค์กรเครอื ขา่ ย 10
22. ร้อยละขององคก์ รเครอื ขา่ ย  รอ้ ยละ 80 10
ทีเ่ ข้าร่วมกิจกรรมกับ สนง.พมจ.
23. รอ้ ยละขององค์กรเครือขา่ ยทยี่ น่ื ขอ  ร้อยละ 50
และไดร้ บั การสนับสนนุ งบประมาณ 
จาก สนง.พมจ.

17. การติดตามประเมนิ ผล  24. รอ้ ยละของโครงการท่ีมีรายงานประเมนิ ร้อยละ 100  10
โครงการท่เี ครือขา่ ยไดร้ ับ  ผลการด�ำ เนินงาน
การสนบั สนุนงบประมาณ 
จากกระทรวงการพฒั นาสงั คม 
และความมน่ั คงของมนษุ ย์

ดา้ น มาตรฐาน ตัวชี้วัด เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปญั หา/ แนวทาง
(คะแนน) ดำ�เนินงาน (คะแนน) อุปสรรค แก้ไข

5. การสง่ เสรมิ และประสาน 18. การส่งเสรมิ   25. จำ�นวนโครงการที่มกี ารบูรณาการ  6 โครงการ  10
งาน การช่วยเหลือ  การจดั สวัสดิการสังคม  การช่วยเหลอื ผู้ประสบปญั หาทางสังคม 1 โครงการ 10
ผู้ประสบปญั หาทาง แก่กลมุ่ เปา้ หมาย 10 
สงั คม รวมทั้งการสง่ ตอ่   26. จำ�นวนโครงการทีม่ ลี กั ษณะเป็น  
ใหห้ น่วยงานอ่ืน  นวตั กรรม 10
ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ท้งั ภาครฐั   10
และภาคเอกชนทมี่ ี 19. การใหบ้ รกิ าร  27. มแี ผนผงั แสดงขน้ั ตอนและก�ำ หนดเวลา มแี ผนผงั ครบ
ตอ่ กลุม่ เปา้ หมาย ของกจิ กรรมที่ใหบ้ ริการแต่ละประเภท ทุกกจิ กรรมท่ใี ห้ 10
บรกิ าร
อำ�นาจหนา้ ท่ีในการ 
จัดสวสั ดกิ ารสังคม  28. รอ้ ยละของผูร้ บั บริการที่มีความพงึ พอใจ รอ้ ยละ 85
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด ตามกฎหมาย ตอ่ การใหบ้ ริการ

20. การส่งเสรมิ ความเขม้ แข็ง  29. จำ�นวนครัง้ การอบรม/สัมมนาด้านพัฒนา 6 ครงั้ ต่อปี
ในการปฏบิ ัติงานด้านพัฒนา สังคมและการจดั สวัสดิการสังคมแก่
สงั คมและการจัดสวัสดิการ บคุ ลากรทร่ี บั ผดิ ชอบในหนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ
สังคมใหก้ ับองค์กรปกครอง 30. ร้อยละขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ   รอ้ ยละ 80 ของ
ส่วนท้องถ่ิน ท่ีได้เขา้ ร่วมการอบรม /สมั มนา   องคก์ รปกครอง
ถา่ ยทอดความรู้ ส่วนทอ้ งถ่นิ ทไี่ ด้
รบั เชญิ เขา้ อบรม/
สมั มนา 
ในแต่ละคร้ัง

21. การให้ความชว่ ยเหลอื   31. ร้อยละของผปู้ ระสบปัญหาเรง่ ด่วน  รอ้ ยละ 100 10
ผปู้ ระสบปัญหาเร่งด่วน ทไี่ ด้รับการช่วยเหลือทันเหตกุ ารณ์

125

126 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ด้าน มาตรฐาน ตัวชีว้ ัด เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปญั หา/ แนวทาง
(คะแนน) ดำ�เนนิ งาน (คะแนน) อปุ สรรค แกไ้ ข

6. การกำ�กบั ดูแลหนว่ ยงาน 22. การก�ำ กบั  ดูแล และตดิ ตาม 32. จ�ำ นวนแผนบรู ณาการของหนว่ ยงาน  1 แผนต่อป ี 10 
ในสงั กัดกระทรวง  การด�ำ เนนิ งานตามนโยบาย ในพน้ื ทจ่ี ังหวัด 10
ให้ด�ำ เนนิ การตาม ของกระทรวง 33. จำ�นวนครั้งการรายงานผลตามแผน อย่างนอ้ ย 1 ครัง้   10 
กฎหมาย นโยบาย  บูรณาการ ต่อไตรมาส 10
ของกระทรวง และ 34. จ�ำ นวนรายงานการเบกิ จา่ ยงบประมาณ อย่างน้อย 1 ครง้ั  
ตดิ ตามประเมนิ ผล   ของหนว่ ยงานในพื้นทีจ่ ังหวัด ต่อไตรมาส
แผนการปฏบิ ตั ริ าชการ 35. จ�ำ นวนครง้ั ของการประชมุ หนว่ ยงาน พม.   อย่างน้อย 6 ครง้ั  
ของกระทรวง  ในพ้ืนท่ีจังหวดั ต่อปี
ในความรับผดิ ชอบ 
ของส่วนราชการและ 
หนว่ ยงานสงั กดั กระทรวง 
ในระดับจังหวัด

7. การเป็นศูนยข์ ้อมูลดา้ น 23. การจัดต้งั ศูนยป์ ฏิบัตกิ าร  36. มีศนู ย์ปฏบิ ตั ิการด้านขอ้ มลู การพฒั นา 1 ศนู ย์ 10
การพฒั นาสงั คมและ ด้านข้อมูล สังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ ครบทกุ เร่อื งตาม 10
ความมัน่ คงของมนุษย์ ข้อกำ�หนด 
ในระดับจังหวัด 24. ความครอบคลุมของข้อมูล 37. จำ�นวนเรอื่ งทมี่ กี ารเก็บรวบรวม ของกระทรวงฯ 

25. ความทันสมัยของขอ้ มลู 38. จำ�นวนคร้ังในการปรับปรงุ ข้อมูล  2 ครั้งตอ่ ปี  10
ในแตล่ ะเร่ือง

26. ความน่าเช่อื ถือของขอ้ มลู 39. รอ้ ยละของเรอื่ งทจ่ี ดั เกบ็ สามารถอา้ งองิ รอ้ ยละ 100 10
แหลง่ หรอื แสดงวธิ กี ารจดั เกบ็

ดา้ น มาตรฐาน ตวั ชวี้ ดั เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปญั หา/ แนวทาง
27. การน�ำ ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ (คะแนน) ดำ�เนนิ งาน (คะแนน) อุปสรรค แกไ้ ข

40. จ�ำ นวนคร้งั ในการใหบ้ ริการด้านขอ้ มลู อยา่ งนอ้ ย 5 ครัง้   7.5
ตอ่ ปี

8. การเผยแพร ่ 28. แผนการประชาสัมพนั ธ์ 41. จำ�นวนแผนการประชาสมั พันธข์ อง 1 แผนต่อปี 10
ประชาประสัมพันธ์   หน่วยงาน
และรณรงค์ให้มีการ
ดำ�เนนิ กิจกรรมเกีย่ วกับ  29. การดำ�เนนิ งานดา้ นเว็บไซต์ 42. จ�ำ นวนครั้งของการเขา้ ชมเว็บไซต์ 6,000 ครั้งตอ่ ปี 10
43. ความถ่ใี นการปรบั ปรุงขอ้ มูล 4 ครง้ั ต่อเดอื น 10
การพัฒนาสงั คมและ
ความมัน่ คงของมนุษย์  30. มีการดำ�เนินงาน 
มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด รวมท้ังความก้าวหน้า ดา้ น Social Media 44. จำ�นวนช่องทางการเผยแพร่   อย่างน้อย   7.5
Social Media 2 ช่องทาง
ทางวชิ าการและผลการ
ปฏิบัตงิ านของกระทรวง 31. การรณรงค์ร่วมกบั   45. จำ�นวนโครงการรณรงค์ 5 โครงการตอ่ ปี 10
ภาคประชาสงั คม   46. รอ้ ยละขององคก์ ารภาคประชาสงั คม  ร้อยละ 70 10
และองคก์ ารภาครัฐ และองค์การภาครัฐทีร่ ่วมรณรงค์

32. การประชาสมั พันธ ์ 47. จำ�นวนข่าวสารที่ได้รับการตีพิมพ ์ 12 ข่าวตอ่ ปี 10
ผ่านส่อื มวลชน ในหนังสือพิมพ์ และ/หรอื   
การกระจายเสียงในวิทยชุ มุ ชน  
หรอื เคเบิลทวี ีทอ้ งถิ่น

9. การรบั เรอ่ื งราว  33. การรับเร่อื งราวร้องทุกข ์ 48. รอ้ ยละท่ไี ดร้ ับการชว่ ยเหลอื หรอื สง่ ต่อ รอ้ ยละ 100  10 
รอ้ งทกุ ขแ์ ละแกไ้ ข และแกไ้ ขปญั หา จากการรบั เร่ืองราวรอ้ งทุกข์ 10
ปัญหาสังคม 
ในระดับจงั หวดั 49. ระยะเวลาในการรายงานการช่วยเหลือ  ภายใน 3 วัน
ส่งต่อ

127

128 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั ด้าน มาตรฐาน ตัวชวี้ ัด เกณฑ์ เกณฑ์ ผลการ ผล ปัญหา/ แนวทาง
(คะแนน) ด�ำ เนนิ งาน (คะแนน) อปุ สรรค แก้ไข
50. ชอ่ งทางในการเข้าถงึ การรอ้ งทกุ ข์ อยา่ งน้อย  
3 ช่องทาง 10
10. การปฏบิ ตั งิ าน  34. การปฏบิ ัติงานตามภารกิจ  51. ร้อยละของภารกิจหรอื งานที่ไดร้ ับ  ร้อยละ 95 10
รว่ มกบั หรอื สนบั สนนุ   ที่ได้รับมอบหมายจากจังหวัด มอบหมาย
การปฏิบัติงาน  505 xxx
ของหนว่ ยงานอ่ืน  xxx 
ท่เี กี่ยวขอ้ งหรอื   51
ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย
XXX    (เชน่ ) ผ่านเกณฑใ์ นระดบั คอ่ นขา้ งดี
รวมคะแนนมิตทิ  ี่ 4 คะแนนมติ ทิ ่ี 2+3+4 
3
ระดับคะแนนมิติท่ ี 4 (ค่าคะแนนรวมหารด้วยจำ�นวนตวั ชีว้ ดั )

ผลการปฏบิ ตั ิมิตทิ  ี่ 4

ระดบั คะแนนมติ ทิ ี่ 2+3+4 (ระดับคา่ คะแนนของท้ัง 3 มิติ บวกกนั หารด้วย 3)

ตวั อยา่ ง 1 แผนปฏิบัติงานของ สนง.พมจ.

ตวั อยางแผนปฏิบัติงานสาํ นักงานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ ังหวัดเชียงใหม ประจาํ ปง บประมาณ 2555 ตัวอยา งที่ 1

งานนโยบายและวชิ าการ

โครงการ/กจิ กรรม รูปแบบกจิ กรรม/ขัน้ ตอน งบประมาณ ชว งเวลาดําเนินการ พ้ืนที่ กลมุ เปาหมาย ผูรบั ผิดชอบ

1. โครงการแกไขปญหาสงั คมและพัฒนาคุณภาพชวิ ติ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. (อาํ เภอ/ตาํ บล) มนสั พร ภมรบุตร

2. โครงการสนับสนนุ การจัดทําแผนดา นการพฒั นา 1. รวบรวมและบนั ทึกขอ มูลสถานการณทางสงั คมทองถิ่น 25 อําเภอ 25 อําเภอ มนสั พร ภมรบตุ ร
สังคมและความม่นั คงของมนษุ ย มนสั พร ภมรบตุ ร
3. โครงการเฝา ระวังและเตอื นภัยทางสังคม ตามแบบ อปท.1 มนัสพร ภมรบตุ ร
2. จดั ทํารายงานสถานการณทางสังคมระดบั จังหวดั
4. โครงการขบั เคลือ่ นสงั คมนาอยแู บบองคร วม
3. จดั ทําระบบสาํ หรับการแกไขปญหาสงั คมของจังหวดั

4. ดําเนินการและตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานตามขั้นตอนท่ี 3

มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด 5. สรุปผลการดําเนนิ งาน 10,000 25 อาํ เภอ 25 อําเภอ
สนับสนนุ การจัดทาํ แผนดา นการพฒั นาสงั คมและความมัน่ คง

ของมนษุ ย 20,000 25 อาํ เภอ 25 อําเภอ
1. จัดเก็บขอมลู กลมุ เปา หมาย 4 กลุม เปา หมาย (เดก็ เยาวชน
สตรี และผสู งู อาย)ุ 2. การรายงานสถานการณทางสงั คม

จงั หวัด 3,000,000 ชมุ ชนวัดเกต อ.เมือง ประชาชนในพนื้ ที่
1. สานสัมพันธแ กนนาํ ชมุ ชนกับเจาหนา ทีข่ องรัฐ ต.เชิงดอย อ.ดอยสะเกด็ 10 อาํ เภอ
2. จดั กจิ กรรมสรา งสังคมนาอยูในชมุ ชน เดอื นละ 1-2 ครงั้

ใน 9 ชมุ ชน รวมชมุ ชนละ 15 ครง้ั รวมท้ังส้ิน 90 คร้งั ต.ทากวาง อ.สารภี

3. อบรมพัฒนาศักยภาพแกนนําและผปู ระสานงาน ต.บา นกลาง อ.สันปาตอง

ภายในชุมชน ต.หวยแกว อ.แมออน

4. ถอดบทเรยี นและบริหารจดั การองคค วามรใู นพ้นื ท่ี ต.บานจันทร
5. การลงพ้นื ท่ีติดตามประเมนิ ผลการดาํ เนินงานและ อ.กัลยาณวิ ฒั นา

ชวี้ ดั ผลสาํ เร็จของโครงการ

6. จางเหมาบริการผปู ระสานงานโครงการในระดบั พื้นที่

7. จดั ทาํ สื่อประชาสัมพันธแ ละเผยแพรส่ือ

129

ตัวอย่าง 2 แบบฟอร์มรายงานการปฏบิ ัตงิ านโครงการ

แบบฟอรม์ รายงานการปฏบิ ัตงิ านโครงการ สนง.พมจ......................................................................................
ประจำ�ปงี บประมาณ........................................................................................................................................

ชือ่ โครงการ..........................................................................................................................................
วันท่ีเรมิ่ โครงการ.......................................... .......................................................................................
วนั ทโ่ี ครงการดำ�เนนิ การแลว้ เสรจ็ ..........................................................................................................
วันทีเ่ ขียนรายงาน..................................................................................................................................
ผรู้ ับผิดชอบ ชอื่ ............................................................................กลุม่ งาน..........................................

วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ลักษณะการดำ�เนนิ งาน
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ผลท่ไี ด้รบั จากการด�ำ เนินงาน
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ปัญหาอุปสรรคในการดำ�เนนิ งานและแนวทางแกไ้ ข
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะต่อโครงการ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................................................
ผ้รู ายงาน

130 มาตรฐานการปฎิบัติหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์จงั หวัด

ตวั อยา่ ง 3 แบบฟอร์มการกำ�กับตดิ ตามงาน

แบบฟอรม์ การกำ�กบั ติดตามงาน
ของสำ�นกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั

ลำ�ดับท่ี กำ�หนดสง่ เรอื่ ง หนว่ ยงานท่รี ับรายงาน ผู้รบั ผดิ ชอบ

มาตรฐานการปฎิบัติหนา้ ท่ีของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ งั หวัด 131

ตวั อยา่ ง 4 แบบฟอรม์ การเก็บรวบรวมข้อมลู องค์การเครอื ขา่ ยในจังหวดั

แบบฟอร์มการเกบ็ รวบรวมข้อมูลองคก์ รเครอื ข่ายในจงั หวัด 
ของสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

ล�ำ ดับ  ช่ือองคก์ ร วตั ถปุ ระสงค์ กจิ กรรมท่ี กลุ่มเปา้ หมายหลกั สถานที่ต้งั หมายเหตุ
ที่ เครอื ข่าย ด�ำ เนินการ

**แบบฟอร์มอาจปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม**

132 มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าท่ขี องสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์จงั หวดั

ตวั อยา่ ง 5 แบบรายงานผลการปฏบิ ัตงิ านประจำ�เดอื น (บคุ คล)

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานประจำ�เดือน.................................. ปงี บประมาณ....................
ของ ......................................................

สำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวดั .............................................

ล�ำ ดับที่ กจิ กรรม หมายเหตุ

มาตรฐานการปฎิบตั ิหนา้ ท่ขี องสำ�นักงานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จงั หวัด 133

ค�ำ สั่งสำ�นกั งานปลดั กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์
ท ่ี ๓๓๓๒/๒๕๕๘

เรื่อง แตง่ ต้งั คณะทำ�งานพฒั นามาตรฐานการปฏิบัตหิ นา้ ทข่ี อง
สำ�นักงานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

เพื่อให้การดำ�เนินโครงการพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและ 
ค ว า ม ม่ั น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย์ จั ง ห วั ด   เ ป็ น ไ ป ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์   แ ล ะ เ กิ ด ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ สู ง สุ ด ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่  
ของส�ำ นกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวัด

อ า ศั ย อำ � น า จ ต า ม ค ว า ม ใ น ม า ต ร า   ๒ ๑   แ ห่ ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร แ ผ่ น ดิ น 
พ . ศ . ๒ ๕ ๓ ๔   ซึ่ ง แ ก้ ไข เ พิ่ ม เ ติ ม โ ด ย พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร แ ผ่ น ดิ น   ( ฉ บั บ ท่ี   ๕ )   พ . ศ . ๒ ๕ ๔ ๕ 
ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย ์ จึงมีคำ�สง่ั ดังต่อไปน้ี

๑. ให้ยกเลิกคำ�ส่ังกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ที่ ๙๒๓/๒๕๕๕ 
ลงวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕ เรื่อง แต่งต้ังคณะทำ�งานพัฒนามาตรฐานและตัวช้ีวัดการปฏิบัติหน้าท ี่
ของส�ำ นักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวัด

๒. แต่งตั้งคณะทำ�งานพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคง
ของมนษุ ย์จงั หวัด ประกอบด้วย

๒.๑ นายวทิ ศั น ์ เตชะบุญ  ประธานคณะทำ�งาน 
รองปลัดกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย ์ คณะทำ�งาน
๒.๒ นางเสาวนยี  ์ โขมพตั ร  
หวั หน้าผตู้ รวจราชการ คณะทำ�งาน
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์
๒.๓ นายสมคดิ  สมศร ี   คณะทำ�งาน
ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์
๒.๔ นางอษุ า หงส์กาญจนกลุ   
ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์

134 มาตรฐานการปฎิบตั หิ นา้ ทข่ี องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวัด

๒.๕ ผู้อ�ำ นวยการกองตรวจและประเมินผล  คณะท�ำ งาน
๒.๖ ผอู้ ำ�นวยการกองพฒั นาระบบบริหาร  คณะท�ำ งาน
๒.๗ ผอู้ ำ�นวยการกองยุทธศาสตร์และแผนงาน  คณะท�ำ งาน
๒.๘ ผู้อ�ำ นวยการศนู ย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร  คณะท�ำ งาน
๒.๙ ผอู้ ำ�นวยการส�ำ นกั บริหารกลาง   คณะท�ำ งาน
๒.๑๐ นายธนสนุ ทร สว่างสาลี   คณะท�ำ งาน
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์จงั หวัดนครนายก
๒.๑๑ นายพสิ ิฐ พูลพิพัฒน ์   คณะทำ�งาน
พัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี
๒.๑๒ นางวรรภา ลำ�เจยี กเทศ  คณะท�ำ งาน
พฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จังหวัดสตลู
๒.๑๓ นายสุทธิ จันทรวงษ์   คณะท�ำ งาน
พัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวัดกำ�แพงเพชร
๒.๑๔ นายอนกุ ูล ปดี แก้ว   คณะท�ำ งาน
พัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวัดอำ�นาจเจริญ
๒.๑๕ ผู้อ�ำ นวยการกลุ่มการตรวจราชการ   คณะทำ�งาน
กองตรวจและประเมินผล
๒.๑๖ ผู้อำ�นวยการกลุม่ สนบั สนนุ และประสานราชการสว่ นภูมิภาค  คณะทำ�งาน
กองตรวจและประเมินผล
๒.๑๗ ผู้อ�ำ นวยการกล่มุ ยุทธศาสตร ์  คณะท�ำ งาน
กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน
๒.๑๘ นางสาวเรอื งลกั ษณ์ ทิพยท์ อง  คณะทำ�งาน
นกั พัฒนาสงั คมช�ำ นาญการพิเศษ
สำ�นักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จังหวดั ราชบรุ ี
๒.๑๙ นางสมพศิ  หลวงแจ่ม   คณะทำ�งาน
นกั พัฒนาสังคมช�ำ นาญการพเิ ศษ
ส�ำ นักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย ์ จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์
๒.๒๐ นายมนัสพร ภมรบตุ ร   คณะท�ำ งาน
นักพัฒนาสงั คมช�ำ นาญการ
ส�ำ นักงานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ จงั หวดั เชียงใหม่
๒.๒๑ นางมยรุ ี ยกตร ี   คณะทำ�งาน
๒.๒๒ ผู้อ�ำ นวยการกองวชิ าการ  คณะทำ�งาน 
และเลขานุการ

มาตรฐานการปฎบิ ตั หิ น้าท่ีของสำ�นักงานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 135

๒.๒๓ ผู้อ�ำ นวยการกลุ่มการพฒั นามาตรฐานทางสงั คม กองวชิ าการ คณะทำ�งาน 
และผู้ช่วยเลขานุการ
๒.๒๔ นายกนก ค้มุ ประวัติ   คณะท�ำ งาน 
นักพัฒนาสงั คมช�ำ นาญการ กองวิชาการ  และผ้ชู ่วยเลขานกุ าร

โดยให้คณะท�ำ งานฯ มีหน้าที ่ ดังน้ี
๑. ให้คำ�ปรึกษา ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ พิจารณาข้อมูลประกอบการพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติ
หน้าทข่ี องส�ำ นกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัด
๒. ติดตามและให้คำ�แนะนำ�การปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติหน้าท่ีของสำ�นักงานพัฒนาสังคม
และความม่ันคงของมนุษยจ์ ังหวัด
๓. พจิ ารณาเรอื่ งอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การพฒั นามาตรฐานการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องส�ำ นกั งานพฒั นาสงั คม 
และความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั

ท้งั นี ้ ตง้ั แต่บดั นี้เป็นต้นไป

สงั่  ณ วนั ท่ี  ๔  ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

(นายไมตรี อนิ ทุสุต)
ปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์


136 มาตรฐานการปฎบิ ัติหนา้ ท่ขี องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวัด

มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทีข่ องสำ�นกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ งั หวัด 137

138 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหนา้ ที่ของสำ�นกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวดั

รู้มาตรฐาน องคก์ ารพัฒนา ชาวประชาไดค้ ณุ ภาพบริการ

มาตรฐานการปฎิบัตหิ นา้ ทขี่ องสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัด 139

บันทกึ ความจำ�

...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
..........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................

140 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั

บันทกึ ความจำ�

...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
..........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................

มาตรฐานการปฎิบตั ิหน้าทขี่ องสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั 141

บันทกึ ความจำ�

...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
..........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................

142 มาตรฐานการปฎบิ ตั ิหน้าที่ของสำ�นักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั


Click to View FlipBook Version