เอกสารประกอบการอบรม
โครงการ “การขบั เคล่อื นสถานศึกษา
ตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”
ประจาปีการศึกษา 2565
โรงเรยี นสคี ้วิ “สวสั ด์ิผดงุ วทิ ยา”
สงั กดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นครราชสมี า
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1
บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญ
“ในการพัฒนาประเทศนัน้ จำเปน็ ต้องทำตามลำดบั ขั้นตอน เร่ิมดว้ ยการสรา้ งพนื้ ฐาน คอื ความมี
กินมีใช้ของประชาชนกอ่ น ด้วยวธิ ีการที่ประหยัดระมัดระวัง แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐานเกิดข้ึนมัน่ คง
พอควรแล้ว จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญให้ค่อยเป็นค่อยไปตามลำดับด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และ
ประหยัดนั้น ก็เพื่อป้องกันความผิดพลาดล้มเหลว และเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จได้แน่นอนบริบูรณ์”
พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทานปริญญาบตั รของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 19 กรกฎาคม 2517
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พัฒนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทย ได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่อคงไว้
ซึ่งทฤษฎีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็นพื้นฐานของการ ดำรงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่างสังคมระดับท้องถิ่นและ
ตลอดจนถึงระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดย
ปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัตน์และการอยู่ร่วมกันของ ทุกคนในสังคม โดยใช้หลักความพอเพียง
ความพอประมาณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมี ระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการ
กระทบใด ๆ อันเกดิ จากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายใน และภายนอก ทงั้ นี้จะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ
และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการ วางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอนและ
ขณะเดยี วกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจติ ใจของคนในชาตโิ ดยเฉพาะ เจ้าหน้าท่ขี องรัฐ นกั ทฤษฎีและนักธุรกิจ
ในทุกระดับ ให้มีสำนึกในคณุ ธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มี ความรอบรูท้ ี่เหมาะสม ดำเนินชีวติ ด้วยความ
อดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง
อยา่ งรวดเรว็ และกวา้ งขวาง ทัง้ ดา้ นวัตถุ สงั คม สง่ิ แวดล้อม และวฒั นธรรม จากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมคี วามตระหนกั ในภารกิจทส่ี ำคัญดังกล่าวควบค่ไู ปกับการพัฒนาคน ซ่งึ เปน็
ศูนย์กลางของการพัฒนาที่เปิดโอกาสให้ประชาชนทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาประเทศ ที่ยึด
พระราชดำรสั “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นแนวทางต่อเน่ือง แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2575 มี
จุดมุ่งหมายทางการศึกษาว่า การศึกษาเป็นเครือ่ ง/กลไก ในการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ให้มีความเป็นพลเมือง
มีทักษะความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะในการปฏิบัติงานที่ตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน
และการพัฒนาประเทศ ดำรงชวี ติ ในสังคมอย่างเป็นสุข กล่าวคอื การมงี านทำ มีอาชพี มีรายได้ รวมท้งั สามารถ
ปรับตัวและดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที่เป็น
พลวัตในโลกศตวรรษที่ 21 ด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จึงจัดทำยุทธศาสตร์เพื่อดำเนินโครงการ
ขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ผู้บริหารองค์กร ครู ผู้บริหารสถานศึกษา บุคลากรด้าน
การศึกษา และนักเรียน นักศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนำ
หลักคิด หลักปฏิบัติ มาบูรณาการในการบริหารจัดการการเรียนการสอนตลอดจนการประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวัน โดยมีหน่วยงาน ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ร่วมกัน
รับผิดชอบในการนำรปู แบบการจดั การศึกษาบนพื้นฐานปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิตของประชาชน
อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนเพื่อให้สามารถพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมได้ ตามแนวพระราชดำรัส และนโยบาย
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2
รัฐบาลรวมทั้งเป็นการผลักดันให้ประเทศชาติพัฒนาต่อไปอย่างเต็มศักยภาพ พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไข เพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553 มกี ารน้อมนำหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารจดั การศึกษา โดยบรรจไุ วใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
พ.ศ. 2551
การขบั เคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศกึ ษาเป็นความพยายามอย่างต่อเนื่องในการ
ปรบั สมดุลของการพฒั นาประเทศ ในระดับ ฐานราก คือ การปรบั ทัศนคติและค่านยิ มในการดำรงชีวติ ใหอ้ ยู่
บนพ้ืนฐานของความพอเพียง เพ่อื นำไปสกู่ ารใช้ทรพั ยากรต่างๆ และการอยรู่ ่วมกนั ในสังคม บนหลกั การของ
ความพอประมาณ ใช้เหตผุ ลและไม่ประมาท ผา่ นการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงบรรจุไว้ในหลักสูตร
การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานของชาติ เพอ่ื ใหเ้ ป็นกรอบและแนวทางในการพัฒนาเยาวชนรุน่ ใหมใ่ ห้มีคา่ นิยมและ
อุปนสิ ัย “อยู่อย่างพอเพียง” (นฏั ฐพงศ์ ทองภักดี ,2554)
จากความสำคญั ดังกล่าว โรงเรยี นสีคว้ิ “สวัสดผ์ิ ดงุ วทิ ยา” สงั กัดองค์การบริหารส่วนจังหวดั
นครราชสีมา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดนโยบายมุ่งพัฒนาสถานศึกษา โดยจัดการศึกษา
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ซง่ึ ทางโรงเรยี นได้ดำเนนิ การ 2 สว่ น คอื การบริหารจัดการสถานศึกษา
ในด้านต่าง ๆ และจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยสอดแทรกสาระหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
หลกั สูตรสถานศึกษา สาระการเรียนรู้ และเพื่อให้การพัฒนาเป็นไปอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน จึง
มกี ารพฒั นาสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเรยี กวา่ “สถานศึกษาพอเพยี ง” ซง่ึ เป็นการ
นำหลักคิดพอเพียงมาพัฒนาการบริหารสถานศึกษา การสร้างวัฒนธรรมขององค์กร การจัดสภาพแวดล้อม
และการจัดการเรยี นรูผ้ ่านหลักสูตรการเรยี นการสอนและกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ให้เป็นสถานศึกษาพอเพียงท่ีมี
คุณภาพ ในทุกๆ ด้านอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกิดความยั่งยนื
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ขับเคลื่อนหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู่ ถานศึกษา
2. เพื่อพฒั นาการบริหารสถานศึกษาและการจดั กระบวนการเรียนการสอนตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกิดความยง่ั ยนื
3. เพอ่ื พฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะพืน้ ฐาน ปฏบิ ัตติ น และตระหนักในความสำคัญ
ของการดำรงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง”
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3
แนวทางในการดำเนนิ งานสถานศกึ ษาพอเพียง ดังน้ี
1. ด้านการบริหารจดั การสถานศกึ ษา (4 องคป์ ระกอบ 14 ตวั บ่งช้ี)
1. นโยบาย
1.1 มีนโยบายนอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาขบั เคลอื่ นในสถานศกึ ษา
และบรู ณาการในแผนปฏบิ ัตงิ านประจำปี
1.2 ดำเนนิ การตามนโยบาย และแผนปฏิบตั งิ านประจำปี ทน่ี ้อมนำหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาขับเคลื่อนในสถานศกึ ษา
1.3 ติดตามผลการดำเนินการตามนโยบายและแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีที่นอ้ มนำ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาขับเคลื่อนในสถานศกึ ษา
1.4 นำผลการติดตามมาพัฒนา นโยบาย/แผนงาน/โครงการ ขบั เคลอื่ นหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศึกษา
2. วิชาการ
2.1 มีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ด้านวิชาการทสี่ ง่ เสรมิ การบูรณาการหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารเรยี นการสอน
2.2 ดำเนนิ การตาม แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ด้านวชิ าการทสี่ ง่ เสริมการบูรณาการ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารเรยี นการสอน
2.3 ตดิ ตามผล แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดา้ นวชิ าการที่ส่งเสริมการบรู ณาการ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารเรียนการสอน
2.4 นำผลการตดิ ตามไปพัฒนา แผนงาน/โครงการ/ กิจกรรม ด้านวิชาการท่สี ง่ เสรมิ
การบรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การเรยี นการสอน
3. งบประมาณ
3.1 มกี ารวางแผนการบริหารจดั การงบประมาณของสถานศึกษาทส่ี อดคล้องกับหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.2 ดำเนนิ การตามแผนงบประมาณของสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.3 ตดิ ตามผลการดำเนินงานตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษาตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
3.4 นำผลการติดตามมาพัฒนาและปรับปรงุ การบริหารจดั การงบประมาณตามหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. บรหิ ารทัว่ ไป
4.1 บรหิ ารอาคารสถานทีแ่ ละจดั การแหลง่ การเรียนรูใ้ นสถานศึกษาตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
4.2 ประสานสมั พันธ์กับชุมชนให้มีสว่ นรว่ มในการสง่ เสรมิ การเรยี นรู้เพื่อการเปน็ อยู่อย่าง
พอเพียง
2. ด้านหลักสตู รและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (4 องคป์ ระกอบ 14 ตัวบ่งช้)ี
1. หนว่ ยการเรียนรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
1.1 มหี น่วยการเรยี นรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามมาตรฐานการเรยี นรู้
1.2 มีการนิเทศ/ตดิ ตาม/ประเมนิ ผล การนำหนว่ ยการเรยี นรปู้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4
1.3 มกี ารศึกษา/วเิ คราะห์/วิจัย เพอ่ื พฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. การบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
2.1 มแี ผนจัดการเรยี นร้ทู ีบ่ ูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในกลุ่มสาระการ
เรยี นร้ตู ่าง ๆ ทกุ ระดบั ช้นั
2.2 คุณภาพของแผนจดั การเรยี นรู้ที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในกลุ่ม
สาระการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ
2.3 จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทบี่ ูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในกลมุ่ สาระ
การเรยี นรตู้ ่างๆ
2.4 ผูเ้ รียนมสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ทบ่ี รู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
3. ส่ือและแหลง่ เรียนรเู้ ก่ยี วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3.1 จัดหา/ผลติ /ใช้/เผยแพร่ ส่อื การเรยี นรู้ เพื่อบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในการจัดการเรยี นรู้
3.2 จัดทำ/พฒั นา/เผยแพร่ แหล่งเรยี นรู้ในสถานศึกษาเพ่ือสนบั สนนุ การเรยี นรู้ เกยี่ วกับ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3.3 ใชแ้ หล่งเรียนร้/ู ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นในชุมชน ที่เสรมิ สรา้ งการพัฒนาคณุ ลักษณะอยูอ่ ย่าง
พอเพียงของผู้เรยี น
4. การวดั และประเมนิ ผลการจดั การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.1 จดั ทำเคร่อื งมือ และ วัดและประเมินผลทีห่ ลากหลาย และสอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์
ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4.2 ใช้วธิ กี ารวดั ผลและประเมินผลทห่ี ลากหลาย และสอดคลอ้ งกับการจดั กิจกรรมการ
เรียนรู้ที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4.3 รายงานผลการประเมิน และนำมาปรบั ปรงุ /พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่บรู ณา
การหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.4 จดั แสดง/เผยแพร่/ประกวด/แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ผลงานของนักเรียน ท่ีเกิดจากการนำ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกตใ์ ช้
3. ด้านการจัดกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (3 องค์ประกอบ 15 ตัวบ่งช้ี)
1. การแนะแนวและระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น
1.1 มีแผนงานแนะแนว เพื่อสนบั สนนุ การดำเนนิ ชีวติ ท่สี อดคล้องกับหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
1.2 จดั กจิ กรรมแนะแนวใหผ้ ู้เรียนได้รูจ้ กั การวางแผนชีวติ ของตนเองได้อยา่ งสอดคล้องกับ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1.3 มรี ะบบดูแลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียนให้สามารถ แก้ปญั หา/พัฒนาตนเองได้อย่างสอดคลอ้ งกบั
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.4 ตดิ ตามผล การจดั กจิ กรรมแนะแนว และระบบดูแลช่วยเหลอื ผ้เู รียน
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 5
1.5 นำผลการตดิ ตามมาใชพ้ ัฒนาการจัดกิจกรรมแนะแนว และระบบดูแลชว่ ยเหลอื ผู้เรียน
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. กิจกรรมนักเรยี น
2.1 มีแผนงาน/โครงการสง่ เสรมิ กิจกรรมนักเรยี น เพ่ือให้ผูเ้ รยี น “อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง”
2.2 จดั กจิ กรรมลกู เสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาดหรือผู้บำเพ็ญประโยชน์ สอดคล้องกับหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2.3 สง่ เสรมิ ให้มีการจดั ตง้ั ชมุ นมุ /ชมรม ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
2.4 มกี ารประยุกต์ใช้ ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น/วัฒนธรรม/หลกั คำสอนทางศาสนา ในการจดั
กจิ กรรมนักเรยี นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2.5 ติดตามผลการจัดกิจกรรมนักเรียนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.6 นำผลการตดิ ตามมาปรับปรุง/พฒั นา กจิ กรรมนกั เรยี นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
3. กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
3.1 มีกจิ กรรมเพ่ือสง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รียนเกิดจติ อาสา และมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมเพื่อ
สงั คมและสาธารณประโยชน์ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3.2 ผูเ้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการแก้ปญั หา หรือพฒั นาสถานศกึ ษา/ชุมชนด้านเศรษฐกจิ หรอื
สังคมหรอื ส่ิงแวดล้อมหรือวัฒนธรรม ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3.3 ติดตามผลการดำเนนิ กิจกรรม เพือ่ สังคมและสาธารณประโยชนข์ องผู้เรียน ตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3.4 นำผลการตดิ ตามมา ปรับปรุง/พัฒนา การดำเนนิ กจิ กรรม เพ่อื สงั คมและ
สาธารณประโยชนข์ องผเู้ รียนตามหลกั ปรัชญาของ
4. ด้านพฒั นาบุคลากรของสถานศกึ ษา (2 องค์ประกอบ 7 ตวั บ่งชี้)
1. การพัฒนาบุคลากรตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.1 มีแผนงาน/โครงการพฒั นาบคุ ลากรของสถานศึกษาเพอ่ื สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจ และ
ตระหนกั ในคณุ คา่ ของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.2 จดั การประชมุ /อบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานแหลง่ เรยี นรูต้ า่ งๆ เพื่อสง่ เสริมการ
ประยกุ ตใ์ ชป้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการดำเนนิ ชวี ติ และปฏบิ ัติภารกจิ หน้าที่
1.3 สง่ เสรมิ ให้บุคลากรแสวงหาความรูเ้ ก่ียวกบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งอย่างสมำ่ เสมอ
1.4 จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการดำเนินชวี ติ และการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ หนา้ ท่ี ตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงแกบ่ คุ ลากรของสถานศกึ ษา
2. การติดตามและขยายผล
2.1 ติดตามผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมพัฒนาบุคลากรเพื่อสง่ เสรมิ การดำเนินชีวติ และ
ปฏิบัตภิ ารกิจหน้าที่ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.2 นำผลการติดตามมาปรบั ปรงุ /พฒั นาการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมพฒั นาบุคลากร
เพื่อสง่ เสรมิ การดำเนินชีวิตและปฏิบัติภารกิจหน้าทตี่ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.3 ขยายผลและเผยแพร่ ผลการดำเนินชวี ิตและปฏิบตั ิภารกิจหน้าท่ีของบุคลากรตามหลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 6
5. ผลลัพธ/์ ภาพความสำเรจ็ (4 องคป์ ระกอบ 12 ตวั บ่งช้ี)
1. สถานศกึ ษา
1.1 คุณลักษณะของสถานศึกษาพอเพียง
2. ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
2.1 คณุ ลักษณะของผ้บู ริหารสถานศึกษาพอเพียง
3. บุคลากรของสถานศึกษา
3.1 บุคลากรของสถานศึกษามีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.2 บคุ ลากรจัดการทรพั ยากรและดำเนินชีวติ ด้านเศรษฐกิจอยา่ งสอดคล้องกบั หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3.3 บคุ ลากรอยูร่ ว่ มกบั ผูอ้ นื่ ในสงั คม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถ
เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ใี นการปฏิบัติตนเพื่อส่วนรวมและสาธารณประโยชน์
3.4 บคุ ลากรรูจ้ ักใช้และจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดลุ และพร้อม
รบั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงต่างๆ
3.5 บคุ ลากรดำเนินชวี ติ อยา่ งมฐี านรากทางวฒั นธรรม และพรอ้ มรับตอ่ การเปลีย่ นแปลงทาง
วัฒนธรรมจากกระแสโลกาภวิ ัตน์
4. นกั เรียน
4.1 ผู้เรยี นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งตามมาตรฐาน
การเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียง ของแต่ละระดบั ชน้ั ปีการศึกษา
4.2 ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิตนให้ดำเนินชีวติ ไดอ้ ยา่ งสมดลุ และพร้อมรบั ต่อการเปลย่ี นแปลงใน
ด้านวตั ถุ/เศรษฐกิจ
4.3 ผเู้ รยี นปฏิบัติตนใหด้ ำเนนิ ชวี ติ ไดอ้ ย่างสมดุลและพร้อมรบั ต่อการเปลยี่ นแปลงใน
ดา้ นสังคม
4.4 ผเู้ รยี นปฏิบตั ิตนให้ดำเนนิ ชวี ติ ได้อย่างสมดุลและพร้อมรับตอ่ การเปลี่ยนแปลงใน
ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม
4.5 ผู้เรียนปฏบิ ัติตนให้ดำเนินชีวติ ได้อย่างสมดลุ และพร้อมรับตอ่ การเปลีย่ นแปลงใน
ดา้ นวฒั นธรรม
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 7
เอกสารทเ่ี กยี่ วข้อง
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ ปรัชญาท่ีชี้ถงึ แนวทางการดำรงอยู่และปฏบิ ตั ติ นของประชาชนทุกระดับ ตั้งแต่
ระดับครอบครัว ชุมชน และรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะ
การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมี
เหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะตอ้ งมีระบบภูมคิ ุ้มกันในตวั ที่ดีพอสมควรต่อการ มีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลง ทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวัง
อย่างย่ิงในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใชใ้ นการวางแผน และการดำเนนิ การ ทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกันจะต้อง
เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มี
สำนึกในคณุ ธรรม ความซอื่ สัตย์ สุจริตและให้มคี วามรอบรทู้ เ่ี หมาะสม ดำเนนิ ชวี ติ ดว้ ยความอดทนความเพียรมี
สติปัญญาและความรอบคอบ เพ่ือให้เกิดความสมดุลและความพร้อม ต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่าง
รวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดีหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณา ประกอบด้วย 2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติโดยนำเสนอ
รายละเอียดแตล่ ะส่วน ดังน้ี
2 เง่ือนไข ประกอบด้วย
1) ความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ในวิชาการท่เี กยี่ วข้องรอบคอบในการนำความรู้ไปใช้
อย่างระมดั ระวงั ในขนั้ ตอนการปฏบิ ตั ิ
2) คณุ ธรรม หมายถึง การตระหนักในคุณธรรมเปน็ พืน้ ฐาน ซื่อสัตยส์ ุจริต ขยันอดทน
มคี วามเพยี รใช้สติปญั ญาในการดำเนนิ ชีวิต
3 หลักการ ประกอบด้วย
1) พอประมาณ หมายถึง พอเหมาะ พอดี พอควรใช้ศักยภาพของตนเองเต็มทใี่ ชท้ รัพยากร
ทีม่ ีใหเ้ กิดประโยชน์
2) มีเหตผุ ล หมายถงึ รู้สาเหตุ ทำไม เพราะเหตุใด รู้ปัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ งรูผ้ ลกระทบท่จี ะเกิดขนึ้
3) มีภูมิคมุ้ กันในตัวที่ดี หมายถึง พร้อมรบั การเปลยี่ นแปลง และความเสย่ี งที่จะเกดิ ขน้ึ
วางแผนรอบคอบไม่ประมาณ
4 มิติ ประกอบด้วย
1) มติ ิวัตถุ หมายถึง การประหยัด คมุ้ คา่
2) มติ ิสงั คม หมายถึง การเอื้อเฟ้ือ ไมเ่ บยี ดเบยี น
3) มติ ิวัฒนธรรม หมายถึง การเหน็ คุณคา่ ภูมปิ ัญญา รกั ความเปน็ ไทย
4) มิตสิ ่งิ แวดลอ้ ม หมายถึง มีจติ สำนึก ร่วมอนรุ ักษ์
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 8
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 9
ตวั อย่างการถอดบทเรยี น เรื่องการใช้พลังงานไฟฟ้า
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 10
ตวั อย่างการถอดบทเรยี น “โครงการโรงเรียนสเี ขียว”
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 11
ตวั อย่างการถอดบทเรยี น “โครงการธนาคารโรงเรยี น”
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 12
ตวั อยา่ งการถอดบทเรยี น “โครงการสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น”
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 13
แบบฟอรม์ การเขียนแผนการจดั การเรียนรู้บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
และตัวอย่างปกแผนการจดั การเรียนรูบ้ รู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 14
แผนการจัดการเรยี นรบู้ ูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
รายวิชางานอาชพี 5
รหัสวชิ า ง21225
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ภาคเรียนที่ 2
ปีการศึกษา 2565
นายสราวุฒิ คำมณี
ตำแหนง่ ครู
กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี
โรงเรียนสีคิ้ว“สวัสด์ิผดงุ วิทยา”
สำนกั การศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 15
แผนการจัดการเรยี นรู้
บูรณาการ เศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรยี นสเี ขยี ว สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
รายวชิ า............................................................................รหสั วชิ า...........................ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่................
กลมุ่ สาระการเรียนรู้.........................................................................ภาคเรียนท่ี..............ปกี ารศึกษา..................
หน่วยการเรียนรทู้ .่ี .................ชอื่ หน่วย................................................................................................................
เร่อื ง..............................................................................เวลา.................ชั่วโมง ครูผู้สอน.....................................
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
2.สาระสำคัญ / ความคดิ รวบยอด
............................................................................................................................. .................................................
......................................................................................................................................... .....................................
.............................................................................................. ................................................................................
3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ (KPA)
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
4. สาระการเรียนรู้
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................... ...........................
5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
.................................................................................................................................................................... ..........
......................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. .................................................
7. คำถามหลักสำหรบั การตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน (ระบุระดบั การรคู้ ิด)
7.1 ......................................................................................................................(การรู้ คดิ ระดับ.......)
7.2 ......................................................................................................................(การรู้ คิด ระดับ.......)
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 16
8. ภาระงาน / ชิ้นงาน
ลักษณะงานท่ีมอบหมายใหก้ ับนักเรยี น (ระบุระดับการร้คู ิด)
8.1 ......................................................................................................................(การรู้ คดิ ระดับ.......)
8.2 ......................................................................................................................(การรูค้ ิด ระดับ.......)
หมายเหตุ ระดับการคดิ
ระดบั 1 = ร้จู ำ ระดับ 2 = เขา้ ใจ ระดับ 3 = นำไปใช้
ระดบั 4 = วเิ คราะห์ ระดบั 5 = สงั เคราะห์ ระดบั 6 = ประเมินค่า
9. กิจกรรมการเรียนรู้ (ระบุรูปแบบการสอน)
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
10. ส่ือและแหล่งเรยี นรู้
10.1 สอ่ื
.................................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. .................................................
10.2 แหล่งเรยี นรู้
................................................................................................................................ ..............................................
..............................................................................................................................................................................
11. การวดั และประเมินผล
รายการวดั และประเมินผล วธิ กี ารวัด เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน
จุดประสงค์
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 17
12. วิเคราะห์การนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
12.1 ผูส้ อนนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
หลักพอเพยี ง พอประมาณ มีเหตุผล มภี มู คิ ุม้ กันทดี่ ี
ประเดน็
เนือ้ หา สอดคล้องกับมาตรฐานการ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้บรรลตุ าม วเิ คราะหห์ ลักสูตร สาระ
เวลา เรยี นร้แู ละตัวชีว้ ดั /ผลการ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละ การเรยี นรู้ เนือ้ หา
วธิ ีการจดั กจิ กรรม เรียนรู้ ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนร้ขู อง ออกแบบ และจัดกิจกรรม
แหล่งเรยี นรู้ หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษา การเรยี นรู้ไดค้ รบถว้ น
สอ่ื /วัสดุและอุปกรณ์ ออกแบบกจิ กรรม โดยใช้ ข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สอดคล้องกับมาตรฐานการ
การวัดและประเมนิ ผล กระบวนการ/รูปแบบ/วิธกี าร เรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ัด/ผลการ
สอน ..........................เพื่อให้ ให้เวลาพอเหมาะกับการ เรียนรู้
ผ้เู รยี นสามารถปฏบิ ัติ วางแผนเพื่อให้กิจกรรมการ วางแผนในการจัดกิจกรรม
กิจกรรมบรรลุจุดประสงคก์ าร เรยี นร้บู รรลุจุดประสงคก์ าร การเรยี นรู้ในการปฏบิ ัติ
เรยี นรไู้ ดท้ นั ตามเวลา........... เรยี นรไู้ ดต้ ามเวลาทก่ี ำหนด กจิ กรรมแตล่ ะขน้ั เพ่อื ให้
ชั่วโมง ผู้เรยี นสามารถปฏบิ ัติ
ใชก้ ระบวนการ/รูปแบบ/ เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสรา้ งองคค์ วามรู้ กิจกรรมไดเ้ สร็จทันเวลา
วิธีการสอน .......................... ด้วยตนเอง สง่ เสรมิ ทักษะ......
สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการ ............................................... วางแผนอยา่ งรอบคอบใน
เรยี นร้แู ละตัวช้ีวดั /ผลการ ............................................... การจดั กจิ กรรมใหผ้ เู้ รียนได้
เรียนรู้ และวยั ของผเู้ รียน เรียนรเู้ ต็มตามศกั ยภาพของ
เพื่อให้ผู้เรียนไดใ้ ชแ้ หล่งเรียนรู้ ตนเอง โดยการเรยี นแบบ
ให้ผู้เรียนศึกษาความรู้ ทหี่ ลากหลายและได้ขอ้ มลู ท่ี ใชก้ ระบวนการ/รูปแบบ/
เพ่ิมเตมิ จาก ถกู ต้อง โดยวธิ ีการค้นคว้าจาก วิธีการสอน
.......................................... แหล่งข้อมูล ..........................
............................................... ผู้เรยี นใชแ้ หลง่ เรียนรูใ้ ห้เกิด
ใชแ้ หลง่ เรียนรู้....................... ประโยชนส์ ูงสดุ ตอ่ ตนเอง
ใชส้ ือ่ /วสั ดแุ ละอุปกรณ์ ที่มี .............................................. และฝึกทกั ษะใหผ้ ้เู รียนรรู้ กั
อยใู่ นโรงเรียนในการจัด การคน้ ควา้ รู้จกั การ
กจิ กรรมการเรียนรู้อยา่ ง เพอ่ื ตรวจสอบความรูท้ ักษะ แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
เหมาะสมและคมุ้ ค่า คณุ ลกั ษณะ และสมรรถนะ จัดเตรยี มใบความร/ู้ ใบงาน/
สำคัญของผเู้ รียน ใบกิจกรรม/แบบฝกึ และ
ใช้เครอ่ื งมอื และวธิ ีการวดั ผล สือ่ /วัสดุและอปุ กรณ์ทีม่ ีอยู่
ทถ่ี ูกต้องเหมาะสมและ ในโรงเรียนให้พอเพียงกับ
สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ ผู้เรยี น
การเรยี นรู้ ใชว้ ิธีการวดั ผลตามสภาพ
จรงิ สะทอ้ นผลการเรียนรทู้ ่ี
กำหนดไว้และนำผลไป
พัฒนาการเรยี นรู้
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 18
12.2 ผลท่ีเกดิ ข้ึนกับผเู้ รียนสอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
12.2.1 ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรหู้ ลักคดิ และฝึกปฏิบัติตามหลกั 3 หว่ ง 2 เงื่อนไข ดงั นี้
หลกั 3 ห่วง 2 เง่ือนไข ความพอประมาณ มเี หตผุ ล มีภูมคิ ุม้ กันทดี่ ี
หลกั พอเพียง -ผ้เู รยี นไดป้ ฏบิ ตั กิ จิ กรรม/งาน -ผู้เรียนรูจ้ กั การใชว้ า่ งให้เกดิ -ภาคภูมิใจในผลงานของ
เหมาะสมกับวยั และตาม ประโยชน์ ตนเอง
ศักยภาพของตนเอง -ผูเ้ รยี นเกดิ ทกั ษะ.............. -ผเู้ รยี นรู้จกั วางแผนการ
-ใช้แหลง่ เรียน...................... -ผู้เรียนรจู้ กั วางแผน ทำงานอย่างรอบคอบ
เหมาะสมกบั เวลา วิเคราะห์ ตัดสนิ ใจ เลือก -รูจ้ ักบทบาทหนา้ ท่ีมคี วาม
-ใช้สอ่ื /วสั ดุ/อปุ กรณเ์ หมาะสม ปฏิบัตกิ จิ กรรมตามท่ไี ด้รับ เปน็ ประชาธิปไตย
กับกิจกรรมอยา่ งคมุ้ คา่ และ มอบหมายไดส้ ำเรจ็ -สามารถศึกษาค้นคว้าจากสอื่
เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ และแหลง่ เรียนรู้ด้วยตนเอง
ความรทู้ ่ตี ้องมกี อ่ น -ความเป็นมาเรอ่ื งหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
การเรยี น -เรอ่ื งหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
-ร้วู ิธีการนำเรอื่ งหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปบูรณาการกับชวี ติ ประจำวนั
คณุ ธรรมของผเู้ รียน -................................................................(ชื่อเนื้อหา/ชื่อเรื่องที่เรียน)
มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ รบั ผิดชอบ มีนำ้ ใจ ตรงต่อเวลา เสยี สละ สามัคคี มจี ิตสาธาณะ
12.2.2 ผ้เู รียนได้เรยี นรู้การใชช้ วี ติ ท่สี มดลุ และพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลงใน 4 มิติ
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดา้ น สมดลุ และพร้อมรับการเปล่ยี นแปลงในดา้ นต่าง ๆ
องคป์ ระกอบ วตั ถุ สังคม สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้
-มีทักษะ ปฏิบัติกจิ กรรม -เรยี นรู้ แลกเปลยี่ น -รจู้ ักใชส้ ่ือ/แหลง่ -นำเสนอ อภปิ ราย
ทกั ษะ
และความร้เู รื่อง............ กระบวนการทำงานทำ เรยี นร/ู้ วัสดุ/อุปกรณ์ท่ี แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และ
คา่ นยิ ม
.................................... รว่ มกัน/จากเพอ่ื น กำหนดใหอ้ ย่างประหยดั สรุปผลจากการเรียน/
-รู้จกั ใชส้ ือ่ /แหลง่ เกิดประโยชน์ ความรูร้ ่วมกัน
เรยี นร/ู้ วัสดุ/อปุ กรณท์ ี่ และค้มุ ค่าสูงสดุ
กำหนดให้อยา่ ง
เหมาะสม
-มที ักษะ....................... -อย่รู ว่ มกนั ตาม -เลอื กใช้สอื่ /แหล่ง -มีจติ สาธารณะ
..................................... บทบาทและหน้าที่ เรยี นร/ู้ วสั ดุ/อปุ กรณ์ท่ี -ม.ี .................................
-มกี ารแบ่งปันความรู้ กำหนดให้อยา่ งประหยัด
................................ เกิดประโยชน/์ รกั ษา
สภาพแวดลอ้ ม
-จัดเกบ็ สือ่ /วสั ด/ุ
อปุ กรณ์ให้เปน็ ระเบยี บ
หลังการใช้
-เห็นคุณคา่ ของ............ -ตระหนกั ถึงความสำคัญ -อนรุ กั ษ์......................... -รกั ษา/หวงแหน/ใสใ่ จ
....................................... ของหลักปรัชญาของ -ใชป้ ระโยชน์................. ..................................
-เหน็ ประโยชน์ของ......... เศรษฐกิจพอเพียง
..................................... ...................................
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 19
13. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
13.1 ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
1) ดา้ นความรู้ ................................................................................................................. .......
......................................................................................................................... .....................................................
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................ ......................
............................................................................................................. .................................................................
2) ด้านทักษะ/กระบวนการ....................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
3) ด้านคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์..........................................................................................
....................................................................................................................................... .......................................
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
13.2 ปัญหาและอปุ สรรค
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................ ..
13.3 แนวทางในการแกป้ ัญหาและพัฒนา
............................................................................................................................. .................................................
.................................................................................. ............................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่ือ.............................................................................ผสู้ อน
(................................................................)
วนั ท่ี..................เดือน................................พ.ศ.............
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 20
แผนการจดั การเรียนรู้
บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนสีเขยี ว สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
รายวชิ า ภาษาไทย๔ รหัสวชิ า ท๓๒๑๐๕ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๕
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๔ ช่อื หนว่ ย ยอ้ นมาเรยี นรกั ษ์ภาษา
เรอ่ื ง การแต่งบทร้อยกรอง (ร่ายสุภาพ) เวลา ๓ ช่ัวโมง ครูผู้สอน นางนุชรี อุปสรรค์
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ช้ีวดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ช้วี ัด
ม.๔-๖/๔ แต่งบทรอ้ ยกรอง
๒.สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด
การแต่งคำประพนั ธ์ประเภทรา่ ยสุภาพ ตอ้ งมีความรเู้ กย่ี วกบั ฉันทลักษณแ์ ละกลวิธใี นการแตง่
๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA)
ดา้ นความรู้
- อธิบายหลกั การแต่งร่ายสภุ าพได้
ด้านทกั ษะกระบวนการ
๑. เขียนหลักการแตง่ บทร้อยกรองประเภทร่ายสภุ าพ
๒. แตง่ บทร้อยกรองประเภทร่ายสุภาพ
ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
- รกั ความเปน็ ไทย
๔. สาระการเรยี นรู้
การแต่งคำประพันธป์ ระเภทร่ายสภุ าพ
๕. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
- ความสามารถในการคดิ
๖. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (ประจำกลุ่มสาระการเรยี นร)ู้
- รกั ความเปน็ ไทย
๗. คำถามหลักสำหรับการตรวจสอบความเข้าใจของนักเรยี น (ระบรุ ะดับการรูค้ ิด)
๗.๑ คำประพันธ์ประเภทรา่ ยสภุ าพมลี ักษณะอยา่ งไร (การรคู้ ิด ระดบั ๑,๒)
๗.๒ รา่ ยสุภาพมลี ักษณะใกล้เคียงกับคำประพนั ธ์ประเภทใด (การรู้คิด ระดับ ๔)
๗.๓ การแต่งคำประพนั ธ์ประเภทร่ายสภุ าพ มีประโยชน์ต่อนักเรียนอยา่ งไร (การรคู้ ิด ระดับ ๓,๖)
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 21
๘. ภาระงาน / ช้นิ งาน
ลักษณะงานท่ีมอบหมายใหก้ ับนักเรยี น (ระบรุ ะดับการรู้คิด)
๘.๑ การถอดบทเรยี นจากการเรยี นวชิ าภาษาไทย๔ ท๓๒๑๐๔ จำนวน ๑ เร่อื ง (การรู้คดิ ระดบั ๔)
๘.๒ การแตง่ คำประพนั ธป์ ระเภทรา่ ยสภุ าพจากการถอดบทเรียน จำนวน ๑๐ วรรคขึ้นไป
(การร้คู ิด ระดบั ๓,๕)
หมายเหตุ ระดับการคดิ
ระดบั ๑ = รู้จำ ระดบั ๒ = เขา้ ใจ ระดบั ๓ = นำไปใช้
ระดับ ๔ = วิเคราะห์ ระดบั ๕ = สงั เคราะห์ ระดบั ๖ = ประเมนิ ค่า
๙. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขัน้ นำเข้าสูบ่ ทเรยี น
ชว่ั โมงท่ี ๑
๑. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
๒. ครูเปดิ คลิปการอ่านคำประพันธป์ ระเภทรา่ ยสภุ าพใหน้ กั เรียนฟัง
๓. ครสู นทนากับนักเรียนเรอ่ื ง คำประพันธป์ ระเภทรา่ ยสภุ าพ จากนน้ั ถามนักเรียนว่า คำประพันธป์ ระเภท
ร่ายสุภาพ มีลกั ษณะอย่างไร
๔. นักเรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั คำประพนั ธ์ประเภทรา่ ยสุภาพ
๕. นักเรียนตอบคำถามพัฒนาความคดิ
คำถาม รา่ ยสุภาพมลี ักษณะใกลเ้ คยี งกบั คำประพันธป์ ระเภทใด
(ครูผสู้ อนพจิ ารณาตามคำตอบของนกั เรียน)
ขั้นสอน
๑. แบง่ นกั เรียนเป็นกลมุ่ กลมุ่ ละ ๕ คน โดยเรยี งตามลำดับเลขท่ี จากน้นั ให้แต่ละกลุ่มรว่ มกันศึกษา
ความรเู้ รอ่ื ง การแตง่ คำประพันธป์ ระเภทรา่ ยสุภาพ จากหนังสือเรียน
๒. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มนำผลการศึกษาความรู้เรื่อง การแต่งคำประพันธ์ประเภทร่ายสภุ าพ มา
ถ่ายทอดแลกเปลย่ี นเรียนรู้กัน
๓. ครูอธบิ ายทบทวนและสรปุ ความร้เู ร่ืองคำประพันธป์ ระเภทร่ายสุภาพ
๔. นักเรียนตอบคำถามพัฒนาความคิด
คำถาม การศึกษาเร่ือง การแต่งคำประพนั ธป์ ระเภทร่ายสุภาพ มปี ระโยชนต์ อ่ นักเรียนอยา่ งไร
(ครูผู้สอนพิจารณาตามคำตอบของนักเรยี น)
ชว่ั โมงท่ี ๒
๕. เปิดคลปิ ทบทวนความรู้เร่ืองการถอดบทเรยี นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๖. ครูสนทนากับนักเรยี น เรื่องการถอดบทเรยี นตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๗. ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันเลอื กเน้ือหาจากการเรียนวิชาภาษาไทย๔ ท๓๒๐๔ กลุม่ ละ ๑ เรอื่ ง
เช่น การเขียนสารคดี วรรณคดีบทละครพดู คำฉันท์ เร่ืองมัทนะพาธา ฯลฯ และถอดบทเรยี นตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๘. ตวั แทนนักเรยี นแต่ละกลุม่ นำเสนอผลงานถอดบทเรียนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 22
๙. ครแู ละเพื่อนชว่ ยกันตรวจสอบและประเมินการนำเสนอ และใหค้ ำแนะนำ/ช่ืนชม
๑๐.มอบหมายภาระงานให้ทกุ กลมุ่ นำผลงานจากการถอดบทเรียนไปแตง่ เป็นคำประพนั ธร์ ่ายสภุ าพ
โดยสง่ เป็นไฟล์ PDF
ชวั่ โมงท่ี ๓
ขัน้ สรุป
๑. ตัวแทนนักเรยี นแต่ละกลุ่มนำเสนอการแตง่ คำประพนั ธ์ประเภทร่ายสภุ าพ
๒. ครแู ละเพื่อนนักเรียนช่วยตรวจสอบและประเมนิ การนำเสนอ และใหค้ ำแนะนำ/ชืน่ ชม
๓. สรปุ ปบทเรยี นเรื่องคำประพันธ์รา่ ยสุภาพและการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้
ในชีวติ ประจำวัน
๔. ทดสอบหลงั เรยี น
๑๐. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้
รายการวดั และประเมนิ ผล วธิ กี าร เคร่อื งมอื เกณฑ์
ด้านความรู้
- อธิบายหลกั การแตง่ ร่ายสภุ าพได้ ตรวจแบบทดสอบกอ่ น-หลัง แบบทดสอบกอ่ น-หลังเรียน ร้อยละ ๗๐ ผ่านเกณฑ์
เรยี น
ดา้ นทกั ษะกระบวนการ
๑. ถอดบทเรยี น ๑. ประเมนิ การถอดบทเรียน ๑. แบบประเมนิ ๑. ระดับคุณภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์
๒. แต่งบทร้อยกรองประเภทรา่ ยสภุ าพ ๒. ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
๓. นำเสนอผลงาน ๒. ประเมนิ การแต่งร่ายสภุ าพ การถอดบทเรยี น ๓. ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผา่ นเกณฑ์
๔. รอ้ ยละ ๒๕-๔๙ ผา่ นเกณฑ์
๓. สงั เกตพฤตกิ รรม ๒. แบบประเมิน
การทำงานกลุ่ม การแตง่ รา่ ยสภุ าพ
๔. สงั เกตพฤตกิ รรม ๓. แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
การนำเสนอผลงาน การทำงานกลมุ่
๔. แบบสังเกตพฤตกิ รรม
การนำเสนอผลงาน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สงั เกตพฤติกรรมคณุ ลักษณะ แบบสังเกตคณุ ลกั ษณะ ระดบั คณุ ภาพ ๒
- รักความเปน็ ไทย ผ่านเกณฑ์
อันพึงประสงค์ อันพงึ ประสงค์
ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน สังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ สงั เกต ระดับคุณภาพ ๒
- ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการคดิ ผ่านเกณฑ์
๑๑.สอ่ื /แหล่งเรียนรู้
๑๑.๑ สื่อการเรยี นรู้
๑) หนังสือเรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใชภ้ าษา ม.๕
๒) คลิปการอ่านคำประพันธ์ประเภทรา่ ยสภุ าพ
๓) คลิปการถอดบทเรยี น
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 23
๔) Power point เรื่องร่ายสุภาพและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑๑.๒ แหล่งเรียนรู้
๑) ห้องสมุด
๒) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ
- http://th.wikipedia.org/wiki/รา่ ย
- http://www.baanjomyut.com/library_2/rai/
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 24
12. วิเคราะห์การนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
12.1 ผสู้ อนนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
หลักพอเพยี ง พอประมาณ มีเหตผุ ล มีภมู ิคุม้ กันทดี่ ี
ประเด็น
เนอ้ื หา สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้บรรลตุ าม วเิ คราะหห์ ลกั สูตร สาระการ
เวลา
วธิ ีการจดั กิจกรรม เรยี นรู้และตวั ชวี้ ดั /ผลการ มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ เรียนรู้ เนอื้ หา ออกแบบ
แหล่งเรียนรู้
สื่อ/วสั ดุและอปุ กรณ์ เรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรยี นร้ขู อง และจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
การวดั และประเมินผล
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา ไดค้ รบถว้ นสอดคลอ้ งกบั
ขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละ
ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้
ออกแบบกิจกรรม โดยใช้ ให้เวลาพอเหมาะกบั การ วางแผนในการจัดกจิ กรรม
กระบวนการกลุ่มเพือ่ ให้ วางแผนเพื่อให้กจิ กรรมการ การเรยี นรใู้ นการปฏบิ ัติ
ผู้เรยี นสามารถปฏบิ ัติ เรียนรบู้ รรลจุ ุดประสงคก์ าร กจิ กรรมแต่ละขั้นเพือ่ ให้
กจิ กรรมบรรลจุ ุดประสงค์ เรยี นรไู้ ดต้ ามเวลาทกี่ ำหนด ผู้เรยี นสามารถปฏบิ ัติ
การเรยี นรู้ได้ทันตามเวลา ๓ กิจกรรมไดเ้ สร็จทนั เวลา
ชวั่ โมง
ใชก้ ระบวนการกลมุ่ เพื่อให้ผูเ้ รยี นสรา้ งองค์ความรู้ วางแผนอย่างรอบคอบใน
สอดคล้องกับมาตรฐานการ ดว้ ยตนเอง สง่ เสริมทกั ษะการ การจัดกจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รียนได้
เรียนรู้และตวั ชี้วดั /ผลการ แตง่ คำประพันธแ์ ละการ เรียนรเู้ ตม็ ตามศักยภาพของ
เรียนรู้ และวัยของผเู้ รียน วเิ คราะหเ์ นอื้ หา ถอดบทเรยี น ตนเอง โดยการเรยี นแบบ
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ กระบวนการกล่มุ
พอเพยี ง
ให้ผ้เู รียนศกึ ษาความรู้ เพื่อให้ผูเ้ รยี นได้ใชแ้ หล่งเรียนรู้ ผเู้ รยี นใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ให้เกิด
เพ่มิ เตมิ จากคลปิ You Tube ที่หลากหลายและไดข้ ้อมลู ที่ ประโยชนส์ ูงสุดตอ่ ตนเอง
ถูกต้อง โดยวิธกี ารคน้ ควา้ จาก และฝกึ ทักษะใหผ้ ูเ้ รียนรรู้ ัก
แหล่งขอ้ มลู การค้นคว้า รูจ้ กั การ
แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง
ใชส้ ื่อ/วสั ดแุ ละอุปกรณ์ ทม่ี ี ใชแ้ หล่งเรยี นรู้จากอินเทอร์เนต็ จดั เตรยี มใบความร/ู้ ใบงาน/
อยใู่ นโรงเรยี นในการจดั ใบกิจกรรม/แบบฝึก และ
กจิ กรรมการเรียนรอู้ ย่าง สอ่ื /วสั ดแุ ละอุปกรณ์ทีม่ ีอยู่
เหมาะสมและคมุ้ คา่ ในโรงเรียนใหพ้ อเพยี งกบั
ผู้เรยี น
ใช้เครื่องมือและวธิ ีการวดั ผล เพอื่ ตรวจสอบความรู้ทกั ษะ ใชว้ ธิ กี ารวดั ผลตามสภาพ
ทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสมและ คุณลักษณะ และสมรรถนะ จริง สะท้อนผลการเรียนร้ทู ี่
สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ สำคญั ของผเู้ รยี น กำหนดไวแ้ ละนำผลไป
การเรยี นรู้ พฒั นาการเรยี นรู้
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 25
12.2 ผลทีเ่ กดิ ขึ้นกับผเู้ รยี นสอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
จากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
12.2.1 ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติตามหลกั 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ดงั นี้
หลกั 3 หว่ ง 2 เงอื่ นไข ความพอประมาณ มเี หตุผล มีภูมิคุม้ กันที่ดี
หลกั พอเพยี ง -ผูเ้ รยี นได้ปฏิบตั กิ ิจกรรม/งาน -ผเู้ รียนรู้จักการใชว้ า่ งใหเ้ กิด -ภาคภมู ิใจในผลงานของ
เหมาะสมกบั วัยและตาม ประโยชน์ ตนเอง
ศักยภาพของตนเอง -ผเู้ รียนเกิดทกั ษะการคิด -ผู้เรยี นรู้จกั วางแผนการ
-ใชแ้ หลง่ เรียนรจู้ าก วิเคราะห์ ทกั ษะการแต่ง ทำงานอยา่ งรอบคอบ
อินเทอรเ์ น็ต คำประพันธร์ า่ ยสภุ าพ -รู้จักบทบาทหนา้ ทมี่ ีความ
เหมาะสมกบั เวลา -ผู้เรยี นรู้จักวางแผน เป็นประชาธปิ ไตย
-ใชส้ อื่ /วสั ด/ุ อุปกรณเ์ หมาะสม วิเคราะห์ ตัดสนิ ใจ เลอื ก -สามารถศกึ ษาคน้ คว้าจากสื่อ
กบั กจิ กรรมอยา่ งคมุ้ ค่าและ ปฏบิ ัติกจิ กรรมตามทีไ่ ดร้ บั และแหล่งเรียนรดู้ ้วยตนเอง
เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ มอบหมายไดส้ ำเรจ็
ความรู้ท่ตี ้องมกี อ่ น -ความเปน็ มาเร่ืองหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การเรยี น -เร่อื งหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
-ร้วู ิธกี ารนำเรอ่ื งหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปบรู ณาการกับชีวติ ประจำวัน
-การแต่งคำประพนั ธ์ประเภทร่ายสุภาพ (ชอื่ เนอื้ หา/ชือ่ เรื่องท่ีเรยี น)
คุณธรรมของผเู้ รียน มีวนิ ัย ใฝ่เรียนรู้ รบั ผิดชอบ มีน้ำใจ ตรงตอ่ เวลา เสยี สละ สามคั คี มจี ติ สาธาณะ
12.2.2 ผู้เรยี นได้เรยี นรกู้ ารใช้ชวี ติ ท่ีสมดลุ และพร้อมรบั การเปล่ียนแปลงใน 4 มติ ิ
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดา้ น สมดุลและพร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงในด้านตา่ ง ๆ
องค์ประกอบ วตั ถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม
ความรู้
-มีทักษะ ปฏิบัตกิ ิจกรรม -เรยี นรู้ แลกเปลย่ี น -รู้จกั ใช้สอ่ื /แหล่ง -นำเสนอ อภปิ ราย
ทกั ษะ
และความรเู้ ร่ืองการแต่ง กระบวนการทำงานทำ เรยี นร/ู้ วสั ด/ุ อปุ กรณ์ท่ี แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และ
คา่ นยิ ม
คำประพนั ธป์ ระเภทร่าย ร่วมกนั /จากเพื่อน กำหนดใหอ้ ย่างประหยัด สรปุ ผลจากการเรยี น/
สุภาพ เกิดประโยชน์ ความรู้ร่วมกนั
-รจู้ ักใช้ส่อื /แหลง่ และค้มุ คา่ สูงสดุ
เรยี นร/ู้ วัสดุ/อุปกรณ์ที่
กำหนดให้อย่าง
เหมาะสม
-มีทักษะการคิด -อยรู่ ่วมกนั ตาม -เลอื กใช้ส่อื /แหลง่ -มจี ิตสาธารณะ
วเิ คราะห์ ทักษะการแตง่ บทบาทและหน้าที่ เรียนร/ู้ วัสดุ/อุปกรณ์ท่ี
คำประพนั ธร์ า่ ยสภุ าพ -มีการแบ่งปนั ความรู้ กำหนดใหอ้ ยา่ งประหยัด
เกดิ ประโยชน/์ รกั ษา
สภาพแวดล้อม
-จดั เกบ็ สื่อ/วสั ด/ุ
อปุ กรณ์ให้เปน็ ระเบยี บ
หลงั การใช้
-เหน็ คุณคา่ ของ -ตระหนักถึงความสำคญั - -รกั ความเปน็ ไทย
ภาษาไทย ของหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 26
13. บันทึกผลหลังการจดั การเรยี นรู้
13.1 ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
1) ด้านความรู้
- นักเรียนทดสอบหลังเรยี นผ่านเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ขน้ึ ไป
2) ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
- นักเรยี นผา่ นเกณฑร์ ะดับคุณภาพ ระดบั ๓ ขนึ้ ไป
3) ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
- นักเรยี นผ่านเกณฑร์ ะดับคุณภาพ ระดับ ๓ ขึ้นไป
13.2 ปัญหาและอปุ สรรค
-สญั ญาณอินเทอร์เนต็ ติดขัดระหว่างการนำเสนอผลงานของนักเรยี นในวนั ทเ่ี รยี น Online
13.3 แนวทางในการแกป้ ัญหาและพฒั นา
-ให้นักเรียนสง่ ไฟลม์ าก่อน ครูช่วยแชรห์ น้าจอให้
ลงช่ือ นชุ รี อปุ สรรค์ ผู้สอน
(นางนุชรี อุปสรรค์)
วันที่ ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 27
ตวั อยา่ ง ส่ือการสอน
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 28
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 29
ตวั อย่าง ผลงานนกั เรยี น
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 30
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 31
ตวั อย่าง การนำเสนอผลงานนกั เรียน
https://www.youtube.com/watch?v=TQgEzrbws2U
ตวั อยา่ ง ภาพกจิ กรรม
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 32
ภาพผลลัพธ/์ ความสำเรจ็ ภาพความสำเร็จของโรงเรียนสีคิ้ว “สวสั ด์ิผดุงวทิ ยา”
โรงเรียนสคี ิ้ว “สวสั ดผิ์ ดงุ วทิ ยา” น้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นหลักคิด
หลกั ปฏิบตั ิ มาประยุกตใ์ ช้ในบริหารจดั การของสถานศกึ ษาดา้ นต่าง ๆ และบุคลากรของโรงเรียนนอ้ มนำ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ้ นการปฏิบัติหนา้ ท่ีเป็นวฒั นธรรมองค์กรจนได้รับการยอมรบั ประกาศ
เกียรติคณุ อยา่ งต่อเนื่อง จนบรรลุภาพความสำเร็จ ดงั นี้
โรงเรียนสีควิ้ “สวัสดิผ์ ดุงวทิ ยา” ได้รบั การคัดเลือกเปน็ “โรงเรียนพอเพยี งทอ้ งถ่ิน”
จากกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ วันที่ 17 กนั ยายน พ.ศ. 2562
โรงเรยี นสคี ิว้ “สวัสด์ิผดงุ วทิ ยา” ไดร้ บั การคดั เลือกเป็น “ศูนยก์ ารเรียนรู้เฉลมิ พระเกยี รติ”
สงั กัดองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดนครราชสมี า
ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษา และคณะครู ได้รับรางวลั ดังน้ี
1. รางวลั ตน้ แบบด้านบรหิ ารสถานศกึ ษา เนื่องในวนั ครู 16 มกราคม 2565
จากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวัดนครราชสีมา
2. เป็นบคุ คลต้นแบบของสังคมที่สนับสนุนงบประมาณจัดซ้อื หมวกนิรภัย เพอื่ ใช้ใน
การ ดำเนินการ โครงการ“จับเพราะรักที่สีคิ้ว” จากศูนย์อํานวยความปลอดภัยทางถนน อำเภอสีคิ้ว จังหวัด
นครราชสีมา
3. รางวัลคนดศี รยี ่าโม จากสำนักงานศกึ ษาธิการจังหวดั นครราชสีมา
4. รางวลั นิเทศธำรง ประเภทผดงุ คณุ ภาพ สำหรบั ผู้บริหารสถานศกึ ษา
จากสมาคมศกึ ษานิเทศกจ์ งั หวดั นครราชสีมา
5. รางวลั รองผอู้ ำนวยการสถานศึกษาดีเดน่ จากสมาคมผบู้ รหิ ารมธั ยมศกึ ษา
แหง่ ประเทศไทย
6. รางวลั ครดู เี ดน่ ระดบั ม.ตน้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน งานแนะแนว งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และงานวัดผลประเมินผล เนื่องในวันครู 16
มกราคม 2565 จากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั นครราชสีมา
7. รางวลั ครดู เี ดน่ ระดับ ม.ปลาย กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาต่างประเทศ กลุ่มสาระการเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ งานแนะแนว และงานระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรยี น เนือ่ งในวันครู 16 มกราคม 2565 จากองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดนครราชสีมา
นักเรยี น ไดร้ บั รางวลั ดงั นี้
1. รางวลั เหรยี ญทองแดง การประกวดสวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรัตนตรัย
ทำนองสรภัญญะ ประเภททีม 5 คนประจำปี พ.ศ. 2565 ระดับจังหวัด จากสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด
นครราชสีมา
2. รางวัลชมเชย การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ด้านธรรมชาติวิทยา ระดับประเทศ
ประจำปี 2564 หัวขอ้ “พชื ผักและผลไมไ้ ทยเพ่ือความยั่งยืนในอนาคต” (Thai Vegetables and Fruits
for Sustainable Future) องค์การพิพธิ ภณั ฑ์วทิ ยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ (อพวช.) ณ วนั ท่ี 2 กันยายน 2564
3. นกั เรยี นดเี ด่นด้านนวตั กรรมการศกึ ษาและวิชาการ “สุดยอดเด็กดเี ดน่ " เนอ่ื งในวันเดก็
แหง่ ชาติ ประจำปี 2565 จากสภาองค์กรเยาวชนสร้างสรรคพ์ ฒั นาสังคม ร่วมกบั สโมสรสง่ เสรมิ ศกั ยภาพ
เยาวชนส่คู วามเปน็ สากล แหง่ ประเทศไทย ณ วนั ท่ี 8 มกราคม 2565
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศกึ ษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 33
4. รางวัลเหรยี ญทองแดง กล่มุ เรื่อง: สุขภาพและการแพทย์ การประกวดสงิ่ ประดิษฐแ์ ละ
นวัตกรรม “โครงการ Thailand New Gen Inventors Award 2021” (H-New Gen Award 2021)
จากสำนักงานการวจิ ัยแหง่ ชาติ ณ วนั ที่ 2-6 กุมภาพนั ธ์ 2565
5. รางวัลเหรียญทอง กลุ่มเรอ่ื ง: พลังงานเคมแี ละวสั ดุชีวภาพ “โครงการ Thailand
New Gen Inventors Award 2021” (H-New Gen Award 2021) จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
ณ วนั ที่ 2-6 กุมภาพันธ์ 2565
6. เข้ารอบ 40 ทีมสุดทา้ ย (รอการนำเสนอ วนั ท่ี 16 พฤษภาคม 2565) โครงงาน
วิทยาศาสตร์ด้านธรรมชาติวิทยา ระดับประเทศ ประจำปี ๒๕๖๕ ภายใต้หัวข้อ “ประมงพื้นบ้าน
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพืชน้ำ สู่วิถีแห่งความยั่งยืน ( Artisanal Fisheries and Aquaculture for
Sustainable Living)” จากองค์การพิพธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตรแ์ หง่ ชาติ (อพวช.) ณ วันที่ 29 มนี าคม 2565
ด้านการจัดสภาพแวดล้อมและแหล่งเรียนรู้ เป็นต้นแบบให้หน่วยงานอื่นและมีการขยายผล
ทำให้โรงเรยี นสีค้ิว “สวสั ดิผ์ ดุงวิทยา” ได้รบั รางวลั ดังน้ี
1. รางวลั EGAT Green Learning Awards 2021 โรงเรยี นไดร้ ับรางวัลระดับประเทศ
1.1 รางวัลชนะเลศิ ระดับประเทศดีเยย่ี ม โรงเรยี นคาร์บอนตำ่ สูช่ มุ ชน ปี 2564
(ลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ท่ีบ้านนักเรียน) ระดบั มัธยมศึกษา ประเภทจำนวนนกั เรยี น 1,801-2,500 คน
1.2 รางวัลชนะเลิศระดบั ประเทศดีเย่ียม โรงเรียนคารบ์ อนตำ่ ปี 2564
(ลดการใช้พลังงานไฟฟา้ ทโ่ี รงเรียน) ระดับมัธยมศกึ ษา ประเภทจำนวนนักเรยี น 1,801-2,500 คน
2. โรงเรียนใช้พลงั งานไฟฟ้าลดลง โดยเทียบกับการใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ ในปีท่ผี ่านมาไดร้ บั รางวัล
ระดับประเทศ โรงเรียนคาร์บอนต่ำสู่ชุมชน(ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่บ้านนักเรียน) ระดับมัธยมศึกษา
ประเภทจำนวนนักเรยี น นอ้ ยกว่า 2,500 คน สามารถกา๊ ซเรือนกระจกได้ 11,946.51 KgCo2e ประจำปี 2563
3. รางวัล “อาคารเบอร์ 5 ในสถานศกึ ษา” ปี 2562
4. เปน็ โรงเรียนสเี ขยี ว ปี 2561 (โครงการรักษพ์ ลงั งานและส่ิงแวดล้อมกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิต
แห่งประเทศไทย (กฟผ.)
5. รางวัลระดบั ประเทศ : โรงเรียนคาร์บอนต่ำ (ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าทโ่ี รงเรยี น) ปี 2559 -
2561
6. รางวัลระดับประเทศ : โรงเรยี นคาร์บอนต่ำสชู่ ุมชน (ลดการใช้พลงั งานไฟฟา้ ทบ่ี า้ นนักเรยี น)
ปี 2559-2562
7. ใบประกาศเกียรตคิ ุณ : โครงการสนบั สนนุ กจิ กรรมลดกา๊ ซเรือนกระจก ปี 2560 – 2561
จากผลลัพธ์และภาพความสำเร็จดังกล่าว โรงเรียนสีคิ้ว “สวัสดิ์ผดุงวิทยา” เป็นสถานศึกษานำหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารสถานศึกษา จัดการศึกษา และดำเนินกิจกรรมที่เป็น
ประโยชนต์ ่อชุมชน/สังคม ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาที่เก่ียวข้องมีความรู้ ความเขา้ ใจและปฏิบัติ
ตน เป็นแบบอย่างตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ ปฏิบัติตนและดำเนิน
ชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “อยูอ่ ยา่ งพอเพียง” อยา่ งยั่งยนื
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 34
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 35
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 36
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 37
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 38
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 39
เอกสารประกอบการอบรมการขบั เคลอ่ื นสถานศึกษาตามแนวหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 40
แหลง่ อ้างอิง
ณัฏฐพงศ์ ทองภักดี. 2554. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกับสังคมไทย. กรงุ เทพฯ : ศูนย์ศกึ ษาเศรษฐกจิ
พอเพียง สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์.
ปรียานชุ พิบลู สราวธุ . ดร. (2552). Powerpoint เศรษฐกิจพอเพยี งส่สู ถานศกึ ษา. โครงการวจิ ยั เศรษฐกิจ
พอเพียง.
r=]f}
rCtrr;r.=n rv
tr=Gu=n=-r3F
lE r
t,E?t=t ;'E=iE,EJE
- rdJ
if ffi
L=ta $r\
',rrtB73IclfG5,=,=6 u!*m5
ruo, IrrF I-6l!ryi1r
Dfu?l {1,
g,# il x
',==gp5e 11
tttn fL) \(-r e tr{ r
C Tr{*}qTl#t"
\EJ
r=3gIE'td;E
1ffi
EfdJ5Er ,E
Itrl
--Iu
j
er=1J"}
itr=N,gr H
t=Grr-=o-33-r
t'E?=Ir ;r='i€EEJ lE r
- L(*tJ
if &**
L- - r-f etr}
'.d
q|)=
Itt1\.J*
.'tiHl9taHE,F=
I.tfr{.,
ta) tIFl , ..;' {l*
,=;e5'ar2i .=vi tg3t2l ",li:., ;tj;:ltij x
?t., (- tr- .,,.,ri|],:lili " Ik*
'=gp .ltit.il xrffi
trrnrL:\r
tAJ
C'
=IC 1m
3iIU=u, t,H'Y-J,Hq=. ""#
r'E {/}
:J-f.]JJ-51L ffi
rt
-lJ
แบบโรงเรยี นประเมนิ ตนเองเพ่ือขอรบั การประเมนิ เป็นสถานศึกษาพอเพยี ง (สถพ.01) : โรงเรียนสคี ้ิว “สวสั ด์ผิ ดงุ วทิ ยา” อบจ.นครราชสมี า
แบบโรงเรียนประเมนิ ตนเองเพือ่ ขอรับการประเมนิ สถานศึกษาแบบอย่างการจดั กจิ กรรมการเรียนร้แู ละการบริหารจดั การตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(สถานศกึ ษาพอเพียง)
ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไป
1. ชื่อสถานศกึ ษา โรงเรยี นสคี ้วิ “สวัสด์ิผดงุ วทิ ยา” สงั กดั หน่วยงาน องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั นครราชสมี า
ท่อี ยู่ เลขท่ี 333 หมทู่ ่ี 16 ตำบล สีคว้ิ อำเภอสีคว้ิ จงั หวัดนครราชสมี า รหสั ไปรษณยี ์ 30140 โทรศัพท์ 0-4441-1291 โทรสาร 0-4441-2030
E-mail :[email protected] Website : www.sikhiu.ac.th/
2. ชื่อ-สกุล ผูบ้ รหิ าร นายเชาวลติ เกิดกลาง โทรศัพท์ 098-585-6951 Email: [email protected]
ชอ่ื -สกุล ครแู กนนำผู้รบั ผิดชอบ พ.จ.ต.ศิริศกั ดิ์ วงษ์รักษา โทรศพั ท์ 061-8212106 Email: [email protected]
3. สังกัดสถานศึกษา กรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย
4. รปู แบบการจัดการศกึ ษา ระดับการศกึ ษา การบริหารจัดการสถานศกึ ษา และสงั กัดในพืน้ ที่
รปู แบบการศกึ ษา ระดบั การศึกษา การบรหิ ารจดั การสถานศึกษา สังกัดในพื้นท่ี
การศึกษาในระบบ
1. การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 1. ของรัฐ 1. สพป.......................
2. ของเอกชน
เปดิ สอนตง้ั แต่ระดับชัน้ ม.1-ม.6 สพม......................
จำนวนนักเรยี น 2,471 คน 2. เอกชน
2. อ่ืนๆ (โปรดระบ)ุ
3. อปท. 4. กทม.
5. ตชด. 6. อ่ืนๆ
แบบโรงเรยี นประเมินตนเองเพอ่ื ขอรับการประเมินเปน็ สถานศกึ ษาพอเพยี ง (สถพ.01) : โรงเรยี นสคี ้ิว “สวัสดผิ์ ดงุ วทิ ยา” อบจ.นครราชสมี า
ตอนท่ี 2 ขอ้ มลู การประเมิน 5 ดา้ น 17 องคป์ ระกอบ 62 ตวั บง่ ช้ี
องค์ประกอบ ตวั บง่ ชเ้ี กณฑ์คณุ ภาพ คะแนน เหตุผล
1. ดา้ นการบรหิ ารจัดการสถานศึกษา (4 องค์ประกอบ 14 ตัวบ่งช้)ี
1. นโยบาย 1.1 มนี โยบายน้อมนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคลอื่ นใน มแี ผนปฏิบตั ิงานประจำปี /มกี ารจัดโครงการส่งเสรมิ
สถานศกึ ษา และบรู ณาการในแผนปฏบิ ัตงิ านประจำปี 4 การเรยี นรตู้ ามแนวพระราชดำริตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง/มีคำสัง่ มอบหมายการปฏิบตั ิงาน
1.2 ดำเนินการตามนโยบาย และแผนปฏิบตั ิงานประจำปี ท่ีน้อมนำหลักปรชั ญา มคี ำสงั่ มอบหมายการปฏบิ ัตงิ าน/มโี ครงการและ
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาขับเคล่ือนในสถานศกึ ษา
4 กิจกรรมทไี่ ด้รบั การสนับสนนุ งบประมาณที่เหมาะสม
และดำเนินการตอ่ เนอ่ื งตลอดปงี บปะมาณ/
มีภาพกจิ กรรม
1.3 ติดตามผลการดำเนนิ การตามนโยบายและแผนปฏิบตั ิการประจำปี 4 มคี ำส่ังมอบหมายการปฏบิ ตั ิงาน/มีการประเมนิ ผล
ทนี่ ้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาขบั เคล่ือนในสถานศึกษา และรายงานผลการจดั โครงการและกิจกรรม
1.4 นำผลการตดิ ตามมาพฒั นา นโยบาย/แผนงาน/โครงการ ขบั เคล่อื น 4 มีรายงานการประชุมของฝา่ ย/งาน และประชุม
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศกึ ษา ประจำเดือนเพื่อติดตามผลเป็นประจำ
คะแนนรวม/คะแนนเฉลย่ี องค์ประกอบที่ 1 16 / 4.00
แบบโรงเรียนประเมินตนเองเพ่ือขอรบั การประเมนิ เป็นสถานศกึ ษาพอเพยี ง (สถพ.01) : โรงเรยี นสีค้วิ “สวสั ดผ์ิ ดงุ วทิ ยา” อบจ.นครราชสมี า
องค์ประกอบ ตวั บง่ ช้ีเกณฑค์ ณุ ภาพ คะแนน เหตผุ ล
1. ด้านการบริหารจัดการสถานศกึ ษา (ต่อ)
2. วชิ าการ 2.1 มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้านวิชาการท่สี ่งเสรมิ การ มแี ผนปฏบิ ตั ิงานวิชาการ/มกี ารจดั โครงการสง่ เสรมิ
บูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรยี นการสอน 4 การเรยี นรตู้ ามแนวพระราชดำริตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง/มแี ผนการจดั การเรยี นรู้/
มีภาพกจิ กรรม
2.2 ดำเนินการตาม แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ด้านวชิ าการทส่ี ่งเสรมิ มกี ารจดั โครงการดา้ นวชิ าการทส่ี ่งเสรมิ การเรยี นรู้
การบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารเรยี นการสอน
4 ตามแนวพระราชดำริตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
2.3 ตดิ ตามผล แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ดา้ นวิชาการทส่ี ง่ เสรมิ การบูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรยี นการสอน พอเพียง 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ /มีภาพกิจกรรม
2.4 นำผลการตดิ ตามไปพัฒนา แผนงาน/โครงการ/ กจิ กรรม ด้านวชิ าการที่ มกี ารรายงานผลการจดั โครงการและกจิ กรรม/มี
สง่ เสรมิ การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารเรียนการสอน
4 รายงานการประชมุ คณะกรรมการนเิ ทศติดตามผล
การดำเนนิ งานดา้ นวชิ าการ
มรี ายงานการประชุมของฝ่าย/งาน และประชุม
4 ประจำเดือนเพอ่ื ตดิ ตามผล หาแนวทางการแกไ้ ข/
ปรับปรงุ /พฒั นา สง่ เสรมิ ดา้ นวิชาการ
คะแนนรวม/คะแนนเฉลยี่ องค์ประกอบท่ี 2 16 / 4.00
แบบโรงเรียนประเมนิ ตนเองเพื่อขอรบั การประเมนิ เป็นสถานศึกษาพอเพียง (สถพ.01) : โรงเรียนสีค้วิ “สวัสดผ์ิ ดงุ วทิ ยา” อบจ.นครราชสมี า
องค์ประกอบ ตัวบ่งชี้เกณฑ์คุณภาพ คะแนน เหตุผล
1. ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา (ตอ่ )
3. งบประมาณ 3.1 มีการวางแผนการบริหารจัดการงบประมาณของสถานศกึ ษาทสี่ อดคล้องกบั 4 มีการจดั ประชุมจดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาและมี
โครงการในแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3.2 ดำเนนิ การตามแผนงบประมาณของสถานศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ 4 มกี ารจัดโครงการส่งเสริมการเรียนรตู้ ามแนว
พระราชดำรติ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
พอเพยี ง
3.3 ติดตามผลการดำเนนิ งานตามแผนงบประมาณของสถานศกึ ษาตามหลกั ปรัชญา 4 มโี ครงการหอ้ งเรียนสีเขยี ว/โครงการ
สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
3.4 นำผลการติดตามมาพัฒนาและปรับปรงุ การบริหารจัดการงบประมาณตาม 4 มรี ายงานการประชมุ ของฝา่ ย/งาน และประชมุ
ประจำเดือนเพือ่ ตดิ ตามผลเปน็ ประจำ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
คะแนนรวม/คะแนนเฉลยี่ องคป์ ระกอบที่ 3 16 / 4.00
แบบโรงเรียนประเมินตนเองเพื่อขอรบั การประเมินเป็นสถานศึกษาพอเพียง (สถพ.01) : โรงเรียนสีคว้ิ “สวสั ดผ์ิ ดงุ วทิ ยา” อบจ.นครราชสมี า
องค์ประกอบ ตัวบง่ ชีเ้ กณฑ์คณุ ภาพ คะแนน เหตุผล
1. ด้านการบริหารจัดการสถานศกึ ษา (ตอ่ )
4. บริหารท่ัวไป 4.1 บรหิ ารอาคารสถานที่และจดั การแหลง่ การเรียนรู้ในสถานศกึ ษา มคี ำสั่งแตง่ ตัง้ ผู้รับผิดชอบ การใช้ การดแู ล ปรบั ปรุง
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาคารสถานทแ่ี ละแหล่งเรียนรใู้ นสถานศึกษา/
ภาพถา่ ย กิจกรรมการดูแล ปรบั ปรงุ อาคารสถานที่
4 และแหลง่ เรยี นรใู้ นสถานศึกษาบนั ทึกการใช้
ประโยชนอ์ าคารสถานที่ สภาพแวดล้อมแหลง่ เรยี นรู้
/สรปุ ผลการบรกิ ารอาคารสถานทแี่ หลง่ เรียนรูภ้ ายใน
โรงเรียน /การปรบั ปรุงรักษาสภาพแวดลอ้ ม อาคาร
สถานทีแ่ ละแหล่งเรียนรอู้ ยา่ งคมุ้ คา่
4.2 ประสานสมั พันธก์ บั ชมุ ชนใหม้ สี ่วนรว่ มในการสง่ เสรมิ การเรียนรเู้ พ่อื การเปน็ อยู่ มภี าพประชุมผ้ปู กครอง เยยี่ มบ้านนกั เรยี น ออก
อย่างพอเพียง ชุมชนไดเ้ ผยแพร่หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง/
4 การดำเนนิ โครงการวิทยากรใหค้ วามรู้/กจิ กรรม
รายงานโครงการ กจิ กรรม รายงานผเู้ กย่ี วขอ้ งให้
ทราบถึงการดำเนินงาน
คะแนนรวม/คะแนนเฉลี่ย องค์ประกอบท่ี 4 8/4.00
คะแนนรวมของคะแนนเฉลยี่ 4 องค์ประกอบที่/คะแนนเฉล่ยี ของรายด้านท่ี 1 56/4.00
จุดเดน่ /ข้อสงั เกตของผปู้ ระเมินเก่ยี วกับดา้ นที่ 1 การบริหารจัดการสถานศกึ ษา
- มีการจัดการสถานศึกษาโดยใช้หลกั การมีสว่ นร่วมของครูและบคุ ลากรในโรงเรยี น
- มกี ารจัดโครงการสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ามแนวพระราชดำริตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
- มีการสรุปรายงานผลการจดั กิจกรรมให้โรงเรียนรบั ทราบอย่างสมำ่ เสมอ
แบบโรงเรยี นประเมนิ ตนเองเพื่อขอรบั การประเมนิ เปน็ สถานศึกษาพอเพยี ง (สถพ.01) : โรงเรียนสีควิ้ “สวัสด์ผิ ดงุ วทิ ยา” อบจ.นครราชสมี า
องคป์ ระกอบ ตวั บ่งช้เี กณฑค์ ณุ ภาพ คะแนน เหตุผล
2. ด้านหลักสตู รและการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (4 องค์ประกอบ 14 ตวั บง่ ชี้)
1. หน่วยการเรยี นรู้หลักปรัชญา 1.1 มีหน่วยการเรยี นรปู้ รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ 4 มกี ารวิเคราะหแ์ ละจดั ทำหนว่ ยการเรยี นรู้ตาม
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ของเศรษฐกจิ พอเพียง
1.2 มีการนิเทศ/ตดิ ตาม/ประเมินผล การนำหน่วยการเรยี นรปู้ รัชญาของเศรษฐกจิ มแี ผนการจดั การเรยี นรบู้ ูรณาการหลักปรชั ญาของ
พอเพียงไปใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 4 เศรษฐกจิ พอเพียง/มีการมอบหมายให้ตดิ ตามการนำ
หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรไู้ ปใช้ในการ
เรียนการสอนอยา่ งเปน็ ระบบ
1.3 มกี ารศึกษา/วิเคราะห/์ วิจยั เพ่อื พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 4 ครผู สู้ อนจัดทำวจิ ยั ในช้นั เรียนในรายวิชาพ้ืนฐานและ
หน่วยการเรยี นรปู้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพ่มิ เตมิ
คะแนนรวม/คะแนนเฉล่ีย องคป์ ระกอบท่ี 1 12/4.00
แบบโรงเรยี นประเมนิ ตนเองเพอ่ื ขอรับการประเมนิ เปน็ สถานศกึ ษาพอเพียง (สถพ.01) : โรงเรยี นสคี ้วิ “สวัสดผิ์ ดงุ วทิ ยา” อบจ.นครราชสมี า
องค์ประกอบ ตวั บ่งช้ีเกณฑ์คุณภาพ คะแนน เหตผุ ล
2. ด้านหลักสตู รและการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ต่อ)
2. การบรู ณาการหลักปรชั ญาของ 2.1 มแี ผนจดั การเรยี นร้ทู บี่ ูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4 มีการวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรียนรู้และจัดทำแผนการ
เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารจัดกจิ กรรม ในกลุม่ สาระการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ทกุ ระดบั ชน้ั จัดการเรียนรู้บรู ณาการตามปรัชญาของเศรษฐกจิ
การเรียนรู้ พอเพยี ง
2.2 คุณภาพของแผนจดั การเรยี นรูท้ ี่บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4 มกี ารประเมิน/นิเทศแผนการจดั การเรยี นรู้ท่ีเน้น
ในกลุ่มสาระการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2.3 จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4 จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การบรู ณาการการตามปรัชญา
ในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ตา่ งๆ ของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างหลากหลาย
2.4 ผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทบ่ี ูรณาการหลักปรัชญาของ 4 นกั เรยี นและครรู ่วมกนั ถอดบทเรยี นจากกจิ กรรมการ
เศรษฐกิจพอเพียง เรียนรู้ การบรู ณาการการตามปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
คะแนนรวม/คะแนนเฉลย่ี องคป์ ระกอบที่ 2 16/4.00