The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

อาหารกลางวันต้นแบบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KRU GIFT, 2022-09-16 02:42:11

อาหารกลางวันต้นแบบ

อาหารกลางวันต้นแบบ

~๑~

โรงเรยี นบ้านไร่ (สะบ้ายอ้ ย)
อำเภอสะบ้าย้อย จงั หวัดสงขลา

สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต ๓
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

~๒~

คำนำ

เด็กเปน็ ทรัพยากรบุคคลทสี่ ำคญั ของชาติ ซ่ึงจะต้องได้รบั การพัฒนาทั้งทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สังคม
และสตปิ ัญญา ให้มีคุณภาพอันพึงประสงค์ตามวัยและวฒุ ิภาวะ เปน็ กำลงั ในการพัฒนาท้องถ่นิ ของตนและ
ชาติบ้านเมอื งใหเ้ จริญตอ่ ไป แต่การทเี่ ด็กจะมคี ุณภาพอนั พึงประสงคไ์ ด้น้ันสขุ ภาพเปน็ สงิ่ ทสี่ ำคญั ยง่ิ ต่อการ
พัฒนา อาหารกลางวันจงึ มีความสำคญั ตอ่ เด็กเปน็ อยา่ งยิง่ เพราะจะทำให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แขง็ แรง
สมบูรณ์ และมีผลต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรยี น เด็กนกั เรยี นโรงเรียนบ้านไร่ส่วนใหญ่มฐี านะ
ทางครอบครัวค่อนข้างยากจน การดูแลด้านสุขภาพจงึ เป็นปัญหาอยา่ งยิ่ง เนื่องจากขาดแคลนอาหาร ทำให้
รา่ งกายและสติปญั ญาไม่เจริญเติบโตตามวยั และวุฒภิ าวะ

ดังน้ันจึงเปน็ หน้าที่ของโรงเรียนท่ีจะต้องชว่ ยกนั ดูแลเอาใจใสเ่ รอื่ งอาหารการกนิ หรือโภชนาการของ
เดก็ เพ่ือชว่ ยใหเ้ ด็กได้มีอาหารการกนิ ทีด่ ีมคี ุณค่าทางอาหาร และไดป้ รมิ าณครบถว้ น โดยทางโรงเรยี นสง่ เสรมิ
ให้เด็กนักเรยี นช้นั อนบุ าลถงึ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 129 คน ทำกจิ กรรมปลูกผักปลอดสารพิษ เล้ียง
ปลาดุก เพาะเห็ดนางฟา้ ภายในโรงเรยี น เพื่อนำผลผลติ ท่ไี ดม้ าประกอบอาหารกลางวัน

ขอขอบคุณ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ของโรงเรียนบ้านไร่ ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่าย ในการพัฒนาคุณภาพของ
สถานศึกษาให้บรรลุผลตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ ทำให้นักเรียนมีคุณภาพ และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนา
ประเทศชาติตอ่ ไป

คณะผ้จู ัดทำ

~๓~ หนา้

สารบญั ๑
เรอื่ ง

มาตรฐานที่๑ ด้านการบริหารจัดการ ๖

❖ ตัวชี้วดั ท๑่ี มกี ารบริหารแผนงาน/โครงการอาหารกลาวันอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ๘
❖ ตวั ชว้ี ัดที่๒ มีระบบการบริหารการเงนิ และสินทรพั ยโ์ ครงการอาหารกลางวัน ๑๐

ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ ๑๒
❖ ตัวชวี้ ดั ที่๓ มีการนเิ ทศ กำกับติดตาม การดำเนินงานอาหารกลางวัน
❖ ตัวชี้วดั ท๔่ี มีการพัฒนาบุคลากรและผู้เกี่ยวขอ้ งด้านอาหารกลางวนั ๑๒

โดยใชว้ ธิ ีการทีห่ ลากหลาย ๑๔

มาตรฐานที่๒ ดา้ นการบูรณาการการจดั การเรียนรู้ ๑๖

❖ ตัวชว้ี ดั ท๑่ี โรงเรียนมหี ลกั สตู รหรือหนว่ ยการเรียนรบู้ รู ณาการ ๒๓
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกับการดำเนินงานอาหารกลางวัน
๒๓
❖ ตวั ชี้วัดท่ี๒ การจดั แหล่งเรยี นรทู้ ี่บรู ณาการกบั การเรียนรู้ในการดำเนนิ การ
อาหารกลางวัน ๒๘

❖ ตวั ชว้ี ดั ท๓่ี การสร้างองคค์ วามรู้ในการดำเนินงานอาหารกลางวัน ๓๒

มาตรฐานท่ี๓ ด้านการดำเนินงานอาหารกลางวนั ๓๔

❖ ตัวชว้ี ัดท๑่ี มีขอ้ มลู สารสนเทศดา้ นภาวะโภชนาการของนกั เรียนและ ๓๗
วิธกี ารแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
๓๗
❖ ตัวช้ีวดั ที่๒ การนำโปรมแกรมการจดั อาหารกลางวัน (Thai School Lunch) ๓๙
ไปใชใ้ นการจัดอาหารกลางวันใหก้ บั นกั เรียน ๔๖

❖ ตัวชวี้ ดั ท่๓ี โรงเรยี นมมี าตรฐานสุขาภบิ าลอาหารท่ดี ีตามเกณฑ์ ๔๗
กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข
๔๗
❖ ตัวชี้วดั ท๔่ี การจัดบรกิ ารอาหารกลางวันและนำ้ ด่ืมใหแ้ ก่นกั เรยี นอยา่ งทัว่ ถึง ๔๙
เพียงพอและมีคุณภาพ

มาตรฐานท๔่ี ด้านการมสี ว่ นร่วม / เครอื ข่าย

❖ ตวั ชว้ี ัดที่๑ ภาคีเครอื ข่ายในการสนบั สนนุ โครงการอาหารกลางวัน
❖ ตวั ชี้วัดท๒่ี การมีสว่ นร่วมภาคเี ครือขา่ ย
❖ ตัวชว้ี ดั ท๓่ี การประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวนั

มาตรฐานที่๕ ดา้ นผลผลติ / ผลลัพธ์

❖ ตวั ชี้วดั ท๑่ี ภาวะทพุ โภชนาการตามเกณฑ์
❖ ตวั ช้ีวดั ท๒่ี ผลการแกไ้ ขปญั หาภาวะทพุ โภชนาการ

~๔~
มาตรฐานท่ี ๑ ด้านการบรหิ ารจัดการ

ตัวช้ีวดั ท่๑ี มีการบริหารแผนงาน/โครงการอาหารกลางวันทมี่ ีประสิทธภิ าพ
โรงเรียนบ้านไร่ร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษา ประชุมวางแผน วิเคราะห์ปัญหา สภาพการ

ทำงานโครงการหรอื กิจกรรมต่างๆ ให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายของรัฐบาล ศึกษาสภาพปญั หาและความตอ้ งการ
ของโรงเรียน โดยได้จัดทำแผนปฏิบัติการโครงการอาหารกลางวันขึ้นเพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียนได้รับประทาน
อาหารกลางวันที่มีคุณภาพ ถูกหลักโภชนาการ และยังพัฒนาบุคลากรให้มีการบูรณาการการเรียนการสอน
โดยใช้กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียนและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คณะกรรมการบริหารโครงการและ
ผู้รับผิดชอบโครงการมีการกำกับ ติดตาม นิเทศและรายงานผลการดำเนินงานอย่างครบถ้วน ตรงเวลา
มีการใช้โปรแกรม Thai school lunch ในการออกแบบเมนูอาหารที่มีคุณภาพ แสดงถึงปริมาณสารอาหาร
และการจดั ซ้อื ที่ถูกต้องครบถว้ นทุกเดือน โรงเรียนบ้านไร่ได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนนุ โดยสำนักงาน
เทศบาลตำบลท่าพระยา อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา ในการนำมาแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหาร
กลางวันและการเกิดภาวะโภชนาการ ซ่ึงอาจจะนำไปสู่ภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนได้ และยังช่วย
สง่ เสรมิ พฒั นาให้นักเรยี นมสี ขุ ภาพรา่ งกายทแี่ ขง็ แรงสมบูรณต์ ามวัย

ผู้บริหาร คณะครแู ละบุคลากรรว่ มประชุม
วางแผนการปฏิบัตงิ านตามโครงการ

ประชุมหารอื ร่วมกับกรรมการสถานศกึ ษา

~๕~
บันทกึ การประชมุ แต่งตงั้ ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการอาหารกลางวัน

แผนปฏิบตั ิการโรงเรียนบา้ นไร่ ประจำปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ระดับปฐมวยั ระดบั ประถมศกึ ษา

~๖~
โครงการขอรบั เงินอุดหนุนโครงการอาหารกลางวนั ประจำปงี บประมาณ 2562

~๗~
รายงานผลการดำเนินงาน และการใชจ้ า่ ยเงินอดุ หนุนโครงการกลางวัน ประจำปงี บประมาณ 2562

ตารางเวลาในการดำเนนิ งาน
โครงการอาหารกลางวนั

~๘~

คำสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการดำเนินโครงการอาหารกลางวันและนำ้ ด่มื ในโรงเรยี น

~๙~

ตวั ชว้ี ัดท๒ี่ มรี ะบบการบริหารการเงินและสนิ ทรัพย์โครงการอาหารกลางวนั ท่ีมีประสทิ ธิภาพ

๑. การจัดทำบัญชีรายรบั -รายจา่ ย ครบทกุ กจิ กรรมและมหี ลักฐานการรบั -จา่ ยเงนิ ตามระบบบญั ชีการเงนิ
โรงเรียนบ้านไร่มีการจัดทำบัญชีรายรับ - รายจ่ายเก่ียวกับโครงการอาหารกลางวันเป็นประจำทุกวัน

และมหี ลกั ฐานการจ่ายเงนิ ตามระบบบัญชีการเงินเปน็ ปัจจุบนั ครบถว้ น
๒. มีคณะกรรมการตรวจสอบการเงินและบญั ชี มีการรายงานผลการดำเนินงานการเงนิ ตอ่ หนว่ ยงาน

ท่เี ก่ียวขอ้ ง
โรงเรียนบ้านไร่ มีการแต่งต้ังคำสั่งคณะกรรมการตรวจสอบการเงินและบัญชเี ปน็ ประจำทุกปี และมี

การรายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหาร สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต ๓ และ
สำนักงานตรวจเงินแผ่นดินจังหวดั สงขลา

ใบเสร็จรบั เงิน

ทะเบยี นคุมเงนิ นอกงบประมาณ บันทกึ เสนอขออนุมตั ิจา่ ยเงนิ

~ ๑๐ ~

รายงานเงนิ คงเหลือประจำวัน ปีงบประมาณ 2563

คำสง่ั แต่งตัง้ หัวหน้าเจ้าหน้าท่ี คำสงั่ แต่งตง้ั คณะกรรมการ
หวั หนา้ หน่วยพัสดแุ ละเจ้าหนา้ ที่ ตรวจสอบการเงนิ บญั ชี

~ ๑๑ ~

ตัวชวี้ ดั ท๓่ี มกี ารนิเทศ กำกบั ตดิ ตาม การดำเนนิ งานอาหารกลางวนั

๑. มีเครอ่ื งมอื การกำกับ ติดตาม นเิ ทศ และประเมินผล ดงั น้ี
โรงเรียนบ้านไร่ มีการจัดทำแผนกำกับ ติดตาม นิเทศและประเมินผลโครงการอาหารกลางวัน

เป็นประจำอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 คร้ัง เพื่อเป็นการตรวจสอบกิจกรรมต่าง ๆ และแผนการใช้เงินของ
โครงการอาหารกลางวนั

ปีการศึกษา ๒๕๖๒ โรงเรียนบ้านไร่ ในการดำเนินการนิเทศ ติดตามโครงการอาหารกลางวัน
โดยคณะกรรมการบริหารโครงการอาหารกลางวัน มีการประชุมวางแผน ดำเนินการ และสรุปผลการ
ดำเนินโครงการภาคเรียนละ ๑ คร้ัง โดยกำหนดเป็นวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ และวันท่ี ๓๐ มีนาคม
๒๕๖๓ ซึ่งมคี ณะกรรมการนิเทศติดตามโครงการอาหารกลางวัน

รายละเอยี ดการดำเนินการนเิ ทศตดิ ตามโครงการอาหารกลางวันมีดังน้ี
๑. การบรหิ ารจดั การโครงการอาหารกลางวนั ของโรงเรยี น
๒. โรงเรียนมีคณะกรรมการบริหารโครงการอาหารกลางวนั
๓. บุคลากรที่เก่ียวขอ้ งกับการจัดโครงการอาหารกลางวัน
๔. โรงเรียนมนี โยบายแนวทางการปฏบิ ตั ิโครงการอาหารกลางวนั
๕. โรงเรียนมีการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา
๖. หนว่ ยงานรฐั /เอกชนมีสว่ นรว่ มในการสนบั สนุนอาหารกลางวนั
๗. การดำเนินโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
๘. งบประมาณเพ่ือจดั อาหารกลางวัน(ท้ังของภาครฐั และการบริจาค)ตลอดปีการศึกษา
๙. เงินทนุ อาหารกลางวนั ท่ีเหลือจากปกี ารศกึ ษาที่ผา่ นมา
๑๐. การได้รับงบประมาณอาหารกลางวัน ทนั ตอ่ การจดั โครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
๑๑. โรงเรียนมีโครงการเงนิ ทุนหมุนเวียนสง่ เสริมผลผลติ โครงการอาหารกลางวนั
๑๒. การนำผลผลติ จากโครงการเงินทนุ หมุนเวยี นสง่ เสรมิ ผลผลิตอาหารกลางวนั ไปใช้ในโครงการ

อาหารกลางวนั
๑๓. สถานที่ประกอบการแยกเปน็ สัดสว่ นเฉพาะ มโี รงอาหาร โรงครวั ที่มีหอ้ งครัว
๑๔. สถานที่รับประทานอาหารแยกเปน็ สดั ส่วน เช่น มีโรงอาหาร มอี าคารท่ใี ชเ้ ป็นโรงอาหาร
๑๕. มีนำ้ สะอาดประกอบอาหารและทำความสะอาดอปุ กรณป์ ระกอบอาหาร
๑๖. ความเหมาะสมของสถานท่ีประกอบอาหารกลางวัน
๑๗. ความเหมาะสมของสถานทรี่ บั ประทานอาหารกลางวนั
๑๘. ความเหมาะสมของวสั ดอุ ุปกรณ์ประกอบอาหารกลางวัน
๑๙. มกี ารจดั ทำบัญชีรายรบั -รายจา่ ยในโครงการอาหารกลางวัน
๒๐. มีการรายงานผลการดำเนินโครงการอาหารกลางวันใหบ้ คุ ลากรทเี่ กยี่ วข้องในโรงเรียนทราบ

~ ๑๒ ~

๒. มีการสรปุ รายงานผล การกำกบั ตดิ ตาม นิเทศ และประเมินผล ไปปรับปรุงแกไ้ ข เพื่อพัฒนา
อยา่ งต่อเน่อื ง
โรงเรียนบา้ นไร่ มแี ผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีของโครงการอาหารกลางวันและไดจ้ ดั ทำแบบประเมนิ

ความพึงพอใจเกยี่ วกับการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน เพ่ือนำผลท่ีได้จากการประเมินมา
ปรับปรุงพฒั นากิจกรรมต่างๆ ของโครงการในปีการศกึ ษาต่อไป นอกจากนี้หนว่ ยงานตน้ สงั กดั ทง้ั ด้านการ
ตรวจตราและดำเนินการโครงการอาหารกลางวนั

ภาพการประชุมวางแผนการนเิ ทศติดตามและประเมินผลโครงการอาหารกลางวัน

นิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลโครงการอาหารกลางวนั

แบบบนั ทกึ การนเิ ทศ ติดตาม
และประเมินผล

โครงการอาหารกลางวัน

~ ๑๓ ~

ตวั ช้วี ดั ท๔่ี มีการพัฒนาบุคลากรและผเู้ กยี่ วข้องด้านอาหารกลางวนั โดยใช้วิธีการท่ีหลากหลาย

๑. โรงเรียนบา้ นไร่ มีการพัฒนาบคุ ลากรโดยการสง่ บุคลากรเขา้ ร่วมอบรมสัมมนาเกย่ี วกับอาหาร
กลางวนั จากหนว่ ยงานต่างๆ เช่นโรงพยาบาลสะบา้ ยอ้ ย ศูนยส์ ง่ เสรมิ สขุ ภาพประจำตำบลสะบา้ ย้อย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเทศบาลตำบลทา่ พระยาอยา่ งสมำ่ เสมอ

๒. บคุ ลากรในโรงเรียน มสี ่วนร่วมในการดำเนินงานด้านอาหารกลางวนั ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐
โรงเรียนบา้ นไร่ไดด้ ำเนนิ การโครงการอาหารกลางวัน โดยมีคำสง่ั แต่งต้งั คณะกรรมการดำเนินงานโครงการ
อาหารกลางวันในการจดั ซื้ออาหาร และดำเนนิ งานตามท่ีได้รับมอบหมายด้วยความรบั ผิดชอบอย่างมงุ่ ม่ัน
ต้งั ใจในการปฏิบัติหนา้ ท่อี ย่างมีประสิทธิภาพ โดยคณะครูบคุ ลากรทุกคนมีส่วนร่วม ๑๐๐ %

๓. มีกจิ กรรมการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ขยายผล การดำเนนิ งานให้กบั ผูเ้ ก่ียวข้อง
โรงเรยี นบ้านไรไ่ ดส้ ่งบุคลากรเขา้ รว่ มอบรมสัมมนาการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวัน มกี าร

รายงานผลการประชมุ ใหผ้ ู้บริหารทราบ ขยายผลการอบรมสัมมนาในการประชมุ คณะครูและบุคลากรของ
โรงเรียน จดั ประชุมผปู้ กครองประจำภาคเรียนและขยายผลให้กับนกั เรยี นแกนนำและโรงเรยี นในเครือขา่ ย

บุคลากรทเี่ ขา้ รบั การพฒั นา
เกีย่ วกบั โครงการอาหารกลางวัน
1. นางสาวนภัสสร แสงประดับ
ครผู ู้รบั ผดิ ชอบโครงการอาหารกลางวนั
2. นายชัยวฒั น์ ทองก่อแกว้
ครูผรู้ ับผิดชอบโครงการภาวะโภชนาการ
3. นางยุพนิ อนิ เรือง เจา้ หนา้ ที่อาหารกลางวนั
4. นางยะนับ เขตเทพา แม่ครัว

บุคลากรและคณะกรรมการสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นไรเ่ ขา้ รว่ มการอบรม สัมมนาเกยี่ วกบั โครงการอาหารกลางวัน

~ ๑๔ ~
รายงานผลการเข้ารว่ มอบรม สัมมนาเกยี่ วกับโครงการอาหารกลางวัน

การขยายผล เผยแพรก่ จิ กรรมต่างๆเก่ยี วกบั โครงการอาหารกลางวัน

~ ๑๕ ~

มาตรฐานที่ ๒ ด้านการบรู ณาการการจัดการเรียนรู้

ตัวชว้ี ัดท่ี๑ โรงเรียนมีหลักสูตรหรอื หน่วยการเรยี นรบู้ ูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
กับการดำเนินงานอาหารกลางวัน

โรงเรียนบ้านไร่ มีหลกั สตู รบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกับการดำเนนิ งานอาหาร
กลางวัน โดยมกี ารวิเคราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการดำเนินงานโครงการอาหารกลางวันตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓ ห่วง ๒ เงือ่ นไข สมดุล ๔ มติ ิ โดย ๓ ห่วง คือความพอประมาณ ความมี
เหตผุ ลและการมภี ูมิคุ้มกัน ๒ เงือ่ นไขคอื ความรูแ้ ละคุณธรรมท่เี ชื่อมโยงสู่ ๔ มิติคอื สังคม เศรษฐกจิ วัฒนธรรม
และส่งิ แวดล้อม โดยมีการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชีว้ ัดทงั้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในระดับช้ันอนุบาลปีท่ี ๑
ถึงระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ มีการกำหนดเป็นหนว่ ยการเรียนรบู้ ูรณาการ เรอื่ งการเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง
สอู่ าหารกลางวัน มีการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้บูรณาการ มีแหล่งเรยี นรู้ มกี ารประเมนิ ผล รายงานผลการ
นำหลักสูตรไปใช้และนำมาปรับปรุง แก้ไขและพัฒนาหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
อยา่ งต่อเนื่อง

โรงเรียนบ้านไร่ มีการประชุม วางแผนการจัดทำหลักสูตรบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงกับการดำเนินงานอาหารกลางวัน ร่วมกับคณะครูในโรงเรียน ในหน่วยการจัดการเรียนรู้ เรื่องการ
เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงสู่อาหารกลางวัน ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้งานด้านการเพาะปลูก เล้ียงสัตว์
เพ่ือนำมาจดั ทำอาหารกลางวัน ฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้ ลงมือปฏิบัติจริงร่วมกับครูผู้รบั ผิดชอบในแหล่งเรียนรู้
ต่างๆ เช่นการเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงปลาดุกในบ่อปูนซีเมนต์ การเพาะเห็ดนางฟา้ การปลูกผกั สวนครัว ไดแ้ ก่การ
ปลูกผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ฟักเขียว มะนาว ถ่ัวฝักยาว พริก ข่า ตะไคร้ มะกรูด อัญชัน มีการทำอาหาร ขนม
ท้องถิ่น เพื่อนำผลผลิตไปใช้ในการจัดทำอาหารกลางวันให้มีความสอดคล้องกับการจัดบริการอาหารกลางวัน
ตามเมนูท่ีได้จากโปรแกรม Thai school Lunch เป็นวัตถุดิบหลักส่งจำหน่ายให้กับโครงการอาหารเพ่ือปรุง
อาหารกลางวันให้กับนักเรียน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน ๘ กลุ่มสาระการเรียน ทำให้นักเรียนมีทักษะ
พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจพอเพียง สารอาหาร การเพาะปลูกพืช การเล้ียงสัตว์ มีความรับผิดชอบ ความรอบคอบ
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปจัดทำอาหารกลางวันได้ครบถ้วนตามหลักโภชนาการและนำไปต่อยอดใน
ชวี ติ ประจำวันได้

หลักสูตรหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

~ ๑๖ ~

แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กับการดำเนนิ งานอาหารกลางวัน

บนั ทกึ หลังสอนแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กบั การดำเนนิ งานอาหารกลางวัน

~ ๑๗ ~

ตัวชี้วดั ท๒ี่ การจัดแหล่งเรยี นรู้ท่บี รู ณาการกบั การเรยี นรู้ในการดำเนนิ งานอาหารกลางวนั
โรงเรียนบ้านไร่ มกี ารจดั แหล่งเรียนรใู้ ห้นักเรยี นไดฝ้ ึกทกั ษะการดำเนินงานอาหารกลางวัน ดังน้ี
๑. โรงเรือนเลย้ี งไกไ่ ข่
๒. โรงเรือนเพาะเห็ดนางฟา้
๓. บอ่ ซเี มนตเ์ ลย้ี งปลาดกุ
๔. แปลงผกั สวนครวั ผักในกระถาง เมลด็ ทานตะวนั
๕. โรงเรอื นปลูกผักไฮโดรโปนิกส์
โดยมีการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการให้นักเรียนฝึกลงมือปฏิบัติจริงในแหล่งเรียนรู้และนำผลผลิต

ทางการเกษตร เช่น ไข่ไก่ เห็ดนางฟ้า ปลาดุก ผักสวน ได้แก่ ผักบุ้ง ผักกวางตุ้ง ฟักเขียว มะนาว ถั่วฝักยาว
พริก ข่า ตะไคร้ มะกรูด อัญชัน ส่งจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันผ่านระบบสหกรณ์โรงเรียน รวมทั้ง
การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ ในการแปรรูปผลผลิต เช่น การแปรรูปเห็ดนางฟ้า การจัดทำอาหาร
การทำน้ำสมนุ ไพร เป็นต้น

โรงเรือนเล้ยี งไก่ไข่

โรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า

~ ๑๘ ~
บอ่ ซเี มนตเ์ ล้ียงปลาดุก

แปลงผักสวนครวั ผักในกระถาง เมลด็ ทานตะวนั

โรงเรือนปลกู ผักไฮโดรโปนกิ ส์

~ ๑๙ ~

ตวั ชว้ี ัดท๓ี่ การสรา้ งองค์ความร้ใู นการดำเนินงานอาหารกลางวนั

โรงเรียนบ้านไร่ ได้ดำเนินงานโครงการอาหารกลางวันโดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ต้ังแต่การ
วางแผน การดำเนินการ การประเมินผล มีการบูรณาการการดำเนินงานของโรงเรียนให้สอดคล้องกับทุก
กจิ กรรม รวมทั้งเปิดโอกาสให้บคุ ลากรได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลีย่ นเรียนรู้และใช้ภูมิปัญญาท้องถนิ่ ในการทำ
กิจกรรมต่างๆ ทำให้เกิดองค์ความรู้ร่วมกันทั้งนักเรียน ครูและชุมชน ที่สามารถนำไปเป็นแบบอย่างในการ
ดำเนินงานและเผยแพรต่ ่อไปได้ เช่น

๑. เรื่องการเล้ียงไก่ไข่ โรงเรียนบ้านไร่ได้จัดทำหลักสูตรการเรียนรู้แบบบูรณาการให้กับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปที ี่ ๖ บูรณาการการจัดการเรียนรู้ ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ส่งเสริมการเรียนรเู้ ก่ยี วกับการดำเนิน
ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้นักเรียนเรียนรู้ผ่านการลงมือฝึกปฏิบัติจริงในทุกข้ันตอน
นักเรียนได้เรียนรู้เร่ืองการออกแบบโรงเรอื น การสร้างโรงเรือน การให้อาหาร ให้น้ำแก่ไก่และการเก็บผลผลิต
เพื่อจัดจำหนา่ ยใหร้ ะบบสหกรณโ์ รงเรยี น

~ ๒๐ ~

๒. การปลูกผักสวนครัว ผักในกระถาง โรงเรียนบ้านไร่ จัดทำหลักสูตรการเรียนรู้บูรณาการ เร่ือง
การปลูกพชื ผักสวนครัวให้กับนักเรยี นทกุ ระดับช้นั บูรณาการจัดการเรยี นรใู้ น ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้ กจิ กรรม
ลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ ส่งเสริมการเรยี นรู้เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดย
ให้นักเรียนเรียนรู้ผ่านการลงมือฝึกปฏิบัติจริงในทุกขั้นตอน ต้ังแต่ชนิดของพืชผักสวนครัว การเตรียมพื้นที่
เพาะปลูก การดูแล การเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมถึงการจัดจำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์โรงเรียนให้กับโครงการ
อาหารกลางวนั และผู้ปกครอง ทำให้นกั เรยี นได้รบั ประทานผกั ที่ปลอดภยั และมคี ุณคา่ ทางโภชนาการ

~ ๒๑ ~

๓. การเล้ียงปลาดุกในบ่อซีเมนต์ โรงเรียนบ้านไร่ จัดทำหลักสูตรการเรยี นรู้บรู ณาการ เรือ่ งการเลี้ยง
ปลาดุกในบ่อซีเมนต์ ให้กับนักเรียน ส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง โดยให้นักเรียนเรียนรผู้ ่านการลงมือปฏบิ ัติจริงในทุกขัน้ ตอน ต้ังแต่การเตรียมบอ่ เล้ียงปลา ปรมิ าณน้ำ
ท่ีเหมาะสม การให้อาหาร การล้างบ่อ เป็นต้น รวมถึงการจัดจำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์โรงเรียนให้ กับ
โครงการอาหารกลางวันและชมุ ชน

~ ๒๒ ~

๔. เห็ดนางฟ้า โรงเรียนบ้านไร่ จัดทำหลักสูตรการบูรณาการเรื่องเห็ดนางฟ้า โดยเชิญวิทยากร
ภายนอกมาให้ความรู้เก่ียวกับการเพาะเห็ดและการแปรรูปเห็ดนางฟ้าแก่นักเรียน รวมถึงการคำนวณต้นทุน
การออกแบบบรรจุภณั ฑ์ จัดจำหน่ายผ่านระบบสหกรณ์โรงเรียนและสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวัน
ได้

~ ๒๓ ~

๕. การเพาะเมล็ดทานตะวันสร้างสรรค์อาชีพ นักเรียนในระดับปฐมวัย ได้เรียนรู้ถึงการเพาะเมล็ด
ทานตะวันซ่ึงมีคุณค่าทางอาหาร โดยให้นักเรียนลงมือปฏิบัติจริง เรยี นรู้การดูแล รดน้ำ เพ่ือให้ได้ผลผลิตมาใช้
ในการประกอบอาหารและยังสามารถส่งจำหน่ายในร้านสหกรณ์และขายออกสู่ชุมชนได้ ส่งเสริมการสร้าง
อาชพี ในระยะปลาย ฝึกให้นกั เรยี นรจู้ ักการทำงานพ้ืนฐานได้ รูจ้ ักสงั เกต เอาใจใส่และมีความรับผดิ ชอบ

~ ๒๔ ~

๖. ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ปลอดสารพิษ โรงเรียนบ้านไร่ จัดทำหลักสูตรการเรียนรู้แบบบูรณาการ
เรื่องการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ปลอดสารพิษ ส่งเสริมการเรียนรู้เก่ียวกับการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ฝึกทักษะให้นักเรียนเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ นักเรียนได้เรียนรู้การเตรียมวัสดุอุปกรณ์
เมล็ดพันธุ์ การดูแล รักษา และการเก็บผลิตเพ่ือจำหน่ายให้กับโครงการอาหารกลางวันผ่านระบบสหกรณ์
โรงเรยี นเรียนและชุมชน

~ ๒๕ ~ ตวั อยา่ งผลงานนักเรยี น

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลกั สตู ร
เศรษฐกจิ พอเพียงสู่อาหารกลางวัน

หนงั สอื เผยแพรก่ จิ กรรม

~ ๒๖ ~

มาตรฐานที่ ๓ ด้านการดำเนนิ งานอาหารกลางวัน

ตวั ช้วี ดั ท๑่ี มีข้อมลู สารสนเทศด้านภาวะโภชนาการของนกั เรยี นและวิธีการแกไ้ ขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ

โรงเรียนบ้านไร่ได้มีการจัดทำข้อมูลสารสนเทศด้านภาวะโภชนาการของนักเรียนเป็นรายบุคคล
รายช้ันเรียนและรายโรงเรียน ซ่ึงในแต่ละเดือนครูประจำชั้นจะทำการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงของนักเรียน
แล้วบันทึกข้อมูลน้ำหนักส่วนสูง ส่งครูอนามัยโรงเรียนเพ่ือคำนวณภาวะโภชนาการ โดยใช้ข้อมูลจากระบบ
DMC เพื่อทำการแปรผลข้อมูลของนักเรียนรายบุคคล ทำการคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการของแต่
ละชั้นเรียน เพ่ือนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการวางแผน แกไ้ ขนกั เรียนทีม่ ีปัญหาภาวะทุพโภชนาการและพัฒนาไม่ให้
เกิดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน โดยการจัดกิจกรรมการออกกำลังกาย จัดป้ายนิเทศให้ความรู้เกี่ยวกับ
การบริโภคอาหารที่ถูกต้อง และเชิญวิทยากรมาให้ความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสม
ตามหลักโภชนาการ ซงึ่ นกั เรียนสามารถนำความรูท้ ีไ่ ดร้ บั ไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้

ครูประจำช้ันมกี ารชงั่ น้ำหนัก วดั ส่วนสงู นกั เรยี นในแตล่ ะชั้นเรียนเปน็ ประจำทกุ เดอื น

~ ๒๗ ~

ขอ้ มูลภาวะโภชนาการรายบคุ คล ประจำปกี ารศึกษา 2562

~ ๒๘ ~
ขอ้ มูลภาวะโภชนาการระดับชั้นเรยี น ประจำปกี ารศกึ ษา 2562

ขอ้ มูลภาวะโภชนาการระดับโรงเรยี น ประจำปกี ารศกึ ษา 2562

~ ๒๙ ~
ขอ้ มูลภาวะโภชนาการรายบคุ คล ประจำปกี ารศึกษา 2563

~ ๓๐ ~

ขอ้ มูลภาวะโภชนาการระดบั ช้ันเรียน ประจำปกี ารศึกษา 2563

~ ๓๑ ~

ตัวชีว้ ดั ที๒่ การนำโปรแกรมการจัดอาหารกลางวัน (Thai School Lunch)
ไปใช้ในการจัดอาหารกลางวันให้กบั นักเรยี น

โรงเรียนบ้านไร่ ได้มีการใช้โปรแกรมการจัดอาหารกลางวัน (Thai School Lunch) มาจัดทำรายการ
อาหารกลางวันให้กับนักเรียน อย่างสม่ำเสมอ โดยมีการจัดรายการอาหารหมุนเวียนในแต่ละเดือนอย่าง
หลากหลาย และได้มีการจัดทำแบบสอบถามความต้องการในการรบั ประทานอาหารของนักเรียน และนำผลท่ี
ไดจ้ ากการตอบแบบสอบถามมาใช้ในการจัดอาหารกลางวันให้กับนักเรียน มีการจัดทำบันทึกรายการอาหารใน
แต่ละวนั

แบบสอบถามความตอ้ งการในการรับประทานอาหารกลางวนั ของนักเรียนโรงเรียนบา้ นไร่

~ ๓๒ ~

เมนอู าหารจากโปรแกรมการจัดอาหารกลางวนั (Thai School Lunch) 1 เดอื น

~ ๓๓ ~

~ ๓๔ ~

ภาพอาหารกลางวันจากโปรแกรม
การจัดอาหารกลางวัน (Thai School Lunch)

~ ๓๕ ~

ตวั ช้ีวัดท๓่ี โรงเรยี นมีมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารทดี่ ตี ามเกณฑก์ รมอนามัยกระทรวงสาธารณสขุ กำหนด
โรงเรียนบา้ นไรม่ ีสภาพแวดล้อมโดยรอบโรงอาหารทส่ี ะอาด สวยงาม ห้องครัวเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย

จัดวางภาชนะเป็นสัดส่วน สะอาด ถูกสุขลักษณะ มีโต๊ะอาหารที่น่ังเพียงพอสำหรับให้นักเรียนได้รับประทาน
อาหารกลางวัน สถานท่ีจัดเก็บภาชนะใส่อาหารมีความสะอาด โดยมีสถานท่ีประกอบอาหารที่สะอาดถูก
สขุ ลกั ษณะ มบี ่อดักไขมนั สำหรับบำบดั น้ำเสียจากโรงครวั เพื่อป้องกันทอ่ ระบายน้ำอุดตนั ซงึ่ สภาพแวดลอ้ ม
โดยท่ัวไปทั้งภายในและภายนอกโรงอาหารนั้น มีการมอบหมายหน้าท่ีในการดูแลรักษาความสะอาดบริเวณ
โรงอาหารใหน้ ักเรยี นได้รับผิดชอบดแู ลร่วมกนั โดยหลังรบั ประทานอาหารเที่ยงเสร็จแลว้ ให้เวรประจำวันของ
แตล่ ะชัน้ เชด็ ทำความสะอาดโต๊ะอาหาร จดั เกา้ อ้ี ดแู ลความเรียบรอ้ ยของโรงอาหาร

สถานท่ีรบั ประทานอาหาร

ภาพภายนอก และ ภายในโรงอาหาร

ห้องครวั ทล่ี ้างภาชนะ

~ ๓๖ ~
การเกบ็ วางภาชนะ

การคัดแยกขยะ และบอ่ ดักไขมนั

~ ๓๗ ~

ตัวช้วี ดั ท๔่ี การจัดบรกิ ารอาหารกลางวนั และน้ำด่มื ใหแ้ กน่ ักเรียนอย่างท่ัวถึงเพยี งพอ และมีคณุ ภาพ
โรงเรยี นบา้ นไร่ มกี ารจัดบริการอาหารกลางวันให้แกน่ กั เรียนอยา่ งทวั่ ถึงตลอดปกี ารศึกษา โดยมีการ

บริการในปริมาณที่เพียงพอ และมีคุณค่าทางโภชนาการครบ ๕ หมู่ อีกทั้งยังมีจุดบริการน้ำดื่มท่ีสะอาดและ
เพียงพอสำหรับนักเรียนซ่ึงน้ำดื่มของโรงเรียนมีความสะอาดถูกสุขลักษณะ และผ่านการกรองจากระบบที่
ไดร้ บั มาตรฐาน จำนวน ๕ จุด

แบบบันทึกอาหารกลางวนั

นักเรียนไดร้ ับประทานอาหารกลางวันอยา่ งเพยี งพอ

หนงั สือรบั รองคณุ ภาพนำ้ ด่มื ~ ๓๘ ~

มีจดุ บริการนำ้ ดื่มทสี่ ะอาด
เหมาะสมและเพียงพอสำหรบั นกั เรยี น

~ ๓๙ ~
มีเมนูอาหารกลางวันใหร้ ับประทานอยา่ งหลากหลาย และครบหา้ หมู่ทกุ ม้อื

~ ๔๐ ~
มาตรฐานที่ ๔ ดา้ นการมีส่วนรว่ ม / เครอื ขา่ ย

ตวั ช้วี ัดท๑่ี ภาคเี ครือข่ายในการสนบั สนุนโครงการอาหารกลางวนั

ภาคีเครอื ขา่ ยภาครัฐ ภาคเอกชน ท่ีสนบั สนนุ ในการดำเนินงานอยา่ งต่อเน่ืองและย่ังยนื

คณะกรรมการสถานศึกษา โรงพยาบาลสะบา้ ย้อย

เทศบาลตำบลท่าพระยา ผ้ใู หญ่บ้านหมทู่ ่ี 5 นายเสรี ยอกอราช

~ ๔๑ ~
โรงเรียนในเครอื ขา่ ย

มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ กล่มุ สตรบี ้านไร่

สถานตี ำรวจภูธรสะบ้ายอ้ ย

~ ๔๒ ~

ตัวช้วี ดั ท๒ี่ การมีส่วนรว่ มภาคีเครอื ข่าย

๑. โรงเรียนมกี ารระดมความคดิ โดยใช้ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ องคก์ รท้องถิน่ มาให้ความรู้ ดา้ นการเกษตร
กจิ กรรมแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร และผลติ ภณั ฑ์ เพ่ือสนบั สนุนโครงการอาหารกลางวัน และ
จำหนา่ ยให้กบั สหกรณ์โรงเรียน
➢ ศกึ ษาบ่อเลย้ี งกบในหมบู่ า้ น
➢ การเลย้ี งปลานำ้ จืดในกระชัง
➢ การปลูกมะนาวในปลอ้ งบ่อ
➢ การเลี้ยงไกไ่ ข่
➢ ทศั นศึกษาโรงสีขา้ วในหมู่บา้ น
➢ การทำขนมพน้ื บ้าน (ขนมเจาะห)ู
➢ การทำปลาแดดเดียวของกล่มุ สตรบี า้ นไร่

~ ๔๓ ~

๒. โรงเรียนมีการระดมทรัพยากรบุคคล แลวัสดุอปุ กรณ์ มาสนับสนนุ โครงการอาหารกลางวัน
มีมูลค่า..........125,900......บาท

เจา้ อาวาสวดั ตำแยบรจิ าคข้าวสารใหโ้ รงเรียนเดือนละ 2 กระสอบ
ราคากระสอบละ 1,800 บาท เป็นเวลา 1 ปีการศึกษา

รวมทั้งสิ้น 24 กระสอบ คิดเป็นเงนิ จำนวน 43,200 บาท

ผ้ปู กครองรว่ มกนั บรจิ าคเงินสนบั สนนุ เพอื่ ประกอบอาหารในกจิ กรรมวนั เดก็ จำนวน 3,000 บาท

~ ๔๔ ~
ได้รับงบประมาณสนบั สนนุ ในการจดั ซ้ือโรงเรอื นผักไฮโดรโปนกิ พรอ้ มอุปกรณ์ครบชุด

เป็นเงนิ จำนวน 20,000 บาท จากมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์

ผ้ใู หญ่ใจดี เลย้ี งไอศกรีมนกั เรยี นโรงเรยี นบ้านไร่ จำนวน 3 ถงั เปน็ เงินจำนวน 6,600 บาท

~ ๔๕ ~
เทศบาลท่าพระยาสนับสนุนงบประมาณในการจัดโครงการ
เด็กบา้ นไร่ เตบิ โตสมวัย ปลอดภัยสมบรู ณ์ จำนวน 53,100 บาท

หมายเหตุ เพงิ่ ได้รับอนมุ ตั งิ บประมาณสนบั สนนุ จงึ ยังไมไ่ ดด้ ำเนนิ การโครงการ

~ ๔๖ ~
หนงั สือขอบคณุ หนว่ ยงานตา่ งๆ

ทะเบียนรบั ของสนบั สนนุ กิจกรรมตา่ งๆ

~ ๔๗ ~

๓. มีการส่งเสริมผลผลิตระหวา่ งโรงเรียน หน่วยงานที่เกีย่ วข้องและชุมชน มกี ารแปรรปู ผลผลิตโรงเรียน
ได้เชิญวทิ ยากรจากกล่มุ สตรีบ้านไร่ มาให้ความรใู้ นเรื่องการทำปลาดกุ แดดเดียว และการทำขนมเจาะหู

~ ๔๘ ~

๔. โรงเรียนและชมุ ชนร่วมกนั วางแผนผลิตเกษตรแบบผสมผสานเพ่อื นำมาสนับสนนุ โครงการอาหาร
กลางวัน
ผลการดำเนนิ งานโรงเรยี นรว่ มกบั ชุมชน รว่ มกนั วางแผนผลติ เกษตรผสมผสาน เพื่อนำมาสนบั สนนุ

โครงการอาหารกลางวัน โดยมีการประชุมวางแผนร่วมกันโรงเรียนกับชุมชน ผลที่ไดค้ อื ในชมุ ชนมีผลผลิต
ทางการเกษตรมาสนับสนุนโครงการอาหรกลางวันของโรงเรียน

~ ๔๙ ~

ตัวชวี้ ัดท๓่ี การประชาสัมพันธ์ผลการดำเนนิ งานโครงการอาหารกลางวนั

โรงเรียนมีการเผยแพร่สารประชาสัมพันธผ์ ลการดำเนนิ งานโครงการอาหารกลางวันรปู แบบและ
ชอ่ งทางทหี่ ลากหลาย

๑. Application Line
๒. Application facebook
๓. วารสารประจำโรงเรยี น
๔. รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรม
๕. เสียงตามสายในหมบู่ ้าน
๖. การประชุมผปู้ กครอง

~ ๕๐ ~
มาตรฐานท่ี ๕ ดา้ นผลผลติ /ผลลพั ธ์

ตัวชว้ี ัดท๑ี่ ภาวะทพุ โภชนาการตามเกณฑ์

โรงเรียนบ้านไร่ มีการช่ังน้ำหนักและวัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือนเพ่ือเป็นข้อมูลในการส่งเสริม
พัฒนาการทางดา้ นร่างกายทสี่ มวยั ใหก้ บั นกั เรียนมีผลปรากฏดงั น้ี

- นักเรียนท่ีมีน้ำหนักต่อส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ (ผอม) จำนวน ๑๙ คน จากนักเรียนทั้งหมด ๑๓๐ คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๔.๖๒

- นักเรียนที่มีส่วนสูงต่ออายุต่ำกว่าเกณ ฑ์ (เต้ีย) จำนวน ๑๘ คน จากทั้งหมด ๑๓๐ คน
คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๓.๘๕

- นักเรียนที่มีน้ำหนักต่อส่วนสูงสูงกว่าเกณฑ์ (อ้วน) จำนวน ๗ คน จากทั้งหมด ๑๓๐ คน
คิดเปน็ ร้อยละ ๕.๓๘

รายงานภาวะโภชนาการนกั เรียนโรงเรยี นบา้ นไรภ่ าคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

ระดับชน้ั น้ำหนกั ต่อ ส่วนสงู ต่ออายุ น้ำหนกั ต่อ หมายเหตุ
ต่ำกว่าเกณฑ์ ส่วนสงู สงู กว่า
(ขอ้ มูล ณ วันที่ ๑๐ มิ.ย.) ส่วนสงู ตำ่ กวา่ (เตย้ี ) เกณฑ์ (อ้วน)
(จำนวนคน= (จำนวนคน=
ชน้ั จำนวนคน เกณฑ์ (ผอม) ร้อยละ) ร้อยละ)
(จำนวนคน= ๑ =14.29 ๐
๓ = 21.43 ๐
ร้อยละ) ๑๒ =92.31 ๐
๑๖ = 40.06 ๐
อนบุ าล๑ ๗ ๑ = 14.29 ๑๓ =81.25 ๐
๕ = 27.78 ๐
อนุบาล๒ ๑๔ ๑๑ = 78.57 ๓ =27.27 ๐
๔ =22.22 ๐
อนุบาล๓ ๑๓ ๑๒ = 92.31 ๕ =22.73 ๒ =9.09
๗ =35.00 ๑ =5.00
รวมอนุบาล ๓๔ ๒๔ = 70.89 ๓๗ =35.24 ๓ =2.85
๕๓ =38.41 ๓ =2.17
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๑๖ ๑๑ = 68.75

ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ๑๘ ๖ =33.33

ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๑๑ ๓ =27.27

ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๑๘ ๔ = 22.22

ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ๒๒ ๓ =13.64

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๒๐ ๓ =15.00

รวมประถมศึกษา ๑๐๕ ๓๐ =28.57

รวมท้ังหมด ๑๓๙ ๕๔ =39.13


Click to View FlipBook Version