The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1. ทักษะการเรียนรู้ (สรุปเนื้อหา)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pitchapim Aaew, 2021-04-18 21:01:32

1. ทักษะการเรียนรู้ (สรุปเนื้อหา)

1. ทักษะการเรียนรู้ (สรุปเนื้อหา)





เอกสารสรุปเนื้อหาท่ีตอ งรู

รายวิชา ทกั ษะการเรยี นรู
ระดบั ประถมศึกษา
รหัส ทร11001

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551

สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

กระทรวงศกึ ษาธิการ

หา มจําหนาย
หนงั สอื เรยี นนี้จดั พมิ พด วยเงินงบประมาณแผนดินเพอื่ การศกึ ษาตลอดชวี ติ สําหรบั ประชาชน
ลิขสทิ ธิ์เปน ของสํานักงาน กศน. สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร





สารบัญ

หนา

คาํ นํา

สารบัญ

คาํ แนะนําการใชเ อกสารสรปุ เน้อื หาทต่ี องรู

บทท่ี 1 การเรยี นรดู วยตนเอง 1

เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญ และกระบวนการของการเรียนรูดว ยตนเอง1

เรอ่ื งที่ 2 การกาํ หนดเปาหมายและการวางแผนการเรยี นรดู ว ยตนเอง 4

เร่ืองท่ี 3 ทักษะพนื้ ฐานทางการศึกษาหาความรู ทกั ษะการแกปญ หา

และเทคนคิ การเรยี นรูด ว ยตนเอง 6

เรอื่ งท่ี 4 ปจจัยทที่ าํ ใหก ารเรยี นรูดว ยตนเองประสบความสําเร็จ 11

กจิ กรรมทายบทท่ี 1 13

บทที่ 2 การใชแหลงเรียนรู 16

เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของแหลง เรียนรู 16

เรือ่ งท่ี 2 การเขาถงึ และการเลือกใชแ หลง เรียนรู 19

เรอ่ื งท่ี 3 บทบาทหนาท่ีและการบรกิ ารของแหลงเรยี นรู 21

เรอ่ื งที่ 4 กฎ กติกา เง่อื นไขตา ง ๆ ในการขอใชบ รกิ ารแหลงเรยี นรู 22

เรื่องที่ 5 ทักษะการใชข อมูลสารสนเทศจากหอ งสมุดประชาชน 23

กิจกรรมทายบทท่ี 2 26

บทที่ 3 การจัดการความรู 28

เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั และหลกั การของการจดั การความรู 28

เรื่องท่ี 2 กระบวนการจดั การความรู 29

เร่อื งที่ 3 กระบวนการจัดการความรดู วยตนเอง 30

เรอ่ื งท่ี 4 กระบวนการจัดการความรูดวยการปฏบิ ัติการกลุม 32

เรอ่ื งที่ 5 การสรา งองคค วามรู พัฒนา ตอ ยอดและเผยแพรองคค วามรู 34

กจิ กรรมทา ยบทที่ 3 35



สารบัญ (ตอ )

บทที่ 4 การคดิ เปน หนา
เรอ่ื งที่ 1 ความเชือ่ พืน้ ฐานทางการศึกษาผใู หญ/ การศกึ ษานอกระบบ
เรอ่ื งที่ 2 ปรัชญาการคิดเปน 37
เรอ่ื งท่ี 3 กระบวนการและข้ันตอนการแกปญหาอยางคนคิดเปน 37
เรื่องที่ 4 ฝกทักษะการคิดเปน 40
กจิ กรรมทายบทที่ 4 42
44
บทท่ี 5 การวิจยั อยางงา ย 45
เรือ่ งที่ 1 ความหมายและประโยชนข องการวจิ ยั อยางงาย 47
เรื่องท่ี 2 กระบวนการและขั้นตอนของการวิจัยอยางงา ย 47
เรื่องที่ 3 การเขยี นโครงการวิจยั 49
กจิ กรรมทา ยบทท่ี 5 51
52
บทที่ 6 ทกั ษะการเรยี นรูแ ละศักยภาพหลกั ของพน้ื ที่ในการพฒั นาอาชพี 56
เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของศกั ยภาพหลักของพืน้ ท่ีในการ
พฒั นาอาชีพ 56
เรอื่ งที่ 2 การวิเคราะหศ ักยภาพหลกั ของพน้ื ท่ีในการพัฒนาอาชีพ 57
เร่ืองที่ 3 ตวั อยา งอาชพี ทีส่ อดคลองกบั ศักยภาพของพืน้ ท่ี 59
กจิ กรรมทายบทท่ี 6 68
69
บรรณานกุ รม 70
คณะผจู ัดทํา



คาํ แนะนําการใชเ อกสารสรุปเน้อื หาท่ีตอ งรู

เอกสารสรปุ เนื้อหาท่ีตองรูฉบับนี้ เปนการสรุปเน้ือหาจากหนังสือเรียน รายวิชาทักษะ
การเรียนรู ทร 11001 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2554) เพื่อใหผูเรียน กศน. ทําความเขาใจและเรียนรู
ในสาระสาํ คญั ของเนือ้ หารายวชิ าทักษะการเรยี นรู

ในการศึกษาเอกสารสรุปเนื้อหาทต่ี องเรียนรฉู บับน้ี ผูเรยี นควรปฏบิ ัติ ดังนี้
1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาทักษะการเรียนรู ทร 11001 หลักสูตรการศึกษา

นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2554) ใหเ ขา ใจกอน
2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาในเอกสารสรุปเน้ือหาท่ีตองรู ใหเขาใจทีละบท

หลังจากน้นั ทาํ กิจกรรมทายบท ใหค รบทกุ กจิ กรรม จาํ นวน 6 บทเรยี น
3. หากตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหารายวิชาทักษะการเรียนรูเพิ่มเติม

ผูเรียน กศน. สามารถศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากตํารา หรือหนังสือเรียนท่ีมีอยูในหองสมุด
กศน.ตาํ บล หรอื จากครผู ูสอน

1

บทที่ 1 การเรยี นรดู วยตนเอง

การเรียนรูเรื่องราวตาง ๆ ไมใชเรื่องที่ติดตัวมาแตเกิด แตการเรียนรูเรื่องราว หรือ
ทกั ษะในเร่อื งนน้ั ๆ มาจากการเรียนรู หรอื การฝกฝนทกั ษะและประสบการณท้ังส้ิน การเรียนรู
จึงเปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสูพฤติกรรมใหม ซ่ึงคนทุกคนสามารถ
เรียนรู และพัฒนาตนเองได

เร่อื งท่ี 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และกระบวนการของการเรียนรูดวยตนเอง

ความหมายของการเรียนรูด วยตนเอง

การเรียนรูดวยตนเอง หมายถึง กระบวนการเรียนรู ท่ีผูเรียนมีความคิดริเร่ิมดวย
ตนเอง เรียนรูในส่ิงที่ตรงกับความตองการ ความสนใจ และความถนัดของตนเอง โดยมี
เปาหมายการเรียนรู การแสวงหาและเขาถึงแหลงขอมูลในการเรียนรู มีวิธีการเรียนรู
ทีเ่ หมาะสมและมกี ารประเมินผลการเรียนรขู องตนเอง

ความสาํ คญั ของการเรยี นรดู วยตนเอง

สังคมปจจุบัน เปนสังคมท่ีตองมีความรู มีการเปลี่ยนแปลงความรูอยางรวดเร็ว
มีความรูใหมเกิดขึ้นทุกวัน การนําความรูไปปฏิบัติ ทําใหเกิดส่ิงใหม ๆ เปนนวัตกรรม สราง
อาชพี ท่ีหลากหลาย การเรยี นรูดวยตนเองจึงมคี วามสาํ คญั ทําใหเ กดิ สังคมแหง การเรยี นรู

ความสาํ คัญของการเรยี นรูดวยตนเอง แบงเปน 2 สว น คอื
1. ความสําคญั ตอ ตวั ผูเรยี น

1) ทาํ ใหคนมกี ารพฒั นาทางปญญา จากคนท่ีไมมีความรู มาเปนผูรู และทําเปน
2) ทาํ ใหคนสามารถปรบั และประยกุ ตใชความรูไปสสู ถานการณใหม ทําใหประสบ
ความสาํ เรจ็ ในการปฏบิ ตั งิ าน
3) ทําใหค นสามารถดํารงชวี ติ อยูใ นสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอยตู ลอดเวลา
อยางมศี ักยภาพเปนผแู กปญ หาเปน และมีความสขุ

2

2. ความสําคัญตอ สงั คม
สังคมปจจุบัน เปนสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความรูใหม ๆ ขอมูลขาวสาร

มากมายเกิดขนึ้ ตลอดเวลา ซ่งึ สง ผลตอการดําเนนิ ชีวิตของคนในสังคม สามารถแสวงหาความรู
และนําความรูท ี่ไดไปปรบั ใชใหเ กิดประโยชนและอยูรอดในสังคมได ถาคนเราสามารถเรียนรูได
ดว ยตนเอง ก็จะเกิดสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต เปนสังคมที่มีการพัฒนาใหเจริญกาวหนา
ตอ ไป

ลักษณะและองคป ระกอบการเรียนรูดว ยตนเอง

การเรียนรูดวยตนเอง จะชวยใหผูเรียนประสบผลสําเร็จ ผูเรียนจะตองมีการ
แลกเปล่ียนประสบการณ สรางความรรู วมกัน นําเสนอความรู และนาํ ไปประยุกตใช หรือลงมือ
ปฏบิ ัติ

ลกั ษณะชองการเรียนรดู วยตนเอง

การเรยี นรดู ว ยตนเอง จําแนกออกเปน 2 ลักษณะสําคัญ ดังนี้
1. ลักษณะที่เปนลักษณะสวนบุคคลของผูเรียน ในการเรียนรูดวยตนเอง จัดเปน

องคประกอบภายใน ที่จะทําใหผูเรียนมีแรงจูงใจอยากเรียนตอ โดยผูเรียนท่ีมีคุณลักษณะใน
การเรยี นรดู วยตนเอง จะมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ ความคดิ และการกระทาํ เก่ยี วกบั การเรยี น และมี
การจดั สภาพการเรยี นรทู ี่สงเสริมกนั

2. ลักษณะที่เปนการจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนดวยตนเอง ประกอบดวย
ข้ันตอนการวางแผนการเรียน การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผลการเรียนจัดเปน
องคประกอบภายนอกท่ีสงผลตอการเรียนดวยตนเองของผูเรียน ซ่ึงการจัดการเรียนรูแบบนี้
จะไดป ระโยชนจากการเรยี นมากท่สี ดุ

องคป ระกอบของการเรียนรดู ว ยตนเอง

องคประกอบการเรยี นรดู วยตนเอง มดี งั นี้
1. การวิเคราะหความตองการของตนเอง เริ่มจากใหผูเรียนแตละคนบอกความ

ตองการและความสนใจในการเรียนกับเพ่ือนอีกคน ซึ่งทําหนาที่เปนที่ปรึกษา แนะนํา และ
เพ่ือนอกี คนทาํ หนา ทจี่ ดบันทกึ และใหก ระทาํ เชนน้หี มนุ เวียนทั้ง 3 คน แสดงบทบาทครบท้ัง 3
ดาน คือ ผูเสนอความตองการ ผูใหคําปรึกษา และผูคอยจดบันทึกการสังเกตการณ
เพื่อประโยชนใ นการเรยี นรว มกัน และชวยเหลอื ซง่ึ กันและกัน

3

2. การกําหนดจุดมุงหมาย โดยเร่ิมจากบทบาทของผูเรียนเปนสําคัญ ผูเรียนควร
ศึกษาจุดมุงหมายของวิชา แลวเขียนจุดมุงหมายในการเรียนของตนใหชัดเจน เนนพฤติกรรม
ทีค่ าดหวัง วดั ได มีความแตกตา งของจดุ มุงหมายในแตล ะระดับ

3. การวางแผนการเรียน ใหผูเรียนกําหนดแนวทางการเรียน ตามวัตถุประสงค
ทรี่ ะบไุ วจ ัดเนือ้ หาใหเหมาะสมกับสภาพความตองการ และความสนใจของตนมากที่สดุ

4. การแสวงหาแหลงวทิ ยาการ ทง้ั ทีเ่ ปน วสั ดุและบคุ คล
- แหลงวิทยาการที่เปนประโยชนในการศึกษาคนควา เชน หองสมุด

พิพธิ ภณั ฑ ฯลฯ
- ทักษะตาง ๆ ที่มีสวนในการแสวงหาแหลงวิทยาการไดอยางสะดวก

รวดเร็ว เชน ทกั ษะการตัง้ คาํ ถาม ทกั ษะการอาน ฯลฯ
5. การประเมินผล ควรประเมินผลการเรียนรูดวยตนเอง ตามที่กําหนด

จุดมุงหมายของการเรียนไว และใหสอดคลองกับวัตถุประสงคเก่ียวกับความรู ความเขาใจ
ทักษะ ทัศนคติ คานิยม

4

เรอื่ งที่ 2 การกาํ หนดเปาหมายและการวางแผนการเรยี นรูด วยตนเอง

การกาํ หนดเปาหมายหรอื จดุ มุง หมายการเรียนรู

เปา หมายของชีวิต คือ การคิดถึงภาพของตัวในอนาคตในหลาย ๆ ดาน ไปพรอม ๆ กัน
ท้ังเปาหมายท่จี ับตองไดแ ละจบั ตองไมได การวางเปาหมายชีวิต ทาํ ใหม ที ิศทางในการคิดอยางมี
จดุ มงุ หมาย ไมเสียเวลา มแี ผนทจี่ ะเดนิ ทางไปสคู วามสาํ เร็จทีต่ อ งการในอนาคต

ความหมายของการกําหนดเปา หมายการเรียนรู
การกําหนดเปาหมายการเรียนรู คือ การกําหนดจุดหมายปลายทางของผูเรียนวา
ตองบรรลุถึงจุดหมายอะไรบาง ภายหลังการเรียนรูดวยตนเอง ซ่ึงสามารถกําหนดได ทั้งดาน
ทักษะทางปญญา เชน ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช เปนตน ทางพฤติกรรม
อารมณและความรูสึก เชน เจตคติ คานิยม คุณธรรม จริยธรรม เปนตน และดานทักษะ
ความสามารถ เชน การปฏิบตั ิ การแสดงออก เปน ตน
ประโยชนของการกําหนดเปา หมายการเรยี นรู
เม่อื ผูเรียนมจี ดุ มงุ หมายปลายทางการเรยี นรขู องตนเอง จะสามารถวางแผนการเรียนรู
และกําหนดแผนการเรียนรู ใหสอดคลองกับเปาหมายท่ีตองการ ผูเรียนสามารถเลือกวิธีการ
เรียนรู ชองทางหรือแหลง เรยี นรูและส่อื ท่เี หมาะสม ทําใหสามารถดําเนินกิจกรรมการเรียนรูได
อยา งมปี ระสิทธิภาพ
หลกั การในการกาํ หนดเปาหมายการเรียนรู มดี งั นี้

1. ระบุสง่ิ ทีเ่ ราตอ งการใหเ กิด ตองการใหเปน ใหชัดเจน
2. ตองสามารถระบุ และวัดผลลพั ธไ ดอ ยา งชดั เจน
3. ตอ งมคี วามมุงม่นั และลงมือปฏบิ ตั ิจริง
4. ตองสมเหตุสมผล และเปนสง่ิ ทีม่ โี อกาสเปนไปได
5. มรี ะยะเวลาเปนกรอบกําหนดสงิ่ ท่ตี องทําใหสําเร็จ

5

การวางแผนการเรียนรดู ว ยตนเอง

การเรียนรูดวยตนเอง เปนคุณลักษณะที่สําคัญ ชวยใหผูเรียนมีความต้ังใจ มีแรงจูงใจ
สงู มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรางสรรค สามารถทาํ งานรว มกับผูอ่ืนได นําประโยชนของการเรียนรูไปใช
ใหเ กิดประโยชนตอการดําเนินชีวติ

ความหมายของการวางแผนการเรยี นรู
การวางแผนการเรยี นรู คอื การกาํ หนดแนวทางการเรียนรูของตนเองข้ึนมา เพ่ือให
บรรลุจุดมุงหมายท่ีกําหนดไว โดยตองกําหนดเวลาเรียนรูของตนเอง วากิจกรรมมีอะไรบาง
และจะสิน้ สุดเมือ่ ใด และมีการวางแผนการเรียนรู ดังน้ี

1. เนอ้ื หาการเรยี นรมู อี ะไรบา ง
2. ผลการเรียนรทู ่ีคาดหวงั ท่ีเกดิ จากการเรยี นรู
3. กจิ กรรมการเรียนรู/เรียนรูด วยวิธีการใด
4. สอ่ื และแหลงเรยี นรอู ยูท่ไี หนบาง
5. การวัดประเมนิ ผล/มีวิธวี ดั ประเมินผลการเรยี นรู อยางไร

ประโยชนข องการวางแผนการเรียนรดู ว ยตนเอง
1. ชว ยใหผ เู รยี นสามารถระบุเปาหมาย หรือผลงานการเรียนรูไดอ ยา งชดั เจน
2. ชวยในการกําหนดและระบกุ ิจกรรม หรืองานทผี่ เู รยี นทําไดอ ยางชัดเจน
3. ชวยใหก ารเรยี นรูเปนไปอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ตามกรอบทีก่ ําหนดไว

หลักการวางแผนการเรยี นรดู วยตนเอง
1. การวางแผนการเรยี นรูของผเู รียน ควรเรม่ิ ตนจากการกาํ หนดจดุ มงุ หมายใน

การเรยี นรูดว ยตนเอง
2. ผูเ รยี นเปน ผกู าํ หนดการวางแผนการเรียนของตนเอง
3. ผเู รียนเปนผูจดั การเนือ้ หาใหเ หมาะสมกับความตอ งการ และความสนใจของ

ตนเอง
4. ผูเรยี นเปนผูระบุวธิ กี ารเรียนรู เพอ่ื ใหเ หมาะสมกับตนเองมากทส่ี ุด
5. ผูเรยี นกําหนดและแสวงหาแหลงเรยี นรูดว ยตนเอง

6

กระบวนการวางแผนการเรยี นรดู ว ยตนเอง

1. วเิ คราะหและกําหนดความตองการหรือความสนใจในการเรียนรูข องตนเอง
2. กําหนดจุดมุง หมายในการเรยี นรู หรือส่งิ ที่ตองการใหเกดิ กับตนเองภายหลังการ
เรยี นรู
3. วางแผนการเรียนรู โดยผูเรียนกําหนดแนวทางการเรียนของตนเอง เรื่องเวลา
เรียน เนือ้ หา กจิ กรรมการเรยี นรูในแตละชวง ต้งั แตเ ร่ิมตนจนสนิ้ สดุ
4. เลือกรูปแบบกจิ กรรมการเรียนรู แหลง เรยี นรู และสือ่ การเรยี นรู
5. ในกรณีบางเรื่องไมสามารถเรียนรไู ดดว ยตนเองทั้งหมด ตอ งมผี ชู วยเหลือ
ซง่ึ อาจเปน ครู เพ่อื นทพ่ี บกลุม รวมกัน ฯลฯ ผเู รียนจะตอ งกําหนดบทบาทของผชู ว ยเหลือการ
เรียนรูใหชดั เจน
6. กาํ หนดวธิ ีการตรวจสอบตนเอง วิธีการประเมินผลการเรยี นของตนเอง
รวมกบั ครู เชน การทดสอบ การสงั เกต การสอบถาม

เร่อื งที่ 3 ทกั ษะพนื้ ฐานทางการศึกษาหาความรู ทกั ษะการแกป ญหา
และเทคนคิ การเรียนรดู ว ยตนเอง

ทักษะพ้ืนฐานทางการศกึ ษาหาความรู

การเรียนรูดวยตนเอง จะตองมีทักษะท่ีสําคัญหลาย ๆ ดาน เพ่ือใหเกิดความรู
ความเขาใจมากที่สดุ ทกั ษะทส่ี ําคัญและจําเปน ตอการเรยี นรู ไดแก

ทักษะการอาน

การอาน คอื การรับรูความหมาย จากถอยคําที่อานในหนังสือ หรือสิ่งพิมพตาง ๆ
การอา น มีหลายประเภท เชน

1. การอานสํารวจ เปนการอานอยางรวดเร็ว เพ่ือรูลักษณะโครงสรางของ
ขอ เขยี น สาํ นวนภาษา เนือ้ เรอื่ งโดยสังเขป

2. การอานขาม เปนการอานอยางรวดเร็ว โดยเลือกอานขอความเฉพาะบาง
ตอนที่ตรงกบั ความตอ งการ เชน การอานคาํ นาํ สาระสังเขป บทสรปุ

3. การอานผาน เปนการอา นแบบกวาดสายตาอยางรวดเร็ว ไปยังขอ เขียนท่ีเปน
เปาหมาย เชน คําสําคัญ ตัวอักษร หรอื สญั ลักษณ แลวอานรายละเอียดเฉพาะท่ตี อ งการ

7

4. การอานจับประเด็น เปนการอานทําความเขาใจสาระสําคัญ โดยตองสังเกต
คาํ หรอื ประโยคสําคญั และยอ สรปุ บนั ทึกประโยคสาํ คัญไว

5. การอานสรุปความ เปนการอานตีความหมายสิ่งท่ีอาน ใหเขาใจชัดเจน
แยกสวนประเดน็ หลกั ประเด็นรอง ที่สําคญั หรือไมส าํ คัญได

6. การอานวิเคราะหความหมายขอ ความ

หลกั การอานท่ดี ี มีดงั น้ี

1. ต้งั จดุ หมายในการอานแตล ะครั้งใหชดั เจน
2. อา นหนึง่ รอบ แลวสรปุ โดยไมเปดหนงั สือ
3. ควรมีการบันทึกสาระสําคัญ ทําสัญลักษณ หรือทําเปน Mind Mapping
จะทําใหเ ขา ใจงา ยขน้ึ
4. มีสมาธิ ใชสติอยูกับหนังสือ ไมรับรูจากสื่อตาง ๆ เชน ปดทีวี คอมพิวเตอร
อินเทอรเ นต็ เปน ตน

ทกั ษะการฟง

การฟง คือ การรับรูความหมายจากเสียงท่ีไดยิน เปนการรับรูขอมูล โดยใช
ประสาทสัมผัสทางหู การฟงเพื่อใหเกิดการเรียนรูส่ิงตาง ๆ จําเปนตองใชความคิดพิจารณา
ไตรตรอง และเอาใจใสเปนพเิ ศษ จึงจะชวยใหก ารฟงมปี ระสทิ ธิภาพ

หลกั การฟง ทดี่ ี มีดงั น้ี

1. ฟงอยา งมีจุดมงุ หมาย ผฟู งทด่ี คี วรตัง้ จดุ มุง หมายในการฟง
2. มีความพรอมในการฟง ไดแ ก

1) ความพรอมทางกาย คอื มสี ขุ ภาพสมบรู ณ แขง็ แรงไมเจ็บปวย
2) ความพรอมทางใจ คือ มสี มาธิ จดจอ ในการฟง ไมใจลอย วติ กกังวล
3) ความพรอมทางสติปญ ญา คอื เตรยี มตัวใฝห าความรูเปน พน้ื ฐาน
3. ฟง อยางกระตือรอื รน คอื สนใจและเลง็ เหน็ ประโยชนจ ากการฟงอยางแทจริง
ไมใชจ าํ ใจฟง หรือถกู บงั คับใหฟ ง
4. ฟงอยางไมมีอคติ เพราะความลําเอียง ทําใหแปลเจตนาในการฟงผิด
ความหมาย หรือคลาดเคล่ือนจากท่ีเปน จรงิ ได

8

ทักษะการสังเกต
การสงั เกต คือ การดูส่งิ ท่เี กิดขน้ึ เกี่ยวกับพฤติกรรม หรอื ปรากฏการณต าง ๆ

ทเ่ี กดิ ขึน้ โดยใชป ระสาทสัมผัส คอื ตาดู หูฟง กายสัมผัส วธิ กี ารสงั เกต แบงออกเปน 2 แบบ คือ
1. การสังเกตทางตรง เปนการสังเกตโดยผูถูกสังเกตไดสัมผัสกับบุคคล หรือ

เหตุการณน้ันโดยตรง
2. การสังเกตทางออม เปนการสังเกต ท่ีผูสังเกตไมไดเฝาดูพฤติกรรม หรือ

เหตุการณนัน้ ดวยตนเอง แตอาศยั ถามจากผอู ื่นที่ไดส ังเกตมา
หลกั การสังเกตที่ดี มดี ังนี้
1. กําหนดจุดมุงหมายของการสังเกตใหชัดเจน วาตองการสังเกตอะไร สังเกต

ใคร สังเกตอยางไร
2. วางแผนขั้นตอนการสังเกตใหเปนระบบ และเตรียมสถานการณไวลวงหนา

ใหเรียบรอย เตรียมอุปกรณ เคร่ืองมือ เครื่องใชตาง ๆ ที่จําเปนใหพรอม เชน ปากกา ดินสอ
กลอ งถายรปู เปน ตน

3. ศกึ ษาและกาํ หนดชวงเวลา ที่จะสังเกตใหเหมาะสม
4. สังเกตทลี ะเร่อื ง ทีละประเดน็ จะไดไมส บั สน และไมค วรรบี รอ น
5. ควรบันทกึ ขอ มูลจากการสงั เกตใหเรว็ ทีส่ ดุ เพราะปลอ ยไวน านอาจลืมได
6. ตรวจสอบความถกู ตอง ความนา เช่ือถอื ของขอมลู ทส่ี ังเกตได

ทักษะการจาํ
การจํา คือ ความสามารถของสมองในการเก็บขอมูล และเรียกขอมูลออกมาใช
ซึ่งอาจเปน ระยะส้นั ๆ หรอื ยาวนานตลอดชวี ติ ก็ได
การจาํ เปนความสามารถเฉพาะตวั ทตี่ องการการฝก ฝน เชน การโยงส่ิงทต่ี อ งจํา ไป
หาส่งิ ท่ีจาํ งายและตดิ ตากวา การแตง ประโยคเดด็ ชว ยจาํ การจําขอ ความเปนภาพ เปน ตน
ทกั ษะการจดบันทกึ

การบนั ทกึ คอื การเขยี นขอ ความท่ีไดร ับรไู วเปนลายลักษณอักษร เพราะถาใชการ
จําอยางเดียวผเู รียนอาจรับเนอ้ื หาไดไ มครบถวนสมบูรณ การจดบนั ทกึ จึงจาํ เปน มากสาํ หรบั การ
เรยี นรู

9

การจดบันทึกที่ดี ควรจดสั้น ๆ เฉพาะสวนที่สําคัญ เปนวลี คําสัญลักษณ หรือ
ตวั ยอจดเปนหวั ขอ โดยใชหมายเลข หรอื สญั ลกั ษณนําหนาและจดเฉพาะคําสําคญั

ทกั ษะการแกปญ หา

ทักษะการแกปญหา เปนความสามารถในการจัดการกับปญหา ที่เกิดข้ึนในชีวิตได
อยางมีระบบไมเกิดความเครียดทางกาย และจิตใจ จนอาจลุกลามเปนปญหาใหญโตเกิน
แกป ญหา

ข้นั ตอนการแกปญ หา แบง เปน 7 ขน้ั ตอน ดังนี้
1. ทาํ ความเขา ใจสถานการณท ี่เปนปญหา โดยรวบรวมขอ มูลทเ่ี ก่ยี วของ และทาํ

ความเขาใจกับเหตุการณ สถานการณนั้น
2. กําหนดปญหาใหถูกตองและชัดเจน อาจใชวิธีการเลาเรื่อง หรือการเขียน

บรรยายสภาพปญ หา ดว ยถอยคําส้นั ๆ และระบุเปาหมาย ที่ตองการใหเกิดภายหลัง จากท่ีได
แกไขปญหานน้ั แลว

3. วเิ คราะหสาเหตุสาํ คญั อาจจะใชว ิธีการตาง ๆ ประกอบดวย การตรวจหาสาเหตุ
การเลอื กสาเหตทุ สี่ ําคัญ ที่นํามาสูปญ หานัน้ และการระบสุ าเหตแุ ทจริงของปญหา

4. หาวิธีการแกปญหาใหไดมากที่สุด จากน้ันจึงวิเคราะหความเปนไปได และลด
จํานวนวธิ กี ารแกไ ขปญ หาจนคาดวา จะเหลอื วธิ ที ีเ่ กิดประสทิ ธิผลมากทีส่ ดุ

5. เลือกวิธีการแกไขปญหาท่ีดีท่ีสุด โดยการเปรียบเทียบทางเลือกของการแกไข
ปญหาทงั้ หมด แลว ประเมินและเลือกทางเลอื กท่ดี ีที่สดุ

6. การวางแผนการปฏบิ ตั ิ เปนการกําหนดไววาจะตองทําอะไรบาง แตละขั้นตอน
มีกระบวนการเพ่ือแกปญ หานัน้ อยางไร

7. ติดตามประเมินผล เปนการตรวจสอบความคืบหนาของการแกปญหา
อยางสม่ําเสมอเพื่อท่ีจะไดทราบวา มีปญหาและอุปสรรคใดบางท่ีแกไขไปแลว หรือยังคงอยู
และควรปรบั วธิ กี ารแกป ญ หา หรือไม อยา งไร

10

เทคนคิ ในการเรยี นรดู ว ยตนเอง

เทคนิคที่นยิ มใชในการเรียนรดู ว ยตนเอง เชน

1. การบันทกึ การเรยี นรู คือ บันทึกท่ีผูเรียนจัดทําข้ึนเพ่ือใชบันทึกขอมูล ความคิด
เร่ืองราวตาง ๆ ทีไ่ ดเรียนรู เพ่ือเปนแนวทางในการศึกษาเพ่ิมเติมใหกวางไกลออกไป หรือการ
นาํ ไปประยกุ ตใ ชในชีวติ ประจาํ วนั

2. การทํารายงาน เปนการนําขอมูลความรูที่ไดไปศึกษาคนความาวิเคราะห
สังเคราะหใหถูกตอง และเรียบเรียงอยางมีแบบแผน ความยาวของรายงานขึ้นอยูกับขอบเขต
ของหวั ขอ รายงาน

3. ทําสัญญาการเรียนรู เปนการทําขอตกลงท่ีผูเรียนไดทําไวกับครู วาเขาตอง
ปฏิบัติอยางไรบางในการเรียนรูของตนเอง เพื่อใหบรรลุเปาหมายการเรียนรูท่ีกําหนดไว
สาํ หรบั ครู สัญญาการเรยี นรู มไี วเพื่อติดตาม ตรวจสอบความกาวหนาการเรียนของผูเรียน

4. สรางหองสมุดของตนเอง เปนการรวบรวมรายชื่อ ขอมูลแหลงความรูตาง ๆ
ทค่ี ดิ วา จะเปน ประโยชนต รงกับความสนใจ เพ่อื ใชศ ึกษาคนควา ตอ ไป

5. หาแหลง ความรูในชุมชน ไวเปนแหลงคนควาหาความรูท่ีตองการ แหลงความรู
ในชุมชนมีหลายประเภท อาจเปนผูรู ผูชํานาญในอาชีพตาง ๆ หองสมุดประชาชน หองสมุด
โรงเรยี น ศนู ยก ารเรียนชุมชน เปน ตน

6. หาเพื่อนรวมเรียน หรือคหู ูเรียนรู ซง่ึ ควรเปน ผูท มี่ คี วามสนใจ ที่จะเรียนรูในเร่ือง
เดยี วกันหรอื คลา ยกนั และตอ งสามารถตดิ ตอ แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ประสานงานกันไดดวย
วิธกี ารตาง ๆ ไดอยา งสะดวก รวดเรว็

7. เรียนรูจากการฝกฝนและปฏิบัติจริง ซ่ึงจะกอใหเกิดความรูและประสบการณ
ทักษะความชํานาญที่เปนประโยชน โดยเฉพาะในรายวิชา หรือเรื่องท่ีผูเรียนมีจุดมุงหมายให
ตนเองทาํ ได ปฏิบัติได

11

เรอ่ื งที่ 4 ปจจัยทีท่ ําใหการเรยี นรดู ว ยตนเองประสบความสําเรจ็

ปจ จัยทเี่ ก่ยี วขอ งกับการเรียนรดู วยตนเอง ทีม่ สี ว นทาํ ใหการเรียนรดู วยตนเอง ประสบ
ความสําเรจ็ คอื ปจ จัยภายในตวั ผเู รยี น และปจ จัยภายนอก

ปจจยั ภายในตัวผูเรียน

ปจจยั ภายในตัวผเู รยี น ไดแ ก
1. แรงจูงใจในตัวผเู รียน เปน การเรยี นรูตามความสนใจ ความพอใจของตนเอง
2. การรับรูความสามารถของตนเอง มีผลตอความมั่นใจในตนเองวาสามารถ

เรยี นรไู ด
3. ความพรอมในการเรียนรูดวยตนเอง คนท่ีมีความพรอมในการเรียนรูจะมี

คณุ ลกั ษณะ 8 ประการ คอื
1) เปด โอกาส และแสวงหาโอกาสในการเรยี นรู
2) มีทศั นคตทิ ่ีดตี อ ตนเอง มคี วามเชื่อมัน่ วาตนเองเปน ผูท่ีมีศักยภาพ คือ เปนคน

มองวา ตนเองแสวงหาได เรียนรไู ดและแกปญ หาได
3) มีความคิดริเริม่ และเรียนรไู ดด ว ยตนเอง
4) มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบตอตนเอง รับผิดชอบตอการเรียนรูของ

ตนเอง
5) รักการเรยี น สนใจ ใฝรู ใฝเ รยี นตอ สิ่งท่อี ยูรอบตัวเสมอ คือ สนใจ ใหความใส

ใจกับเรื่องใหม ๆ เรอื่ งทีต่ นยังไมร ู หรอื รนู อ ย เปน ตน
6) มีความคิดเชิงบวก คิดริเริ่มสรางสรรค คือ คิดวาสิ่งที่ตนเองทําเปนเร่ืองท่ีดี

เปนสิ่งท่มี ปี ระโยชนตอตนเองและสังคม
7) สามารถใชทักษะการศึกษาหาความรู ไดอยางดี เชน ทกั ษะการอาน ทักษะการ

เรียน ทกั ษะการจดบันทกึ เปน ตน
8) สามารถใชทักษะการแกปญหาไดอยางดี เชน เม่ือเจอปญหาจะไมทอใจ

สามารถวิเคราะหปญหา สาเหตุของปญหา แสวงหาวิธีการ และดําเนินการแกปญหาไดอยาง
เปน ระบบ

12

4. มีเจตคติที่ดีตอการเรียนรูดวยตนเอง คือ เห็นวาการเรียนรูตลอดชีวิตเปนสิ่ง
สาํ คญั การเรียนรทู าํ ใหเ กดิ การพัฒนาปญญา และนําไปสกู ารพฒั นางาน พัฒนาคุณภาพชีวติ

ปจ จยั ภายนอก

1. บรรยากาศแวดลอมตัวผูเรียน จะตองเปนบรรยากาศที่เอื้ออํานวยตอการสราง
ความคิดรเิ ริ่มสรางสรรค และการเรยี นรู

1) ตัวบุคคล เชน ครูผูสอน เพ่ือน ครอบครัว ท่ีมีสวนชวยใหแรงจูงใจและการ
สนบั สนุนดา นตาง ๆ

2) ดานสังคม สิ่งแวดลอม เชน กลุม องคกรชุมชน นโยบาย หรือโครงการพัฒนา
ตา ง ๆ

2. การมแี หลง เรยี นรทู ่ีหลากหลาย มคี วามพรอมและสะดวกสําหรับการเรยี นรู
3. การมีเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีทันสมัย และมีจํานวนเพียงพอ สามารถเขาถึงและ
ใชไดสะดวกและรวดเรว็
อยางไรก็ตาม ความสําเร็จของการเรียนรูดวยตนเองน้ัน อยูท่ีตัวผูเรียนท่ีตองมีวินัย
ความมุงมัน่ และนสิ ยั ใฝเ รยี น ใฝรู

13

กิจกรรมทา ยบทท่ี 1

กจิ กรรมที่ 1

1. ใหผ เู รียนอธิบายความหมายของคําวา “การเรียนรูดว ยตนเอง”

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ใหผ เู รยี นอธิบายความสาํ คญั และความจําเปน ของการเรียนรดู ว ยตนเอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ใหผเู รียนบอกลักษณะการเรียนรูดวยตนเอง

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

14

4. ใหผูเรียนอธิบายองคป ระกอบของการเรยี นรูดว ยตนเอง อยา งนอ ย 3 ขอ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมที่ 2

ใหผ ูเรียนยกตัวอยา งการกําหนดเปาหมาย และการวางแผนการเรียนรูดว ยตนเอง
มา 1 รายวชิ า

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมที่ 3

ใหผเู รียนเลอื กใชท ักษะพ้ืนฐานที่ถนดั และดที สี่ ดุ สาํ หรบั ตนเองในการเรยี นรดู ว ยตนเอง
พรอ มยกตวั อยา ง

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

15

กจิ กรรมที่ 4
ใหผ ูเรียนบอกปจจัยท่ที ําใหการเรียนรูดวยตนเองประสบความสําเรจ็ และยกตวั อยางประกอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

16

บทที่ 2 การใชแ หลง เรยี นรู

ปจจุบันมคี วามรูใหมเ กิดขึ้นตลอดเวลา มนุษยจึงจําเปนตองเรียนรูสิ่งใหม ๆ ท่ีเกิดขึ้น
เพอ่ื ใหสามารถปรับตวั และดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข โดยเฉพาะการเรียนรูจากส่ิงแวดลอม
ในชมุ ชน จะเปนแหลง ใหความรู และประสบการณทเี่ อ้อื ตอการเรยี นรู

เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของแหลง เรยี นรู

ความหมายของแหลงเรยี นรู

แหลงเรียนรู หมายถึง สถานที่ แหลงขาวสารขอมูล สารสนเทศ แหลงความรูทาง
วิทยาการ ภูมปิ ญญาชาวบาน และประสบการณ ทีส่ นับสนุนสง เสริม ใหผเู รยี นเกิดการเรยี นรู

ความสาํ คัญของแหลง เรียนรู

แหลงเรียนรูมีความสาํ คญั ดังตอไปน้ี
1. เปน แหลง ที่มีสาระเน้อื หา ทเ่ี ปนขอมูลความรู ใหมนุษยเกิดโลกทัศนท่ีกวางไกล

กวาเดิม
2. เปนส่ือการเรียนรูสมัยใหม ท่ีใหท้ังสาระ ความรู กอใหเกิดทักษะ และชวยให

เกดิ การเรียนรไู ดเ รว็ และมากย่งิ ขนึ้
3. เปนแหลงชวยเสริมการเรียนรูของการศึกษาประเภทตาง ๆ ทั้งการศึกษา

ในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั
4. เปนแหลง การเรียนรูตลอดชวี ิต ทบี่ ุคคลทุกเพศ ทกุ วัย ทุกระดบั ความรู สามารถ

เรียนรไู ดดว ยตนเองตลอดเวลา

17

5. เปนแหลงที่มนุษยสามารถเขาไปปฏิสัมพันธ ในการหาความรูจากแหลงกําเนิด
หรือแหลงตนตอของความรู เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ พันธุไม พันธุสัตว สภาพชีวิตความ
เปน อยูตามธรรมชาติ ของสัตว เปนตน

6. เปนแหลงที่มนุษยสามารถเขาไปปฏิสัมพันธ ใหเกิดประสบการณตรง หรือลง
มือปฏิบตั ิไดจริง เชน การประดิษฐเครื่องใชตาง ๆ การซอมเครื่องยนต เปนตน ชวยกระตุนให
เกิดการสนใจ ความใฝร ู

7. เปนแหลงท่ีมนุษยสามารถเขาไปปฏิสัมพันธ ใหเกิดความรูเกี่ยวกับวิทยาการ
ใหม ๆ ทไี่ ดรบั การคิดคน ขึ้น และยังไมมีของจริงใหเห็น เชน การดูภาพยนตร วีดิทัศน หรือสื่อ
อ่นื ๆ ในเรอ่ื งเกีย่ วกบั การประดษิ ฐคิดคนสงิ่ ตา ง ๆ ขึ้นมาใหม

8. เปนแหลง สงเสริมความสมั พนั ธอ นั ดี ระหวางคนในทองถ่ินกับผูศึกษา ในการทํา
กจิ กรรมรว มกัน ชว ยสรา งความรสู กึ วา เปนสวนหนึ่งของการมีสว นรวม เกิดความตระหนัก และ
เห็นคุณคาของแหลง เรยี นรู

9. เปน สิ่งที่ชวยเปลี่ยนทัศนคติ คานิยม ใหเกิดการยอมรับส่ิงใหม แนวความคิดใหม
เกดิ จินตนาการ และความคดิ สรา งสรรคก บั ผูเรยี น

10. เปน การประหยัดเงนิ ของผเู รยี น หากใชแหลง เรียนรูของชุมชนใหเกิดประโยชน
สงู สุด

ประเภทของแหลง เรียนรู

1. ประเภทของแหลง เรยี นรู แบง ตามลักษณะกายภาพและวตั ถปุ ระสงค เปน 5 กลมุ
ดงั น้ี

1) กลุมบริการขอมูล ไดแก หองสมุด อุทยานวิทยาศาสตร ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อ
การศึกษา ศนู ยก ารเรียน สถานประกอบการ

2) กลมุ งานศิลปวฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร ไดแก พิพิธภัณฑ อุทยานประวัติศาสตร
อนสุ รณสถาน อนสุ าวรยี  ศูนยวฒั นธรรม หอศลิ ป ศาสนสถาน

3) กลุมขอมูลทองถิ่น ไดแก ภูมิปญญา ปราชญชาวบาน ส่ือพ้ืนบาน แหลง
ทองเทยี่ ว

4) กลุมส่ือ ไดแก วิทยุ วิทยุชุมชน หอกระจายขาว โทรทัศน เคเบิลทีวี
สื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ สอนิ เทอรเ นต็ หนงั สอื อิเลก็ ทรอนกิ ส (e-book)

18

5) กลุมสันทนาการ ไดแก ศูนยกีฬา สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร
ศูนยนันทนาการ

2. ประเภทของแหลงเรียนรู จาํ แนกตามลักษณะ มี 6 ประเภท ดงั น้ี

1) แหลงเรียนรูประเภทบุคคล หมายถึง บุคคลที่มีความรู ความสามารถ ในดาน
ตาง ๆ ท่ีสามารถถายทอดความรู ท่ีตนมีอยูใหผูสนใจ หรือผูตองการเรียนรู ไดแก บุคคลที่มี
ทักษะ ความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพตาง ๆ รวมทั้งผูอาวุโส ท่ีมีประสบการณ พัฒนาเปน
ภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ ปราชญชาวบาน ภมู ปิ ญ ญาชาวบาน และภมู ิปญญาไทย

2) แหลง เรียนรูป ระเภทธรรมชาติ หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนตามธรรมชาติ และ
ใหประโยชนต อมนุษย เชน ดิน นาํ้ อากาศ พืช สัตว ปา ไม แรธ าตุ เปน ตน แหลงเรียนรูประเภท
น้ี เชน อุทยาน วนอุทยาน เขตรักษาพันธุสัตวปา สวนพฤกษศาสตร ศูนยศึกษาธรรมชาติ
เปนตน

3) แหลง เรียนรปู ระเภทวัตถแุ ละสถานท่ี หมายถงึ อาคาร สิ่งกอสราง วัสดุอุปกรณ
และ ส่ิงตาง ๆ เชน หองสมุด ศาสนสถาน ศูนยการเรียน พิพิธภัณฑ สถานประกอบการ
ตลาด นิทรรศการ สถานท่ีทางประวัตศิ าสตร เปน ตน

4) แหลงเรียนรูประเภทส่ือ หมายถึง ส่ิงที่ติดตอใหถึงกัน หรือชักนําใหรูจักกัน
ทําหนาที่เปนสื่อกลางในการถายทอดเน้ือหา ความรู ทักษะและเจตคติ ไปสูทุกพ้ืนท่ีของโลก
อยางท่วั ถึง และตอเน่ือง ทง้ั ส่ือส่งิ พิมพ และสื่ออเิ ล็กทรอนิกส ทม่ี ที ้ังภาพและเสยี ง

5) แหลงเรียนรูประเภทเทคนิค ส่ิงประดิษฐคิดคน หมายถึง สิ่งที่แสดงถึง
ความกาวหนาทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมดานตาง ๆ ซ่ึงเปนสิ่งประดิษฐคิดคน หรือทําการ
พัฒนาปรับปรุง ชวยใหมนุษยเรียนรูถึงความกาวหนา เกิดจินตนาการ แรงบันดาลใจในการ
สรา งสรรคทั้งความคิด และสิ่งประดษิ ฐตา ง ๆ

6) แหลงเรียนรปู ระเภทกจิ กรรม หมายถึง การปฏิบัติการดานวัฒนธรรม ประเพณี
ตา ง ๆ การปฏิบตั งิ านของหนวยราชการ ตลอดจนความเคลื่อนไหว เพอ่ื แกป ญ หา และปรับปรุง
พฒั นาสภาพตา ง ๆ ในทองถิน่ การเขา ไปมสี วนรวมในกิจกรรมตาง ๆ เหลานี้ จะทําใหเกิดการ
เรียนรูท่ีเปนรูปธรรม เชน ประเพณีงานทอดกฐิน งานบุญ การรณรงคปองกันยาเสพติด
การสงเสรมิ การเลอื กตงั้ ตามระบอบประชาธิปไตย การรณรงคความปลอดภัยของเด็กและสตรี
ในทองถ่นิ เปน ตน

19

เรือ่ งที่ 2 การเขา ถงึ และการเลอื กใชแหลงเรยี นรู

การเขาถงึ และการเลอื กใชแหลง เรยี นรู

แหลงเรียนรูรอบตัวเรามีหลากหลายประเภท การที่จะเขาถึงแหลงเรียนรูตามที่
ตอ งการ และนาํ ความรูไปปฏิบัติ เพื่อประโยชนของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ผูเรียนตอง
ทราบความตองการของตนเองกอ น เปนอนั ดบั แรก

1. เลือกใชแหลงเรียนรูท่ีอยูใกลบาน และชุมชนกอน เพ่ือประหยัดคาใชจายและ
เวลาที่ใช ในการเดินทาง นอกจากน้ี แหลงเรียนรูในชุมชนใหความรูเก่ียวของกับวิถีชีวิต
มากกวาแหลง เรยี นรูท่วั ไป

2. ควรศกึ ษาการดาํ เนินงานของแหลงเรียนรนู ัน้ ๆ ดังน้ี
1) องคค วามรูทีม่ ีในแหลงเรียนรนู ั้น คอื อะไร
2) กลุมเปาหมายของแหลง เรยี นรู คอื ใคร
3) รูปแบบ เทคนคิ วิธกี ารในการจัดการเรียนรู มีวิธกี ารอยา งไร
4) แหลง เรียนรนู ัน้ ดําเนินการโดยมีวัตถุประสงค เพื่ออะไร
5) อ่นื ๆ เชน คา ใชจาย คาธรรมเนยี มการใชแ หลงเรียนรู กฎเกณฑ ระเบยี บ

ในการใชแ หลงเรียนรู เปนตน
3. ควรศึกษาขอดี ขอ เสยี ขอจาํ กดั ของแหลงเรียนรปู ระเภทตา ง ๆ
4. ควรวางแผนการเรยี นรู หรอื วางแผนการใชแหลง เรียนรู ดังน้ี
1) วางแผนการเดนิ ทาง กรณีแหลง เรียนรอู ยูไกล
2) วางแผนเตรียมการ เรื่องวัสดุ เคร่ืองมือ อุปกรณการเรียนรู เชน ดินสอ

ปากกา กลองถายรูป เทปบันทกึ เสยี ง เปน ตน
5. ควรพัฒนาทักษะในการใชสื่อการเรยี นรูป ระเภทตาง ๆ เน่ืองจากปจจุบัน มีการ

ใชสื่อท่ีหลากหลายข้ึน นอกจากครูผูสอนและหนังสือแลว ยังมีสื่อประเภทอ่ืน ๆ อีก เชน
สอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส คอมพิวเตอร อนิ เทอรเ นต็

6. ควรเรยี นรูแบบบูรณาการความรทู ่เี ก่ียวของตาง ๆ เขากับความรูที่ไดจากแหลง
เรยี นรู

20

7. ควรจดบนั ทกึ เกบ็ รวบรวมขอมลู สื่อการเรยี นรู แลว นาํ มาจัดหมวดหมูอยางเปน
ระบบ

8. ควรสรุปองคความรู ที่ไดจากการเรียนรูในแหลงเรียนรู และประเมินตนเองวา
ตรงกับวัตถปุ ระสงคที่ต้งั ไวห รอื ไม

ประโยชนข องแหลง เรียนรู

การเรียนการสอนโดยใชแหลงเรยี นรู มีประโยชนห ลายดาน ดังนี้
1. เปนแหลงรวมขององคความรูอันหลากหลาย พรอมจะใหผูเรียนเขาไปศึกษา

คนควาดวยกระบวนการจดั การเรียนรู ที่แตกตางกันของแตละบุคคล และเปนการสงเสริมการ
เรียนรูตลอดชวี ติ

2. เปน แหลง เชอ่ื มโยงใหสถานศกึ ษา และชมุ ชนมคี วามสัมพนั ธแ ละใกลชดิ กัน
ทําใหคนในชุมชนมสี วนรวมจดั การศกึ ษาแกบตุ รหลานของตน

3. เปนแหลงเรียนรูท่ีทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีความสุข เกิดความ
สนกุ สนาน และมีความสนใจทจ่ี ะเรียน ไมเกดิ ความเบ่ือหนาย

4. ทําใหผ เู รยี นเกิดการเรียนรจู ากการไดคิด ไดปฏิบัติ และสรางความรูดวยตนเอง
ขณะเดียวกัน ก็สามารถเขา รว มกิจกรรมและทํางานรว มกบั ผูอื่นได

5. ทําใหผ เู รยี นไดรบั การปลูกฝงใหรู และรักทองถิน่ ของตนเอง มองเห็นคุณคาและ
ตระหนักถึงปญหาในชุมชนของตน พรอมที่จะเปนสมาชิกที่ดีของชุมชนทั้งในปจจุบันและ
อนาคต

21

เรอื่ งท่ี 3 บทบาทหนาทแี่ ละการบรกิ ารของแหลง เรยี นรู

บทบาทและหนา ทข่ี องหอ งสมุด

หองสมดุ ประชาชน มบี ทบาทหนา ที่และบริการ ดงั น้ี
1. บทบาทและหนาทีท่ างการศกึ ษา หองสมดุ ประชาชนเปน แหลง ใหก ารศึกษานอก

ระบบโรงเรยี น มหี นาท่ีใหก ารศกึ ษาแกประชาชนท่วั ไป ทุกระดบั การศกึ ษา
2. บทบาทและหนาที่ทางวัฒนธรรม หองสมุดประชาชนเปนแหลงสะสมมรดกทาง

ปญ ญาของมนษุ ย ถายทอดเปน วัฒนธรรมทอ งถิ่นท่หี องสมุดตง้ั อยู
3. บทบาทและหนาที่ทางสังคม หองสมุดประชาชนเปนสถาบันสังคม ไดรับเงิน

อุดหนุนจากรัฐบาลและทอ งถิ่นมาดาํ เนินกิจกรรม จึงมหี นา ท่แี สวงหาขาวสารขอมูล ที่มีประโยชน
มาบริการประชาชน

4. สวนการใหบริการ หองสมุดประชาชนใหบริการภายในหองสมุดและภายนอก
หองสมุด บริการทสี่ ําคัญมี ดงั น้ี

1) บรกิ ารอาน เปนบริการ เพื่อใหผูใชไดคนควา หาความรูภายในหองสมุด จาก
วสั ดุหอ งสมุดทุกชนดิ ตามความตอ งการ และความสนใจของแตละคน โดยการอาน ดู และฟง

2) บรกิ ารยืม – คืน คือ การอนุญาตใหผูใช ท่ีเปนสมาชิกของหองสมุด ยืมวัสดุ
ออกจากหอ งสมุดได ตามระเบยี บการใหบรกิ ารยืม - คนื ที่หองสมดุ ไดกาํ หนดไว

3) บริการหนงั สืออางองิ
4) บริการเอกสารสนเทศ หรือบริการตอบคําถามและชวยคนควา มีทั้งบริการ
ตอบคาํ ถาม ทั่ว ๆ ไป และคําถามวิชาการทีต่ องใชเวลาคนควา
5) บริการใหข อ มูลเก่ียวกับเอกสารการวิจัย หรือบรรณานุกรม ประกอบหลักสูตร
การศึกษาพน้ื ฐานและการศกึ ษาอ่ืน ๆ
6) บริการสอนการใชหองสมุด ฝกปฏิบัติงานเก่ียวกับการใชหองสมุดแกนักเรียน
นักศกึ ษาและผูสนใจทัว่ ไป
7) บริการสบื คนสารนเิ ทศ คือ การสบื คน ขอมูล ขาวสาร ขอเท็จจริงตาง ๆ อยาง
ละเอียดลึกซ้ึง โดยมุงเนนใหผูใชไดรับสารนิเทศอยางสะดวก ถูกตอง รวดเร็ว ตามความตองการ
โดยการสบื คน ขอ มลู ภายในหอ งสมุด หรอื สืบคน ขอมูลแบบออนไลน

22

8) บริการหองสมุดเคลื่อนท่ี (Mobile Library Service) คือ การจัดทําหองสมุด
เคลือ่ นที่ไปใหบรกิ ารตามสถานท่ีตาง ๆ หรอื ทองถิ่นหางไกล ที่ประชาชนมาใชหองสมุดไมสะดวก
เปนการใหบรกิ ารภายนอกหองสมุด

เรือ่ งที่ 4 กฎ กตกิ า เง่ือนไขตาง ๆ ในการขอใชบ รกิ ารแหลง เรียนรู

แหลงเรียนรูตาง ๆ ไมวาจะเปนศูนยการเรียนรูชุมชน หรือหองสมุด เปนหนวยงาน
บริการที่เก่ียวของกับผูใชจํานวนมาก ดังน้ัน เพื่อใหเกิดความเปนธรรมแกผูรับบริการ แหลง
เรียนรูจึงตองมีระเบียบ เพื่อใหทุกคนปฏิบัติ อันจะทําใหเกิดความเสมอภาค ในขณะเดียวกัน
ผูรับบริการก็จะตองมีมารยาทใหเกียรติแกสถานที่ดวย มารยาทในการใชแหลงเรียนรู จึงเปน
ส่ิงจําเปน ท่ีจะตองไดรับความรวมมือจากผูเขาใชบริการ เพ่ือใหบรรยากาศในแหลงเรียนรูมี
ความเรียบรอย นาเขา ใชบริการ

ระเบยี บและมารยาทการใชแหลง เรียนรู หมายถงึ ขอ บังคับใหปฏิบัติ หรอื ขอพึงปฏิบัติ
ซึ่งเกิดจากจิตสํานึกท่ีดี ในการปฏิบัติตนของผูใชบริการ เพื่อความสงบ เรียบรอย เมื่อเขาใช
บริการ

กฎ กตกิ า การเขาใชบ รกิ ารหอ งสมดุ มีขอควรปฏิบัติ ดงั น้ี
1. สมคั รเปนสมาชิกหองสมุดประชาชน โดยไมเสียคาใชจาย และนําบัตรประจําตัวไป

ดว ยทกุ ครัง้
2. แตงกายสภุ าพเรยี บรอย
3. ไมควรคุยหรอื สงเสียงดงั ในหองสมดุ
4. ใชหองสมุดเพ่ือการศึกษา คนควาอยางแทจริง หามใชเพื่อการอื่น เชน

รับประทานอาหาร นอนหลบั หรอื ทํากิจกรรมกลุมโดยไมไ ดรบั อนญุ าต เปนตน
5. ไมค วรนาํ กระเปา หรือสมั ภาระเขา ไปในหอ งสมดุ
6. กอนนําหนังสือออกจากหองสมุด ตองใหเจาหนาท่ีตรวจหลักฐานการยืมกอน

ทกุ ครัง้
7. หนังสือท่อี า น หรือใชแลว ใหนาํ ไปเกบ็ บนชนั้ พกั หนงั สือ ท่เี ตรยี มไวใ ห
8. เมื่อลุกจากที่นงั่ อา นหนงั สอื ควรเลอ่ื นเกา อ้ีเกบ็ ใหเ รียบรอ ย

23

เร่ืองที่ 5 ทกั ษะการใชขอมูลสารสนเทศจากหอ งสมดุ ประชาชน

หอ งสมดุ เปน แหลงรวบรวมความรู ทุกประเภท ทุกแขนง เปน ขมุ ทรพั ยแ หงความรู ท่ีมี
คุณคา มหาศาล ผทู ีใ่ ชหอ งสมดุ เปน ประจาํ จะเปน คนทมี่ คี วามรอบรู ในเร่ืองตาง ๆ ท่ีลึกซ้ึงและ
กวางไกลทันเหตุการณ หอ งสมดุ ยงั ชวยปลูกฝงนิสัยรักการอาน เกิดทกั ษะในการแสวงหาความรู
ดว ยตนเอง ทาํ ใหเ ปน บคุ คลแหงการเรียนรู

อยางไรกต็ าม แมว าจะใชห อ งสมดุ เปน ประจาํ มกี ารสืบคนขอมูลตาง ๆ อยูเสมอ ก็จะ
ไมไดประโยชนอยางเต็มท่ี หากผูสืบคนไมมีระบบจัดเก็บขอมูล ไมมีการนําขอมูลเหลาน้ันมา
นําเสนอในรูปแบบ ท่ีเรียกกันวา รายงาน
การเตรียมตวั กอ นไปหองสมุด

กอนไปใชบ ริการหอ งสมุด ควรเตรยี มตัว ดังน้ี
1. วางแผนการใชเวลาของตนเอง
2. เตรียมปากกา สมุดจดขอมลู
3. เตรียมประเด็นความรูที่ตองการ
4. เตรยี มบัตรประชาชน บัตรสมาชิกหอ งสมุดไปดวย

การเรยี นรูในหอ งสมุด

การเรยี นรูในหองสมุด ควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้
1. ปฏิบตั ติ นตามระเบียบของหอ งสมุด และมมี ารยาทในการใชห อ งสมุด
2. เลือกหนังสือที่ตองการ หากไมทราบวาอยูที่ใด ใหถามบรรณารักษ หรือ

เจา หนา ท่ีหองสมุด
3. จดบนั ทึกความรูท ีไ่ ด
4. จดชื่อหนังสือ ช่ือผูแตงหนังสือ ป พ.ศ. ที่พิมพ สถานท่ีพิมพ จํานวนหนา

เลขหนาท่อี าน เพอ่ื ใชอางอิงความรู

24

วธิ ีการสบื คน ขอมูลสารสนเทศจากหอ งสมุด

การเขา ถึงขอมูลรวมของส่อื ตา ง ๆ ทีใ่ หบริการในหองสมุด สามารถสืบคนได 2 วิธี คือ
การสืบคนดว ยคอมพวิ เตอร การสืบคนดวยตบู ัตรรายการ

1. การสืบคนดวยคอมพิวเตอร หองสมุดประชาชนจัดเครื่องคอมพิวเตอรไวบริการ
สืบคน ส่อื ท่ตี องการและสนใจ โดยใชโปรแกรมบริการงานหองสมุด หรือ PLS (Public Library
Service) ที่สามารถคนหาไดจากชื่อหนังสือ/ส่ือ ช่ือผูแตงหรือผูจัดทํา และหัวเรื่อง หรือคํา
สําคญั ทเี่ ปน สาระหลักของส่อื

การเตรยี มตวั กอนการคน หา
1. ผูคนตองทราบวาตนเอง ตองการคนหาขอมูลเกี่ยวกับเรื่องใด และตองมี

ขอมูลประกอบในการคนหา เชน ชื่อผูแตง ช่ือสิ่งพิมพ หากไมรูช่ือผูแตง ช่ือสิ่งพิมพ
ควรกําหนดคาํ คนหรอื หัวเร่ืองท่จี ะใชค น หา เปนตน

2. ตองรูจ กั วิธีการใชฐานขอมลู หรือเครื่องมือท่ีใชคนหา และรูจักวิธีการจัดการ
ผลลัพธ เชน การบนั ทกึ การสง่ั พิมพ การสงขอ มลู ทาง E-mail การจัดการรายการบรรณานุกรม
เปนตน

3. ตองรูจักวิธีการใชหองสมุดและการหาหนังสือบนชั้น ผูคนตองรูวิธีการใช
หองสมุด

4. เรียนรู กฎ กติกา มารยาทในการใชแหลงสารสนเทศ ฐานขอมูล หรือ
เครื่องมือคนหา เน่อื งจากปจ จุบนั มีผใู ชบรกิ ารบางสวน ยังใชห องสมดุ ไมเปน ไมรจู กั ระเบียบฯ

วธิ ีการสืบคน ขอมูลโดยท่ัวไป
เปน การคนหาสารสนเทศอยางงาย ๆ ไมซบั ซอน โดยใชค ําโดด ๆ หรือผสมเพียง

1 คํา สบื คน ขอมลู โดยสว นใหญการคน หาแบบงายจะมีทางเลือกในการคน หา ไดแ ก
1. ชื่อผูแตง เปนการคนหาโดยใชชื่อของบุคคล กลุมบุคคล หรือชื่อหนวยงาน/

องคกรท่ีเปนผแู ตง หรือเขยี นหนังสอื บทความ งานวิจัย วทิ ยานิพนธ หรอื ทรัพยากรสารสนเทศ
นนั้ ๆ ซ่งึ มหี ลกั การคน หางาย ๆ ดงั นี้

ชอื่ ผแู ตงคนไทย เปนการคน หาชอ่ื บคุ คล ใหตัดคํานําหนาชื่อออก หรือหาก
เปนบุคคลที่มีบรรดาศักดิ์หรือฐานันดรศักดิ์ ใหคนดวยชื่อ และตอทายดวยบรรดาศักดิ์หรือ
ฐานันดรศกั ด์ิ เชน

ชอ่ื ออก) 25

- นางสาวอษุ า เทียนทอง ช่อื ที่ใชคน อษุ า เทียนทอง (ใหตัดคํานําหนา

- ม.ร.ว. คกึ ฤทธิ์ ปราโมช ชือ่ ที่ใชค น คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.
(ใหเอาบรรดาศกั ด์ิ หรอื ฐานันดรศักดิ์ มาตอทา ยชือ่ )

ผแู ตง ที่เปนหนว ยงาน/องคก ร ใหคน หาตามช่ือหนว ยงาน หรือชื่อองคกรนั้น
เชน การคนหาช่ือหนวยงาน ท่ีมีท้ังหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหคนหาโดยใชชื่อ
หนวยงานใหญก อน แลวตามดว ยช่อื หนวยงานยอย ถา เปน ช่อื ยอ เม่อื คน หาใหใ ชช ื่อเตม็ เชน

- สาํ นกั วิทยบรกิ าร มหาวิทยาลยั ขอนแกน ชื่อท่ีใชคน คอื
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน. สาํ นักวิทยบรกิ าร

- ททท. ช่ือท่ีใชคน คอื การทอ งเท่ียวแหง ประเทศไทย
2. ชื่อเรื่อง เปนการคนหาขอมูล ดวยช่ือเร่ือง เชน ช่ือหนังสือ นวนิยาย ชื่อ
งานวิจัย การคนโดยใชชื่อเร่ืองนี้ เปนการคนหาแบบเจาะจง ดังน้ัน ผูคนตองรูจักช่ือเรื่อง เชน
เร่ือง การดูแลสุขภาพผูสงู อายุ อินเทอรเน็ตสําหรับผเู ริ่มตน เปนตน
3. คําสําคัญ เปนการคนหาดวยคํา หรือวลีที่กําหนดข้ึนมา เพื่อใชแทนเรื่องที่
ตองการคนหา โดยทั่วไปคําสําคัญจะมีลักษณะ ส้ัน กะทัดรัด ไดใจความ มีความหมาย
เปนคาํ นามหรือเปน ศพั ทเฉพาะในแตล ะสาขาวิชา เชน

หนังสือ เร่ือง สมุนไพรในอุทยานแหงชาติภาคใต คําสําคัญท่ีใชคน ไดแก
“สมุนไพร”หรือ “อุทยานแหง ชาติ” หรือ “ภาคใต”

2. การสืบคนดวยตูบัตรรายการ โดยหองสมุดประชาชนจัดทําบัตรรายการของสื่อ
ความรูทุกประเภท ทุกชนิด ลงในบัตรรายการใสไวในล้ินชักของตูบัตรรายการ โดยจัดแยกเปน
หมวดหมูไว ระบบหมวดหมูท่ีใชกันมาก คือ ระบบทศนิยม ดิวอ้ี ซ่ึงมีการจัดหมวดหมูหนังสือ
ดังน้ี

000 เบด็ เตล็ดหรอื ความรทู ่ัวไป
100 ปรัชญา
200 ศาสนา
300 สงั คมศาสตร
400 ภาษาศาสตร
500 วทิ ยาศาสตร

26

600 วทิ ยาศาสตรป ระยุกตแ ละเทคโนโลยี
700 ศลิ ปกรรมและการบันเทงิ
800 วรรณคดี
900 ประวตั ิศาสตรและภูมศิ าสตร

กิจกรรมทายบทท่ี 2

1. ใหผเู รียนสํารวจ และศกึ ษาแหลง เรียนรทู ่ีมใี นชุมชน (ตาํ บล/อําเภอ) ของผูเ รยี น
แลวสรุปความรูทีไ่ ดจากแหลงเรยี นรูนน้ั ๆ

ท่ี ชอื่ แหลง เรียนรู ประเภทแหลง เรียนรู ความรูท่ีไดจากแหลง เรียนรู

1

2

3

4

27

2. ใหผ เู รียนบอกกฎ กติกาการใชหอ งสมุดประชาชน และแหลงเรยี นรอู ืน่ ๆ อยางนอ ย 4 ขอ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. ใหผ เู รยี นบอกประเภทของแหลงเรียนรู และขอแตกตา งของแหลงเรยี นรูแ ตล ะประเภท
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. ใหผ เู รยี นยกตวั อยา ง ประเภทของแหลงเรยี นรูทเ่ี กย่ี วของกับอาชพี ในชุมชนของตน

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

28

บทท่ี 3 การจัดการความรู

ในปจจุบันและอนาคต โลกปรับตัว เขาสูการเปนสังคมแหงการเรียนรู ซ่ึงความรู
กลายเปนปจจัยสําคัญ ในการพัฒนาคน ทําใหคนสามารถ แสวงหาความรู พัฒนาและสราง
องคความรูอยางตอเนื่อง เพ่ือนําพาตนเอง สูความสําเร็จ การจัดการความรู จึงมีลักษณะ
กิจกรรมเปนวงจรเรียนรู ตอ เนอ่ื งสม่ําเสมอ เปาหมายการจัดการความรูคือ การพัฒนางาน และ
พฒั นาคน

เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญ และหลักการของการจัดการความรู

ความหมายของการจัดการความรู

การจัดการความรู (Knowledge Management) หมายถึง การจัดการกับความรู
ประสบการณ ทีม่ อี ยูใ นตัวคน และนาํ ความรูม าแบง ปน ใหเกิดประโยชนตอตนเองและองคกร
ดว ยการผสมผสานความสามารถของคนเขาดวยกันอยางเหมาะสม มีเปาหมายเพื่อการพัฒนา
งาน พัฒนาคน และพฒั นาองคก รใหเ ปนองคกรแหงการเรียนรู

ความสําคัญของการจัดการความรู

การจดั การความรทู ี่มีอยูในตัวบุคคล โดยเฉพาะบคุ คลทมี่ ีประสบการณในการปฏิบัติงาน
จนประสบผลสําเร็จ กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหวางคนกับคน หรือกลุมกับกลุม
จะกอใหเกิดการยกระดับความรู ท่ีสงผลตอเปาหมายของการทํางาน น่ันคือ เกิดการพัฒนา
ประสิทธิภาพของงาน คนเกิดการพัฒนาและสงผลตอเนื่องไปถึงองคกร เปนองคกรแหงการ
เรียนรู

29

หลกั การของการจดั การความรู

การจดั การความรเู พอื่ ใหบ รรลุเปา หมายเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนง่ึ มหี ลกั การสําคญั 4 ประการ คอื
1. ใหคนหลากหลาย ทง้ั ดา นทักษะ วธิ ีคิด มาทาํ งานรวมกันอยางสรางสรรค
2. รวมกนั พฒั นาวิธีการทํางานรูปแบบใหม ๆ
3. ทดลองและเรียนรู เพือ่ ใหไ ดว ิธกี ารทาํ งานแบบใหม
4. นาํ เขาความรูจากภายนอกอยางเหมาะสม โดยผนวกกับความรเู ดมิ เปน ความรู

ใหมท ่ตี นเองตอ งการ

เรอื่ งที่ 2 กระบวนการจดั การความรู

กระบวนการจัดการความรู เปนกระบวนการแบบหน่ึง ท่ีจะชวยใหองคกรเขาใจถึง
ขั้นตอนท่ที าํ ใหก ารจัดการความรู หรอื พฒั นาการของความรู ที่จะเกดิ ข้ึนภายในองคกร

รูปแบบการจัดการความรู

การจดั การความรูมี 2 รปู แบบ คือ รปู แบบปลาทู และรปู แบบปลาตะเพียน
1. รูปแบบปลาทู (โมเดลปลาท)ู ประกอบดว ย การจัดการความรู 3 สวน คือ สวน

หวั เปนการกําหนดเปาหมายท่ีชัดเจน สวนตัว เปนการแลกเปลี่ยนเรียนรู และสวนหาง เปน
ความรทู ่ีไดจ ากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู

2. รปู แบบปลาตะเพยี น (โมเดลปลาตะเพียน) เปน การจดั การความรูของกลุมหรือ
องคกร ปลาตัวใหญ เสมือนวิสัยทัศน พันธกิจขององคกร ปลาตัวเล็กท้ังหลาย เสมือน
เปาหมายของการจดั การความรู ท่ีมุงตอบสนองเปา หมายใหญขององคกร ซง่ึ มที ิศทางเดยี วกัน

กระบวนการจดั การความรูดว ยการปฏบิ ตั ิการกลมุ

กระบวนการจัดการความรูในองคก ร มี 7 ข้ันตอน ดังน้ี
1. การบง ช้คี วามรู เปนการพิจารณาวา เปา หมายการทาํ งานคอื อะไร
2. การสรางและแสวงหาความรู เปนการจดั บรรยากาศ และวฒั นธรรมเพื่อเอ้ือให

แลกเปลี่ยนเรยี นรูซึง่ กันและกัน

30

3. การจดั ความรใู หเ ปนระบบ เปนการจัดทําสารบัญ และจัดเก็บความรู เพ่ือให
นํามาใช ไดงา ย และรวดเรว็

4. การประมวลและกล่นั กรองความรู เปน การปรบั ปรุงความรู ใหอานแลวเขาใจ
งา ย

5. การเขาถึงความรู เปนการเผยแพรความรู เพื่อใหผูอื่นเขามาใชงานไดงาย
สะดวก เชน เวบ็ บอรด จดั บอรด เปนตน

6. การแบงปนแลกเปล่ียนความรู หากเปนความรูเดนชัด อาจทําเปนเอกสาร
สาํ หรบั ความรูทฝ่ี ง ลกึ อาจทําในลกั ษณะเปน ชมุ ชนแหงการเรียนรู

7. การเรียนรู การเรียนรูของบุคคลทําใหเกิดความรูใหม ๆ ซ่ึงจะไปเพ่ิมองค
ความรูขององคกรใหมากขึ้นเรือ่ ย ๆ เปน วงจรแหง การเรียนรู

เรอ่ื งที่ 3 กระบวนการจดั การความรูดว ยตนเอง

ทักษะในการจดั การความรดู ว ยตนเอง

การเรียนรูเพ่ือใหเกิดการจัดการความรูดวยตนเอง ตองเริ่มจากการคิด แลวลงมือ
ปฏิบัติ การปฏิบัติจะทําใหจดจําไดแมนยํากวา และมีการบันทึกความรูระหวางปฏิบัติไวใช
ทบทวน หรือใหผูอ่ืนนําไปปฏิบัติตามได ขั้นสุดทาย ใหยอนกลับไปทบทวนกระบวนเรียนรู
เพอื่ ตรวจหาจุดบกพรอ งและปรบั ปรุง พฒั นาจดุ บกพรอ งน้ันใหได

ทักษะในการจัดการความรูดวยตนเอง สามารถฝกได ดงั นี้
1. ฝก สงั เกต เพ่อื เขา ใจเหตกุ ารณ
2. ฝก ต้งั คําถาม ดวยคําถามวา ทาํ ไม อยา งไร เพื่อหาคําตอบเอง หรือใหผ ูอื่นตอบ

จะทําใหไดข ยายความคดิ ความรู ใหล กึ และกวางขึน้
3. ฝกแสวงหาคําตอบ และรูแ หลงขอมูลท่จี ะคนควา
4. ฝกบันทึก เพ่อื การเขาใจของตนเอง และใหผูอ่ืนเรียนรูได ท้ังท่ีบันทึกเปนภาพ

จดบันทึก หรอื บนั ทกึ แบบอ่ืน ๆ
5. ฝก การเขียน เพอ่ื เปน งานเขยี น (เอกสาร) สําหรับใหผูอื่นศึกษา กระจายไปใน

วงกวาง

31

ตัวอยา งการจดั การความรดู วยตนเองของพอ จนั ทรท ี ประทุมภา

กระบวนการ คําอธบิ าย ตัวอยา งการปฏบิ ตั ิ

1. ความรหู ลักที่ เปนการกําหนดความรูหลัก พอจันทรที ประทมุ ภา มปี ญหาการทําเกษตร
จาํ เปน ตองาน/ เปน การคนหาความรู เพ่ือ เชงิ เด่ยี ว จงึ คดิ หาทางทาํ เกษตรแนวอื่น แลว หา
กิจกรรม แกป ญ หาและพฒั นาตนเอง ความรูหลกั เรอื่ ง การทาํ เกษตรผสมผสาน

2. เสาะแสวงหา เปนการเสาะแสวงหาความรู พอ จันทรท ี ประทมุ ภา ไปแสวงหาความรูจาก
ความรู เฉพาะ จากผมู ปี ระสบการณ พอ ผาย สรอยสระกลาง ปราชญช าวบา น
โดยแลกเปล่ียนเรียนรู เรอ่ื ง การทําเกษตรผสมผสาน
เชื่อมโยงกบั ประสบการณเ ดมิ
ของตน เพอ่ื ใหเกดิ ความรู
ใหม

3. ประยกุ ตใช นําความรทู เ่ี สาะแสวงมา เม่อื พอ จันทรที ประทุมภา เขา ใจหลักการ
ความรู ประยุกตใ ชใ หเหมาะสม จดั การพ้ืนที่เพ่อื ทําเกษตรผสมผสานแลว จึง
วางแผนจดั การในพน้ื ที่ของตน

4. การแลกเปลย่ี น แลกเปล่ียนความรูกับบุคคล พอจันทรที ประทมุ ภา แลกเปล่ยี นความรกู บั

ความรู อนื่ ทีส่ นใจ เกษตรกรคนอื่น ๆ ท่สี นใจเรื่องน้ี และเปน

วิทยากรใหค วามรกู ับผูทส่ี นใจ

5. พัฒนาความรู วิธีการตอยอดพฒั นาความรู พอจนั ทรที ประทุมภา เปน ผมู คี วามรูเ รือ่ ง

มี 2 รูปแบบ เกษตรผสมผสานจากการปฏิบัติและแลกเปล่ียน

1) การศกึ ษาดวยตนเอง ความรอู ยา งตอ เนื่อง ทาํ ใหม ีความรเู พิม่ มากข้ึน
จากเอกสาร หรือสอ่ื ตาง ๆ เรื่อย ๆ จนเปนปราชญชาวบานแหง เมืองโคราช

2) การแลกเปลยี่ นเรยี นรู
ระหวางคนหนง่ึ ไปอกี คน
หน่ึง เพือ่ เตมิ เตม็ ความรเู ดมิ

32

เรือ่ งท่ี 4 กระบวนการจดั การความรดู ว ยการปฏิบตั กิ ารกลมุ

ในชุมชนมีปญหาซับซอน ท่ีคนในชุมชนตองรวมกันแกไข การจัดการความรูจึงเปน
เร่ืองท่ีทุกคนตองใหความรวมมือ และใหขอเสนอแนะเชิงสรางสรรค การรวมกลุม
เพอื่ แกปญหาหรือรวมมือกันพัฒนาโดยแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน เรียกวา “ชุมชนนักปฏิบัติ”
(Community of Practice : CoPs) หรืออาจจะเรียกวา “ชมุ ชนแหงการเรียนรู” หรือ “ชุมชน
ปฏิบัตกิ าร”

รูปแบบของ CoPs ทใี่ ชใ นการจดั การความรู

กระบวนการจัดการความรูโดยใชกระบวนการกลุม เปนกระบวนการท่ีคนในกลุม
เรียนรูจากประสบการณการทํางานรวมกัน เมื่อบุคคลท่ีประสบความสําเร็จนําความรูมา
แลกเปล่ียนกนั ทําใหค นทไ่ี มร แู ละคนทีร่ บู า งไดเ พิ่มพนู ความรู และนําความรูไปปฏบิ ัติได

การดึงความรูที่ฝงลึกอยูในตัวบุคคลออกมา แลวสกัดเปนขุมความรู จําเปนตองมีคน
กลาง ทีส่ งเสรมิ ใหเ กดิ กระบวนการแลกเปลีย่ นเรียนรู 4 คน ไดแ ก

1. คณุ เอือ้ (เอือ้ ระบบ) เปน ผนู ําระดบั สงู ขององคก ร มีหนาที่ ทําใหการจัดการความรู
เปนวิถีเดียวกับการปฏิบัติงานตามปกติขององคกร และเปดโอกาสใหทุกคนขององคกร
นําวิธีการทํางานของตน มาแบงปนและแลกเปลี่ยนกับเพื่อนรวมงาน ประการสุดทาย คุณเอ้ือ
ตอ งหากศุ โลบายทจ่ี ะทําใหวธิ กี ารนัน้ ถกู นาํ ไปใชกนั มากข้ึน

2. คณุ อาํ นวย (ผอู ํานวยความสะดวก) เปน ผูกระตนุ ใหเกิดการแลกเปลีย่ นเรยี นรู และ
อํานวยความสะดวกตอ การแลกเปลีย่ นเรียนรู โดยเฉพาะตองทําหนาทเี่ ชื่อมโยงคนสองประเภท
เขาหากัน คือ คนท่ีมีความรู ประสบการณ และคนท่ีตองการเรียนรูและใชความรูเหลาน้ัน
รวมท้งั ติดตามประเมินผล ความเปล่ยี นแปลงที่ตองการ

3. คุณกิจ (ผูปฏิบัติงาน) ซ่ึงเปนผูจัดการความรูตัวจริง เน่ืองจากเปนผูกําหนด
เปา หมาย คน หา แลกเปลย่ี นเรียนรภู ายในกลมุ และพรอมจะดูดซับความรูจากภายนอกมาปรับ
ใช ใหบ รรลเุ ปา หมายทีต่ ้งั ไว และหมนุ เวียน ตอยอดความรูอยางตอ เน่อื งไมมีที่สน้ิ สดุ

4. คุณลิขิต (ผูจดบันทึก) ทําหนาท่ีบันทึก และจัดเก็บความรูใหเปนคลังความรูของ
องคกร

33

การทาํ CoPs เพอื่ จดั การความรู

ชุมชนนักปฏิบัติ เกิดจากกลุมคนท่ีมีเครือขายสัมพันธที่ไมเปนทางการ ซึ่งจะเอื้อตอ
การเรยี นรแู ละสรางความรใู หม ๆ โดยเนนเรียนรูรวมกันจากประสบการณการทํางานเปนหลัก
เพื่อนํามาใชพัฒนางาน การปฏิสัมพันธกันระหวางบุคคล ทําใหเกิดการถายทอด แลกเปล่ียน
ความรูฝง ลึก สรา งความรู ความเขา ใจไดม ากกวาการอานหนงั สอื หรอื การฝก อบรม

1. บันทกึ การเลาเรื่อง
การถอดความรูฝงลึก ดวยกิจกรรมเรื่องเลาเราพลัง การเลาเรื่อง เปนเทคนิค

ของการใช เรอ่ื งเลา ในกลุมเพื่อน แบงปนความรู หรือสรางแรงบันดาลใจ ในการพัฒนาการ
ปฏิบัติงาน โดยใชภาษางาย ๆ ในชีวิตประจําวัน เลาเฉพาะเหตุการณ บรรยากาศ ตัวละคร
ที่เกี่ยวของกับผูเลา ในขณะท่ีเกิดเหตุการณตามจริง เลาใหเห็นบุคคล พฤติกรรม การปฏิบัติ
การคดิ ความสมั พันธ ขอสาํ คัญ ผูเลา ตอ งไมต คี วามระหวางเลา ไมใ สความคิดของผูเลาระหวาง
เลา เร่อื งเมอื่ เลา จบแลว ผูฟง สามารถซกั ถามผูเลา ได

2. บันทึกขุมความรู

เปนการเกบ็ ความรู ทไ่ี ดจ ากการฟง เรอื่ งเลา แลว นํามาเรยี บเรียง จากบนั ทึกของ
ผฟู ง หลาย ๆ คน และตรวจสอบใหส อดคลอ งกนั การบันทึกขุมความรู ควรบันทึกเปนประโยค
ท่ขี ้ึนตน ดวยกรยิ า เปนวิธกี ารปฏบิ ัติ เปนขอความทีอ่ านแลว เขา ใจงาย

3. บนั ทกึ แกน ความรู

ขุมความรทู ่ีไดจ ากเร่อื งเลา นาํ มาจัดกลมุ ประเภทเดียวกันไวดวยกันแลวตั้งช่ือ
ใหม ใหค รอบคลมุ ขุมความรนู ้ัน

34

เร่อื งที่ 5 การสรา งองคค วามรู พฒั นา ตอ ยอดและเผยแพรอ งคค วามรู

ในการพัฒนาความรู ยกระดับความรู เพื่อใหเกิดการตอยอดความรูนั้น ความรูจะ
เปลยี่ นสถานภาพสลบั กันไปตลอดเวลา บางครัง้ ความรทู ชี่ ดั แจง ซง่ึ อยใู นกระดาษ หรือสื่ออื่น ๆ
ก็แปรสภาพเปนความรูท่ีฝงลึกที่อยูในตัวบุคคล และบางครั้งความรูที่ฝงลึกอยูในตัวบุคคล
กแ็ ปรสภาพเปน ความรูช ดั แจง คือ มีการถายทอดความรูออกมา และถูกบันทึกเปนลายลักษณ
อักษร เพ่ือใหคนอน่ื ไดศกึ ษา

การสรางองคความรูเ พอื่ พฒั นาตอ ยอดและยกระดับความรู
การดําเนินการจัดการความรู ประกอบดวย 6 ข้นั ตอน ดงั นี้
1. กําหนดความรูห ลกั ที่จาํ เปน
2. เสาะหาความรทู ต่ี องการ
3. ปรบั ปรุง ดัดแปลงใหเ หมาะกบั งานของตนเอง
4. ประยุกตใ ชค วามรู
5. แลกเปลยี่ นเรยี นรู และสกัดขมุ ความรูออกมาบันทกึ ไว
6. การบนั ทึกขมุ ความรู และแกนความรู เพ่อื ใชประโยชน

การจดั ทําสารสนเทศองคค วามรู
สารสนเทศองคความรู เปนการรวบรวมขอมูลท่ีเปนประโยชนตอการพัฒนางาน

พัฒนาคน เพือ่ แบง ปน แลกเปล่ียนเรยี นรู และนํามาใชป ระโยชน ดว ยวธิ ีการตา ง ๆ ดังน้ี
1. บันทกึ เร่อื งเลา เปนเอกสารรวมเร่ืองเลา ทบี่ อกวธิ กี ารทาํ งานใหป ระสบ

ความสาํ เรจ็
2. บนั ทกึ การถอดบทเรยี น หรอื การถอดองคค วามรู เปน การดงึ ความรฝู ง ลกึ ของ

ผูปฏิบตั ดิ ว ยเทคนคิ การสนทนากลมุ การทํา Mind Mapping ฯลฯ แลว บนั ทึกไวเ ปนเอกสาร
3. วซี ีดีเรอ่ื งสน้ั เปน การใชเครอ่ื งอเิ ลก็ ทรอนิกสบนั ทกึ เรอ่ื งสั้นไวบ นแผน วซี ีดี
4. คูมือการปฏิบัติงาน เปนเอกสารท่ีแสดงวิธีการทํางานใหเห็นชัดเจน และมี

ตวั อยา งประกอบ อา นแลว ปฏิบตั ิได
5. อินเทอรเนต็ เปนสารสนเทศเพ่อื การสอ่ื สารผา นเว็บไซตตา ง ๆ โดยการบันทึก

ความรู ในรูปแบบของเวบ็ เพ็จ เวบ็ บอรด ฯลฯ สามารถเขาถงึ ขอมลู ไดสะดวก รวดเรว็

35

กิจกรรมทายบทท่ี 3

1. ใหผ เู รียนบอกความหมาย ความสาํ คัญของการจัดการความรู

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ใหผเู รยี นบอกหลกั การของการจดั การความรู วา มอี ะไรบาง

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ใหผ ูเรยี นบอกวิธกี าร การจัดการความรู และนําความรไู ปใชในชวี ิตประจาํ วนั

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

36

4. ใหผเู รียน วิเคราะหปญ หาของตนเอง และเขยี นแผนการพัฒนาตนเอง ดงั นี้

1) ปญ หาของผูเรยี น คืออะไร ทาํ ไมถงึ เกิดปญ หานั้น

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

2) ความรหู ลักทจ่ี ําเปน ของผูเ รียน คอื อะไร ใชแ กปญหาของผเู รยี นไดอ ยางไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

3) ผูเรยี นมวี ิธีเสาะแสวงหาความรู ดว ยการแลกเปล่ียนเรียนรจู ากผูอน่ื ทไี่ หน อยา งไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

4) ผูเรียนนําความรูท ่ไี ดรับไปแกป ญหา หรอื ประยุกตใ ชอ ยางไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

37

บทท่ี 4 การคดิ เปน

โลกปจ จุบนั เปน โลกแหง การเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วในทุก ๆ ดาน ทั้งเรื่องขาวสาร
ขอ มูล ความรู การเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา ธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม ซ่ึงการเปล่ียนแปลง
อยางรวดเร็วเชนน้ี ถาไมสามารถปรับตัวใหทันเหตุการณ ไมเปลี่ยนแปลง ก็จะเกิดปญหา
ขน้ึ กบั ตนเอง ครอบครัว สังคมและชมุ ชน วิธีการหนึ่งท่ีจะชวยใหชีวิตอยูอยางมีความสุขได คือ
“การคิดเปน ”

การคดิ เปน เปน การใชทักษะการคิดท่ีใชขอมูลอยางนอย 3 ดาน มาสัมพันธเชื่อมโยง
กัน เพอื่ การตดั สินใจสกู ารกระทํา โดยปกติแลว การกระทําของคนนั้น เกิดมาจากการคิด ถาคิด
ดีก็ทําดี การคิดท่ีมีขอมูลประกอบการตัดสินใจ จะทําใหการคิดน้ันมีความรอบคอบ มีเหตุผล
มีความพอประมาณ ไมโ ลภ ไมเ บยี ดเบยี นผูอ น่ื การคิดดีนําไปสูการปฏิบัติที่ดี ถาในสังคมผูคน
ปฏบิ ตั ิดีตอกัน สงั คมก็อยรู วมกันอยางมคี วามสุข

เร่ืองท่ี 1 ความเช่ือพืน้ ฐานทางการศกึ ษาผูใหญ/การศึกษานอกระบบ

ความเชื่อพนื้ ฐานทางการศึกษาผูใหญ/การศกึ ษานอกระบบ เชื่อวาคนมีความแตกตาง
กันอยางหลากหลาย ท้ังรูปลักษณะภายนอก ภูมิหลัง พื้นฐานทางครอบครัว ฯลฯ
ความตองการของคนจึงไมเทาเทยี มกนั ไมเหมอื นกัน แตส่ิงหนึง่ ทที่ กุ คนตอ งการคือ “ความสุข”
ความสุขของแตละคนจะเกิดขึ้นไดตอเม่ือมนุษยกับสภาวะแวดลอมท่ีเปนวิถีชีวิตของตน
สามารถปรบั เขา หากนั ไดอยางกลมกลนื จนเกิดความพอดีและพึงพอใจ ความสุขของแตละคน
จึงไมจําเปนตองเหมือนกัน เมื่อมนุษยตองการความสุข เปนเปาหมายสูงสุดของชีวิต การคิด
ตัดสินใจเลือกกระทําหรือไมกระทําใด ๆ ลวนตองใชเหตุผล หรือขอมูลมาประกอบการคิด
อยางนอ ย 3 ดา น คอื ขอ มูลเกี่ยวกบั ตนเอง ขอ มูลเกี่ยวกับสังคม และขอ มูลทางวิชาการ

ทฤษฎีการเรยี นรูสาํ หรบั ผใู หญ

ทฤษฎีการเรยี นรสู าํ หรบั ผใู หญน ั้น กลา วไดวา เร่ิมมีการศึกษาคนควา และพัฒนาการ
มาจาก แนวความคิดของเดิม ของธอรนไดค (Edward L. Thorndike. 1982) จากการเขียน
เก่ียวกับ "การเรียนรูของผูใหญ" ซึ่งมิไดทําการศึกษาเก่ียวกับการเรียนรูของผูใหญโดยตรง

38

แตศกึ ษาถงึ ความสามารถในการเรยี นรู โดยเนนใหเห็นวา ผูใ หญน น้ั สามารถเรยี นรูไ ด ซึ่งเปนส่ิง
ท่ีมีความสําคัญมาก จากสงครามโลกครั้งที่สอง มีนักการศึกษาผูใหญจํานวนมาก ไดศึกษา
คน ควา จนไดพยานหลักฐานทางวิทยาศาสตรเพิ่มข้ึนอีกวา ผูใหญสามารถเรียนรูได รวมทั้งได
พบวา กระบวนการเกี่ยวกับดานความสนใจและความสามารถน้ัน แตกตางออกไปจากการ
เรียนรขู องเด็กเปน อนั มาก

นอกจากวิธีการทางวิทยาศาสตรแลว ยังมีแนวความคิดทางดานท่ีเปนศิลป ในการ
เรียนรู ซึ่งเปนการคนหาวิธีการในการรับความรูใหม ๆ และการวิเคราะหถึงความสําคัญของ
ประสบการณ ซึ่งสงิ่ เหลา นี้จะเกย่ี วขอ งกับวา “ผใู หญเ รียนรอู ยา งไร” (How Adult Learn)

ลินเดอรแ มน (Edward C. Linderman) ไดเขยี นหนังสอื ช่ือ “ความหมายของการศกึ ษาผูใหญ”
แนวความคิดของลินเดอรแมนน้ัน ไดรับอิทธิพลคอนขางมาก จากนักปรัชญาการศึกษาผูท่ีมี
ช่ือเสียง คือ จอหน ดิวอ้ี (John Dewey) โดยไดเนนเก่ียวกับการเรียนรูของผูใหญวา
ควรเรมิ่ ตน จากสถานการณตา ง ๆ (Situations) มากกวาเริ่มจากเนอ้ื หาวิชา ซ่ึงวิธีการเรียนการ
สอนโดยทั่ว ๆ ไป มกั จะเรมิ่ ตนจากครแู ละเนอื้ หาวชิ าเปนอันดับแรก และมองดูผูเรียนเปนสวน
ทีส่ อง

ในการเรียนแบบเดิม ผูเรียนจะตองปรับตัวเองใหเขากับหลักสูตร แตในการศึกษา
ผูใ หญนน้ั หลักสูตรควรจะไดสรา งข้นึ มาจากความสนใจ และความตองการของผูเรียนเปนหลัก
สําคัญ ผูเรียนจะพบวา ตัวเองมีสถานการณเฉพาะเกี่ยวกับหนาที่ การงาน งานอดิเรก หรือ
สันทนาการ ชีวิตครอบครัว ชีวิตในชุมชน สถานการณตาง ๆ น้ี จะชวยใหผูเรียนไดปรับตัว
และการศกึ ษาผูใ หญควรเรม่ิ จากจุดนี้ สวนดานตําราและผูสอนนั้น ถือวามีหนาท่ีและบทบาท
รองลงไป

แหลง ความรูทม่ี คี ุณคาสงู สดุ ในการศึกษาผูใหญ คือประสบการณของผูเรียนเอง และ
มีขอคิด ท่ีสําคัญวา “หากการศึกษา คือชีวิตแลว ชีวิตก็คือ การศึกษา” (If Education is
Life, then Life is Education) สรุปไดวา ประสบการณนั้น คือตําราที่มีชีวิตจิตใจ สําหรับ
นกั ศึกษาผใู หญ จากแนวความคิดของลินเดอรแมน ทําใหไดขอสันนิษฐานที่สําคัญ ๆ และเปน
กุญแจสําคัญ สําหรับการเรียนรูของผูใหญ รวมทั้งการวิจัยในระยะตอ ๆ มา ทําใหโนลส
(M.S.Knowles.1954) ไดพ ยายามสรปุ เปน พ้ืนฐานของทฤษฎีการเรียนรูสําหรับผูใหญสมัยใหม
ซ่ึงมสี าระสําคัญ ดงั ตอไปนี้

39

1. ความตอ งการและความสนใจ ผูใหญจะถกู ชกั จูงใหเ กิดการเรยี นรูไดดี ถาตรงกับ
ความตองการ และความสนใจ ในประสบการณท ่ผี า นมา เขาจะเกิดความพึงพอใจ เพราะฉะน้ัน
ควรเริ่มตนในส่งิ เหลา นี้อยางเหมาะสม โดยเฉพาะการจัดกิจกรรมท้ังหลาย ท่ีตองการใหผูใหญ
เกดิ การเรียนรู

2. สถานการณทเี่ ก่ยี วขอ งกบั ชีวติ ผูใหญ การเรียนรูของผูใหญจะไดผลดี ถาหาก
ถือเอาตัวผูใหญเปนศูนยกลางในการเรียนการสอน ดังน้ัน การจัดหนวยการเรียนท่ีเหมาะสม
เพ่ือการเรียนรูของผูใหญ ควรจะยึดถือสถานการณท้ังหลาย ท่ีเกี่ยวของกับชีวิตผูใหญเปน
หลักสําคัญ มใิ ชตัวเน้อื หาวชิ าทัง้ หลาย

3. การวเิ คราะหป ระสบการณ เนื่องจากประสบการณ เปนแหลงการเรียนรู ที่มี
คุณคา มากทส่ี ุดสําหรับผูใหญ ดังน้ัน วิธีการหลักสําหรับการศึกษาผูใหญก็คือ การวิเคราะหถึง
ประสบการณของผใู หญ แตละคนอยางละเอียด วามีสวนไหนของประสบการณ ที่จะนํามาใช
ในการเรียนการสอนไดบาง แลว จงึ หาทางนาํ มาใชใ หเ กิดประโยชนต อ ไป

4. ผใู หญตอ งการเปนผนู าํ ตนเอง ความตองการทีอ่ ยใู นสวนลกึ ของผใู หญ คือ
การมีความรูสึกตองการที่จะสามารถนําตนเองได เพราะฉะน้ัน บทบาทของครูจึงควรอยูใน
กระบวนการสืบหา หรอื คนหาคําตอบรวมกบั ผูเรียน มากกวาการทําหนาที่สงผาน หรือเปนส่ือ
สําหรับความรู แลวทําหนา ทปี่ ระเมินผลวาเขาคลอยตามหรอื ไมเพยี งใด

5. ความแตกตางระหวางบุคคล ความแตกตางระหวางบุคคลจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย
ๆ ในแตละบุคคล เม่ือมีอายุเพ่ิมมากขึ้น เพราะฉะนั้น การสอนผูใหญจะตองเตรียมการดานนี้
อยางดพี อ เชน รูปแบบของการเรยี นการสอน เวลาทใี่ ชส อน สถานทสี่ อน เปน ตน

40

เร่ืองที่ 2 ปรชั ญาการคดิ เปน
ดร.โกวิท วรพพิ ัฒน อดตี ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และเคยเปนอธิบดีกรมการศึกษา

นอกโรงเรียน ไดอธิบายถึง คุณลักษณะที่พึงประสงคของคน ในการดํารงชีวิตอยูในสังคม ที่มี
การเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รุนแรง และซับซอน ไววา “คิดเปน” มาจากความเช่ือพื้นฐาน
เบื้องตนท่ีวา คนมีความแตกตางกันเปนธรรมดา แตทุกคนมีความตองการสูงสุดเหมือนกัน คือ
ความสุขในชีวติ คนจะมคี วามสุขในชีวิตได ตองมีการปรับตัวเอง และสังคมส่ิงแวดลอม ใหเขา
หากันอยางกลมกลนื จนเกิดความพอดี นําไปสูความพอใจ และมีความสุข คนท่ีจะทําไดเชนน้ี
ตองรูจ ักคิด รูจักใชสติปญญา รูจักตัวเอง และธรรมชาติสังคมส่ิงแวดลอมเปนอยางดี สามารถ
แสวงหาขอ มูลทีเ่ ก่ียวขอ งอยางหลากหลายและพอเพียง นํามาพิจารณาขอดี ขอเสียของแตละ
เร่ือง เพ่ือนํามาใชเ ปนขอ มลู ในการตดั สนิ ใจ อาจกลาวไดวา “คิดเปน ” เปนแนวคิดท่ีสอดคลอง
กับยุทธศาสตร ทสี่ อนใหบุคคลสามารถพนทุกข และพบความสุขไดดวยการคนหาสาเหตุของ
ปญหา สาเหตุของทุกข ซง่ึ สงผลใหบคุ คลผนู ัน้ สามารถอยใู นสังคมไดอยา งมคี วามสุข

คนคิดเปน เม่ือไดน าํ ทางเลือกที่ไดคิดวิเคราะหไวอยางดีท่ีสุดไปปฏิบัติแลว หากยังไม
พอใจ ไมม ีความสขุ ก็ยังมสี ติ ไมเ ดอื ดรอน กระวนกระวาย ไมต โี พยตพี าย แตจะพยายามศึกษา
ปญหา ทบทวนใหม ศึกษาขอมูลเพิ่มเติม ใหละเอียดลึกซึ้งมากข้ึน กลับเขาสูกระบวนการคิด
ใหม เพ่อื เลือกทางปฏิบตั ใิ หม จนกวา จะพอใจ โดยมีแผนภูมิประกอบการคิด ดังนี้

ขอมลู จาก http://www. http://folkmelody.blogspot.com/2012/11/blog-post_23

41

การคิดแบบคิดเปน เปนการใชขอมูลประกอบการคิดอยางรอบดาน นํามาสูการ
ตัดสนิ ใจเลือกท่จี ะเช่ือ เลอื กทจี่ ะกระทาํ โดยสามารถอธิบายเหตุผลของตนเองได ซึ่งความคิด
ของแตละคน ไมจ าํ เปน ตองเหมือนกันเสมอไป การจัดการศึกษานอกระบบ จึงตองสงเสริมให
ผูเ รียนคิดและตัดสนิ ใจดว ยตนเองทส่ี าํ คัญ คือ การยอมรบั และเคารพการตัดสนิ ใจในเรื่องนั้น ๆ
ซึง่ เปนรากฐานของประชาธิปไตยในระดับ
พน้ื ฐานดวย

ขอมูลท่นี ํามาใชประกอบการคิด

การคดิ เพอ่ื แกปญหาตาง ๆ น้ัน จําเปนตองใชขอมูลมาประกอบการคิด อยางนอย 3
ประการไดแ ก

1. ขอมูลเก่ียวกับตนเอง หมายถึง การรูจักตนเองอยางถองแท เที่ยงธรรม
โดยพจิ ารณา ความพรอมดานการเงิน สขุ ภาพอนามัย ความรู อายุ และวัย รวมทั้งการมีเพ่ือน
ฝูงและอนื่ ๆ

2. ขอมูลเก่ียวกับสังคม หมายถึง สังคมและสิ่งแวดลอม หมายถึง คนอ่ืน
นอกเหนอื จากเราและครอบครัว จะเรียกวาบคุ คลท่ี 3 กไ็ ด คือ ดูวาสังคมเขาคิดอยางไรกับการ
ตัดสินใจของเราเขาเดือดรอนไหม เขารังเกียจไหม เขาช่ืนชมดวยไหม เขามีใจปนใหเราไหม
รวมตลอดถึงเศรษฐกิจและสังคมนั้น ๆ เหมาะกับเรื่องที่เราตัดสินใจหรือไม รวมท้ัง
ขนบธรรมเนียม ประเพณี คุณธรรม และคานยิ มของสงั คม

3. ขอมูลเกี่ยวกับวิชาการ หมายถึง ความรูทางวิชาการ เปนความรูทาง
วทิ ยาศาสตร หรือความรวู ิชาการ ในเรือ่ งที่เราจะตอ งใชป ระกอบการตัดสินใจ

ขอ มลู ท้ัง 3 ประการนี้ ตอ งใชประกอบกัน จึงจะชวยใหเกิดการวิเคราะหพิจารณาที่ดี
ที่ถูกตองมากกวาการใชขอมูลเพียงดานใดดานหนึ่งเทาน้ัน ซึ่งปกติมักจะตัดสินใจกัน ดวย
ขอมูลดานเดียว ซ่ึงอาจมีการพิจารณาวา เหมาะสมกับตนเองแลว เหมาะสมกับคนสวนใหญ
แลว หรือเหมาะสมตามตํารา หรือจากคําแนะนําทางวิชาการแลว อาจเปนเหตุใหตัดสินใจ
ผดิ พลาดได

42

เรอ่ื งที่ 3 กระบวนการและขน้ั ตอนการแกป ญ หาอยางคนคิดเปน

การแกไขปญหาของคนคิดเปนน้ัน มีกระบวนการคิดเพื่อแกปญหาตามขั้นตอน
ดังตอไปน้ี

1. สํารวจปญ หา
2. หาสาเหตุของปญ หา
3. วิเคราะหหาวธิ แี กไขปญหา
4. ตดั สินใจเลือกวิธแี กป ญหา
5. ลงมอื ปฏิบตั เิ พือ่ แกปญหา
6. การประเมนิ ผลการแกป ญ หา
กระบวนการแกป ญหาของคนคิดเปน

43

จากแผนภมู จิ ะเห็นไดวา กระบวนการ และข้นั ตอนการแกป ญ หาอยา งคนคิดเปน
จะเร่มิ ตน ดว ยการรูจกั ปญ หาท่ีแทจริง จากน้ัน จึงเนนการวิเคราะหหาสาเหตุของปญหา จาก
ขอมูลที่หลากหลายอยางนอย 3 ดาน คือ ตนเอง สังคมสิ่งแวดลอม และวิชาการ แลวจึง
วิเคราะหทางเลอื ก ในการแกป ญหา กอนลงมือปฏิบัติ เม่ือปฏิบัติแลวพอใจก็มีความสุข ถายัง
ไมพอใจก็ตองกลับไปเร่ิมตน ตามขั้นตอนแรกกอน จนกวาจะพอใจกับการตัดสินใจแกปญหา
ของตนเอง

44

เรื่องท่ี 4 ฝก ทกั ษะการคดิ เปน

“คดิ เปน ” เรื่องนี้ นอกจากจะตองทําความเขา ใจกับหลกั การและแนวคิดแลว การเปน
ผทู ีม่ ีทักษะการคิดเปนไดนั้น ตองฝกฝนกระบวนการคิดและฝกปฏิบัติ โดยใชเหตุการณจริงใน
ชวี ิตประจําวนั รวมทง้ั มีการแลกเปลี่ยนความคดิ วิธีการพดู คยุ ถกเถียงกับเพ่ือนฝูง ญาติมิตรดวย
การมีประสบการณในการแกไขปญหาตาง ๆ แลวเกิดความพอใจและมีความสุข น่ันเทากับวา
ไดเร่ิมตนเปนคนคิดเปนแลว เพ่ือใหเกิดผลดีแกตนเอง ผูฝกปฏิบัติควรหม่ันฝกปฏิบัติตาม
กระบวนการอยา งตอเนอ่ื ง เพอ่ื เพ่ิมพูนทักษะใหมากยง่ิ ขึน้ จงึ จะแกไขปญหาตาง ๆ ไดดี ไมเกิด
ขอ ผดิ พลาดบอย และสามารถคิดไดร วดเร็วยิง่ ข้ึน

โดยสรุปคือ การสอนแบบคิดเปน ไมมีการสอนแบบสําเร็จรูปวา อะไรถูก อะไรผิด
ข้ึนอยูกับบริบทและส่ิงแวดลอม แตละคนจะมีบริบทไมเหมือนกัน แตเม่ือนํามาถกเถียงกัน
นาํ มาอภิปรายกนั จะเกิดความรูแตกฉานยงิ่ ข้นึ

คนท่คี ิดเปน จะเปน ผูทร่ี ูจักปรับตนเอง และสภาพแวดลอ มใหเ ขากันไดอยางดี เปนคน
ทอ่ี ยู ในสังคมไดอยางมีความสุข และมีสมรรถภาพของการเปน คนคดิ เปน ดังน้ี

1. สามารถเผชิญปญหาและแกป ญ หาในชีวติ ประจําวนั ไดอ ยา งมีระบบ
2. สามารถแสวงหาและใชขอ มลู หลาย ๆ ดา นในการคดิ แกไขปญ หา
3. รูจักชั่งน้ําหนัก คุณคา และตัดสินใจหาทางเลือก ใหสอดคลองกับคานิยม
ความสามารถและสถานการณ หรือเง่ือนไขสวนตัว และระดับความเปนไปไดของทางเลือก
ตา ง ๆ


Click to View FlipBook Version