The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1. ทักษะการเรียนรู้ (สรุปเนื้อหา)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pitchapim Aaew, 2021-04-18 21:01:32

1. ทักษะการเรียนรู้ (สรุปเนื้อหา)

1. ทักษะการเรียนรู้ (สรุปเนื้อหา)

45

กจิ กรรมทายบทท่ี 4

1. ใหผ เู รยี นนําความรคู วามเขา ใจเกี่ยวกับกระบวนการแกป ญ หาของคนคดิ เปน มาฝกแกปญหา
ในกรณดี งั ตอ ไปนี้

นายสมหวงั ประกอบอาชีพทํานาขาว มีรายไดหลักจากการขายขาวในแตละป เพียง
พอท่จี ะนํามาเปน คา ใชจ ายในครอบครัว แตใ นปน้ีเกดิ ปญ หาน้ําแลง และมีแมลงมารบกวนมาก
ซ่งึ คาดการณแ ลววาจะทําใหรายไดต องลดลงจํานวนมาก ถาผูเรียนเปนนายสมหวัง จะมีวิธีคิด
แกไขปญหาในเร่ืองน้ีอยางไร โดยใหแสดงขอมูลท้ัง 3 ดาน และทางเลือกในการตัดสินใจ
แกปญหา พรอ มระบุเหตุผลประกอบ

ขอ มลู เก่ียวกบั ตนเอง ขอ มลู ดานส่งิ แวดลอ ม ขอ มูลดา นวิชาการ

............................................ ............................................... ...................................................
............................................ ............................................... ...................................................
............................................ ............................................... ...................................................
............................................ ............................................... ...................................................
............................................ ............................................... ...................................................
............................................ ............................................... ...................................................
............................................ ............................................... ...................................................
............................................ ............................................... ...................................................
............................................ ............................................... ...................................................

ทางเลอื กในการตดั สินใจแกป ญหาและเหตผุ ลประกอบ

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

46

2. ใหผูเรียนแลกเปลยี่ นเรยี นรถู งึ อาชพี ในทอ งถิ่น ประโยชน และความสําคัญของอาชีพตาง ๆ
รวมทงั้ ความสมั พันธข องการประกอบอาชพี ตอ ความเจริญของสังคมท่ีอาศัยอยู โดยใชกิจกรรม
การเรยี นรู ตอ ไปน้ี

1) ถา ผูเรยี นเลอื กประกอบอาชพี จะเลือกอาชพี อะไร

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

2) ถาประชาชนทุกคนในชุมชน มอี าชีพ มรี ายได จะมผี ลตอ ประเทศชาติอยางไร

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3) ถาใหเลือกประกอบอาชีพท่ีสุจริต รายไดนอย กับการคาของผิดกฎหมายซึ่งมีรายไดดี
ผูเรยี นจะเลือกอาชพี อะไร พรอมใหเหตุผลประกอบ

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

47

บทท่ี 5 การวิจัยอยา งงาย

การวิจัยอยางงาย เปนเรื่องที่มุงใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับความหมาย
ความสําคัญของการวิจัยอยางงาย การฝกทักษะ กระบวนการและขั้นตอนของการ
ดําเนินงาน ไดแก การระบุกําหนดปญหาที่ตองการหาความรู ความจริง หรือสิ่งที่ตองการ
พัฒนา การแสวงหาความรูจากการศึกษาเอกสาร ผูทรงคุณวุฒิ ภูมิปญญาทองถิ่น แหลง
เรียนรู ทดลอง การนําขอมูลท่ีไดมาหาคําตอบที่ตองการ การเขียนรายงานสรุปผล และการ
นาํ ความรูไปปฏิบัติจริง

เรอื่ งท่ี 1 ความหมายและประโยชนของการวิจัยอยางงาย

ความหมายของการวิจัยอยางงา ย

การวิจัยอยา งงาย หมายถึง การศึกษา คน ควา เพ่อื หาคําตอบของคาํ ถามท่สี งสยั หรือ
หาคาํ ตอบมาใชใ นการแกปญ หา โดยใชวิธีการ และกระบวนการตา ง ๆ อยางเปน ระบบ เพอ่ื ให
ไดค ําตอบที่นาเชื่อถอื

ความสาํ คัญของการวิจยั อยางงาย

1. ทําใหผูวจิ ยั ไดร ับความรูใหม ๆ
2. การวิจัยชวยหาคําตอบที่ผวู ิจยั สงสัย หรือแกป ญหาของผูวิจยั
3. การวจิ ยั ชว ยใหผ วู จิ ัยทราบผลการดาํ เนนิ งาน และขอบกพรองระหวา งการดําเนินงาน
4. การวิจัยชวยใหผ วู จิ ัยไดแ นวทางพัฒนาการทํางาน
5. การวิจยั ชว ยใหผ ูวิจยั ทํางานอยา งมีระบบ
6. การวจิ ยั ชว ยใหผ ูว ิจัยเปน คนชางคิด ชางสังเกต

48

ประโยชนข องการวจิ ัยอยางงา ย

ประโยชนต อ ผูวิจัย
1. เปน การพัฒนาความคิดใหเปนระบบ คิดเปน ขั้นตอน ใชกระบวนการทีเ่ ปนเหตุ

เปนผล
2. เปน การพัฒนากระบวนการสรางความรูอ ยา งเปนระบบ
3. ฝก ใหผวู ิจยั เปนคนชางสงั เกต มีทักษะการจดบันทึก และสรปุ ความ

ประโยชนต อชมุ ชน
1. สมาชิกในชมุ ชนมีความรู เขาใจสภาพปญหา และสามารถวเิ คราะหหาวธิ กี าร

แกปญ หาไดอยา งเปนระบบ
2. สามารถใชกระบวนการวจิ ยั หรอื ผลการวิจยั มาเปนแนวทางการพัฒนาคุณภาพ

ชีวิตในดา นตา ง ๆ

49

เรือ่ งท่ี 2 กระบวนการและข้ันตอนของการวิจัยอยางงาย

ขน้ั ตอนของการวจิ ยั อยา งงา ย

ข้ันตอนของการวิจัยอยา งงา ย ประกอบดว ย 5 ขั้นตอน ดังน้ี
1. ข้ันตอนการระบุปญหาการวิจัย เปนข้ันตอนการเลือกเรื่องที่สนใจหรือเปน

ปญ หาท่ตี องการแกไข มากาํ หนดเปน คาํ ถามการวจิ ยั
2. ขั้นตอนการเขียนโครงการวิจัย เปนการเขียนแผนการวิจัย โดยจะตองเขียนให

ครอบคลมุ ในหวั ขอ ดงั น้ี
1) ชอื่ โครงการวิจยั เปน การเขียนบอกวา ศกึ ษาอะไร กบั ใคร อยา งไร และที่

ไหน
2) ชอ่ื ผูวจิ ยั บอกชอ่ื ของผทู ําวิจัย
3) ความเปนมาและความสําคัญ เปนการเขียนใหเห็นถึงประเด็นปญหา และ

นําไปสวู ัตถปุ ระสงคของการวิจยั
4) วัตถุประสงคของการวิจัย เปนการเขียนในลักษณะที่บงบอกวา ผูวิจัย

ตอ งการรอู ะไร หรอื จะทาํ อะไร เพ่อื ใหไ ดคาํ ตอบของการวิจัย โดยมีหลักการเขียนวัตถุประสงค
ของการวจิ ยั ดังน้ี

(1) ตอ งสอดคลองกบั ช่ือเรื่อง ความเปนมาและสภาพปญ หา
(2) ครอบคลมุ สง่ิ ทต่ี องการศึกษา
(3) เขียนเปนประโยคบอกเลา สั้น กะทดั รดั ไดใจความ และชัดเจน
5) วิธีการดําเนินการวิจัย เปนการวางแผนเกี่ยวกับวิธีการและกระบวนการเริ่ม
ตงั้ แตก ารเกบ็ ขอ มลู การวเิ คราะหขอมลู รวมไปถงึ การนาํ เสนอผลการวิเคราะหขอมูล เพ่ือใหได
คาํ ตอบของปญ หา
6) ปฏิทินปฏิบัติงาน และแผนการดําเนินงานเปนการเขียนระบุวาการ
ดาํ เนนิ การวิจยั ครง้ั นี้ จะใชเ วลานานเทาใด เริ่มตนและสน้ิ สุดเม่ือใด โดยระบกุ ิจกรรมที่ทําและ
สถานทท่ี ีใ่ ชใ นการวจิ ัยใหชัดเจน

50

7) ประโยชนของการวิจัย เปนการบอกวา เมื่อไดคําตอบของการวิจัยมาแลว
จะสามารถนาํ ไปแกป ญหา หรอื พัฒนางานไดอ ยา งไร

3. ข้ันตอนการดําเนินการวิจัย เปนการดําเนินการวิจัยตามแผนท่ีกําหนดไวใน
โครงการวิจยั ซึง่ จะตองคาํ นึงถงึ องคประกอบ ดังน้ี

1) กลมุ ตวั อยาง เปนการกําหนดวา จะศึกษาใคร
2) เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย เปนการสรางเครื่องมือ เพ่ือไปเก็บขอมูลมา
วิเคราะห มี 3 ประเภท คือ แบบสงั เกต แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณ
3) การเก็บรวบรวมขอมูล ในสวนนี้กลาวถึงขั้นตอนตาง ๆ ในการเก็บรวบรวม
ขอมลู ตง้ั แตการเกบ็ ขอมูลดว ยตนเอง หรือสง ทางไปรษณีย ตลอดจนการกระทําตาง ๆ หลังจาก
เกบ็ ขอ มลู ไดแลว เชน การตรวจนับใหค ะแนน เปนตน
4) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล จะกลาวถึงสถิติท่ีใชวิเคราะหขอมูล มีสถิติ
พนื้ ฐานใดบาง เชน คา เฉลยี่ รอ ยละ
4. ขน้ั ตอนการรายงานผลการวิเคราะหขอมูล เปนการกลาวถึงผลของการวิจัย
โดยการวเิ คราะหตามจุดประสงค ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย อาจนําเสนอเปน
ขอ ความ ตัวเลข ตาราง แผนภมู ิ หรอื แผนภาพ เพ่อื ใหผูอ านเขาใจมากขึ้น
5. ขัน้ ตอนการสรปุ ผลการวิจัยและขอเสนอแนะ เปนการสรุปผลตามวตั ถุประสงควา
ไดผ ลการวจิ ยั ตามวตั ถปุ ระสงคท ่ีตง้ั ไวหรอื ไม และมขี อเสนอแนะของการวิจยั อยางไร

51

เรือ่ งท่ี 3 การเขียนโครงการวิจัย

ความสาํ คญั ของโครงการวจิ ัย
โครงการวิจัย คือ แผนดําเนินการวิจัย ที่เขียนขึ้นกอนการทําวิจัยจริง เพื่อใชเปน

แนวทางดําเนินการวิจัยสาํ หรบั ผวู จิ ยั และผูเก่ยี วของ ใหเ ปนไปตามแผนการวจิ ยั ท่กี ําหนด

องคป ระกอบของโครงการวิจัย

โดยท่วั ไป โครงการวิจยั ประกอบดวยหัวขอ ดังตอไปน้ี
1. ชือ่ เร่อื งการวิจัย การเขียนชอื่ เรอื่ ง ควรสอ่ื ความหมายที่ชัดเจน อานแลวทราบ

ไดท นั ทวี า เปนการวิจยั เกยี่ วกบั ปญหาอะไร
2. ช่อื ผวู จิ ยั บอกช่อื ของผูทําวิจัย
3. ความเปน มาและความสําคัญ การเขยี นความเปนมาและความสําคัญ เปนการ

เขยี นระบใุ หผอู านทราบวา ทําไมจึงตองทําการวิจัยเรื่องนี้ ควรกลาวถึงสภาพปญหาใหชัดเจน
หากปญ หาดังกลาว ไดแกไ ขโดยวิธีการวิจัยแลว จะเกิดประโยชนอยา งไร

4. วัตถปุ ระสงคข องการวจิ ยั เปนการระบุใหผูอานทราบวา การวิจัยนี้ผูวิจัยตอง
การศึกษาอะไร กบั ใคร และจะเกดิ ผลอยางไร

5. วิธดี าํ เนนิ การวจิ ยั เปนการอธิบาย วิธีการศึกษา หรือวิธีการดําเนินงาน อยาง
ละเอียด ควรครอบคลมุ หัวขอ ดังตอ ไปนี้

1) กลมุ เปาหมายทต่ี องการศกึ ษา
2) เครื่องมอื ท่ใี ชใ นการวจิ ัย
3) การรวบรวมขอมูล
4) การวิเคราะหขอ มลู
6. ปฏิทินปฏิบัติงาน เปนการเขียนขั้นตอนการดําเนินการวิจัยโดยละเอียด และ
ระยะเวลาการดําเนินการแตล ะขน้ั ตอน
7. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ กลาวถึง ผลของการวิจัยวา จะเกิดผลท่ีเปน
ประโยชนใ นการนาํ ไปใชแ กปญ หา หรอื พฒั นางานอยา งไร

52

กิจกรรมทา ยบทที่ 5

คําชแ้ี จง ใหผ เู รยี นตอบคําถามตอ ไปน้ี

1. ประโยชนที่จะไดรับจากการทาํ วจิ ยั อยางงา ย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

2. บอกสถิตทิ ใ่ี ชใ นการวจิ ยั อยางงาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………….............................................................................................................

3. บอกขัน้ ตอนและกระบวนการของการวจิ ยั อยา งงาย มาใหเขาใจ
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

4. บอกเครอ่ื งมือท่ีใชใ นการวจิ ัยอยา งงาย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

53

5. ผเู รยี นเขียนโครงการวิจัยอยา งงา ย ตามข้ันตอน ดังตอไปนี้

1) ช่อื เรอื่ ง/ปญ หาการวจิ ัย
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

2) ชื่อผวู ิจัย

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3) ความเปนมาและความสาํ คญั
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
...............................................................................................………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………...........

4) วตั ถปุ ระสงคของการวจิ ยั
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

5) วธิ ดี าํ เนนิ การวิจัย
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

54

6) ปฏทิ นิ การปฏิบัติงาน กิจกรรม สถานท่ดี าํ เนินการ
วัน/เดอื น/ป

………………………… ………………………………………………………………………………… …………………………………

………………………… ………………………………………………………………………………… …………………………………

………………………… ………………………………………………………………………………… …………………………………

………………………… ………………………………………………………………………………… …………………………………

………………………… ………………………………………………………………………………… …………………………………

7) ประโยชนท คี่ าดวาจะไดร บั
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

6. ยกตัวอยา ง การทาํ วิจัยอยางงายในงานอาชพี ที่สนใจ ตามกระบวนการ ขน้ั ตอนท่ีศกึ ษามา

1. เรอ่ื ง
................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

2. การดําเนินการวจิ ัย
1) กลมุ ตัวอยา ง

......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

2) เครอื่ งมือท่ใี ชในการวิจยั
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

55

3) การเกบ็ รวบรวมขอมลู
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4) สถิตทิ ใ่ี ชในการวิเคราะหขอ มูล
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

3. การรายงานผลการวเิ คราะหขอ มลู
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

4. การสรปุ ผลการวิจัยและขอเสนอแนะ
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

56

บทท่ี 6 ทกั ษะการเรียนรแู ละศักยภาพหลัก
ของพ้นื ท่ใี นการพฒั นาอาชีพ

ปจ จุบนั โลกมกี ารแขง ขนั ในการประกอบอาชีพกนั มากขึ้น ผูท่จี ะประสบความสําเร็จใน
การประกอบอาชีพ ตองมีการศึกษา คนควาหาความรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ และมีทักษะ
พ้ืนฐานท่ีจําเปนตอการประกอบอาชีพ เชน ทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะกระบวนการ
แกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู ทักษะการบริหารและการ
จัดการ ตามที่ไดเรียนรูมาแลวในบทท่ี 1 - 5 และในบทเรียนน้ี ผูเรียนจะไดเรียนรูเพิ่มเติม
ในเรื่องการมที ักษะการเรียนรแู ละศักยภาพหลักของพ้ืนที่ในการพัฒนาอาชีพ ซ่ึงเปนอีกทักษะ
หน่ึงที่สาํ คัญในการตดั สินใจเลอื กประกอบอาชพี

เรื่องท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของศกั ยภาพหลกั ของพืน้ ทีใ่ นการพฒั นาอาชพี

ศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี คือ การเรียนรูถึงขอมูลหลักที่สําคัญในการประกอบอาชีพ
หรือพัฒนาอาชีพน้ัน ๆ เพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคม
การประกอบอาชพี ตองคาํ นงึ ถงึ สภาพแตละพื้นที่ ทีม่ คี วามแตกตางกัน และมีความตองการของ
ทองถิ่นไมเ หมอื นกนั ความสําเร็จของการประกอบอาชีพในพ้ืนท่ีหนึ่ง อาจไมใชความสําเร็จใน
อกี พ้นื ทีห่ น่ึง

ดังน้ัน หลักการพื้นฐานท่ีตองคํานึงถึงศักยภาพ และบริบทของพ้ืนที่ท่ีแตกตางกัน
จงึ จําเปน ตองเนนการเรียนรกู ารประกอบอาชพี ใหสอดคลองกับหลักการพื้นที่ และการพัฒนา
ใน 5 ศักยภาพหลักของพื้นที่ และ 5 กลุมอาชีพใหม คือ กลุมอาชีพดานการเกษตร
อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการและการบริการ โดยเนน
ศกั ยภาพตามธรรมชาตขิ องแตละพน้ื ที่ ไดแ ก 1) ศกั ยภาพหลกั ของทรัพยากรธรรมชาติในแตละ
พ้ืนท่ี 2) ศกั ยภาพของพืน้ ทตี่ ามลักษณะภมู ิอากาศ 3) ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลที่ตั้ง
ของแตล ะพ้นื ท่ี 4) ศักยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี องคความรู ภมู ิปญญา และวิถีชีวิต
ของแตล ะพ้นื ที่ และ 5) ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตล ะพ้ืนท่ี

57

เรือ่ งที่ 2 การวิเคราะหศกั ยภาพหลกั ของพน้ื ท่ใี นการพฒั นาอาชพี

1. ศักยภาพหลักของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแตละพื้นท่ี หมายถงึ สง่ิ แวดลอมตาง ๆ
ท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถนํามาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน นํ้า
ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ และพลังงาน เปนตน การแยกแยะเพ่ือนําเอาศักยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ มาใชประโยชนในการประกอบอาชีพ ตองพิจารณาวา
ทรพั ยากรธรรมชาติท่อี ยูใ นพืน้ ทนี่ ้ัน ๆ มีอะไรบาง เพียงพอหรือไม ถาไมมี ก็ตองพิจารณาใหม
วาจะประกอบอาชีพท่ีตัดสินใจเลือกไวหรือไม เชน ตองการผลิตนํ้าแรธรรมชาติจําหนาย แตใน
พน้ื ที่ไมมตี าน้าํ ไหลผา น และไมสามารถขดุ น้ําบาดาลได กต็ อ งพิจารณาตอไป ถาตองการอาชีพน้ี
เพราะเห็นวามคี นนยิ มดม่ื นา้ํ แรมาก ประกอบกับตลาดยงั มีความตองการเชนกนั ก็ตอ งพิจารณา
อีกวา การลงทุนหาทรัพยากรน้ําและแรธาตุ มาใชในการผลิตน้ําแร จะเสียคาใชจายคุมทุน
หรือไม

2. ศักยภาพของพื้นทต่ี ามลกั ษณะภูมิอากาศ หมายถึง ลักษณะของลม ฟา อากาศ
ที่มีอยูประจําทองถ่ินใดทองถิ่นหน่ึง โดยพิจารณาจากคาเฉลี่ยของอุณหภูมิประจําเดือน และ
ปรมิ าณน้าํ ฝนในชวงระยะเวลาตา ง ๆ ในรอบป เชน ภาคเหนือของประเทศไทย มีอากาศหนาว
เย็น หรือรอนช้ืนสลับกับฤดูแลง อาชีพทางการเกษตร ท่ีทํารายไดใหประชากร ไดแก การทํา
สวน ทําไร ทาํ นาและเลีย้ งสัตว หรือภาคใตมีฝนตกตลอดท้ังป เหมาะแกการเพาะปลูกพืชเมือง
รอน ท่ีตองการความชุมชื้นสูง เชน ยางพารา ปาลมน้ํามัน เปนตน เพราะฉะนั้นการประกอบ
อาชพี อะไรก็ตาม จาํ เปน ตองพิจารณาถงึ สภาพภูมิอากาศดวย

3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทําเลที่ต้ังของแตละพ้ืนท่ี หมายถึง ลักษณะพื้นท่ี
และทาํ เลทต่ี ั้งในแตละจงั หวดั ซึ่งมลี ักษณะแตกตา งกัน เชน เปนภเู ขา ท่รี าบสงู ทีร่ าบลุม ท่ีราบ
ชายฝง สิ่งทค่ี วรศึกษา เชน ขนาดของพื้นท่ี ความลาดชนั และความสูงของพน้ื ท่ี เปนตน รวมถึง
การผลติ การจําหนาย หรอื การใหบรกิ าร ตอ งคาํ นึงถงึ ทาํ เลทต่ี ้ังทเ่ี หมาะสม

4. ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแตละพื้นท่ี ประเทศ
ไทยมีสภาพภมู ปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติที่แตกตางกันออกไปในแตละภาค
จึงมีความแตกตางกัน ในการดํารงชีวิต ทั้งดานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และการประกอบ

58

อาชพี ถงึ แมว าคนไทยสว นใหญ มีวิถีชีวติ ผูกพันกับการเกษตร ถึงรอยละ 80 แตก็ควรพิจารณา
เลอื กอาชพี ท่ีเหมาะสมกับศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณใี หส อดคลองกับวถิ ีชวี ติ ของแตละพนื้ ที่ดวย

5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนุษยในแตละพื้นท่ี หมายถึง การนาํ ศักยภาพของแตละ
บุคคลในแตล ะพ้ืนท่ีมาใชในการปฏบิ ตั งิ าน ใหเกิดประโยชนสูงสุด และสรางใหแตละบุคคลเกิด
ทัศนคติที่ดีตออาชีพ องคกร ตลอดจนเกิดความตระหนักในคุณคาของตนเอง และเพื่อน
รวมงาน ในประเทศไทยยังมีบุคคลอีกหลายกลุมท่ีสามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ความเปนอยู
ตลอดจนการพฒั นาอาชพี ใหเหมาะสมกบั ยุคสมัย โดยเฉพาะอาชีพดานเกษตรกรรม ปจจุบันมี
การทําเกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟน คนื ธรรมชาตใิ หอ ุดมสมบรู ณแ ทนสภาพดนิ เดมิ

ท่ีเคยถูกทาํ ลายไป ทรพั ยากรมนุษยเปน เรอ่ื งทีส่ าํ คญั ทีต่ องพิจารณาดําเนินการประกอบอาชีพ
อยา งเปน ระบบ ใหสอดคลอ งกับความตอ งการของบคุ คลในแตล ะพ้ืนท่ี

จะเหน็ ไดว า การวเิ คราะหศกั ยภาพตามหลักของพน้ื ท่ี ทัง้ 5 ดา น ดังกลาวขา งตน

มคี วามสําคญั และจาํ เปนตอ การประกอบอาชีพใหเ ขม แขง็ หากไดวิเคราะหศักยภาพของตนเอง
อยางรอบดาน รวมถึงปจ จัยภายในตวั ตน และภายนอกของผปู ระกอบอาชีพ ถาวิเคราะหขอมูล
ไดม ากและถูกตอ ง กม็ โี อกาสเขา สูการประกอบอาชีพ ไดมากย่ิงข้นึ

59

เรือ่ งที่ 3 ตวั อยา งอาชพี ทสี่ อดคลอ งกบั ศกั ยภาพของพ้นื ที่

กลุมอาชพี ใหมด า นเกษตรกรรม

1. กลมุ การผลิต เชน การปลกู ไมดอกเพ่ือการคา การผลติ ปยุ อนิ ทรีย ปยุ นาํ้ หมกั
ชีวภาพ

2. กลุมแปรรูป เชน การแปรรูปปลานิลแดดเดียว การแปรรูปทําไสกรอกจากปลาดุก
การตากแหงและหมกั ดองผกั และผลไม

3. กลมุ เศรษฐกิจพอเพยี ง เชน การเกษตรแบบย่ังยืน การเกษตรแบบผสมผสานตาม
แนวเกษตรทฤษฎีใหม และแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง

ตัวอยา ง อาชพี การปลกู พชื ผักโดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ

ปจ จบุ ัน การเพาะปลูกของประเทศไทย ประสบปญหาท่ีสําคัญคือ ดินขาดความอุดม
สมบูรณ และปญหาแมลงศัตรูรบกวน เกษตรกรใชวิธีแกปญหาโดยใชยาฆาแมลง ซ่ึงเปน
อนั ตรายตอ เกษตรกรผผู ลติ และผูบริโภค อกี ท้งั ยังเกดิ มลพษิ ตอ สง่ิ แวดลอม รัฐบาลจงึ สงเสริมให
เกษตรกรปฏิบัติตามแนวทางการเกษตรธรรมชาติแบบยั่งยืน ตามแนวพระราชดําริ ซึ่งเปน
แนวทางท่ีจะทําใหดินมีความอุดมสมบูรณ มีศักยภาพในการเพาะปลูก และใหผลผลิต
ท่ปี ลอดภยั จากสารพษิ ตา ง ๆ

ดังนั้น ผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการดําเนินตามแนว
พระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัว โดยตองศึกษา และเรียนรูในเรื่องหลักเกษตร
ธรรมชาติ การปรับปรุงดิน โดยใชปุยอินทรีย และปุยชีวภาพ การปองกันและกําจัดศัตรูพืช
โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ การทําสมุนไพร เพ่ือปองกันและกําจัดศัตรูพืช ฝกปฏิบัติทําปุยหมัก
ปุยน้ําชีวภาพและน้ําสกัดชีวภาพ ฝกปฏิบัติการเพาะกลา การจัดดอกไม การแปรรูปผลผลิต
การเกษตร การวางแผนการปลูกพืชผัก โดยวิธีเกษตรธรรมชาติในอนาคต ฝกจนเกิดทักษะ
จะไดอ าชีพทห่ี ลากหลาย จากแนวทางเกษตรธรรมชาตแิ บบย่งั ยนื

60

ตวั อยาง การวิเคราะหศ กั ยภาพของพ้นื ทท่ี ่สี อดคลอ งกบั อาชพี การปลกู พชื ผักโดยวิธีเกษตร

ธรรมชาติ

ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดา น รายละเอยี ดทีค่ วรพจิ ารณา

1 การวเิ คราะหท รพั ยากรธรรมชาติ - ดนิ มีความอุดมสมบูรณ ไมมแี มลงศัตรูพชื

ในแตล ะพ้นื ที่ รบกวน

- มีแหลงน้ํา และลักษณะพื้นทเี่ ปน ทรี่ าบลมุ อดุ ม
สมบรู ณ เหมาะสมในการทําการเกษตร

2 การวิเคราะหพ้นื ทต่ี ามลักษณะ - ฤดูกาล ภมู อิ ากาศเหมาะสมตอการปลกู พชื ผกั

ภมู ิอากาศ เชน มีอากาศเย็น ไมรอนจดั

3 การวิเคราะหภมู ิประเทศ และ - เปน ฐานการผลติ ทางการเกษตร มแี หลง

ทาํ เลทีต่ ง้ั ของแตละพ้นื ท่ี ชลประทาน

- ไมมคี วามเสย่ี งจากภัยธรรมชาติ ท่มี ีผลตอ ความ
เสียหายอยางรนุ แรง

- มพี น้ื ท่ีพอเพยี งเหมาะสม มกี ารคมนาคมสะดวก

4 การวิเคราะห ศลิ ปะ วัฒนธรรม - มีวถิ ีชวี ิตแบบเกษตรกรรม
ประเพณี และวถิ ชี วี ิตของแตล ะ - ประชาชนสนใจในวิถีธรรมชาติ
พนื้ ที่

5 การวเิ คราะหท รพั ยากรมนษุ ย - มภี มู ปิ ญ ญา/ผูรู เก่ียวกับเกษตรธรรมชาติ
ในแตละพื้นที่
- ไดรับการสนับสนุนจากหนว ยงานและชมุ ชน
อยางมาก

61

กลมุ อาชพี ใหมดา นอตุ สาหกรรม

1. กลุมไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส เชน ชา งไฟฟา อตุ สาหกรรม ชา งเชือ่ มโลหะดว ย
ไฟฟา และแกส ชางเชอ่ื มเหลก็ ดัดประตู หนา ตาง ชางเดินสายไฟฟาภายในอาคาร ชา งเดนิ สาย
และตดิ ตั้งอุปกรณไ ฟฟา ชางซอ มแอร เปนตน

2. กลุม สง่ิ ทอและตกแตงผา เชน การทําซิลคสกรีน การทําผามัดยอม การทําผาบาติก
การทอผา ดว ยกีก่ ระตกุ เปนตน

3. กลุมเครื่องยนต เชน การซอมรถยนต และรถจักรยานยนต ชางเครื่องยนต
ชางเคาะตัวถงั และพนสรี ถยนต เปนตน

4. กลุมศิลปประดิษฐ และอัญมณี เชน การแกะสลักวัสดุออนเบื้องตน การขึ้นรูป
กระถางตน ไมด ว ยแปน หมนุ การทาํ ของชํารว ยดว ยเซรามกิ ผา ทอ การประดิษฐของที่ระลกึ
ทเี่ ปนเอกลกั ษณของไทยจากผาหรอื โลหะ เปน ตน

5. กลุมอุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมการทองเที่ยว ธุรกิจโรงแรม รานอาหาร
การคมนาคมขนสง เปนตน

ตัวอยาง อาชีพตัวแทนจําหนายท่ีพักและบริการทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวเชิง
วฒั นธรรมในกลมุ ประเทศภูมภิ าคอาเซียนโดยใชอ นิ เทอรเนต็

ปจ จุบนั ประชาคมโลกมีการติดตอสอื่ สารกันมากขึน้ อยางรวดเรว็ คนในภูมิภาคกลุม
ประเทศอาเซียน จะติดตอไปมาหาสูกันมากข้ึน แตละประเทศตางมีความสนใจเก่ียวกับ
ประเพณี วัฒนธรรมของชาตเิ พ่ือนบาน มีความตอ งการเรียนรูและทองเท่ียวกันมากข้ึน จนเกิด
เปนธุรกิจการทองเท่ียวและอุตสาหกรรมบริการที่มีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วท่ัวโลก
กอ ใหเ กดิ รายไดเปนเงินตราตางประเทศ เขาประเทศเปนจํานวนมาก เม่ือเทียบกับรายไดจาก
สินคาอน่ื ๆ นอกจากน้ี ยงั ทาํ ใหเ กิดธุรกจิ โรงแรม รานอาหาร การคมนาคมและขนสง ขยายตัว
ตามไปดวย การทองเท่ียว จึงถือวาเปนกิจกรรมการกระจายรายได และความเจริญสูภูมิภาค
ตาง ๆ เกิดการสรางงาน สรางอาชีพ ใหแกชุมชนในทองถ่ิน และยังเปนตัวกระตุน ใหเกิดการ
ผลิต และการนาํ เอาทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ มาใชใหเ กดิ ประโยชนอ ยา งเหมาะสม โดยอยูในรูป
ของสินคา และบริการเกี่ยวกับการทองเท่ียว ดังน้ัน การรวบรวมขอมูล นําเสนอ ใหบริการ
เก่ยี วกับการทองเทย่ี ว โดยเปนตัวกลางระหวางผูประกอบการ กับผูใชบริการ หรือเรียกงาย ๆ
วา เปน ตัวแทนใหเชาทีพ่ กั และบริการทองเที่ยว ผูเรียนจึงควรมีความรู ความเขาใจ มีทักษะใน
การส่อื สาร การเจรจาตอรอง มีทกั ษะการใชอ นิ เทอรเน็ต สําหรบั การเปนตัวแทนจําหนาย และ

62

เจตคติท่ีดี เก่ียวกับธุรกิจท่ีพัก และการใหบริการการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในกลุมประเทศ
อาเซยี น

ตวั อยาง การวิเคราะหศ กั ยภาพของพื้นทท่ี สี่ อดคลอ งกบั อาชพี ตัวแทนจําหนา ยทพ่ี กั
และบรกิ ารทองเทีย่ วฯ

ที่ ศักยภาพ 5 ดา น รายละเอยี ดทค่ี วรพิจารณา

1 การวิเคราะหท รพั ยากรธรรมชาติ - ขอมลู ของแหลงทองเที่ยว
ในแตละพ้นื ท่ี

2 การวเิ คราะหพ้ืนทีต่ ามลักษณะ - มีบรรยากาศท่ีเหมาะสมเปน แหลงทอ งเที่ยว
ภูมอิ ากาศ

3 การวเิ คราะหภ ูมปิ ระเทศ และทาํ เล - มีทาํ เลท่ีตั้งอยูในชมุ ชน ทม่ี กี ารเดนิ ทางได

ทต่ี ัง้ ของแตล ะพน้ื ท่ี สะดวก

4 การวิเคราะห ศิลปะ วฒั นธรรม - มีทนุ ทางสังคมและวัฒนธรรม การบริโภคของ
ประเพณี และวิถีชวี ติ ของแตละพ้นื ที่ ตลาดโลกมแี นวโนมกระแสความนยิ มสนิ คา
ตะวนั ออกมากข้นึ

- มีศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวติ แบบ
ดงั้ เดิม และเปนเอกลักษณ

5 การวิเคราะหท รพั ยากรมนษุ ยในแต - มคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยที างการ

ละพื้นที่ สื่อสาร และสามารถส่ือสารภาษาตางประเทศ

และภาษาในกลุมประเทศเพ่ือนบานอาเซียน

- มรี ะบบประกนั สังคม และการคุมครองแรงงาน

63

กลุม อาชพี ใหมดา นพาณิชยกรรม

1. กลมุ พัฒนาผลิตภณั ฑ เชน การออกแบบและการบรรจุภัณฑชมุ ชน การพฒั นา
ผลิตภัณฑเพอื่ ชมุ ชน การพฒั นาและออกแบบผลติ ภณั ฑ

2. การขายสนิ คาทางอินเทอรเ นต็ การสรางรา นคาทางอินเทอรเ น็ต
3. กลุมผูประกอบการ เชน การประกอบธุรกิจชุมชน รานคาปลีกกลุมแมบาน และ
วสิ าหกจิ ชุมชน

ตวั อยาง อาชพี การพฒั นากลุมอาชพี ทอผาพนื้ เมอื ง
ผา ทอพนื้ เมอื งมีอยูท่ัวทุกภมู ิภาคของไทย มลี กั ษณะแตกตา งกัน ทั้งการออกแบบ สีสัน
และวัสดุ ท่ีใช ขึ้นอยูกับทรัพยากรของพื้นท่ีนั้น ๆ เปนท่ีนิยมของคนทั่วไป ทั้งคนไทยและ
ตางประเทศ สําหรับใชเปนเครื่องนุงหมและของใชในชีวิตประจําวัน ปจจุบัน มีการผลิตผา
พื้นเมอื ง ในลกั ษณะอตุ สาหกรรมโรงงาน โดยมีบรษิ ทั รับจางชางทอผา โดยกําหนดลวดลายให
พรอมทั้งจัดเสนไหม เสนดายท่ียอมสีแลว มาใหทอ เพ่ือเปนการควบคุมคุณภาพ และอีก
ลักษณะหนึ่ง จะมีคนกลางมารับซื้อผา จากชางทออิสระ ซ่ึงหาวัสดุทําเองตั้งแตการปนดาย
ยอมสี ทอตามลวดลายท่ีตองการ โดยทําท่ีบานของตนเอง แตคนกลางจะเปนผูกําหนดราคา
ตามคณุ ภาพ และลวดลายของผาท่ตี ลาดตอ งการ ในบางพื้นที่มีการรวมตัวกันเปนกลุมทําเปน
อาชพี เสรมิ และจําหนายในลกั ษณะสหกรณ เชน กลุมทอผาของศูนยศิลปาชีพ หรือกลุมอ่ืน ๆ
ในพ้ืนท่ี การทอผาพ้ืนเมือง สวนใหญจะออกแบบลวดลายเปนสัญลักษณ หรือเอกลักษณ
ด้ังเดิม โดยเฉพาะชุมชน ที่มีเชื้อสายชาติพันธุบางกลุม ที่กระจายตัวกันอยูในภาคตาง ๆ ของ
ประเทศไทย จนถึงปจจุบันน้ี มีเอกลักษณการออกแบบของตนเอง ถึงแมวาจะมีการพัฒนา
ปรบั เปล่ียนสสี นั ลวดลาย ตามรสนยิ มของตลาด แตก ็ยงั มบี างสว นท่ีคงเอกลักษณของตนเองไว
เพ่ือแสดงความชัดเจน ถึงชาติพันธุในแตละภูมิภาค ผูบริโภคสามารถเลือกซ้ือไดอยาง
หลากหลาย การแขงขันในดานการตลาดก็ยอมจะสูงข้ึน ดังน้ัน ผูเรียนควรมีความรู
ความสามารถ ทกั ษะและเจตคตติ ออาชพี และคาํ นึงถงึ การวิเคราะหสภาพกลุมอาชีพและธุรกิจ
อาชพี ทอผา พน้ื เมอื ง

64

ตวั อยา ง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพ้ืนทท่ี สี่ อดคลอ งกบั อาชพี ทอผา พน้ื เมือง

ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดาน รายละเอียดทค่ี วรพิจารณา

1 การวิเคราะหท รัพยากรธรรมชาติ - มีทรพั ยากรธรรมชาติ ท่พี อเพียง สามารถ

ในแตล ะพื้นท่ี นํามาเปน วตั ถุดิบได

2 การวเิ คราะหพ ื้นท่ตี ามลักษณะ - มภี ูมิอากาศทเ่ี หมาะสม
ภมู ิอากาศ - มขี อมลู ของภูมิอากาศอยูเสมอ

3 การวิเคราะหภมู ิประเทศ และทาํ เล - เปน ศูนยก ลางหัตถอุตสาหกรรม

ท่ีตง้ั ของแตล ะพนื้ ท่ี - มีพ้นื ที่ ท่ีเอื้อตอการบรกิ ารดา นการคา

การลงทนุ และการทองเทยี่ ว เชอื่ มโยงกบั

ประเทศเพ่ือนบา น สามารถตดิ ตอการคาได

- มพี ้นื ท่ชี ายแดน ติดตอ กับประเทศเพือ่ นบา น

4 การวิเคราะห ศิลปะ วฒั นธรรม - มแี หลง อุตสาหกรรมท่เี กย่ี วขอ ง ทุนทางสังคม
ประเพณี และวิถชี ีวติ ของแตล ะพน้ื ที่ และวฒั นธรรม

5 การวิเคราะหท รพั ยากรมนษุ ยใ นแต - มีภมู ปิ ญญาและทกั ษะฝมอื แรงงาน
ละพน้ื ท่ี

กลมุ อาชพี ใหมดานความคดิ สรา งสรรค

1. คอมพิวเตอรแ ละธรุ การ ไดแก โปรแกรมตา ง ๆ ทีใ่ ชกบั เคร่อื งคอมพวิ เตอร
2. กลุมออกแบบ เชน โปรแกรม Auto Cad เพ่ืองานออกแบบกอสราง ออกแบบ
ชนิ้ สวนทางอุตสาหกรรม โปรแกรม Solid Work เพ่อื ใชเ ขียนแบบเครื่องกล
3. กลุมงานในสํานักงาน เชน Office and Multimedia การจัดทําระบบขอมูลทาง
การเงินและบัญชีดวยโปรแกรม Excel และโปรแกรมบัญชีสําเร็จรูป เพื่อใชในการทํางานทาง
ธุรกิจ การใชคอมพิวเตอร ในสํานักงานดวยโปรแกรม Microsoft Office โปรแกรม Microsoft

65

Access เปนโปรแกรม สําหรับการบันทึกฐานขอมูล เชน งานบุคลากร รายการหนังสือใน
หอ งสมดุ

4. กลมุ ชา งคอมพิวเตอร เชน ชา งซอม ชางประกอบ ชา งติดต้งั ระบบและบาํ รงุ รกั ษา
คอมพวิ เตอร

ตวั อยาง อาชพี การสรางภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) เพอื่ ธุรกจิ

ในยคุ ปจจุบนั คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของมนุษยมากขึ้น ธุรกิจ
อุตสาหกรรม Animation เปนงานเกยี่ วกบั การสรา งภาพเคล่อื นไหว ทใี่ หค วามบันเทิง และงาน
สรางสรรคการออกแบบโดยการใชคอมพิวเตอร เปนอาชีพหนึ่งท่ีสามารถทํารายไดดี ทั้งใน
ปจจุบันและอนาคต ผูเรียนท่ีสนใจ ควรมีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติเก่ียวกับ
ความหมาย ความสําคัญ และประโยชนข องความคิดสรางสรรค เทคนิคการคิดแบบสรางสรรค
การกําจัดส่ิงกีดกั้นความคิดเชิงสรางสรรค ความรูเบื้องตนเก่ียวกับการสรางภาพเคล่ือนไหว
(Animation) เพื่อธุรกิจ การออกแบบชิ้นงาน (Animation Workshop) ประโยชนและโทษ
ของการใชคอมพิวเตอร จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ กฎหมายที่เกี่ยวกับการประกอบ
อาชีพ ซึ่งผูป ระกอบอาชพี ทางดา นความคิดสรา งสรรค ควรหม่ันฝกฝนและพัฒนาความคิดอยาง
ตอเนื่อง เพื่อสรางสรรคผลงานที่ดี และมีศักยภาพดานทักษะสูงขึ้น จนสามารถสงผลงานเขา
ประกวดแขง ขนั ได

ตัวอยาง การวิเคราะหศ กั ยภาพของพื้นทท่ี ส่ี อดคลอ งกบั อาชพี การสรา งภาพเคลอื่ นไหว
(Animation) เพอ่ื ธรุ กจิ

ที่ ศักยภาพ 5 ดาน รายละเอียดทีค่ วรพิจารณา

1 การวิเคราะหท รัพยากรธรรมชาติใน -
แตล ะพื้นท่ี

2 การวิเคราะหพ ื้นทตี่ ามลักษณะ -
ภูมอิ ากาศ

3 การวิเคราะหภ ูมปิ ระเทศ และทาํ เล -
ทตี่ ั้งของแตล ะพืน้ ท่ี

66

ที่ ศกั ยภาพ 5 ดาน รายละเอยี ดท่ีควรพจิ ารณา

4 การวิเคราะหศลิ ปะ วฒั นธรรม - มีขอมลู เกยี่ วกับศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี
ประเพณี และวถิ ีชีวิตของแตละพ้นื ท่ี ท่ีผสมผสานของหลากหลายพน้ื ที่

5 การวเิ คราะหทรัพยากรมนษุ ยในแต - มแี รงงานทีม่ ที ักษะฝม อื ความรู ความสามารถ

ละพ้ืนท่ี ในการใชเ ทคโนโลยี

- มีการสงเสริมโอกาสทางการศกึ ษาอยา ง
ตอ เนอื่ ง

หมายเหตุ บางอาชพี เมือ่ วิเคราะหศ ักยภาพแลว อาจไมมรี ายละเอียดการพิจารณาครบทั้ง
5 ดา น

กลุม อาชพี ใหมดา นบรหิ ารจัดการและการบรกิ าร

1. กลุมการทองเทย่ี ว เชน มคั คุเทศก พนักงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม พนักงาน
ผสมเครือ่ งดม่ื การทําอาหารวางนานาชาติ การบรกิ ารท่พี กั ในรปู แบบโฮมสเตย เปนตน

2. กลมุ สุขภาพ เชน การนวดแผนไทย นวดดว ยลูกประคบ สปาเพ่ือสุขภาพ การดูแล
เด็กและผสู งู อายุ เปนตน

3. กลุมการซอมแซมและบํารุงรักษา เชน การซอมเคร่ืองปรับอากาศ การซอม
เครือ่ งยนตดีเซล ซอมเคร่ืองยนตเบนซิน การซอมเครื่องยนตเล็กเพ่ือการเกษตร การซอมจักร
อตุ สาหกรรม การซอ มเครือ่ งใช ไฟฟา เปนตน

4. กลุมคมนาคมและการขนสง ไดแก อาชีพดาน Logistics หรือการขนสงสินคา
ทางบก ทางอากาศและทางเรอื

5. กลมุ ชา งกอสราง เชน ชางปกู ระเบ้อื ง ชา งไม ชา งปูน ชา งทาสี ชางเชอ่ื มโลหะ
6. กลมุ ผลิตวัสดุกอ สราง เชน การทาํ บลอ็ กคอนกรตี เสาคอนกรตี เปนตน

67

ตัวอยาง อาชพี การบรกิ ารทพ่ี กั ในรูปแบบโฮมสเตย

การบริการที่พกั ในรปู แบบโฮมสเตย เปน การประกอบอาชพี ธรุ กิจในชุมชน โดยนําเอา
ตนทุนทางสังคม คือ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม มาบริหารจัดการ ไดแก ทุน
ทรัพยากรบคุ คล ทุนภมู ปิ ญญาและแหลงเรยี นรู ทุนทางวัฒนธรรม ทนุ งบประมาณของรัฐ และ
ทนุ ทางความรู มาใชจ ดั กจิ กรรมการเรียนรู โดยมีเครือขายเขามามีสวนรวม และใชชุมชนเปน
ฐาน ควบคูกบั การสรางองคค วามรู เพอื่ เพิ่มมูลคา จูงใจใหน ักทองเทยี่ ว มาสัมผัสกับการทองเที่ยว
เชิงอนุรักษ ในรูปแบบโฮมสเตย ดังนั้น ผูเรียนจึงตองเรียนรูในหลักการจัดโฮมสเตยใหเขาใจ
ศึกษาหาความรู ในเร่ืองที่เกี่ยวของกับสถานการณการทองเท่ียว นโยบายการทองเท่ียวของ
ประเทศไทย ความรูพ้ืนฐานและมาตรฐานการจัดโฮมสเตย การจัดกิจกรรมนําเที่ยว การตอนรับ
นักทองเท่ียว การบริการและการเปนมัคคุเทศก วิธีการสรางเครือขายการทองเที่ยว
การประกอบอาหาร การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน ภาษาอังกฤษเพือ่ การสือ่ สาร การทองเท่ียวและ
การบริหารจัดการ องคความรูท่ีหลากหลายน้ี จะสามารถพัฒนาตนเอง และกลุมไปสูการ
บรหิ ารจัดการที่มีมาตรฐานเปนไปตามหลกั การ ของอาชีพการบริการที่พักสําหรับนักทองเท่ียว
ในรูปแบบโฮมสเตย

ตวั อยาง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพ้ืนทที่ ีส่ อดคลอ งกบั อาชพี การบรกิ ารทพี่ ัก
ในรปู แบบโฮมสเตย

ที่ ศกั ยภาพ 5 ดาน รายละเอยี ดท่คี วรพิจารณา

1 การวเิ คราะหทรัพยากรธรรมชาติ - มแี หลงทองเท่ยี วท่ีเปนจุดสนใจ มคี วามแปลก

ในแตล ะพน้ื ที่ ชวนใหผูคนมาเท่ยี วพักผอ น และพกั คา งคืน

- มีเสน ทางศกึ ษาธรรมชาตทิ ่นี าสนใจ

- ใกลแหลง นาํ้ นํ้าตก ทะเล มีทิวทศั นท ่ีสวยงาม

- ไมถ กู รบกวนจากแมลง และสตั วอ ่ืน ๆ

68

2 การวิเคราะหพ ้ืนทีต่ ามลักษณะ - ภมู อิ ากาศไมแ ปรปรวนบอยมากนัก
ภมู ิอากาศ

3 การวิเคราะหภ ูมิประเทศ และทาํ เล - มีทําเลทีต่ ั้งอยูไมไกลเกนิ ไป เดินทางไดสะดวก

ท่ตี ้ังของแตล ะพ้ืนท่ี - ขอมูลแตละพื้นทที่ ี่เลือก อยใู กลจ ุดทอ งเท่ียว

หรอื ไม มีความปลอดภยั เพยี งใด และมคี ูแ ขงที่

สําคัญหรอื ไม

4 การวิเคราะห ศิลปะ วัฒนธรรม - เปน แหลงทอ งเที่ยวทางวฒั นธรรม ทเ่ี ปน
ประเพณี และวถิ ีชีวิตของแตล ะพนื้ ท่ี ธรรมชาติ อยูในพ้ืนที่

5 การวเิ คราะหทรัพยากรมนุษยใ นแต - มีผปู ระกอบการ และแรงงานทมี่ คี วามรู

ละพืน้ ที่ ความสามารถ

- มคี วามรว มมอื จากชุมชนในดานการเปนมิตร
กบั นกั ทอ งเท่ยี วทีม่ าใชบ ริการท่ีพกั

69

กิจกรรมทา ยบทที่ 6

ใหผ ูเ รยี นรวมกลุม และอภิปรายรวมกนั สรปุ แลวนาํ เสนอในประเด็น 2 ขอ ดงั ตอ ไปนี้

1. ศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี ในการพัฒนาอาชีพในชุมชนของตนเอง ควรจะเนนกลุมอาชีพใด
เปนพิเศษ พรอ มท้งั ยกตวั อยางอาชพี ท่สี อดคลองกบั พื้นที่ ประกอบดวย

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

2. กลมุ อาชพี ดานความคิดสรางสรรคในชมุ ชนของตนเอง ควรจะเนนศกั ยภาพใดเปนพเิ ศษ
เพราะเหตุใด

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

70

บรรณานุกรม

วสุณี รกั ษาจันทร. ทักษะการเรียนรู ระดบั ประถมศกึ ษา ฉบบั ปรบั ปรงุ . สมทุ รสาคร : บา น
ไอที, 2554.
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน. การงานอาชีพและเทคโนโลยี. กรงุ เทพฯ :
โรงพิมพช มุ นุม สหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย, 2552.
สาํ นักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย. หนังสือเรียนรายวิชาทกั ษะ
การเรยี นรู ระดบั ประถมศึกษา หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551. เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ที่ 38/2553.
_________. หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชาทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 ระดบั
ประถมศกึ ษา. เอกสารทางวิชาการลาํ ดับท่ี 32/2555.
_________. หนังสือเรียนสาระทักษะการเรยี นรู รายวิชาทักษะการเรียนรู ทร11001
ระดบั ประถมศกึ ษา (ฉบบั ปรบั ปรงุ 2554). เอกสารทางวิชาการลําดบั ท่ี 33/2555.
อุษา เทยี นทอง. หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการเรียนรู รายวิชา ทกั ษะการเรยี นรู ทร11001 ระดบั

ประถมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : นวตสาร, 2554.
ทฤษฎีการเรียนรสู าํ หรบั ผใู หญ (ออนไลน). สืบคน จาก :

http://mediathailand.flogspot/2012/05/
fiog-post_1880 html [10 พฤษภาคม 2559].
อาคม จนั ตะนี. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าเลือก สาระทักษะการเรียนรู
รายวชิ า แหลง เรยี นรใู นชุมชน (ทร02021) (ออนไลน). สบื คนจาก :
http://www.krunokrabop.com/ private_folder/BOOK/TR02021-Morply.pdf [30
พฤษภาคม 2559].

คณะผูจดั ทาํ 71

ที่ปรกึ ษา เลขาธิการ กศน.
นายสรุ พงษ จาํ จด รองเลขาธิการ กศน.
นายประเสริฐ หอมดี ผอู าํ นวยการกลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
นางตรีนุช สขุ สเุ ดช และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
ผอู ํานวยการสถาบนั กศน.ภาคเหนอื
นายจําเริญ มูลฟอง รองผูอ าํ นวยการสถาบนั กศน.ภาคเหนือ
นายสมชาย เด็ดขาด

ผสู รปุ เนอื้ หา
นางดวงทพิ ย แกวประเสรฐิ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
นายพีระชัย มาลนิ กี ลุ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ
นางแกวตา ธีระกุลพิศทุ ธ์ิ ครชู าํ นาญการ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื
นางกรรณิการ ยศต้ือ ครูชาํ นาญการ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื
นางสาวนัชรี อมุ บางตลาด ครูชาํ นาญการ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ
นางอริสา ประกอบดี ครู สถาบนั กศน.ภาคเหนอื
นายธนากร หนอ แกว ครผู ูชว ย สถาบัน กศน.ภาคเหนือ

ผบู รรณาธิการ
นางสาวพิมพาพร อินทจกั ร ขาราชการบํานาญ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื
นางสาวอนงค ชชู ยั มงคล ครูเชย่ี วชาญ กศน.อาํ เภอเมืองอทุ ัยธานี
จังหวดั อุทยั ธานี

ผูพสิ ูจนอ กั ษร
นางดวงทพิ ย แกวประเสรฐิ ครชู ํานาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื
นางสาวกมลธรรม ชื่นพนั ธุ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ
นางณิชากร เมตาภรณ ครชู ํานาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื
นางแกว ตา ธีระกุลพศิ ทุ ธิ์ ครชู าํ นาญการ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื

ผอู อกแบบปก กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
นายศุภโชค ศรีรตั นศลิ ป และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

72


Click to View FlipBook Version