The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทักษะการพัฒนาอาชีพ 21002

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by muang, 2022-05-18 21:22:32

ทักษะการพัฒนาอาชีพ 21002

ทักษะการพัฒนาอาชีพ 21002

43

บทที่ 3
การจดั การความเส่ียง

สาระการเรียนรู
เปนการวิเคราะหศักยภาพ และการจัดการเก่ียวกับผลการดําเนินงานที่ผานมาจนถึงปจจุบัน โดย

มงุ เนนถึงยอดการขายสนิ คา และบริหารผลกําไร สภาพแวดลอ มภายใน ภายนอก จดุ ออ น จดุ แข็ง โอกาส และ
อุปสรรค มสี ง่ิ ใดบางท่ีทําใหเกิดความเส่ียงในการประกอบอาชีพ จะไดแนวทางในการจัดการแกไขความ
เสี่ยงเหลา น้ัน เพือ่ พัฒนาอาชพี ใหม ั่นคง
ตวั ช้วี ัด

1. วเิ คราะหศกั ยภาพ และจัดการเกย่ี วกับผลการดําเนินการในอดตี ที่ผานมา 2 - 3 ป
จนถึงปจ จุบนั

2. อธิบายวธิ ีแกปญ หาความเสี่ยงเพอ่ื ความม่นั คงของอาชีพ
3. สามารถวางแผนปฏิบตั กิ าร
ขอบขา ยเน้ือหา
เรื่องท่ี 1 ความหมายของความเส่ยี ง และการจดั การความเส่ยี ง
เร่อื งที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพ และการจดั การความเสยี่ งกับผลการดําเนินงาน
เรื่องที่ 3 การแกป ญหาความเสีย่ ง
เรอื่ งที่ 4 การวางแผนปฏบิ ตั กิ ารจัดการความเส่ียง

44

เรือ่ งที่ 1 ความหมายของความเสยี่ ง และการจัดการความเสย่ี ง
ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณหรือการกระทําใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายในสถานการณท่ีไมแนนอน

และสงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรือความลมเหลว หรือการลดโอกาสท่ีจะบรรลุเปาหมายและ
วัตถุประสงค เชน การลงทุนใดท่ีมีความไมแนนอนในอัตราผลตอบแทนสูงความเสี่ยงก็จะสูงตาม ดังน้ัน
จงึ อาจกลาวไดว า ความเส่ยี ง คือ อตั ราของความไมแนนอน

การจัดการความเส่ียง หมายถึง กระบวนการในการวิเคราะห ประเมิน ดูแล ตรวจสอบ และควบคุม
ความเส่ียงที่สัมพันธกับกิจกรรมหนาที่และกระบวนการทํางาน เพ่ือใหงานลดความเสียหายจากความเสี่ยง
มากทสี่ ุด อันเนอ่ื งมาจากภัยทต่ี องเผชิญในชวงเวลาใดเวลาหนง่ึ หรือเรยี กวา อุบตั ิภัยที่ยากจะหยั่งรูวาจะเกิดขึ้น
เม่ือใด
ความสําคัญของความเสยี่ ง

ในการบริหารจัดการทั่วไป จะตองดําเนินงานตามวัตถุประสงคและเปาหมายโดยเฉพาะที่จะ
เก่ยี วของกบั การควบคุมเพ่ือใหไดผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมายนั้น ส่ิงท่ีตองเนนคือ การตรวจสอบภายใน การ
ควบคุมภายใน การบริหารจดั การความเส่ียง
ผลกระทบจากความเสย่ี ง

ผลของความเส่ยี งอาจสง ผลกระทบถงึ องคการได ดังนี้
1. ความเสี่ยงตอ การดําเนนิ การทีข่ าดทุน ผลการดําเนนิ งานที่ขาดทนุ ขององคก ารแสวงหากําไรที่เกิด
จากการตัดสินใจผิดพลาดของผูบริหาร หรือเกิดจากภัยธรรมชาติท่ีไมคาดฝน อาจนําไปสูความลมสลาย
ขององคการได สวนองคก ารทางการศึกษาถงึ แมไ มไ ดเ ปนองคการแสวงหาผลกําไร หากผูบริหารตัดสินใจ
ผดิ พลาดยอ มสง ผลถงึ ความชะงักงนั หรือลมเหลวไดเชน กัน
2. ความเส่ียงตอความลมเหลวของนโยบายหรือโครงการ หากผิดพลาดในนโยบาย ยอมสงผล
ตอทศิ ทางการพัฒนา หากเปนระดับโครงการก็จะสง ผลถึงความสญู เปลาของโครงการ จากการไมไดศึกษา
ความเปนไปได ไมไดคาํ นึงจุดคุมทุน หรือมีการทุจริตคอรัปช่ัน โดยเฉพาะโครงการของภาครัฐที่ประสบ
ความลม เหลว
3. ความเสี่ยงตอความเช่ือถือไววางใจ ความสําเร็จหรือความลมเหลวของผูบริหาร จะสั่งสมถึง
กระแสนิยมและความไวว างใจของสาธารณชน
ทําไมจงึ ตอ งปองกันความเส่ียง
ทุกคนเห็นความสาํ คัญของการปองกันความเส่ยี งโดยการลดความเส่ียงอยแู ลว เชน ในชีวิตจริงการ
ทําประกันภัยรถยนต การทําประกันชีวิต หรือประกันสุขภาพ เหลานี้เปนการปองกันความเสี่ยงสวน
บคุ คล สวนการปอ งกันความเส่ียงจากองคก าร เพอื่ ลดความเส่ยี งในองคก ารนนั่ เอง จึงพอสรุปได ดงั นี้
1. เพื่อใหผลดาํ เนินงานของหนวยงานเปน ไปตามเปาหมาย และวตั ถปุ ระสงคท ว่ี างไว
2. เพ่ือสงเสริมความมั่นคง และลดความผันผวนของรายได อันจะทําใหองคการเติบโตอยางมี
เสถยี รภาพ

45

3. ลดโอกาสท่ีจะทาํ ใหเ กดิ การสูญเสยี จากการดําเนนิ งาน
4. เพ่ิมคุณคาใหก บั บคุ ลากร และผูเกยี่ วขอ ง
5. เพื่อใหเกดิ การบูรณาการกบั ระบบงานอื่นไดดีกวา เดมิ

เรือ่ งท่ี 2 การวิเคราะหศ กั ยภาพ และการจดั การความเสย่ี งกับผลการดาํ เนนิ งาน
ผูประกอบการตองทาํ การศึกษาวาธุรกิจของตนเปนอยางไร มีปจจัยอะไรที่มีผลกระทบตอความ

เสี่ยง การจําแนกความเสย่ี งเพอ่ื ประโยชนใ นการบรหิ ารจัดการ เชน ความเส่ียงท่ัวไป และความเส่ียงเฉพาะ
พ้ืนที่ ในแตละประเภทมีรายละเอียดแตกตางกัน บางอยางสามารถปองกันได การศึกษาความเส่ียงเฉพาะ
พน้ื ทใ่ี นสถานศึกษา นอกจากจะศึกษาปจจัยภายในที่มากระทบกับความเสี่ยงแลว ยังตองพิจารณาถึงความ
เสย่ี งท่อี าจจะเกดิ จากการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย การเงิน การบริหารจัดการทรพั ยสนิ การพสั ดุครุภัณฑ และ
นวตั กรรมเทคโนโลยี

การเขา ใจระบบและตวั แบบ เพอ่ื นาํ มาจัดทาํ การบริหารความเสี่ยง การศึกษาวงจรความเสี่ยงทําให
ผบู รหิ ารไดเหน็ ภาพรวมของความเสี่ยงทง้ั หมด เพ่ือประโยชนใ นการวางมาตรฐานระบบการควบคุมภายใน
การคน หา การระบุ การวิเคราะหความเสย่ี ง และการจัดลําดับความเส่ยี ง วงจรความเสย่ี ง ท่ฝี า ยบรหิ ารจัดการ
ความเส่ียงจะตอ งศกึ ษา เพ่อื นาํ มาบรหิ ารวามวี ธิ ีใดบาง เชน ใชก ารถายโอนความเสี่ยงหรือการควบคุมภายใน
เปน ตน

ในการวเิ คราะหศ ักยภาพ และการจดั การความเสีย่ งกับผลการดาํ เนินงาน ประกอบดวยปจจัยสําคัญ
ดงั ตอไปนี้

1. สินคา หมายถึง สิ่งที่มีตัวตน เชน เสื้อ รองเทา หรือไมมีตัวตน เชน แกส ซื้อขายได และสราง
ความพึงพอใจใหก บั ผูบรโิ ภคได

2. ประเภทสินคา แบงตามลกั ษณะการซ้อื หรือการบริโภค แบง ไดเปน 2 ประเภท คอื

1) สินคา อุปโภค บริโภค หมายถึง สินคาหรอื บรกิ ารทผ่ี ูซ อื้ ซ้ือไปเพอื่ ใชเ อง หรือ
เพื่อใชใ นครอบครัว สินคาอปุ โภค บริโภค แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื

(1) สินคาสะดวกซือ้ เปนสินคาทีผ่ ูซ อ้ื หาซอ้ื ไดงา ย ซื้อบอ ยครั้งใชเวลาในการซ้อื นอย ราคาสินคา
จะถกู การซือ้ มักจะมีการระบยุ ีห่ อ เพราะผซู อ้ื คุน เคยกบั สนิ คา นน้ั เชน ยาสีฟน ยาสระผม สบู ผงซักฟอก เปน ตน

(2) สินคาจับจา ยหรือสินคาเลอื กซ้ือ เปน สนิ คา ทผี่ ซู ้ือเปรียบเทียบคุณภาพ ราคา รูปแบบ สี กอน
การตดั สินใจจะเดนิ ดูหลาย ๆ รา นกอ น เชน เสื้อผา รองเทา เครอื่ งประดบั เปนตน

(3) สินคาพิเศษ เปนสินคาที่มีคุณสมบัติพิเศษ ราคาแพง เชน รถยนต บาน ผูซื้อจะคัดเลือก
อยางละเอียด เปรียบเทียบราคาสินคาและคณุ ภาพของสนิ คา

2) สินคาอุตสาหกรรม หมายถึง สินคาท่ีซื้อมาเพ่ือนํามาใชผลิตเปนสินคาอ่ืนตอไป หรือเพ่อื ใชใ น
การดาํ เนินงานของธุรกจิ เชน วัตถดุ ิบ อุปกรณเ ครือ่ งจกั ร เครื่องมอื ส่งิ กอสรา ง เปนตน

46

3. คา ใชจ า ยตา ง ๆ หมายถึง ตนทุนสวนทหี่ ักออกจากรายไดใ นรอบระยะเวลาทด่ี ําเนินการงานหนง่ึ ๆ
คา ใชจ า ยสามารถแบงไดเ ปน 3 ประเภท ดงั นี้

1) ตนทุนขาย หมายถึง ตนทุนของสินคาท่ีขายหรือบริการที่ให กลาวคือในกิจการซ้ือเพื่อ
ขาย ตนทนุ ของสินคา ทข่ี ายจะรวมราคาซอื้ และคาใชจ ายอืน่ ๆ ท่ีจําเปน เพ่ือใหสินคาอยูในสภาพพรอมที่จะ
ขาย สวนในกจิ การผลิตเพื่อขาย ตนทุนของสินคาท่ีขายคือ ตนทุนการผลิตของสินคาน้ัน ซ่ึงประกอบดวย คา
วตั ถดุ บิ คาแรงงานและโสหยุ การผลติ

2) คาใชจ า ยในการดําเนนิ งาน หมายถงึ คา ใชจายที่เกิดข้ึนอนั เนอื่ งมาจากการขายสนิ คาหรอื
บรกิ าร และคาใชจา ยทเี่ กดิ ขนึ้ เนอ่ื งจากการบรหิ ารกิจการอนั เปน สวนรวมของการดาํ เนนิ งาน

3) คาใชจายอื่น ๆ หมายถึง คาใชจา ยนอกเหนอื จากทจี่ ดั เขาเปน ตนทนุ ขาย และคา ใชจายใน
การดาํ เนินงาน เชน ดอกเบย้ี จายภาษีเงนิ ได

คาใชจ า ยสําหรับธรุ กิจขายสินคา จะประกอบดวย ตนทุนขาย คาใชจายในการดําเนินงาน
และคาใชจายอื่น ๆ สําหรับธุรกิจบริการคาใชจายจะประกอบไปดวยคาใชจายในการดําเนินงานและ
คา ใชจ ายอื่นเทา นั้น

4. ผลกาํ ไร คือผลตอบแทนท่ีกจิ การไดรับจากการขายสินคาหรือบรกิ าร จากการประกอบธรุ กจิ หรือ
เกิดจากการดาํ เนินงาน รวมทัง้ กจิ กรรมอ่ืนซ่ึงเกยี่ วเน่อื งกบั การประกอบธรุ กิจหรอื การดาํ เนนิ งาน

5. คแู ขง ขัน การมีคแู ขง ขนั ทางธุรกจิ เปรยี บเสมือนมียาชูกําลังท่ีจะทําใหกิจการ และพนักงานขายตาง ๆ
มีความเขมแขง็ และอดทนท่ีจะดําเนนิ การตอ ไปอยา งมีประสิทธิภาพ มีความกระตือรือรน สรางสรรค และ
พฒั นาตนเองใหม ีคุณภาพอยางตอเน่ือง ถึงจะแขงขันกับคแู ขงขนั ในตลาดธรุ กจิ ไดอยางแทจ ริง

คูแขงขันหมายถึง บุคคล กลุมบุคคลหรือสถาบันท่ีดําเนินกิจการดานธุรกิจอยางเดียวกัน
หรือใกลเคียงกัน ซ่ึงสามารถใชแทนกันได โดยตองแขงขันกันดานการขาย การผลิตทั้งปริมาณและ
คุณภาพ เพ่ือเปนกิจการที่ยึดครองตลาดใหมากที่สุด นอกจากนี้การแขงขันของกิจกรรมทางธุรกิจยังมี
ความสําคัญตอ ประชาชนทงั้ ระบบเศรษฐกจิ ดงั น้ี

1) มีสนิ คาใหเลือกหลากหลายมากขน้ึ เมื่อธุรกิจตางแขง ขันกันมากกจ็ ะตองมสี นิ คา และบรกิ าร
เพ่มิ มากขึ้น เปน ผลดีแกป ระชาชนท่จี ะมีโอกาสเลอื กใชสนิ คาไดต ามความตองการ

2) สินคามีคุณภาพสูงขึ้น การแขงขันเพื่อครองสวนแบงของตลาดใหไดมากที่สุด
และนานที่สุด สินคา จะตอ งมคี ณุ ภาพมากทีส่ ุดเพราะเปนแรงจงู ใจสาํ คัญของลกู คา

3) ราคาสนิ คาถกู ลง สนิ คาชนดิ ใดก็ตามเม่อื มจี าํ นวนมากโอกาสในการเลอื กมสี ูง คูแขงขนั
ธุรกิจจะใชกลยุทธจูงใจลูกคาดวยการลดราคา หรือใหสิทธิพิเศษตาง ๆ เพราะปริมาณสินคาที่มีอยู
ในทองตลาดคอนขางมาก

4) มีการพัฒนาสินคาแปลกใหมขึ้นเรื่อย ๆ กิจการตาง ๆ ที่ดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ
ที่มีคูแขงขันมากจะตองคิดคนวิธีการผลิตที่จะทําใหสินคามีคุณภาพสูงขึ้น รวมทั้งคิดคนประดิษฐ
ปรับปรุงสนิ คาอยูตลอดเวลาเพือ่ ใหเปน ท่ีตองการของผบู รโิ ภค

47

ส่ิงท่ีควรรูเกีย่ วกบั คแู ขงขนั
พนักงานขายหากมีขอมูลที่เก่ียวกับคูแขงขันมากเทาใด ความไดเปรียบในการขายสินคา
ก็ยิ่งมีมากขึ้นเทา นัน้ การมงุ ม่ันแตจะขายสินคาของตนเองเพียงอยางเดียวโดยไมพิจารณาสภาพตลาดและ
การขายของคูแขงขันจะทําใหเกิดปญหากับการขายของตนเอง ดังนั้นพนักงานขายควรรูขอมูลคูแขงขัน
ในดา นตา ง ๆ ดังตอ ไปน้ี
(1) ขนาดของตลาด พนักงานขายจะตองหาทางทราบใหไดวาคูแขงขันครอบครอง
สวนแบง ตลาดอยมู ากนอ ยเพยี งใด แนวโนม การขายในอนาคตจะเปนลักษณะใด กลมุ ลูกคา ทีส่ ําคัญ ไมวา จะเปน
เพศ อายุ อาชีพ และฐานะโดยรวม
(2) การจดั จําหนายสินคา แมจ ะเปน สนิ คาชนิดเดียวกัน สินคาแตละชนิดของแตละบริษัท
หรือแตล ะย่ีหอ จะมีวิธกี ารจัดจําหนา ยสนิ คา ที่แตกตา งกนั
(3) วธิ กี ารสง เสริมการขาย การสงเสริมการขายของสินคาตาง ๆ ในปจจุบันมีหลากหลาย
วธิ ีและเปนการแขงขันที่เพ่ิมความรุนแรงมากขึ้น ไมวาจะเปนการโฆษณาดวยสื่อมวลชนทุกชนิด การลด
แลก แจก แถม สง ช้ินสว นเขา รว มชงิ โชค
(4) ลักษณะของผลิตภัณฑ พนักงานขายจะตองรูวาขณะนี้สินคาของตนมีคูแขงขันอยู
มากนอยเพียงใด ยี่หอใดบาง สินคาของบริษัทใดกําลังครอบครองตลาด มีจุดดี จุดดอยอยางไร อะไรบางที่
เปนจุดไดเ ปรียบของสินคา ของตนเองกับสนิ คายี่หออ่นื ๆ
(5) ประเภทของลูกคา พนักงานขายจะตองรูวาลูกคาของคูแขงขันเปนบุคคลหรือกิจการ
ประเภทใด มอี ํานาจในการจดั ซอื้ ขนาดไหน ความตองการสินคาจากคแู ขง จํานวนใด ฐานะทางการเงินม่นั คง
หรอื ไม และลูกคา เหลา นัน้ ตองการสนิ คาท่มี ลี ักษณะเชน ใดบา ง
(6) ขนาดของกิจการ พนักงานขายจําเปนตองรูขอมูลเก่ียวกับกิจการของคูแขงขันวามี
ระดบั กาํ ลังความสามารถขนาดไหน เชน ขายเปน กจิ การระดับครอบครวั หรือเปน กิจการขนาดใหญท ี่มกี ําลงั
การผลติ สูง รวมท้ังเปนกิจการท่ีมสี าขาครอบคลมุ ไปทว่ั โลกหรือไม เพราะจะไดทราบกําลังการแขงขัน เชน
เงินทุน แมก ิจการของตนเองจะมีขนาดเลก็ กวา ก็อาจจะมผี ลดี
(7) ยุทธวิธีการขายของพนักงานขาย พนักงานขายเปนบุคคลที่มีความสําคัญตอกิจการ
ทุกแหงเพราะเปนกลไกหนึ่งที่จะทําใหกิจการกาวหนาตอไป ทุกกิจการจึงตองสงเสริมและสนับสนุน
ใหพนกั งานขายศึกษาหาความรู ความชํานาญ และใหมีความสามารถแขงขันกบั คแู ขงขันได
6. สวนครองการตลาด หมายถงึ อัตรายอดขายสนิ คา ตอยอดขายท้ังสิ้นของคูแขงขัน ในการ
วเิ คราะหสวนครองตลาด โดยจะหาสว นครองตลาดที่เกิดขน้ึ แลว นําไปเปรียบเทยี บกับอัตราสวนครองตลาด
ที่ไดกําหนดไว แลว วเิ คราะหถ งึ ผลตา งท่ีเกิดข้ึนวาเกดิ จากสาเหตุอะไรแลวจึงหาวธิ ีแกไ ขปรบั ปรุงตอไป
7. สมรรถนะธุรกิจ หมายถงึ ความรู ทกั ษะ และคณุ ลักษณะท่ีจําเปนของบุคคลในการทํางาน
บรหิ ารธุรกิจใหป ระสบความสาํ เรจ็ มีผลงานไดตามเกณฑห รือมาตรฐานทก่ี ําหนดหรือสูงกวา

48

ตวั อยา งสมรรถนะ
1. สมรรถนะสว นบุคคล ไดแก การตดิ ตอสือ่ สาร ความมน่ั ใจตนเอง ความคิดสรางสรรค
และการสรา งนวัตกรรม เปน ตน
2. สมรรถนะของผูจัดการ ไดแก การติดตอสื่อสาร การวางแผน และการบริหารงาน
การทาํ งานเปนทีม ความสามารถเชิงกลยุทธ ความสามารถดานตางประเทศ ความสามารถในการจัดการ
ตนเอง เปน ตน
8. สภาพแวดลอมภายใน หมายถึง การศึกษาจุดแข็ง จุดออน กลยุทธและวิธีการของ
คูแขง ขัน เพอ่ื ใหส ามารถหามาตรการในการตอบสนอง ประกอบดว ย
จุดแข็ง คือ การวิเคราะหสิ่งแวดลอมภายในองคกร สิ่งแวดลอมใดมีศักยภาพ มีคุณภาพ
ถอื วาเปน จุดแขง็ เชน ผลติ ภณั ฑมีคณุ ภาพดี เปนตน
จุดออน คือ การวิเคราะหสิ่งแวดลอมภายในองคกร สิ่งแวดลอมใดที่มีประสิทธิภาพ
และสรา งความเสยี หายใหอ งคกรถือวา เปนจดุ ออ น เชน บุคลากรขาดความชาํ นาญในการผลติ สินคา เปนตน
9. สภาพแวดลอมภายนอก หมายถึง การศึกษาโอกาสและอุปสรรค ตองมีความรูเกี่ยวกับ
โครงสรางธรุ กจิ ของตวั องคก รเอง ขอมูลลูกคา ขอมูลคูแขง ขาวสารทางเศรษฐกิจท้ังภายในและภายนอก
ประเทศมาเปน ตัวชวยในการวิเคราะหบนพน้ื ฐานของขอ มลู ทเ่ี ปนจริง
โอกาส คือการวิเคราะหสภาพแวดลอ มภายนอกองคกร สิ่งแวดลอมใดที่สงผลดีตอองคกร
และเอ้อื ใหองคกรประสบความสาํ เรจ็ ตามเปา หมายถอื วา เปน โอกาส เชน การทําธรุ กิจการขนสง ราคาน้ํามัน
ท่ีตํา่ ลงถือเปน โอกาสในการทาํ กําไร เปน ตน
อุปสรรค คือ สิ่งแวดลอมภายนอกองคกรท่ีสงผลเสียหายตอองคกร เชน ในชวงเศรษฐกิจตกตํ่า
ผบู รโิ ภคมีอาํ นาจการซ้อื ลดลง สงผลใหยอดขายสินคาตาง ๆ ลดลง และภัยน้ําทวมกอใหเกิดความเสียหาย
กับผูประกอบการตาง ๆหรือการทําธุรกิจการขนสง ถานํ้ามันข้ึนราคา ถือวาเปนอุปสรรคตอองคกร เพราะจะทําให
ผลกาํ ไรลดลง เปน ตน
10. วงจรความเสย่ี ง
วงจรความเสี่ยง หมายถึง การตัดสินใจของผูบริการทุกระดับจะตองเผชิญกับความเส่ียง
การทจี่ ะตอ งเผชญิ และตอ งเอาชนะความเสย่ี งไดน ้นั ผบู รหิ ารจาํ เปนตอ งรูและเขา ใจวงจรความเสี่ยงเพอื่ จะได
นํามาใชในการบรหิ ารจดั การความเส่ียงตามวัตถปุ ระสงคข ององคกร

49
การสรางตนแบบวงจรความเส่ียงจะทําใหผูบริหารไดมองเห็นภาพรวมของความเส่ียง
ทง้ั หมด สามารถนาํ มาใชในการวางมาตรฐานระบบควบคุมภายในของผูบริหารหรือของผูตรวจสอบภายใน
อีกดวย รวมทั้งการนําผลการปฏิบัติตามตนแบบวงจรความเส่ียงมาวางแผนการตรวจสอบ หรือการวาง
แผนการตรวจสอบภายในของผตู รวจสอบไดอีกวิธหี นงึ่

7 2 3

การตรวจสอบ สํารวจ คนหาและระบุ
ความเส่ยี ง ความเสี่ยง ความเสี่ยง

6 1 4

การบรหิ าร ทําความเขา ใจ การวิเคราะห
ความเสยี่ ง วัตถปุ ระสงคของ ความเสีย่ ง

องคกรนนั้ ๆ

5

การประเมิน
และจัดลาํ ดับ
ความเส่ียง

ภาพ แสดงตน แบบวงจรความเสีย่ ง

50

1. ทําความเขาใจวัตถุประสงคขององคการ เพื่อใหบุคลากรทุกคนไดเขาใจทิศทาง
และจุดมุงหมาย การที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายขององคการ ตองอาศัยการสนับสนุน
จากองคประกอบของวตั ถปุ ระสงค

2. การสํารวจความเส่ียง ผูบริหารควรมอบหมายใหมีผูรับผิดชอบ โดยเฉพาะทําหนาที่
สํารวจความเสี่ยงอาจเปน ฝายตรวจสอบ หรือผูตรวจสอบภายใน แตงตั้งผูรับผิดชอบ เปนฝายบริหาร
ความเสี่ยงโดยมอบหมายใหคณะทํางานจากผูเชี่ยวชาญของหนวยงานตาง ๆ เปนคณะทํางานเฉพาะกิจ
จนกวากิจกรรมการสํารวจความเสี่ยงแตล ะครั้งจะแลว เสร็จ

3. การคนหาและระบุความเสยี่ ง เปน การคน หาความเสี่ยงท่ตี อ งการจากขอมลู ตา ง ๆ
4. การวเิ คราะหค วามเสยี่ ง การวิเคราะหข ้ึนอยกู ับลักษณะความเส่ยี ง และชนิดของเคร่อื งมือ
ท่จี ะพจิ ารณามาใชในการวเิ คราะหท น่ี ิยมกันคอื การวเิ คราะหเชิงเปรียบเทยี บ
5. การประเมินและจัดลําดับความเสี่ยง การประเมินความเส่ียง ความเสี่ยงมีทั้งรูปธรรม
และนามธรรม แตห ลกั การประเมนิ จะตอ งทาํ ใหเ ห็นถงึ ความชดั เจน แปลผลออกมาเปนเชิงรูปธรรมท่ีสัมผัสได
วัดได กลาวคือ วัดเปนจํานวนได และวัดเปนเวลาได การจัดลําดับความเส่ียงอาจจัดเปน ความเสี่ยงสูง
ความเสย่ี งปานกลาง ความเสี่ยงต่าํ เม่ือสรุปผลออกมาไดแลว จึงนําไปบรหิ ารความเสีย่ งตอ ไป
6. การบริหารความเสี่ยง ถือเปนหัวใจของความสําเร็จขององคการโดยตรง ท้ังนี้ เพราะ
ความเส่ียงเปนอุปสรรคสําคัญตอความสําเร็จตามวัตถุประสงคขององคการ ดังน้ัน จึงเปนหนาท่ีของ
ฝายจดั การทต่ี องรบั ผิดชอบบริหารความเสี่ยงใหเ กดิ ประโยชนส ูงสุดตอองคการ
7. การตรวจสอบความเส่ียง เปนกระบวนการที่เกี่ยวกับการควบคุม กํากับ และติดตามผลวา
กลไกลการบริหารความเสี่ยงมกี ารปฏิบตั ติ ามหรือไมเพียงใด โดยการสอบทานความเส่ียง และการควบคุม
ภายใน การประเมินระบบควบคุมภายใน การวางมาตรการปรับปรงุ แกไข และการสรา งสญั ญาณเตอื นภัย
ผูบริหารองคก ารจะตองตรวจสอบความเสีย่ งมิใหเกิดขนึ้ หรอื ถา มกี ส็ ามารถควบคมุ ปอ งกนั
ใหเ กิดแตน อ ยที่สดุ

51

เร่ืองท่ี 3 การแกปญ หาความเสย่ี ง
การแกไขปญหาความเสี่ยง หมายถึง การทําใหเกิดสภาพการณท่ีเราคาดหวัง การที่คน

จาํ นวนมากไมส ามารถแกไ ขปญ หาตนเอง หรอื ผบู รหิ ารไมสามารถจะแกปญหาหนวยงานของตนได ถึงแม
จะรูสภาพหรือเปาหมายอยูแลว แตก็ไมสามารถไปสูเปาหมายได ทั้งนี้ เพราะปญหาอาจมีมาก รุนแรง มี
ความสลบั ซับซอ น คลมุ เครือ และแฝงไวด ว ยปญ หาอืน่ ๆ เปน ตน

การแกป ญหาความเสยี่ งมี 4 ข้นั ตอน ดังนี้

1.ขน้ั ระบปุ ญ หา

4. ข้ันกําหนด 2. ขน้ั สาเหตุ
แนวทางแกไ ขปญ หา ของปญ หา

3. ขัน้ การกาํ หนด
จุดมงุ หมายในการ

แกปญ หา

ภาพ แสดงข้นั ตอนการแกป ญหาความเสยี่ ง

52

1. ข้ันระบุปญหา เปนขั้นแรกท่ีมีความสําคัญ เพราะถาเราไมทราบปญหาเราก็ไมมีทาง
แกป ญหาได จําเปนตอ งหาสาเหตุแหง ปญ หา แลว จะนําสาเหตุนั้นมาเรียงลําดบั ความสาํ คญั อะไรเปนเหตเุ ปนผล

2. ข้ันสาเหตุของปญหา การหาสาเหตุของปญหาไมถูกตองจะทําใหการแกปญหาผิด ซึ่ง
ตามปกติคนเรามักจะยึดติดกับแนวคิด หรือความรูเดิม ๆ ทําใหมองเห็นปญหาแตเพียงดานที่สัมพันธ
สอดคลอ งกบั แนวคิดน้นั ๆ อีกประการ ผูท่รี ถู ึงสาเหตุทีแ่ ทจริงแลวรบี ดวนสรปุ โดยไมพ ยายามคนหาสาเหตุ
อ่ืน ๆ

3. ข้ันการกําหนดจุดมุงหมายในการแกปญหา การคัดเลือกสาเหตุที่กอใหเกิดปญหาแลว
นําไปหาแนวทางแกไขจะทําใหปญหาน้นั ไดร ับการแกไข เชน ปญหาอัตราการเพิ่มของประชากรสูงมาจาก
สาเหตุอะไร คนเกดิ มาก คนตายนอย หรอื คนอพยพเขามามาก เปนตน

4. ข้ันกาํ หนดแนวทางแกไ ขปญหา การกําหนดทางเลือกในการแกไขปญหาซึ่งอาจจะเปน
ทางเลือกที่สามารถนําไปใชแกปญหาไดจริง ไมใชเปนเพียงอุดมการณหรืออุดมคติ หรือทางเลือกนั้น
สามารถนาํ มาเปรียบเทียบกันได ทง้ั ทว่ี ัดเปนตวั เงินได และไมส ามารถวัดเปน ตัวเงินได

การเลือกวิธที ี่ดที สี่ ุดในการแกไ ขปญหาน้นั ควรมีการเปรียบเทียบตวั เลือกท้ังหมดท่ีไดดวย
วิธีตา ง ๆ โดยประเมนิ ตวั เลอื กแตละตวั แลวจงึ ตดั สนิ ใจเลอื กวิธีแกปญหาท่ีดีท่ีสุด หรือหาวิธีใหม ปลอยให
ปญ หาคลี่คลายไปเองโดยไมตองทําอะไร

53

เรือ่ งที่ 4 การวางแผนปฏบิ ัตกิ ารจัดการความเส่ียง
การวางแผนปฏิบตั กิ ารจดั การความเสยี่ ง ควรมผี ูแทนจากฝา ยตาง ๆ ในองคการเปนเสมือน

คณะทาํ งานกลาง หากคณะทาํ งานยังไมมคี วามชาํ นาญพอ ควรจางท่ปี รึกษาเขามาทาํ งานรว มกนั เพื่อวางแผน
ปฏิบตั ิการจัดการความเส่ียง โดยเร่ิมจากการสรางตัวแบบบริหารความเสี่ยงระดับองคการ ซ่ึงจะตองมีการ
ทบทวน วเิ คราะห ตดั สนิ ใจ และประเมนิ ความเสยี่ งขององคการกอน ดังนี้

1. กาํ หนดตวั ชีว้ ดั ประสทิ ธภิ าพ
2. จดั การฝก อบรมใหความรกู ับผูแทนฝา ยตาง ๆ ใหต ระหนักถงึ ความเสี่ยง
3. จดั ทาํ แบบสอบถาม
4. จัดใหม กี ารสมั ภาษณ
5. ดาํ เนินการทบทวนเอกสารทมี่ ีอยูจ ากฝา ยตา ง ๆ โดยเนนเฉพาะดา นความเส่ยี ง
6. จดั สมั มนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการอยา งตอ เนื่อง
7. จัดทาํ ตัวแบบความเส่ียง
8. ตรวจสอบตดิ ตามพืน้ ทขี่ องฝา ยตาง ๆ
9. วเิ คราะหส ่ิงที่ไดจ ากการประเมนิ
ส่งิ ท่จี ะไดจ ากการดําเนนิ งานในข้ันน้ี มีดังน้ี
1. สามารถบงช้ีไดว าความเสย่ี งขององคการมอี ะไรบางอยา งชัดเจน
2. สามารถจัดลาํ ดับความสําคัญ และประเมินความเสย่ี งเหลา นัน้
3. จัดทําแผนปฏิบัติการจัดการความเสีย่ งในเรอื่ งทสี่ าํ คญั ไดอ ยางชดั เจน
4. ไดรายงานการบริหารความเสีย่ งตอ ผบู รหิ ารได
5. สามารถจัดลําดับแผนความเสี่ยงตามความสําคัญ และจําเปนกอนหลังโดยทําเปน
แผนปฏิบัตกิ ารทชี่ ัดเจน
การวางแผนปฏิบัตกิ ารจดั การความเสีย่ ง ประกอบดว ยข้ันตอนดําเนนิ การ ดังน้ี
1. สํารวจความเสย่ี งในองคก าร การสาํ รวจความเสี่ยงทั้งองคก ารโดยศึกษาจากตัวแทนฝายตาง ๆ
ดวยวิธีการตอบแบบสอบถาม การสัมภาษณ เพ่ือใหไดขอมูลที่เปนเหตุเปนผลตอความเสี่ยงขององคการ
โดยนําขอ มลู มากรอกในตารางความเสยี่ งทกี่ ําหนดไว ตามตวั อยางดงั น้ี
2. ประเมนิ ความเสยี่ งในระดบั องคการ คณะทํางานกลางรวบรวมขอมลู ความเสย่ี ง จากฝายตาง ๆ
ท่ีเก่ียวของ นาํ มาจัดลาํ ดบั ความเสี่ยง โดยอาจเชญิ ผูมสี ว นเก่ยี วขอ งรวมพิจารณา
3. กําหนดตวั ควบคมุ ความเสย่ี งท่จี ะเกดิ ขน้ึ ในโอกาสตา ง ๆ รวมถึงผลกระทบท่อี าจเกิดขน้ึ ได
4. การทําแผนปฏิบตั ิการ จะตอ งเลือกความเสี่ยงสูงสุดที่เปนวิกฤติกอนมาทําแผนปฏิบัติการ
เชน การทจุ รติ คอรรปั ชัน่ การผนั ผวนจากราคาสนิ คาตน ทนุ เปน ตน
5. การทาํ รายงานสรุปความเสี่ยง เพื่อนําขอมูลความเสี่ยงมาจัดทําแผนปฏิบัติการการจัดการ
ความเสย่ี ง โดยเรือ่ งวิกฤติทต่ี องเรงแกไ ข

54

ตวั อยาง แสดงขอ มลู ของความเส่ยี งภายในองคก ารทง้ั หมดของฝายเทคโนโลยี

ลําดบั ความเสี่ยง สาเหตุ ผลกระทบ การควบคุม ประสทิ ธผิ ล
1 การเพิม่ ขนึ้ ของเวบ็ ในปจจุบนั ในการ
แอพพลเิ คชน่ั ใน ควบคมุ
ปจจุบัน
แนวโนม บรษิ ัทตองใหบริการ ใหผูพัฒนาระบบมี พอใช
2 การทาํ นุบํารุง ทางดา นพาณิชย ผา นทาง ความรู ความชาํ นาญ
เครอ่ื งคอมพิวเตอร อเิ ล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนกิ ส ในโครงสรา ง
ขนาดใหญตอ งใช มากขึน้ ตาม พ้ืนฐานของเวบ็
ความพยายามมาก แนวโนม มากขึ้น

3 ศนู ยค อมพิวเตอร ขาดบุคลากร ไมสามารถ จางบริษัท พอใช
มปี ญหา ใหบ ริการไดด ี ขา งนอกทํา

ไฟไหม ระบบธรุ กจิ ท้งั หมด มีสถานทส่ี าํ หรับ ดี
แผน ดนิ ไหว ไมสามารถดําเนิน หนว ยประมวลผล
ระเบดิ ไฟดับ ตอไปได มากกวา 1/ มีระบบ
สาํ รอง

สรปุ
ดงั น้ันการบริหารจัดการความเส่ียงท่ีเปนระบบจะตองไดรับความรวมมือจากบุคลากรทุกคน

ทุกฝายในหนวยงาน ซึ่งตองถือวาเปนกิจกรรมของทุกคนในองคการ ผูบริหารจะตองสรางความเขาใจ
ใหท กุ คนตระหนักถงึ ภยั วิกฤต ความเส่ียง ทกุ คนตอ งทําเปนประจําและทําอยา งตอเน่ืองเปนระบบ มีรูปแบบ
ท่ชี ดั เจน

55

หลกั การบริหารความเสยี่ งประกอบดวย
1. การวางแผนกลยุทธ
2. การวิเคราะหค วามเส่ียง
3. การควบคุมความเสย่ี ง

ในการดําเนนิ งานปฏบิ ัติการจัดการความเสี่ยง จะไดม าจากฝายและองคการมาชวยกันประเมิน
ความเสี่ยงตาง ๆ แลวจัดลําดับวาอะไรเปนความเสี่ยง ระดับมากนอยเพียงใด รุนแรงแคไหน เพื่อนํา
ความเสี่ยงน้ัน ๆ มาบริหารจัดการกอน หลัง สวนการพิจารณาตัวควบคุมความเส่ียงทําใหเห็นสภาพการ
บริหารความเสี่ยงในองคการ วามีการกําหนดอยางไร ในการทําแผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง
โดยเรียงลําดับวิกฤตวาอะไรมากอน และอะไรมาหลัง ซึ่งเปนขั้นตอนสุดทายของการบริหารความเส่ียง
ที่มีรายละเอียดในเชงิ ปฏิบตั กิ าร สามารถนาํ ไปใชไดจรงิ ในหนว ยงาน

56

กจิ กรรมที่ 1
การวิเคราะหศักยภาพและการจัดการความเสย่ี งในองคการ
ใหผูเรียนแบงกลุม ๆ ละ 5 คน เลือกประธาน ผูนําเสนอ และเลขาแลวรวมกันพิจารณา
ตามประเดน็ ดังตอ ไปน้ี
1. อาชพี ……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
2. ขน้ั ระบุปญหา……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
3. ข้นั หาสาเหตขุ องปญ หา……………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
4. ขั้นกําหนดจดุ มงุ หมายในการแกปญหา……………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
5. ขน้ั กําหนดแนวทางแกปญหา……………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..

57

บทที่ 4
การจัดการการผลิต การบริการ

สาระการเรยี นรู
ในสภาวะการแขงขันทางการคา และการตลาดยุคโลกาภิวัตน ธุรกิจตองมีการปรับตัว

ท่ีรวดเรว็ เพื่อตอบสนองความตอ งการของผูบริโภค ในขณะที่ผูบริโภคมีความตองการสินคาท่ีหลากหลาย
และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ปจจัยสําคัญหนึ่งที่ผูบริโภคใชในการตัดสินใจเลือกสินคา และบริการ คือ
คุณภาพของสินคา จึงเปนสิ่งสําคัญที่ผูประกอบอาชีพตองใหความสําคัญ และความจําเปนในการจัดการ
การผลติ และการบริการ
ตวั ชว้ี ดั

1. จดั การเกย่ี วกบั การควบคมุ คณุ ภาพ
2. อธบิ ายวิธีการใชนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต
3. อธิบายขน้ั ตอนการลดตนทุนการผลติ หรอื การบรกิ าร
4. จัดทาํ แผนการผลิตหรือการบริการ
ขอบขา ยเนือ้ หา
เรอ่ื งท่ี 1 การจัดการเก่ยี วกบั การควบคุมคณุ ภาพการผลิตหรอื การบริการ
เร่อื งที่ 2 การใชน วตั กรรมและเทคโนโลยีในการผลิต
เรอื่ งที่ 3 การลดตนทุนการผลติ และการบริการ

58

เรื่องท่ี 1 การจดั การเกีย่ วกบั การควบคุมคณุ ภาพการผลิตหรือการบริการ
1. ความหมายการจัดการเก่ยี วกับการควบคุมคณุ ภาพการผลิตหรือการบริการ
การประกอบการอาชีพใหมีความเจริญกาวหนานั้น จําเปนที่ผูประกอบการอาชีพตองมีความรู

ความเขาใจ ในเร่ืองการจัดการการผลิต และการบริการเปนอยางดี การจัดการการผลิตหรือการบริการมี
ความหมายสรปุ ไดด งั นี้

การจัดการ หมายถึง กระบวนการที่ดําเนินงานตามขั้นตอนตาง ๆ อยางตอเนื่อง และ
มีการประสานงานกัน เพื่อใหบ รรลเุ ปา หมายขององคกรหรอื กิจการ

การผลิต หมายถึง การจัดทํา การประกอบ หรือสรางสินคาหรือผลิตภัณฑ โดยผาน
กระบวนการแปรสภาพจากวตั ถดุ ิบ

การบริการ หมายถึง การบริการที่ดีแกลูกคา หรือการทําใหลูกคาไดรับความพึงพอใจ
มีความสขุ และไดร ับผลประโยชนอ ยา งเตม็ ท่ี

การควบคุมคุณภาพ หมายถึง การจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหผลิตภัณฑตอบสนอง
ความตองการและสามารถสรางความพึงพอใจใหกบั ลูกคาบนแนวคดิ พนื้ ฐานวา เม่ือกระบวนการดี ผลลัพธ
ที่ออกมาก็จะดตี าม

2. วตั ถปุ ระสงคก ารจัดการเก่ยี วกับการควบคุมคณุ ภาพการผลติ หรือการบรกิ าร
การควบคุมคุณภาพนั้น มีวัตถุประสงคเพ่ือใหสินคาหรือผลิตภัณฑ หรือการบริการบรรลุ
จดุ มงุ หมายดังตอ ไปน้ี

1) สนิ คาท่ีส่งั ซ้ือหรอื สั่งผลิตมีคุณภาพตรงตามขอ ตกลงหรอื เงื่อนไขในสญั ญา
2) กระบวนการผลติ ดาํ เนนิ ไปอยางถกู ตอ งเหมาะสม
3) การวางแผนการผลิตเปน ไปตามทีก่ าํ หนดไว
4) การบรรจุหีบหอดีและเหมาะสม หมายถึง สามารถนาํ สงวัสดุยังจุดหมายปลายทาง
ในสภาพดี นอกจากนกี้ ารควบคมุ คุณภาพยังกอ ใหเกิดประโยชนต อ การผลิต คอื
1) เพ่ือใหเสียคา ใชจายหรือตน ทนุ ตาํ่ ทีส่ ดุ โดยการใชป จ จัยการผลติ และวิธีการผลิตที่เหมาะสม
2) เพ่ือใหไดปริมาณสินคาตรงตามความตองการของตลาดไมมาก และไมนอยเกินไป
จนไมส ามารถตอบสนองความตองการของตลาดได
3) เพอ่ื ใหไ ดส นิ คาตรงตามเวลาที่ลกู คาตอ งการ
4) เพ่ือใหไ ดค ุณภาพสนิ คาตรงตามที่ลูกคาตอ งการ ไมม ีจุดบกพรอ งหรอื เนาเสยี
3. ข้นั ตอนการควบคมุ คุณภาพการผลิต แบง ออกเปน 4 ขัน้ ตอน คอื
1) ขัน้ การกาํ หนดนโยบาย ในข้นั นี้จะเปน การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคกวาง ๆ เชน ระดับสินคา ขนาด
ของตลาด วิธีการจําหนาย ตลอดถึงการรับประกัน ขอกําหนดเหลานี้จะเปนเคร่ืองชี้นําวากิจการจะตอง
ทําอะไรบางเพอ่ื ใหบรรลุวัตถุประสงคทีไ่ ดวางเอาไว

59
2) ข้ันการออกแบบผลติ ภณั ฑ การออกแบบผลิตภัณฑใ นท่ีน้ี หมายถงึ การกําหนดคุณลักษณะของ
ผลิตภัณฑ เชน วิทยุท่ีจะทําการผลิตข้ึนน้ีมีขนาดกี่วัตตสามารถรับไดก่ีชวงความถี่ และมีระบบตัดคล่ืน
รบกวนหรอื ไม เปนตนขอควรคาํ นงึ ถึงสาํ หรับการออกแบบผลติ ภณั ฑนคี้ ือ จะตอ งรวู าฝา ยผลติ มขี ีดความสามารถ
มากนอยเพียงใด การออกแบบผลิตภัณฑจ งึ ตอ งมคี วามสมั พนั ธก ับระบบการผลติ
3) ขั้นตอนการควบคุมคณุ ภาพของการผลติ การควบคมุ คณุ ภาพการผลติ แบงออกเปนขั้นตอนยอย
3 ข้นั คอื การตรวจสอบคณุ ภาพของชิน้ สว น การควบคมุ กระบวนการผลิต และการตรวจสอบคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ โดยในการตรวจสอบท้ัง 3 ขั้นน้ี สวนใหญจะใชเทคนิคการสุมตัวอยาง เพราะผลิตภัณฑท่ี
ผลติ ไดนั้นมีจํานวนมากไมอาจจะทาํ การตรวจสอบไดอ ยางทว่ั ถึงภายในเวลาจาํ กัด
4) ขั้นการจําหนาย การควบคุมคุณภาพ จะมีลักษณะเปนการใหบริการหลังการขาย ซึ่งในระบบ
การตลาดสมัยใหมถอื วาเปน เรอ่ื งสาํ คญั มาก เพราะสินคาบางชนิดโดยเฉพาะอยางยงิ่ สนิ คา ประเภทเครื่องมือ
เครื่องจักรหรืออุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงมีวิธีการใชและการดูแลรักษาที่คอนขางยุงยาก ผูผลิตหรือ
ผูขายจะตองคอยดูแลเพื่อใหบริการหลังการขายแกผูซื้ออยูเสมอ เพ่ือสรางความพึงพอใจ ซึ่งจะมีผลตอความ
เชอ่ื มั่นและความกาวหนาทางธุรกจิ ในอนาคต

เรือ่ งท่ี 2 การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยใี นการผลติ
1. ความหมายของการใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลติ
การใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต เปนการพัฒนาความสามารถในการผลิต

ผลิตภัณฑของมนุษย ชว ยในการแกปญ หาและสนองความตอ งการของมนุษยอ ยางสรางสรรค โดยนําความรู
มาใชก บั กระบวนการเทคโนโลยีเพ่อื สรา งและใชส ่งิ ของ เครื่องใช วธิ ีการใหการดํารงชีวิตมีคุณภาพดีย่ิงข้ึน
นวตั กรรมและเทคโนโลยี สามารถอธบิ ายไดดงั นี้

1) นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ที่ยังไมเคยมีใชมากอน
หรอื เปน การพฒั นาดัดแปลงมาจากของเดิมทม่ี ีอยแู ลว

2) เทคโนโลยี หมายถึง ส่ิงที่มนุษยพัฒนาข้ึน เพื่อชวยในการทํางานหรือแกปญหาตาง ๆ
เชน อปุ กรณ เคร่อื งมอื เครือ่ งจกั ร วัสดุ หรือแมกระทง่ั สง่ิ ทีไ่ มไ ดเ ปนสิ่งของท่ีจับตองไดหรืออาจเปนระบบ
หรือกระบวนการตาง ๆ เพื่อใหก ารทํางานบรรลผุ ลเปาหมาย และครอบคลมุ ถึงเร่อื ง ดงั ตอไปนี้

(1) คน เปนแหลงทรัพยากรท่ีสาํ คัญ ไดแก เจาของกิจการ แรงงานคนภายนอก
ที่จางมาทาํ งาน เปนตน

(2) วัสดแุ ละเครอื่ งมือ ไดแ ก วัสดอุ ุปกรณต าง ๆ
(3) เทคนคิ วธิ ีการ ไดแ ก ความรูท ่ีไดจ ากการศกึ ษาคนควา ดวยตนเอง
(4) สถานท่ี ไดแก ไรนา ฟารม ภเู ขา แมนา้ํ ทะเล สถานประกอบการตาง ๆ

60

2. ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยี
จากการนําเทคโนโลยีไปใชในชีวิตประจาํ วันของมนุษย ทั้งนี้จากการนําเทคโนโลยี

มาใชอยา งแพรห ลาย ทําใหเ กิดท้งั ประโยชนและผลกระทบตอการดาํ รงชวี ติ สรุปไดด งั น้ี
1) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอการศึกษา นักศึกษาสามารถเรียนไดจาก

ที่บานโดยไมตองเดินทางไป เชน การเรียนการสอนทางไกลผานอินเทอรเน็ต ท้ังภายในและภายนอก
ประเทศ รวมทัง้ การศกึ ษาคนควา ขอ มลู จากอนิ เทอรเน็ตท่ีมีไมจํากัด และการศึกษาเรียนรูจากสื่อประเภทตาง ๆ
เชน วทิ ยุ โทรทัศน วีดิโอ และคอมพิวเตอร เปนตน จากการนาํ เทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอน ทําให
เกดิ ปญ หาขาดปฏสิ มั พันธท ี่ดีตอ กันระหวางผเู รียนกับครู เพราะการเรียนรู โดยผานส่ือเทคโนโลยีทําใหครู
ซ่ึงเปนผูถ า ยทอดความรูมบี ทบาทลดนอ ยลง

2) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอส่ิงแวดลอม เทคโนโลยีเขามามีบทบาทใน
การปรบั ปรุงคุณภาพของดิน น้ําและอากาศ รวมทง้ั มีการนําของเหลือใชท่ีผานกระบวนการทางเทคโนโลยี
แลว กลับมาใชใ หมโดยไมตอ งใชท รัพยากรหลัก เทคโนโลยีจะกอ ใหเ กิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม เพราะมนุษย
นาํ เทคโนโลยีมาใชอ ยางผดิ วิธี เพอื่ มงุ แตป ระโยชนสว นตน จนหลงลมื ผลกระทบทอ่ี าจจะเกิดขึ้นจากการใช
เทคโนโลยีของตน

3) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอสังคม เทคโนโลยีกับสังคมเปนของคูกัน
เมื่อเทคโนโลยีเขามามบี ทบาทเปรียบเสมือนยอโลกใหเล็กลง เน่ืองจากความสะดวกในการติดตอขาวสาร
ขอมูล ทําใหธุรกิจติดตอไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีผลใหเศรษฐกิจเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว
จากความเจรญิ กาวหนา ของเทคโนโลยีกอใหเกดิ ปญ หาการวา งงานของแรงงาน เนื่องจากมกี ารนาํ เคร่ืองจักร
มาใชแทนแรงงานคน และปญหาจากการปรับตัวของผูไมรูในเร่ืองของการใชเทคโนโลยีสมัยใหม
จึงกอ ใหเ กิดปญ หาการนาํ เทคโนโลยไี ปใชอยางไมถ กู ตอ ง

4) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอสุขภาพ เนื่องดวยเทคโนโลยีมุงสราง
สิ่งอํานวยความสะดวกตอ มนษุ ย โดยเฉพาะดานสุขภาพ มีเคร่ืองออกกําลังกายภายในบาน มีวิทยุโทรทัศน
และแหลงบันเทงิ เพือ่ เสรมิ สรางสุขภาพ ทั้งทางรางกายและทางจิตใจ ท้ังน้ีในวงการแพทยมีความกาวหนา
ในการรกั ษามากขน้ึ และมขี อ มูลทางการแพทยเผยแพรผานทางอนิ เทอรเน็ตทําใหแพทยทั่วโลกสามารถรวมมือ
ในการปฏบิ ัติงานรวมกันได นอกจากนน้ั เทคโนโลยที างดา นคอมพิวเตอรมีผลทําใหเ ยาวชนขาดความสนใจ
การเรียน มุง แตการเลนเกมคอมพิวเตอร ไมมีเวลาออกกําลังกาย มีพฤติกรรมท่ีกาวราวชอบการตอสู สมาธิส้ัน
อารมณรุนแรง ไมไ ดร บั การพักผอนอยา งเพียงพอ ทําใหเ กดิ ความเครียด สายตาสน้ั เร็วกอ นเวลาอันควร

สรุปไดวา เทคโนโลยี จะมีประโยชนอยางมาก เม่ือผูใชมีการนําไปใชไดอยางถูกวิธี
และเหมาะสม และจะเกิดผลกระทบอยางมากมาย เม่ือผูใชนาํ เทคโนโลยีไปใชแบบผิด ๆ ดวยความไมรู
หรือใชเ ทคโนโลยีมากเกินกวา ความจาํ เปน

61
3. กระบวนการเทคโนโลยใี นการผลิต
กระบวนการเทคโนโลยเี ปน กระบวนการที่เก่ียวของกับการแกปญหา โดยการใชความคิด
รเิ รมิ่ อยา งสรา งสรรคแ ละรอบคอบ เพ่ือสรางผลิตภัณฑที่กอใหเกิดประโยชนตามความตองการของมนุษย
อยางมีประสิทธภิ าพ

หลักการเบื้องตนของกระบวนการทางเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ สามารถ
แบงออกเปนขั้นตอน ไดด งั น้ี

1. กําหนดปญ หาหรือความตอ งการ 2. สรางทางเลือกหรือวธิ กี าร

4. ออกแบบและลงมอื สรา ง 3. เลอื กวิธกี ารท่ีเหมาะสม

5. ทดสอบและประเมนิ ผล ปรบั ปรุงแกไ ข

แผนภมู ิ กระบวนการเทคโนโลยใี นการออกแบบผลิตภัณฑ

4. การใชกลยุทธในการเพมิ่ และพฒั นาคณุ ภาพผลติ ภณั ฑ
ปจจุบนั เทคโนโลยีเขามามีบทบาทอยางมากในการดํารงชีวิตของมนุษย ไมวาจะเปนการ
ผลิตในภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรมหรือการบริการ ลวนแตนําเทคโนโลยีเขามาใชในกิจกรรมตาง ๆ
เพราะการนําเทคโนโลยีเขามาใชในกิจกรรมตาง ๆ จะเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตใหดีขึ้น เชน สามารถ
ทํางานไดเร็วขึ้น ไดปริมาณมากขึ้น งานมีคุณภาพมากข้ึน ลดเวลาในการทํางาน ลดคาใชจายในการ
ใชแรงงานคน และท่สี ําคัญถาเปน ภาคอตุ สาหกรรมหรือภาคเกษตรกรรมซึ่งตองมีการแขงขันในทางธุรกิจ
ใครนําเทคโนโลยีมาใชก อนคนอนื่ ถือวา เปนกลยุทธอยางหนึ่งท่ีจะทําใหประสบความสําเร็จกอนคูแขง ซ่ึง
คาํ วากลยทุ ธ หมายถึง วิธีปฏิบัติ หรือแนวทางในการปฏิบัติงานที่จะทําใหแผนงานประสบผลสําเร็จ ขณะ
จัดทํากลยุทธจะตองมีการตรวจสอบดูวามีจุดออนในกิจกรรมใด หรือมีจุดแข็งในกิจกรรมใดหรือคูแขง
มีจุดออนในกิจกรรมใด จุดแข็งในกจิ กรรมใด แลวนํามาเปรยี บเทยี บกับของเรา เพ่อื ทาํ การปรับกลยุทธตอ ไป
เมื่อรูวามีจุดออนท่ีจุดใด ก็สามารถนําเอาเทคโนโลยีมาใชในสวนที่เปนจุดออนนั้น
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ ดังตัวอยางการใชและปรับกลยุทธในการเพ่ิม และ
พัฒนาคุณภาพผลติ ภัณฑ ดงั น้ี

62

ตวั อยา งที่ 1
ในอดีต การเกี่ยวขาวในนาที่มีพ้ืนที่กวาง ๆ จะใชแรงงานคนในการเก่ียวขาวจํานวนมาก
ตอมามกี ารนําเทคโนโลยีเขา มาชว ยในการเก่ยี วขา ว เชน เครือ่ งจักรในการเก่ียวขา ว ทําใหสามารถลดจํานวน
แรงงานคน และลดเวลาในการเกย่ี วขา วลงไดอ ยา งมาก และถามีการแขง ขันทางธุรกิจการขายขาว เกษตรกร
จะตองมีการปรับกลยุทธในการนําเทคโนโลยีเขามาชวยในการเกี่ยวขาว เพื่อใหสามารถเกี่ยวขาวได
จํานวนมากและใชเ วลานอ ย เพอื่ ใหสามารถนาํ ขาวออกมาจาํ หนายไดกอ น
ตัวอยางท่ี 2
โรงงานน้ําพริกเผาแหงหน่ึง เดิมการลางผัก บดพริกหรือเคร่ืองเทศ การผสมสวนผสม
และการบรรจุจะใชแรงงานคนแทบท้ังหมด ทําใหผลผลิตที่ออกมาไมดีเทาที่ควร เชน ผักไมสะอาด
สวนผสมไมดีพอ นํ้าหนักและปริมาณไมไดมาตรฐาน ใชแรงงานคนมาก ทําใหเสียคาใชจายสูง รวมถึง
ใชเวลาในการทํางานมาก ทําใหไมสามารถแขงขันกับคูแขงขันอ่ืน ๆ ได สงผลใหเสียโอกาสทางธุรกิจ
เพราะฉะน้ัน โรงงานน้ําพริกเผาแหงนี้ จึงไดมีการปรับกลยุทธในการดําเนินกิจกรรม โดยการนําเอา
เทคโนโลยีการผลิตมาชวย เชน เคร่ืองลางผัก เครื่องบด เครื่องผสมและเครื่องบรรจุภัณฑทําใหสามารถ
ผลิตนํ้าพริกเผาไดมีประสิทธิภาพและคุณภาพมากข้ึน รวดเร็วข้ึน ลดคาใชจายในการผลิต สามารถผลิต
นํ้าพรกิ เผาออกสูตลาดแขงขันกบั คแู ขง รายอ่ืน ๆ ไดทันเวลาและรวดเรว็ ขนึ้
5. การเลอื กใชเ ทคโนโลยอี ยา งสรา งสรรค
การเลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม ส่ิงแวดลอม และงานอาชีพ
มีหลักการ ดังตอไปนี้
1) การวิเคราะหเปรียบเทียบผลิตภัณฑหรือวิธีการที่ไดจากเทคโนโลยีตาง ๆ ทั้งทางดาน
คุณภาพ รูปแบบ วสั ดุ ความสะดวกในการใช ความคุมคา โดยกอนทจ่ี ะตัดสนิ ใจเลอื กเทคโนโลยใี ดมาใชน ั้น
ผูประกอบการหรือเจาของกิจการ ควรนําคุณลักษณะท่ัวไป คุณลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีมาศึกษา
เปรยี บเทียบกอนการตดั สินใจเลอื ก
2) เมื่อมีการเลือกใชเทคโนโลยีสําหรับการสรางและพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อสนองตอ
ความตอ งการของมนุษยแลว ยอ มตอ งมีผลกระทบตอ สงั คมและสิง่ แวดลอมตามมาดว ย ดังนั้นผปู ระกอบการ
หรือเจาของกิจการตองศึกษาทบทวนวาเทคโนโลยีที่กําหนดเลือกใชนั้นมี ขอดี ขอเสียและผลตอสังคม
และส่ิงแวดลอ มท่จี ะไดรบั นน้ั เปน อยา งไร
3) ตัดสินใจเลือกและใชเทคโนโลยีมีผลตอชีวิตที่มีผลดีตอสังคม และสิ่งแวดลอม
ในทางสรางสรรคม ากทส่ี ุด

63

เรือ่ งท่ี 3 การลดตนทุนการผลิตหรือการบรกิ าร
1. แนวคดิ ในการลด และควบคมุ ตน ทนุ การผลิต
การดาํ เนินงานธรุ กิจทกุ ประเภท ใหส ามารถดาํ รงอยูไดอยางม่ันคง จําเปนที่ผูประกอบการ

หรือเจาของธุรกิจตองหาวิธีการลดตนทุนการผลิต และการบริการโดยแนวคิดในการลดและควบคุม
ตนทุนการผลติ นัน้ มีหลกั การ ดงั น้ี

1. ศกึ ษาวิเคราะหและสํารวจสถานภาพปจจุบันของการผลิต คือ แรงงาน วัตถุดิบ ตนทุน
การผลติ เมื่อรปู จจยั การผลิตแลวทาํ ใหส ามารถหาขอ บกพรอ ง และหาวิธีลดตน ทนุ ได

2. วิเคราะหหาสาเหตุของตนทุนสูญเปลาท่ีเกิดข้ึนจากการผลิตสินคา และการบริการ
หมายถึง การเสียคาใชจ า ยแตไ มไดก อ ใหเกดิ ประโยชนตอ ธุรกิจ

3. ปฏิบัติการลด และควบคุมตนทุนการผลิตในสวนของคาใชจายที่ไรประสิทธิภาพ
มีความสญู เปลา โดยดําเนนิ การตอเนอ่ื งใหบรรลผุ ลสาํ เร็จ

การดําเนินธุรกิจตองเผชิญกับขอจํากัดหลายอยางที่เปนอุปสรรคและเปนเหตุใหตนทุน
การผลิตสูงข้ึน จากหลายปจจัย คือ ตนทุนแรงงานมีแนวโนมสูงขึ้น ตนทุนวัตถุดิบแพงขึ้น โดยเฉพาะ
การนําวตั ถดุ ิบจากภายนอกเขา มา ทาํ ใหต น ทุนการผลิตสงู ขึ้น เชน คานํ้ามัน คานํ้า คาไฟฟา คูแขงขันมีมากขึ้น
และทวคี วามรุนแรงมากข้ึน จาํ เปนทีผ่ ปู ระกอบการหรอื เจาของธุรกิจตองลดตนทุนการผลิตตอหนวยสินคา
ท่ผี ลติ จะมผี ลใหไดกําไรมากข้ึน ดังนั้นผูประกอบการตองปรับวิธีการทําธุรกิจ เพื่อลดตนทุนการผลิตใหตํ่าลง
โดยกําหนดเปา หมายการผลติ ใหเหมาะสมเพอ่ื ความอยรู อด มกี ารปรับปรุงโครงสรางในการประกอบธุรกิจ
พฒั นาระบบการสงเสรมิ การขาย ซง่ึ เปนกญุ แจสําคัญสูความสาํ เรจ็

2. ปจ จยั ในการลด ควบคมุ ตนทุนการผลติ
ในการผลติ สนิ คา ตน ทุนการผลิตจะสงู หรือตํา่ นั้น ขึ้นอยูก ับปจจยั ตา ง ๆ หลายประการดงั น้ี
1. ผบู รหิ ารตองมีนโยบายและโครงการเพื่อลดตน ทนุ การผลิตอยางจริงจังและชัดเจนไมวา

จะเปนนโยบายดา นคุณภาพมาตรฐานระดับสากล เชน ไอเอสโอ การสนับสนุนศักยภาพของบุคลากร ฯลฯ
หรอื ระบบและวิธีการลดตน ทุน ซงึ่ ตอ งดาํ เนนิ การอยา งจริงจังและตอ เน่ือง

2. สรางจิตสํานึกพนักงาน ใหมีจิตสํานึกที่ดีตอโครงการลดตนทุนการผลิต จึงจะไดรับ
ความรวมมือและประสบความสาํ เร็จได

3. มีมาตรการเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ และคณุ ภาพของการบริหารจดั การธุรกจิ อยา งจริงจัง
ทกุ ปจจยั ท่ีกลา วมามคี วามสําคัญเทา กันหมด แตก ารจะดาํ เนินการใหบรรลุเปาหมายอยางมี
คุณภาพผูบริหารธุรกิจตองกําหนดเปาหมายและการดําเนินงานอยางจริงจัง และตองมีการจัดทําขอมูล
และวัดประสทิ ธิภาพของการลดตน ทนุ อยา งตอ เนือ่ ง
ในการบริหารจัดการการผลติ ควรกาํ หนดเปาหมายในเร่ืองตาง ๆ ดงั นี้
1. ประสทิ ธภิ าพการผลติ คือ ดชั นชี วี้ ัด การเปรยี บเทียบประสทิ ธภิ าพและผลการดาํ เนินงาน
ของธุรกิจเราเองกับธุรกิจอื่นท่ีมีลักษณะการดําเนินงานเดียวกันวา มีผลการดําเนินงานธุรกิจแตกตางกัน
อยางไร

64

2. คุณภาพสินคาและบริการ ผูประกอบการหรือเจาของธุรกิจตองปลูกฝงใหพนักงาน
มคี วามเขาใจในการควบคมุ คุณภาพจะทําใหเกิดความเสียหาย เพ่ือรักษาคุณภาพของผลผลิตตามมาตรฐาน
ท่กี าํ หนดไว

3. การสงมอบ ตองสงมอบตรงเวลาตามที่ลูกคาตองการโดยไมมีปญหา การวางแผน
การผลิตและสงมอบใหล ูกคาตองใหความสําคัญเปนพิเศษมิเชน นัน้ จะทําใหเสยี ระบบการทาํ ธุรกิจ

4. ตนทุนการผลิต ในสินคาประเภทเดียวกันแตตนทุนไมเทากัน การลดตนทุนมิใชสิ่งที่
จะทําใหค ณุ ภาพของสนิ คา ลดลง แตเปนการบรหิ ารจัดการในการผลิตใหม ีการใชต น ทุนต่าํ ลง

5. ความปลอดภัย เปนเร่ืองที่เก่ียวกับพนักงานโดยตรง ซึ่งควรกระทําอยางยิ่งเพราะ
ยิ่งเครงครัดมากเพียงใด พนักงานก็ปลอดภยั มากเทา น้ัน และมีสวนทําใหตนทุนการผลิตลดนอยลง รวมท้ัง
สรา งคณุ ภาพชีวติ ใหพ นกั งานได

6. ขวัญและกาํ ลังใจ ยิ่งมีความปลอดภัยสูง ขวัญและกําลังใจของพนักงานก็ยิ่งสูง โดยวิธี
ท่ีดีที่สุด คอื การเพ่ิมคาจา งและเพิ่มสวสั ดกิ ารใหก ับพนักงาน

7. สิง่ แวดลอ มทด่ี ีในโรงงาน ถอื เปนการสรา งคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ใี หกบั พนักงาน ปจจบุ ันธรุ กิจ
ทเ่ี กย่ี วกับมาตรฐานและจัดการกับสิ่งแวดลอมไดดี ถอื เปนความรับผิดชอบตอ สงั คมดวย

8. จรรยาบรรณ ผปู ระกอบการหรอื เจาของธุรกิจตองยอมรับและปรับเปลี่ยนกระบวนการ
ผลิตผลติ ภณั ฑห รือการบริการ เม่ือเกิดความผดิ พลาด เพือ่ สรางความปลอดภยั และความมนั่ ใจใหแ กลูกคา

หากเจาของธุรกิจสามารถปลูกฝงทุกขอที่กลาวมาใหกับบุคลากรขององคกรไดรับรูและ
รวมปฏิบัติ ปญหาในกระบวนการผลิตจะไมเกิดขึ้นโดยเด็ดขาด และสิ่งที่สําคัญที่สุดคือการผลิต
จะมีประสทิ ธิภาพสงู ข้นึ

3. การควบคมุ การจัดการการผลติ หรือการบริการ
การดําเนินงานธุรกิจใหมีการพัฒนาอยางตอเน่ือง เพ่ือใหธุรกิจมีความม่ันคงนั้น

ผูป ระกอบการหรอื เจาของธุรกิจตอ งมีระบบควบคุม การจัดการการผลิตและการบริการ ระบบการควบคุม
ที่นิยมใชมาก ไดแ ก วงจรควบคมุ PDCA (Deming Cycle) มรี ายละเอียด ดงั นี้

1) P (Planning) การวางแผน หมายถึง การวางแผนวามีโครงการ กิจกรรมหรือวิธีการ
อะไร ในการบรหิ ารจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร

2) D (Do) การปฏบิ ัติ หมายถงึ การดําเนินงานตามแผนทก่ี ําหนดไว
3) C (Check) การตรวจสอบ หมายถึง การตรวจสอบผลที่เกิดจากการปฏิบัติวา

มีผลเปน ไปตามเปาหมายหรอื วัตถุประสงคท ่ีกาํ หนดไวในการวางแผนหรือไมอยา งไร
4) A (Action) การปรับปรุงแกไขและตั้งมาตรฐานในการทํางาน หมายถึง การกําหนด

แนวทาง วิธกี ารใหมเ พือ่ แกไขปญ หาขอ บกพรอ งที่พบจากการตรวจสอบ
วงจรการควบคมุ PDCA (Deming Cycle) ตองมีการดาํ เนินการอยางตอเนื่อง เม่ือเสร็จสิ้นแลว
ตองเร่มิ ทาํ ใหมเพื่อใหเ กิดการปรบั ปรุงและพัฒนาอยา งตอเนอ่ื งโดยไมหยดุ น่ิง

65

กิจกรรมท่ี 1
การวิเคราะหก ารจัดการการผลติ หรือการบริการ
ใหผเู รียนสรปุ ขอ มูลความรู เรื่องการจัดการการผลิตหรือการบริการ ตามหัวขอ ตอไปน้ี
1. จากขอ มูลทั้งหมด สรุปไดขอมลู ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………(ไมเ กิน 5 บรรทัด)
2. การจดั การการผลิตและการบริการ มีวธิ ีการดังนี้
2.1……………………………………………………………………………………………….
2.2……………………………………………………………………………………………….
2.3……………………………………………………………………………………………….
3. หากผูเรียนเปนเจาของธุรกิจหน่ึง ผูเรียนจะมีวิธีการจัดการการผลิตหรือการบริการดานใด
เพราะอะไร
1.1 ดาน…………………………….เพราะ………………………………………………
1.2 ดา น……………………………เพราะ………………………………………………..
1.3 ดา น……………………………เพราะ………………………………………………...
4. หากผเู รียนตอ งเลือกการจดั การการผลิตหรือการบรกิ ารเรงดวน ผูเรียนจะเลือกดําเนินการในดานใด
เพราะอะไร
ดา น………………………………………………………………………………...…………………
เ พ ร า ะ …………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...................

66

บทที่ 5
การจัดการการตลาด

สาระการเรยี นรู
การจัดการการตลาดมบี ทบาทสําคญั ในการดาํ เนนิ ธุรกจิ จึงจําเปนตองมีความรูความเขาใจ

ในกิจกรรมการตลาด สามารถศึกษาวิเคราะหตลาดเพื่อใหทราบโอกาสทางการตลาดกอนตัดสินใจลงทุน
เพอื่ ธรุ กจิ จะไดดาํ เนินไปในทศิ ทางท่ีถกู ตอ ง และมีความเสี่ยงนอย ดงั นน้ั ตลาดจึงเปนความอยูร อดของธุรกจิ
ตวั ช้วี ัด

1. การจดั การการตลาดเพื่อนําผลผลติ เขาสตู ลาด
2. สามารถจัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิการการจัดการการตลาด
ขอบขา ยเนื้อหา
เรอ่ื งท่ี 1 การจัดการการตลาด
เร่อื งท่ี 2 การจดั ทําแผนปฏิบตั ิการ

67

เรือ่ งท่ี 1 การจดั การการตลาด
ความหมายของตลาดและการจดั การการตลาด
ตลาด หมายถึง สถานท่ีซ่ึงผูซ้ือและผูขายมาพบเพื่อโอนเปลี่ยนมือกันในกรรมสิทธิ์ของสินคา

และบรกิ าร โดยมรี าคาเปนสอื่ กลาง เปน ความหมายท่เี ปนที่รูจักและพบเห็นกนั ทัว่ ไป เชน ตลาดนัดสวนจตุจักร
ทาขา วกาํ นนั ทรง อําเภอพยุหครี ี ตลาดสดบางกะป ศูนยการคาเซ็นทรลั พลาซา

การจัดการการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดานธุรกิจ ซึ่งจะตองมีการวางแผน
การผลิต การโฆษณา การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การสงเสริมการขาย การทําขอมูลฐานลูกคา
การกระจายสินคา การกําหนดราคา การจดั จําหนา ย ตลอดจนการดําเนนิ กจิ การทกุ อยาง เพือ่ สนองความตองการ
และบริการใหแ กผ ซู อื้ หรอื ผบู รโิ ภคพอใจ ทั้งในเร่อื งราคา และบริการ

การตลาดเปนกจิ กรรมทางการตลาดทีน่ ักการตลาดดําเนินการ เร่ิมตั้งแตการวางแผนจนกระทั่งนํา
แผนเหลาน้ันไปปฏิบัติการวางแผนทางการตลาด นักการตลาดตองคาํ นึงถึงตัวแปรตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอ
ความสําเร็จของแผนการตลาด เพื่อใหแผนการตลาดนั้นมีลักษณะที่เหมาะสมและสอดคลองกับความ
ตองการของลูกคา สามารถจําแนกตัวแปรทางการตลาด ประกอบดวยผลิตภัณฑ ราคา และการจัด
จําหนาย ซึง่ จะตอ งเขา ใจความหมายของคาํ ตอไปน้ี ใหชัดเจนดังน้ี

1. ผลิตภัณฑ หมายถึง สินคาหรือการบริการท่ีสามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคได โดย
ผูบรโิ ภคเกดิ ความพงึ พอใจในดา นผลิตภณั ฑ

2. ราคา หมายถึง จาํ นวนเงินท่ผี ซู อื้ ยนิ ดีจายเพอ่ื ใหไดมาซึง่ สนิ คาหรอื บริการ
3. การจดั จาํ หนา ย หมายถึง การเลือกชองทางการจัดจําหนายเพื่อใหผลิตภัณฑผานออกจากผูผลิต
ไปสผู บู ริโภค และการกระจายตวั สินคา ซ่ึงเปน งานทเ่ี ก่ียวของกับการวางแผนและการใชเครื่องมืออุปกรณ
เพ่ือใหสนิ คา และวสั ดุเคลอื่ นยายจากแหลง ผลิตไปยังสถานท่ที ต่ี องการจะใช
ในสภาพโดยทวั่ ไปเราจะเหน็ สดั สว นประสมของการตลาด ซึง่ ประกอบดว ย การโฆษณา
การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การสงเสริมการตลาด การสงเสริมการขาย การทําฐานขอมูลลูกคา
และการกระจายสนิ คา ดงั แสดงในภาพสวนประสมการตลาด ดงั นี้

ตลาดเปาหมาย

ผลิตภัณฑ ราคา การสง เสริมการตลาด การจัดจําหนา ย

การโฆษณา การขายโดยบคุ คล การสง เสรมิ การขาย การประชาสมั พันธ

ภาพ แสดงสว นประสมการตลาด

68

1. การโฆษณา หมายถึง การนําเสนอหรือสงเสริมความคิด ในการขายสินคาหรือบริการผานสื่อตาง ๆ
มผี อู ปุ ถัมภเปน ผูเสียคาใชจายในการโฆษณา โดยมีวัตถุประสงคของการโฆษณา เพ่ือใหเกิดความรู ความ
เขาใจเกี่ยวกับสินคาและงานบริการ เปนการใหขาวสารและชักจูงใหซื้อสินคา และซื้อบริการส่ือที่ใชใน
การโฆษณามีหลายประเภท เชน นิตยสาร หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ปายโฆษณา การโฆษณาทาง
ไปรษณยี  เปน ตน ส่ือโฆษณาแตละประเภทจะมีจุดเดนและจุดดอยแตกตางกัน ดังนั้น การเลือกสื่อโฆษณา
ควรคาํ นึงถงึ วัตถุประสงค ดังนี้

1) สามารถเขา ถงึ กลุมเปาหมายใหม ากทส่ี ุดเทาทจี่ ะมากได
2) สอื่ นน้ั มีประสิทธภิ าพและไดผลสูงสดุ
3) เสยี คา ใชจายตํ่าท่ีสุด
2. การประชาสมั พันธ หมายถึง การตดิ ตอ สื่อสารเพ่อื สง เสรมิ ความเขาใจที่ถกู ตองรวมกัน ตลอดจน
สรางความสัมพันธอันดีตอกันระหวางลูกคา หนวยงาน รัฐบาล ประชาชน เพ่ือใหเกิดความเช่ือถือศรัทธา
ความคดิ เห็น ทัศนคติที่ดีตอองคการ การประชาสัมพันธ ไดแก ขาวแจกสําหรับเผยแพร การแถลงขาว ลูกคา
สัมพนั ธ พนักงานสัมพันธ ชุมชนสัมพันธ สื่อมวลชนสัมพันธ การบริการสงั คมและสาธารณประโยชน
3. การวิจัยตลาด หมายถึง การศึกษาปจจัยภายนอกและภายในเกี่ยวกับการตลาด ทําให
ผูประกอบการมีขอมูลในการวางแผนการตลาดไดอยางมั่นใจ และสามารถบอกรายละเอียด ในการ
ดาํ เนนิ งานไดอ ยา งชัดเจน
การวจิ ัยการตลาดหรือการศกึ ษาตลาด มขี ัน้ ตอนในการดาํ เนินงาน ดงั น้ี
1) การศกึ ษาโอกาสและสถานการณข องการตลาด เปนการศกึ ษาเก่ียวกบั เรื่อง โอกาสทางการตลาด
ซง่ึ เปนการศกึ ษาพฤตกิ รรมผบู ริโภค และ การศึกษาสถานการณทางการตลาด เปนการศึกษาส่ิงแวดลอม
ภายในและภายนอกของกจิ การนน้ั ประกอบดวย
(1) การศกึ ษาจุดแขง็ เปน การศึกษาถงึ ขอ ดหี รอื จุดแขง็ ของสนิ คาหรอื บรกิ าร
(2) การศึกษาจุดออน เปน การศกึ ษาขอเสยี หรอื ปญหาทเ่ี กิดจากองคป ระกอบทางการตลาด
(3) การศกึ ษาโอกาส เปน การศกึ ษาขอ ไดเปรียบหรอื สิ่งท่เี ออื้ อาํ นวยใหแ กก จิ การ
(4) การศกึ ษาอุปสรรค เปน การศกึ ษาปญ หา อุปสรรคที่จะเกิดขน้ึ
2) การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคทางการตลาด เนนวัตถุประสงคทางดานการผลติ ผลติ ภัณฑ ราคา การจดั
จําหนาย การโฆษณา และการสงเสริมการตลาดใหสามารถตอบสนองความพึงพอใจของผูบริโภคอันจะ
นําไปสูการสรางยอดขายและกาํ ไร
3) การเลอื กตลาดเปา หมาย ตองคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ดงั ตอ ไปน้ี
(1) โอกาสทางการตลาด
(2) ลกั ษณะและความตองการของตลาด
(3) ขนาดของตลาด
(4) ความสามารถขององคกรในการตอบสนองความตองการของตลาดไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ

69

(5) คูแขง ขนั และผลติ ภณั ฑท สี่ ามารถทดแทนได
4) การเลอื กกลุม เปา หมายมหี ลายวธิ ี ดงั น้ี

(1) การเลือกกลุมเปาหมายเฉพาะสวน คือ การเลือกกลุมเปาหมายกลุมใดกลุมหน่ึงเพ่ือ
ศกึ ษาศกั ยภาพขององคก รในการตอบสนองความตอ งการของลกู คา เปาหมาย

(2) การเลือกกลุมเปาหมายหลายสวน คือ การเลือกกลุมเปาหมายมากกวาหน่ึงกลุมและ
ทาํ การตลาดพรอ มกัน แตล กั ษณะกจิ กรรมทางการตลาดตา งกัน เพ่ือใหเกิดความเหมาะสมกับลกู คาเปา หมาย
แตละกลมุ เชน บรษิ ทั ทีผ่ ลิตสนิ คา ประเภทเดียวกันในหลายรูปแบบเพ่ือตอบสนองความตองการของลูกคา
แตละกลมุ เปาหมาย เปน ตน

(3) การตลาดมวลชน คือ การทําการตลาดโดยไมแบงสวนตลาด เนนการผลิตเปน
จาํ นวนมาก ตนทุนตาํ่ สนิ คามคี วามแตกตา งกันไมมาก เพ่อื จําหนายใหป ระชาชนทว่ั ไป เชน น้าํ ตาล น้าํ อัดลม
ทราย เหลก็ หนิ ปูนซเี มนต เปน ตน

5) การศึกษาพฤตกิ รรมผูบริโภค คือ การแสดงออกของผูบริโภคท่ีเก่ียวกับการแสวงหาสินคาและ
บรกิ ารมาเพ่อื สนองความตอ งการของตน และพฤติกรรมผูบริโภค ซึง่ แบง ออกเปน 2 สว นไดแ ก

(1) อุปนิสัยในการซ้ือ หมายถึง นิสัยในการซื้อสินคาของผูบริโภค ซึ่งมีคําถามสําคัญ
ท่ีนาสนใจในการคนหาลักษณะนิสัยของผบู รโิ ภคมดี ังน้ี

1) ผูบริโภคในกิจการของเราเปน ใคร
2) ตลาดตองการซ้อื สินคาอะไร
3) จะซอ้ื อยางไร
4) ทาํ ไมผูบรโิ ภคจึงตองซอื้
5) เมอื่ ไรผบู รโิ ภคจะซ้ือ
6) ผบู ริโภคจะซื้อทีไ่ หน
7) ใครมีสว นรว มในการตดั สนิ ใจซ้อื
(2) แรงจูงใจในการซื้อ หมายถึง สาเหตุที่ทําใหผูบริโภคตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการ
แรงจูงใจในการซื้อ มหี ลายประเภท ไดแ ก
1) แรงจูงใจในตัวสินคา ประกอบดวย แรงจูงใจข้ันปฐมภูมิ เปนการที่ผูซ้ือ
ตัดสินใจซ้ือตัวสินคา เชน ตัดสินใจซื้อตูเย็น แรงจูงใจเฉพาะเจาะจง เปนการตัดสินใจตอจากขั้นปฐมภูมิ
คือ ตดั สินใจซอื้ ตเู ยน็ แลวจะเลือกยหี่ อ แบบ ขนาด สี
2) แรงจูงใจซื้อสินคาจากผูขายประจํา หรืออุปถัมภ เปนแรงจูงใจที่ทําใหลูกคา
ตัดสนิ ใจซอ้ื สนิ คาจากรานคา ใด รานคาหนึ่ง
3) แรงจงู ใจเก่ยี วกับเหตุผล เปนการตดั สินใจโดยใชเหตุผลในการซื้อมากกวาการ
ใชอารมณ เชน ความประหยัด คงทน
4) แรงจูงใจดานอารมณ การตัดสินใจซื้อดวยการใชอารมณของตนเอง เชน
ความภูมิใจ ความสวยงาม ความกลัว

70

5) แรงจูงใจฉับพลัน หรือการซื้อดวยแรงกระตุน เปนการซื้อสินคาโดยที่ไมได
ตัดสินใจซ้ือมากอน

4. การสงเสริมการขาย หมายถึง การทํากิจกรรม การโฆษณา การขายโดยบุคคล การสงเสริม
การขาย และการประชาสัมพันธ กิจกรรมน้ี ดาํ เนินการโดยมีวัตถุประสงคเพื่อกระตุน ใหผูซื้อตัดสินใจ
เลอื กซื้อสินคา หรือรบั บรกิ าร

กจิ กรรมการสงเสริมการตลาด นอกเหนือจากการโฆษณาการขายโดยบคุ คล และการประชาสัมพันธ
เปนการชวยกระตุนความสนใจ การซื้อของผบู รโิ ภคหรอื บคุ คลอนื่ ในชองทางการจดั จาํ หนาย การจัดแสดงในงาน
แสดงสินคา การแจกของแถม การลดราคา การชิงโชค การแขงขัน การแจกคูปองแจกแสตมปการคา หรือ
เนน การขายโดยบุคคล ซ้อื ขายโดยใชพนักงานเปนการสื่อสารโดยตรง แบบเผชญิ หนา ระหวางผูขายและผูมี
โอกาสเปนลูกคา พนักงานขายมีความสําคัญมากเพราะผูขายสามารถปรับราคาสินคาหรือคาบริการให
สอดคลองกับความตองการของลูกคาได พนักงานขาย ที่เขาพบลูกคาสามารถโนมนาวชักจูงตลอดจนให
ขา วสารแกล กู คาไดอยา งเปน กนั เองและยืดหยุน ได

การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง การคนหาเพื่อใหทราบถึงสาเหตุหรืออิทธิพลที่มีตอ
การตดั สนิ ใจซือ้ สนิ คา หรอื บรกิ ารของผบู รโิ ภค ประโยชนท่ีไดจากการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค ทําให
ทราบถึงลักษณะที่แทจริงของตลาดและผูบริโภค ชวยใหผูบริหารการตลาดสามารถวางแผนและปรับ
กลยุทธทางการตลาดใหเ ขากบั สภาพความจรงิ ที่สดุ

นักการตลาดควรนาํ หลกั การวิเคราะหพฤติกรรมผูบรโิ ภค มาปรับใชโดยคํานึงถึงรายละเอียด ดังน้ี
1. ผูบริโภคคือใคร ใชหลักการแบงสวนตลาดเขามาประกอบการพิจารณา คือ หลักภูมิศาสตร
หลกั ประชากรศาสตร หลกั จิตวิทยา หลกั พฤตกิ รรมศาสตร
2. ความตอ งการของตลาด ผูประกอบการจะตอ งศกึ ษาวา ผูบรโิ ภคตองการอะไรจากผลิตภัณฑท่ีซ้ือ
เชน บางคนใชรถยนตร าคาแพง เพราะตอ งการความภาคภมู ใิ จ บางคนเลอื กรบั ประทานอาหารในรานหรูหรา
นอกจากตองการความอรอยจากรสชาติของอาหารยังตองการความสะดวกสบาย การบริการที่ดี เปนตน
นักการตลาดจะตองวิเคราะหดูวาผูบริโภคตองการซ้ืออะไรเพื่อท่ีจะจัดองคประกอบของผลิตภัณฑให
ครบถวนตามทีเ่ ขาตอ งการ
3. การตัดสินใจซื้อ ผูประกอบการตองศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจในการซ้ือของผูบริโภคซ่ึง
จะตองผานกระบวนการ 5 ขน้ั ตอน ดงั นี้

1) ขัน้ เกิดความตอ งการ ผบู ริโภคมีความตองการสินคาและบริการนั้น ๆ ความตองการน้ี
อาจเกิดขึ้นจากตัวกระตุน เชน ความหิว ความอยากได ความอยูรอด ความมหี นา มีตา การเลียนแบบ ฯลฯ

2) ขน้ั แสวงหาขอ มลู เมือ่ เกดิ ความตองการในสนิ คาหรอื บริการนนั้ ๆ ผบู ริโภค จะพยายาม
เสาะแสวงหาความรเู ก่ียวกบั สินคา และบรกิ ารนัน้ จากผใู กลช ดิ เพ่ือน ครอบครัว เพ่ือนบาน การโฆษณาทาง
สอ่ื ตาง ๆ ส่ือสารมวลชน ผูเคยใชส ินคาน้นั มาแลว

3) ขน้ั การประเมนิ ทางเลือก เม่ือผูบ รโิ ภคไดร ับขา วสารขอ มลู ทจี่ ะใชป ระกอบการตัดสนิ ใจ
ซ้อื แลว เขาจะประเมินคาทางเลือกแตละทางเพ่ือการตัดสินใจซ้ือการประเมินทางเลือกผูบริโภคมักจะใช

71
ประสบการณของเขาในอดีต ทัศนคติท่ีมีตอรานคาแตละย่ีหอหรือฟงความคิดเห็นจากเพ่ือน ๆ เพื่อชวยใน
การเลอื ก

4) ข้ันการตัดสินใจซื้อ หลังจากผานข้ันการประเมินทางเลือกแลวผูบริโภคก็จะเลือก
ตราย่ีหอท่ีตนชอบมากท่ีสุด ดังน้ัน นักการตลาดจึงตองเพิ่มความพยายามในการใหขอมูลแกผูบริโภค
และชวยเหลือแนะนาํ ผูบริโภคในการตัดสินใจซ้ือ

5) ขั้นความรูสึกหลังการซื้อ เม่ือผูบริโภคซื้อสินคาตรายี่หอนั้น ๆ ไปใชแลว หากไดผล
ตามที่ตนคาดคะเนไว ยอ มทําใหผูบรโิ ภคมีทศั นคติทด่ี ตี อ ตราย่หี อน้ันมากยิง่ ขนึ้ แตถาใชแ ลว ไมไ ดผ ลตามท่ี
คาดไว เขายอมมีทัศนคติไมดีตอตรายี่หอนนั้

1.ขน้ั เกดิ ความตอ งการ 2.ข้นั แสวงหาขอมลู 3.ขั้นประเมนิ ทางเลือก

5.ขั้นความรูส ึกหลงั การซ้ือ 4.ขน้ั ตดั สนิ ใจซื้อ
การ

ภาพแสดงกระบวนการตัดสินใจในการซื้อ

กระบวนการตัดสินใจในการซื้อน้ีจะเริ่มจากความรูสึกวาตองการสินคานั้น จนไปถึงความรูสึก
หลงั การซ้ือ กระบวนการดังกลาวนี้จะกินเวลามากหรือนอย ยากหรืองายเพียงใดข้ึนอยูกับชนิดของสินคา
ตวั บุคคลที่ทําการซ้ือ ผูตัดสนิ ใจซอ้ื การสง เสริมการตลาด ฯลฯ แตละขั้นตอนของกระบวนการซ้ือ ใชเวลา
ไมเทากนั และบางคร้ังการซื้ออาจจะไมไดด ําเนินไปจนจบกระบวนการก็ได เพราะผูบริโภคเปล่ียนใจหรือ
เกิดอุปสรรคมาขดั ขวางทําใหเ ลกิ ซอ้ื หรอื อาจตองทอดระยะเวลาในการซือ้ ออกไป

4. ทําไมผูบ รโิ ภคจงึ ซอื้ เปนการพจิ ารณาถึงวัตถปุ ระสงคหรือจดุ มงุ หมายของการซ้ือ
5. เม่ือไรผูบ รโิ ภคจึงซือ้ นกั การตลาดจําตองทราบถึงโอกาสในการซื้อของผูบริโภค ซ่ึงจะแตกตาง
กันตามลักษณะสนิ คา น้ัน ๆ เพื่อท่ีจะวางกลยุทธทางตลาดไดเหมาะสมกับพฤติกรรม การซื้อของผูบริโภค
อาจพิจารณา ดังนี้

1) การซ้ือสินคาใชประจําวัน เปนสินคาราคาไมแพงและตองซื้อใชบอย ๆ ผูบริโภค
มีความคุนเคยกับชนิด ลักษณะรูปรางของสินคาและตราย่ีหอเปนอยางดี การซื้ออาจจะซ้ือเมื่อของหมด
หรอื เกอื บหมด หรือซ้ือเกบ็ ตนุ ไวเ พราะถงึ อยางไรก็ตอ งใชอ ยูแ ลว

72

2) กรณีที่ผูบริโภคไมคุนเคยกับตรายี่หอน้ัน ๆ ทั้ง ๆ ท่ีผูบริโภครูจักสินคานั้นดี เชน
การรับประทานอาหารนอกบาน การไปเที่ยวตางจังหวัด การเลือกโรงแรมที่พัก ซ่ึงจะมีโอกาสซื้อหรือใช
บรกิ ารเหลาน้ไี ดใ นชว งวันหยุดสดุ สัปดาหหรือวันหยดุ พกั ผอ นประจําป

3) การวิเคราะหดูวาผูบริโภคจะซื้อสินคาเม่ือไร จะทําใหสามารถกําหนดกลยุทธ ในการ
สง เสริมการตลาดไดในชว งเวลาทเี่ หมาะสมกับการซื้อ เชน การจัดรายการลดราคา แถมปกเสื้อนักเรียนฟรี
หรือซื้อรองเทา นกั เรียนมสี ทิ ธิซ้ือถุงเทาราคาถูก ในชว งกอ นเปด ภาคเรยี น เปน ตน

6. ผูบ รโิ ภคจะซือ้ ทไี่ หน เปน การถามเร่อื งชองทางการจาํ หนา ย แหลงขายทีเ่ หมาะสม กับสินคา โดย
พิจารณาดูวาสนิ คาชนิดนผ้ี บู ริโภคมกั จะซื้อจากท่ไี หน ซ้อื จากหางสรรพสนิ คา ใหญ หรือจากรานขายของชํา
ใกลบาน เปนตน

7. ใครมสี วนรว มในการตัดสนิ ใจซ้อื เปน การถามเพื่อใหทราบถึงบทบาทของกลุม ตา ง ๆ ทีม่ อี ิทธพิ ล
หรอื มสี วนรว มในการตัดสนิ ใจซื้อ

โดยสรุปผูประกอบการและนักการตลาดจะตองศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค เพ่ือทราบ
ลกั ษณะความตองการของผบู รโิ ภค เพือ่ จดั สว นประสมทางการตลาด ไดแ ก ดา นผลติ ภณั ฑ ดานการสงเสริม
การตลาด ดานแผนการจัดจาํ หนายและการกาํ หนดราคาใหเหมาะสม

การวางแผนการตลาด หมายถึง การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมาย สรางความนาเชื่อถือ
ใหก บั กิจการและผทู จี่ ะรว มลงทนุ สามารถอธบิ ายวธิ ีการทจี่ ะดึงดดู และรกั ษาลกู คา ทง้ั รายเกา รายใหมไวได

การวางแผนกลยุทธทางการตลาด หมายถึง การกําหนดวัตถุประสงค การเลือกตลาดเปาหมาย
การพัฒนากลยุทธเปนการวางแผนระยะยาว ใหเกิดความอยูรอด กําไร ความเจริญเติบโตและความมั่นคง
ตลอดไป
ประโยชนข อ มูลในดานการตลาด มีดงั นี้

1. เกดิ ความเขา ใจในปญ หา
2. คาดคะเนความตอ งการได
3. ใชง บประมาณอยา งมเี หตุผลย่ิงข้นึ
4. บรหิ ารงานชดั เจนมเี ปาหมาย
5. ชว ยคนหาปญหาทางธรุ กิจ
6. ชวยเพ่ิมผลผลิต
7. การพยากรณสภาวะธุรกจิ
8. ขอมูลเกี่ยวกับตลาด ลูกคา และอตุ สาหกรรมทเ่ี ปน อยู สถานการณป จจบุ ันและแนวโนมเปน อยางไร
9. ผลติ ภณั ฑคแู ขง วิธกี ารสงเสรมิ การจาํ หนา ยและผลการขยายของคแู ขงขนั เปน อยางไร
10. ไดรบั ทราบขอ มูลผลความสําเรจ็ และปญหาที่จะเกดิ จากการขายหรอื รายงานการขาย
11. มีโอกาสเปด ตลาดใหม
12. รกู ารเปล่ียนแปลงของคแู ขงขนั
13. รทู นั ทัศนคตแิ ละความตองการของลูกคา และประสิทธิภาพของกลยทุ ธใ นปจจบุ ัน

73

5. การทําฐานขอ มูลลูกคา
1. ความหมายของการทาํ ฐานขอมลู ลกู คา หมายถึง ขอมูลจะชวยในการกําหนดสวนตางของการตลาด
การกําหนดกลยทุ ธ การตลาดทางตรงไมว าจะเปน กลยทุ ธการสรางสรรคงานโฆษณา กลยุทธส่ือ ตลอดจน
ใชในการวเิ คราะหข อ มลู ตา ง ๆ เปน สิ่งสาํ คญั สาํ หรับการทาํ ตลาดทางตรง เพราะกิจการจะไมส ามารถส่ือสาร
หรือเขา ใจถงึ กลุมลูกคา ทค่ี าดหวงั ได หากปราศจากขอ มลู ลกู คา
2. วตั ถปุ ระสงคการทาํ ฐานขอ มลู ลูกคา มีดงั นี้

1. เพือ่ ใหท ราบถึงความสําคัญของการจดั ทําบญั ชีรายช่ือลกู คา
2. เพอ่ื ใหท ราบถึงวธิ ีการเบอื้ งตน ในการจัดทาํ บัญชีรายช่ือลูกคา
3. เพอ่ื ใหเ ขาใจถงึ ประเภทของฐานขอมูล
4. เพอ่ื ใหท ราบถงึ องคป ระกอบของฐานขอ มูลลูกคา
1) การจดั ทาํ บญั ชีรายช่ือลกู คา สามารถดําเนินการไดดังนี้
(1) กรอกบัตรรายชื่อ การสอบถามช่ือ สกุล ท่ีอยูของลูกคา โดยเตรียมบัตรสําหรับกรอกช่ือ
ที่อยู ของลูกคาไวกอน ในขณะที่ขายสินคาหรือลูกคาติดตอมาใหกรอกบัตรรายช่ือ พรอมเหตุผล เชน
เพ่อื แจง ขาวสารการลดราคา เพ่อื ใหบ รกิ ารหลังการขาย หรือเพื่อจัดทําบัตรสวนลด บัตรสมาชิกใหในภายหลัง
จะชวยใหลูกคายินดีท่ีจะใหขอมูลมากยิ่งขึ้น หรืออาจมีแบบฟอรมใหลูกคาท่ีสนใจซื้อกรอกขอมูล
พรอมการสั่งซือ้ จากสื่อตาง ๆ
(2) การสอบถามขอมูลจากลูกคาโดยตรง อาจใชวิธีใหพนักงานขายเปนผูกรอก โดยสอบถาม
ขอมูลตาง ๆ จากลูกคา พนักงานขายจะตองช้ีแจงกอนเสมอ ซ่ึงพนักงานขายหรือพนักงานรับโทรศัพท
เปนผูกรอกบัตรรายช่อื เอง
(3) รวบรวมรายช่อื จากงานแสดงสินคา หรือนทิ รรศการ จากผูเ ขา ชมงานนิทรรศการหรอื
งานแสดงสินคาตาง ๆ ก็เปนอีกกลุมหน่ึงท่ีมีความสนใจ การจะไดขอมูลของคนกลุมนี้ อาจตองมีการจัด
ต้ังโตะ พเิ ศษ พรอ มเขยี นประกาศแจงใหก รอกชื่อและท่ีอยู เพือ่ ทางกิจการจะไดสงของรางวลั บางอยางไปให
หรอื เพ่ือจับฉลากชงิ โชครางวลั จะชวยใหคนกลุมนยี้ ินดีกรอกรายละเอียด
(4) การบรกิ ารหลงั การขาย สนิ คา บางประเภทตอ งมบี รกิ ารหลงั การขาย โดยทวั่ ไปจะมี
บัตรรับประกันสินคาดวย ซึ่งลูกคามักจะยินดีกรอกรายละเอียดทุกอยางอยูแลว จึงเปนฐานขอมูลที่ดีและ
รายละเอียดมากกวาบัตรของลูกคาท่ีแสดงขางตน สวนรายละเอียดที่จําเปนท่ีควรจะไดจากลูกคาจะได
กลาวถงึ ในหัวขอถดั ไป
(5) การจดั สง ใบสง ของขวัญในชว งเทศกาลหรือวาระพเิ ศษ บางคนอาจนิยมส่งั ซื้อ
สนิ คา ใหเปนของขวัญแกบ คุ คลอน่ื โดยอาจจะมอบหมายใหท างกจิ การผจู ําหนายเปนผูจัดสงใหดวย ดงั นนั้
จึงควรถือโอกาสนี้ในการขอรายละเอียดเก่ียวกับช่ือ ท่ีอยูของผูซ้ือ และผูรับไวเพ่ือเก็บเปนหลักฐานขอมูล
และการจดั ทาํ บญั ชรี ายชอื่ ลกู คา ตอ ไป

74

(6) การสง บัตรกํานัล หรือแบบสอบถามในกรณที ี่มีการแจกบตั รลดราคา บัตรแลกตัวอยาง
สินคาฟรี หรือแบบสอบถามใหแกลูกคา เม่ือลูกคานําบัตรเหลานั้นมาใชบริการ ทางกิจการควรบันทึกชื่อ-
ท่อี ยูของลูกคา ไว

(7) บตั รเครดติ เมือ่ ลูกคาชําระคาสินคา หรอื บริการทางกจิ การก็สามารถจดชื่อ - ทอ่ี ยู
ของลูกคา ไว

(8) การแนะนาํ ตอของลกู คา เมื่อมลี ูกคา ประจาํ อาจขอใหลูกคา แนะนําชื่อ-ท่อี ยขู องบคุ คล
ใกลชิดของลูกคาที่คิดวานาจะสนใจสินคาหรือบริการของทางกิจการใหหรืออาจสรางส่ิงจูงใจใหเกิด
การแนะนาํ รายชอ่ื ใหกิจการ เชน หากลูกคาไดรับแคตตาล็อกของกิจการแนะนําช่ือ - ที่อยู ของเพื่อนมาได
4 รายชื่อจะมขี องสมั มนาคณุ สง ใหถึงบานฟรี เปน ตน

1) ประโยชนก ารทําฐานขอมลู ลกู คา มดี งั น้ี
(1) มขี อมูลลกู คา กลุมท่ีทํากาํ ไรไดม าก
(2) สามารถทาํ ใหธุรกิจอ่นื ๆ กับกลมุ ลูกคาทีม่ อี ยูไ ด
(3) สามารถระบคุ ดั เลือกลูกคา ทม่ี ุงหวงั ไดช ดั เจนมากข้ึน
(4) สามารถกําหนดกลยุทธท จ่ี ะเปลยี่ นลกู คา ที่มงุ หวังใหเ ปนลกู คา ของกจิ การ
(5) มีขอมูลในการทาํ กจิ กรรมกับลูกคา
(6) สามารถพฒั นาการสงเสรมิ การตลาดที่เหมาะสมได
(7) สามารถสรางโอกาสใหม ๆ ทางการตลาด
(8) สามารถพฒั นากลยุทธท ีจ่ ะดึงดดู ลกู คา กลมุ น้ี
(9) สามารถวดั ประสิทธภิ าพของโฆษณา และการสงเสริมการตลาด
(10) ลดการสูญเสียและสามารถเพ่มิ ผลผลติ
(11) ประเมนิ ผลสําเรจ็ ในกจิ กรรมสงเสริมการขายได
(12) ลดตนทุน และเพิ่มปรมิ าณการขายเปนตน

6. การกระจายสนิ คา
การกระจายสินคา ในวงการธุรกิจปจจุบันนักการตลาดใหความสําคัญเก่ียวกับการกระจายสินคา
ไมนอ ยกวา ตวั แปรอน่ื ๆ ในดานการตลาด หากผลิตภัณฑเปนท่ีตองการของตลาด แตระบบการกระจายสินคา
ไมด ี เชน สงสนิ คาผิดพลาดลาชา ผิดสถานท่ี เปนตน เปนความสญู เสียอันย่งิ ใหญ เพราะทําใหย อดขายลดลงและ
สญู เสียลกู คา

1) จุดประสงคของการกระจายสนิ คา คอื การจดั สง สินคาใหลูกคาไดถูกตอง ไปยังสถานที่
ทถี่ กู ตองในเวลาท่เี หมาะสม โดยเสียคาใชจายนอยทสี่ ุด ตลอดจนการใหบรกิ ารลูกคาที่ดีทีส่ ุด

2) บทบาทและความสําคัญของการกระจายสินคา เปนการเช่ือมโยงระหวางผูผลิต
กับผูบริโภคหรือกลาวไดวาการท่ีนําสินคาออกจําหนายใหผูบริโภคทันตามเวลาที่ตองการกระจายสินคา
จึงมีความสาํ คัญทีผ่ ปู ระกอบการจะตองระมดั ระวังในเร่ืองตอ ไปนี้

75

(1) สนิ คา ท่ถี กู ตอง
(2) เวลาท่ีถูกตอ ง
(3) จํานวนที่ถกู ตอ ง
(4) สถานที่ท่ีถูกตอ ง
(5) รูปแบบที่ตอ งการ
การจดั การกระจายสนิ คา คอื การนําสนิ คา ไปถงึ มือผูบ ริโภคหรือลกู คา ซง่ึ การกระจายสินคา เกี่ยวขอ งกบั
การงานในหนา ทอ่ี ่นื ๆ ไดแ ก การเริ่มตนจากการพยากรณการขายซึ่งเก่ียวกับการวางแผนการจัดจําหนาย และ
การวางแผนการผลิตสว นการกระจายสนิ คา หมายถึงการบริหารระบบการขนสง ระบบชองทางการจดั ซือ้ ระบบ
ชอ งทางการจดั จาํ หนา ยระบบสินคาคงคลงั เพือ่ ใหไ ดม าซ่งึ ประสทิ ธภิ าพ ในการจดั ซือ้ วัสดุ วัตถดุ บิ เพือ่ การผลิต
และเพื่อใหไดมาซงึ่ ประสิทธิภาพทางการตลาดท่ีจะขายสินคาสําเร็จรปู และบริการสูมือผบู รโิ ภค
3) แนวคิดทางการตลาดมงุ การผลิต ปจ จบุ ันธรุ กจิ มุงใหความสนใจแนวคดิ ทางการตลาด มุงการขาย
เกอื บท้งั หมด แตแนวคิดการตลาดทางการศกึ ษา สามารถแยกไดเ ปน 2 แนวคดิ คอื
(1) แนวคิดมุงการผลิต คือ การมุงถึงการจัดทรัพยากรในการสรางผลิตภัณฑนําออกขาย
และสน้ิ สุดทีก่ ารนําเสนอขายสนิ คาทีม่ ีอยู
(2) แนวคดิ มงุ การตลาด คอื แนวทางการผลติ ทีล่ กู คา ตอ งการดจู ากความตองการของลูกคา
เปน หลักเพ่ือตอบสนองความตองการเหลานัน้ ใหส มบรู ณท่ีสุด
กิจกรรมทางการตลาดเปนหนา ทผ่ี ูประกอบการและนักการตลาดจะตองดาํ เนนิ การใหบ รรลุ
เปาหมายที่วางไว ซง่ึ มีแนวทางการดําเนนิ งาน ดงั นี้
(1) วเิ คราะหสภาพแวดลอมและการวจิ ัยตลาด โดยการตรวจสอบผลกระทบทเ่ี กิดจากภาวะ
เศรษฐกจิ และการแขงขันที่มผี ลตอการตลาด
(2) วเิ คราะหผบู ริโภค โดยการประเมินความตอ งการกระบวนการซื้อของผูบ ริโภคใหเ ขา ใจ
(3) วางแผนการผลติ และบรกิ าร โดยการพัฒนา รักษาผลติ ภณั ฑ ตรา การหีบหอ รวมท้ังการ
ยกเลกิ ผลิตภณั ฑบ างอยาง
(4) วางแผนเกีย่ วกบั ราคา โดยการกาํ หนดชวงราคา เทคนคิ การต้ังราคา และการใชราคาเปน
ตัวรกุ หรอื ตง้ั รบั
(5) วางแผนการจัดจาํ หนาย โดยการกาํ หนดชองทางการจําหนาย การขนสง การเก็บรักษา
การแยกแยะ การคา สง การคา ปลกี
(6) วางแผนการสง เสรมิ การจาํ หนา ย โดยการโฆษณาการขายโดยบุคคลและการประชาสมั พนั ธ
(7) พิจารณาความรับผิดชอบตอสังคม โดย มีความรับผิดชอบในแงความปลอดภัย
ความมศี ีลธรรม และเนน ประโยชนค ณุ คา ของสนิ คาและบรกิ าร
(8) บริหารการตลาด โดย การวางแผนทางการตลาด การประเมินถึงความเสี่ยงและ
ประโยชนของการตดั สินใจทางการตลาด

76

เรื่องท่ี 2 การจดั ทาํ แผนปฏบิ ัติการ
การจดั ทําแผนปฏิบัตกิ าร เปน กระบวนการจัดการทเ่ี ปนระบบในการประเมินโอกาสและทรัพยากร

ทางการตลาด ที่สรางและรักษาความเหมาะสมระหวางวัตถุประสงคขององคกรกับทรัพยากรที่มี รวมทั้ง
โอกาสทางการตลาดทีเ่ ปลยี่ นแปลงในระยะยาว เปาหมายของการวางแผนปฏบิ ัติการทาํ กําไร และการเติบโต
ในระยะยาว การตัดสินใจทําแผนปฏิบตั กิ ารจึงใชทรัพยากรในระยะยาว

การจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการ ควรนํากลยทุ ธม าใชเพอ่ื มงุ ตอบคาํ ถาม 2 ขอ คือ
(1) จะทาํ อะไรเปน กิจกรรมหลกั ในขณะน้ี
(2) กิจการจะบรรลเุ ปาหมายไดอยา งไร

การวางแผนการตลาดเชงิ กลยทุ ธ จะทาํ ใหพ นกั งานทกุ คนไดรวู า จะปฏิบัติใหบ รรลุเปาหมายในระยะ
ยาวไดอยา งไร แผนการตลาดเปน เอกสารทเี่ ขียนขึ้น เพ่ือใชเปนเสมือนหนังสือนําทาง สําหรับกิจกรรมทาง
การตลาด แกผจู ดั การฝายการตลาด

แผนการตลาดจะระบุวตั ถปุ ระสงค และกิจกรรมท่ีตองทําเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงคน้ัน การตลาด
ถือเปนกิจกรรมทีย่ ากท่สี ุด ทีพ่ นักงานและผูบริหารเขาใจรว มกันและทําเพอ่ื นําไปสูเ ปาหมายรวมกนั ดังน้ี

1. การเขียนแผนการตลาดที่ชัดเจนเปนงานที่ตองใชเวลา แตเปนพ้ืนฐานในการสื่อสารภายใน
องคก าร

2. แผนการตลาดจะทําใหพ นักงานทกุ คนทราบวา ตนมคี วามรับผดิ ชอบอะไร ตองทําอะไร มีกรอบ
เวลาในการปฏบิ ัตงิ านอยา งไร

3. แผนการตลาดบงบอกวัตถปุ ระสงคและแนวทางการจัดสรรทรัพยากรเพอ่ื ใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค
4. แผนการตลาดเปน กรอบความคิดและใหท ิศทาง สวนการนาํ ไปปฏิบตั ิเปน การทํางานในลักษณะ
ทจี่ ัดการกับปญ หา โอกาส และสถานการณ
5. แผนการตลาดแสดงขั้นตอนงานท่เี รียงเปนลําดับกอนหลังก็จริง แตข้ันตอนเหลาน้ันอาจเกิดข้ึน
พรอมกันหรือประสานกันได การเขียนแผนมีหลายรูปแบบ ข้ึนอยูกับองคกร พันธกิจ วัตถุประสงค
กลุมเปา หมาย และสว นประสมทางการตลาดขององคกรน้ัน

77

ข้ันตอนของการทาํ แผนการตลาด มดี ังนี้

การกาํ หนดพันธกิจขององคกร

การระบวุ ัตถุประสงคท างการตลาด

การวเิ คราะหส ถานการณ
การสรางกลยทุ ธทางการตลาด

การนาํ แผนไปปฏิบตั แิ ละการควบคุม

ภาพองคป ระกอบของแผนการตลาด

การกําหนดพันธกิจขององคกร เปนส่ิงท่ีทําใหเราไดทราบวาองคกรนั้นทําธุรกิจอะไร และสิ่งใด
ทําใหธุรกิจแตกตางจากคูแขง องคกรมีวัตถุประสงค ปรัชญาและภาพลักษณเปนอยางไร การกําหนด
พันธกิจควรเนนประโยชนท ่ลี ูกคา จะไดรบั ลกั ษณะของพันธกิจที่ดี ตอ งสะทอนวิสัยทัศนขององคก ร

การระบุวัตถุประสงคทางการตลาด เปนขอความที่ระบุเปาหมายท่ีองคกรตองการบรรลุ
โดยใชกิจกรรมทางการตลาด วตั ถปุ ระสงคท่ดี คี วรมลี ักษณะท่ีเรยี กวา “SMART” คือ

1. เจาะจง (Specific) คอื มคี วามเฉพาะเจาะจง ชัดเจน ตอ งการผลออกมาในรูปใด
2. วดั ได (Measurable) คอื วัตถุประสงคต องวัดได ทงั้ ในดานปริมาณและคุณภาพ
3. บรรลุได (Achievable) คือ มลี กั ษณะจูงใจ อยบู นพ้นื ฐานของความจรงิ มีความสม่ําเสมอ
4. สัมพนั ธกนั (Relevant) คือ ตอ งมคี วามสอดคลอ งกับนโยบายของบริษทั
5. ระบเุ วลา (Time-bound) คือ องคก รตอ งบอกวา กิจกรรมนน้ั จะเรม่ิ และสิ้นสดุ เวลาใด
วัตถุประสงคทไ่ี มมกี รอบเวลาทเ่ี รม่ิ ตน และเวลาสน้ิ สดุ สว นใหญแ ลวจะไมมีโอกาสบรรลุได
การวิเคราะหส ถานการณ เปนกิจกรรมทีผ่ ทู ําการตลาด ตอ งเขาใจสภาพแวดลอ มปจ จบุ นั และ
อนาคตสาํ หรบั ผลิตภณั ฑ การวเิ คราะหสถานการณ หรืออาจเรียกวา การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส
และอปุ สรรค โดยใชเทคนคิ วิเคราะหSWOT (SWOT Analysis)

78

การสรา งกลยุทธทางการตลาด เปนการเลือกตลาดเปาหมายและสรางสวนประสมทางการตลาด
เพื่อใหเกดิ ความพึงพอใจแกต ลาดเปา หมายขององคกร ซึง่ ประกอบดว ย 3 ประการ คอื การบรรลเุ ปาหมาย
การสรา งสวนประสมทางการตลาด และการวางตาํ แหนงของผลิตภัณฑ

การนําแผนไปปฏิบัติและการควบคุม เปนกระบวนการที่ผูทําการตลาด ตองดําเนินงาน
ตามแผนการตลาดที่วางไว ดวยความม่ันใจวาจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ซ่ึงรายละเอียดในแผน
จะระบกุ ิจกรรม เวลา งบประมาณ ซ่งึ ตองมีการส่ือสารที่ดี

เมื่อนําแผนการตลาดไปปฏิบัติแลว จะตองมีการประเมินเพ่ือใหทราบวาไดดําเนินการบรรลุ
ตามวัตถุประสงคเ พียงใด มอี ะไรท่ีควรแกไข การวางแผนมีความสัมพันธใกลชิดกับการควบคุม เนื่องจาก
แผนไดร ะบถุ งึ สิง่ ทีอ่ งคก รตอ งการบรรลุ

79

กจิ กรรมท่ี 1
1. ใหนักศึกษาแบงกลมุ ๆ ละ 5 คน เลือกประธาน เลขา และผนู าํ เสนอของกลุม
2. ใหนักศึกษาคนหาอาชีพในชุมชนมา 1 อาชีพแลวรวมกันจัดทําแผนการตลาด โดยใชความรู

จากทไ่ี ดเ รยี นมา พรอ มทัง้ อธบิ ายเหตผุ ลของการทําแผนแตล ะขน้ั ตอน
3. ใหผูแทนกลมุ นําเสนอ ผลการดาํ เนินงานกลมุ

…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

80

บทที่ 6
การขับเคล่อื นเพ่อื พฒั นาธรุ กิจ

สาระการเรยี นรู
การขับเคล่ือนเพอื่ พฒั นาธรุ กิจ เปนกระบวนการเรียนรูท่ีมุงเนนการสงเสริมการแกปญหา

การแสวงหาความรู การบริหารจัดการทรัพยากรพัฒนาชุมชน การจัดทําแผนและการขับเคล่ือนแผน
โดยตนเอง ดวยกระบวนการคิด วิเคราะห ใหเกิดเปนรูปธรรม จากการพออยูพอกินไปสูความพอเพียง
จนบรรลุความเขมแขง็ ยั่งยืนทส่ี ามารถบอกตนเองไดวา สงั คม ครอบครวั มีความอบอนุ เศรษฐกจิ มีความพอเพยี ง
และมีการดํารงชีวติ ในสิง่ แวดลอมที่ดี
ตวั ชีว้ ดั

1. วเิ คราะหความเปน ไปไดข องแผนพฒั นาธุรกจิ
2. พฒั นาแผนพัฒนาอาชีพ
3. ข้นั ตอนการขบั เคล่ือนแผนพัฒนาอาชีพ
4. อธบิ ายปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ขท่เี กดิ จากการขบั เคลอ่ื นแผนธรุ กิจ
ขอบขา ยเนื้อหา
เรื่องท่ี 1 การวเิ คราะหค วามเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี
เรอ่ื งท่ี 2 การพฒั นาแผนพฒั นาอาชีพ
เร่อื งที่ 3 ขนั้ ตอนการขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาอาชพี
เรือ่ งที่ 4 ปญหาอปุ สรรคและแนวทางแกไ ขท่ีเกิดจากการขับเคล่ือนแผนธรุ กจิ

81

เร่ืองที่ 1 การวิเคราะหค วามเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี
1. องคป ระกอบการวิเคราะหค วามเปน ไปไดของแผนพัฒนาอาชพี
การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนาอาชีพ เปนการสรางความเช่ือมั่นและ

ความมนั่ ใจวาแผนพฒั นาอาชีพมที ศิ ทางการพฒั นาถูกตอง สัมพนั ธก บั ศักยภาพของชุมชน มคี วามเปนไปไดสูง
ในการพัฒนาอาชพี โดยการวเิ คราะหค วามเปนไปไดของแผนพัฒนาอาชพี มอี งคประกอบ ดังนี้

1. ทนุ ที่มอี ยขู องชมุ ชน
1) ทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ เชน ดินเหนยี ว ทราย แหลงนาํ้ ธรรมชาติ สิ่งแวดลอ ม

เปน ตน
2) ทนุ ทางศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม ไดแ ก
- ทุนทางศาสนา เชน สถาปตยกรรมทางพุทธศาสนา พระพุทธรูปสําคัญ และ

ประวตั คิ วามเปนมา พระนักปฏิบัติ พระนักเทศน เปนตน
- ทุนทางศลิ ปะ เชน สถาปต ยกรรมทางพุทธศาสนา ศลิ ปะ ผา และเครื่องแตง กาย

ชิ้นงานศลิ ปหตั ถกรรม การละเลน พ้นื บาน เปน ตน
- ทุนทางวัฒนธรรมประเพณี เชน การทําบุญตักบาตรตามประเพณีทองถิ่น

เทศนมหาชาติ แหเ ทียนเขาพรรษา เปนตน
3) ทนุ ทางปญ ญาของชุมชน เปนองคค วามรูที่มีอยูในชุมชน เชน สูตรขนมหมอแกง

ของจงั หวัดเพชรบรุ ี สูตรการทําปลาสมของบานกลวย อําเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี รวมถึงผูรู หรือ ผูทรง
ภมู ปิ ญญา เชน พอคําเดื่อง จงั หวดั บุรรี มั ย ครูสมหมาย จังหวัดลพบุรี เปนผูทรงภูมิปญญาดานเกษตรกรรม
ธรรมชาติ ครบู าสุทธินนั ท จงั หวัดบรุ ีรัมย ทานสมนะเสียงศีล จงั หวัดสิงหบุรี เปนผูทรงภูมิปญญา ดานการ
จดั การส่ิงแวดลอม เปน ตน

2. ความสามารถหลักของชมุ ชน
การพัฒนาอาชพี ของชุมชน สงิ่ สําคัญที่ตองวิเคราะห คือ ความสามารถของชุมชนใหถองแท
จึงจะทําการกําหนดกลยุทธ การสรางคุณคา และการเจริญเติบโต รวมถึงการสรางความสามารถใน
การแขงขันอยางยั่งยืนตอไปไดถูกตองและเหมาะสม เชน บานทับพริกเปนชุมชนที่มีความสามารถใน
การปลกู หนอไมฝรั่ง มะละกอ ถั่วพู และพริก ทาํ ใหเห็นวาบานทับพริกเปนแหลงรวบรวมความสามารถ
หลักทางการเกษตร เก่ียวกับความรู วิธีการผสมผสานความชํานาญและเทคโนโลยีการผลิตผลผลิตท่ี
หลากหลายเขา ดวยกนั การวเิ คราะหความสามารถหลักของชมุ ชน สามารถพจิ ารณา ไดด งั น้ี
1) ความสามารถหลักเปนการเพิ่มศักยภาพ ทําใหชุมชนนําผลิตภัณฑเจาะตลาดไดอยาง
หลากหลาย
2) ความสามารถหลกั จะเปนประโยชนตอลกู คาอยางมากในการซอื้ สินคาของชุมชน
3) ความสามารถหลกั เปน สงิ่ ทีค่ ูแขงเลียนแบบไดยาก

82

3. ความตองการพัฒนา
เกิดจากการมองเห็นอยางลึกซ้ึงของคนในชุมชน บนฐานขอมูลภายในตนเอง ครอบครัว
และชมุ ชน สามารถระบุออกมาไดทนั ที และตรงกับความเปนจริง ความสําคัญ การวิเคราะหความตองการ
พัฒนา ถึงแมจะมีการสํารวจ สอบถาม จากคนภายในชุมชนแตจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม
เศรษฐกิจ อาจจะมีผลใหการสํารวจทั่วไปที่พยายามจะดึงขอมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคมครัวเรือน ออกมา
ประมวลผล วเิ คราะหแลวแปลความหมาย นาํ มาใชทําแผนเพ่ือการพัฒนาจึงมีโอกาสเกิดความคลาดเคล่ือน
ตอการพัฒนา
ดงั นัน้ เพ่ือใหเกิดความเที่ยงตรงสอดคลองกับสภาพความเปนจริงมากท่ีสุด การวิเคราะห
ความตอ งการพฒั นาสามารถดําเนนิ การไดดังนี้
1) เปดเวทีประชาคม ทําความเขาใจ ระบุความตองการความจําเปน เพื่อใชเปนขอมูล
ในการจัดทําแผนพฒั นาอาชีพ ซงึ่ ขอมลู ประกอบไปดวย

(1) ดา นเศรษฐกิจ
เปา หมายทางเศรษฐกิจของครอบครัว
การสรา งความพออยพู อกิน
การสรา งรายไดสะสมทุน
การขยายพัฒนาอาชีพ

(2) รายไดคาดหวังและพอเพยี งตามสภาพที่ทาํ ไดจรงิ ดว ยตนเอง
(3) ทนุ ที่มีอยู

มที ี่ดิน จาํ นวนเทาไร
มีแรงงานทท่ี าํ ไดจริง จาํ นวนกคี่ น
มเี งนิ ทุนเพียงใด
2) นําขอ มลู แตล ะดานมาสรุป วิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนพฒั นาอาชพี

83
เรื่องที่ 2 การพฒั นาแผนพัฒนาอาชพี

การพฒั นาแผนพัฒนาอาชีพ เปนการนําขอมูลจากการวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนา
อาชีพ มาจัดระบบและรายละเอียดใหมีความเหมาะสม ท่ีจะดําเนินการไดตามศักยภาพของตนเอง
ตามแผนภูมิ ตอ ไปนี้

การพฒั นาแผนพฒั นาอาชีพ

ทาํ ความ ออกแบบ กําหนดตวั การจัดการ ตรวจสอบ
เขา ใจแผน ระบบ บงช้ี ความรู สภาพใน
ใหรูเทาทัน ปฏบิ ตั ิการ ขับเคลอ่ื น กิจกรรม
(2) ความสําเรจ็
(1) (3) (4) (5)

ตรวจตดิ ตามแกไ ขขอ บกพรอง
(6)

สรุปเสนอ การพฒั นาสู จดั ระบบสารสนเทศ
ผลงานตอ ความมนั่ คง สง เสริมการดาํ เนินงาน
สาธารณะชน และย่ังยนื
และรายงานผล
(7) (8) (9)

1. ทาํ ความเขาใจแผนพัฒนาโดยใหประชาชนทงั้ ชุมชน ไดรวมเรียนรูเปนการสรา ง
ความเขาใจเพ่ือใหเกิดการมสี วนรว มในการปฏิบัตกิ ารแกป ญหาตามแผน

2. ออกแบบระบบปฏิบัติการตามแผน เพ่ือใหมองเห็นรายละเอียดของเปาหมาย
การดาํ เนินการ กระบวนการ และกาํ หนดนโยบายเพ่ือใชด าํ เนนิ งานใหเกดิ ประสิทธภิ าพ

3. กําหนดตวั บงชีค้ วามสาํ เร็จ โดยการกาํ หนดตัวบงชค้ี วามสาํ เรจ็ ของกิจกรรมท่ีกําหนดไว
ในแผนพัฒนา

4. จัดการความรูขับเคล่ือนระบบปฏิบัติการสูความสําเร็จ โดยการสงเสริมใหผูนําชุมชน
เปนผจู ดั การความรูขบั เคล่ือนสูความสาํ เรจ็

84

5. ตรวจสอบสภาพภายในกิจกรรม โดยจัดการเรียนรูไหประชาชนมีทักษะตรวจสอบ
สภาพภายในกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง

6. การตรวจติดตาม แกไขขอบกพรอง การดําเนินงานตามแผน โดยการสงเสริมใหผูนํา
ชุมชนไดปฏบิ ตั ิการ ตรวจติดตามและแกไขขอบกพรอ งการทาํ งานตามแผน

7. การเสนอผลงานตอสาธารณชน จัดกิจกรรมสงเสริมผูนําชุมชนและประชาชนไดมี
การแลกเปล่ียนเรียนรู และสรปุ ความรูพ รอ มการนําเสนอผลการดําเนนิ งาน

8. การพัฒนาสูความมั่นคงยั่งยืน ผูนําชุมชนและประชาชนรวมกันวิเคราะห กําหนด
วางรากฐานของความมน่ั คงและยงั่ ยนื

9. จัดระบบสารสนเทศ สงเสริมการดําเนินงานใหผูนําชุมชนและประชาชนรวมกัน
นําองคความรูจากกิจกรรมตาง ๆ ของกระบวนการมาจัดเปนระบบสารสนเทศพรอมนํามาบูรณาการ
ประยุกตใ ชกับการทํางานของตนเอง

เรอื่ งท่ี 3 ข้นั ตอนการขบั เคล่ือนแผนพฒั นาอาชีพ
ข้ันตอนการขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาอาชีพ ผนู าํ ชุมชน ภาคีพัฒนา คณะทํางานและประชาชน

ตอ งรวมกันดาํ เนนิ การใน 3 ประเด็น คอื
ประเด็นท่ี 1 การวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนปฏบิ ตั ิการ
ประเดน็ ท่ี 2 การพัฒนาแผนปฏบิ ัตกิ าร
ประเด็นท่ี 3 จัดการความรูการขบั เคลอื่ นแผนปฏบิ ตั กิ ารสูค วามสาํ เร็จ

โดยการดําเนินงานในแตละประเด็นมีรายละเอียด ดงั นี้
1. การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ เปนการพิจารณารวมกันของผูเรียน

ผนู ําชุมชน คณะทาํ งาน ประชาชน และภาคเี ครือขา ย ความเหมาะสมของแผนปฏบิ ตั ิการกับสภาพความเปนจริง
ของชมุ ชนโดยพิจารณาจาก

1.1 การรบั ไดข องประชาชนในชมุ ชน
1.2 การเห็นดว ยของประชาชนในชมุ ชน
1.3 ความพรอมของทรพั ยากรทม่ี ีอยใู นชมุ ชน
1.4 ความจาํ เปนทีจ่ ะตองนําเขา ทรพั ยากรจากภายนอกชุมชน
2. การพัฒนาแผนปฏิบัติการ เปนการนําขอมูลจากการวิเคราะหความเปนไปได
ของแผนปฏิบัติการ มาปรับปรุงหรือพัฒนาเพ่ือใหแผนปฏิบัติการมีความเหมาะสมที่จะดําเนินการได
ตามศกั ยภาพของชุมชน
3. จัดการความรูการขับเคล่ือนแผน การจัดการความรูขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการ
สูความสําเร็จ ครูการศึกษานอกโรงเรียน ผูเรียน ผูนําชุมชน ประชาชน และภาคีพัฒนา จะตองรวมกัน
ดําเนินการโดยมกี ระบวนการขัน้ ตอน ดังนี้

กระบวนการจดั การเรยี นรู 85

(1) กาํ หนด (2) แลกเปลีย่ น สู
ความรู เรยี นรสู รปุ เปน ความ
วเิ คราะห ทจี่ ะตองใช แสวงหา สําเร็จ
โครงการ ทาํ งาน ความรู องคค วามรู
กิจกรรม ในชุมชน เพอื่ ใชท าํ งาน
ทองถน่ิ

หหาคาควาวมามรไูรมไู มไดได  (3)

- สรางองค ประยุกตใช ประเมิน
ความรู ความรู คุณภาพ
ขบั เคลื่อน การ
- นําความรู โครงการ/ ทํางาน
เขา

(4)

ตรวจติดตาม
คุณภาพการทาํ งาน

1) การวิเคราะหโครงการ กิจกรรม นําโครงการ กิจกรรมท่ีกําหนดไวมาวิเคราะหวา
โครงการ กจิ กรรมใดบางทม่ี ีองคค วามรู พรอมดาํ เนนิ การไดทันที โครงการ กิจกรรมใดบางที่มีองคความรู
ไมเพียงพอท่ีจะดําเนินการ จําเปนที่จะตองใชกระบวนการการจัดการความรูมาสนับสนุนการเรียนรู
กอนการดําเนนิ งาน เพอื่ ใหสามารถขบั เคลอื่ นได

2) กระบวนการจัดการความรู การขับเคลื่อน โครงการ กิจกรรมดวยการนําส่ิงท่ีจําเปน
มาดําเนินการดวยกระบวนการจดั การความรปู ระกอบดวยกจิ กรรม ดงั น้ี

2.1 กาํ หนดความรูทต่ี องใชท าํ งาน ดว ยการนําส่ิงท่ีจะตองทาํ มาวิเคราะหวาจะตองใช
ความรูหรือเรียนรูอะไรบา ง จงึ จะสามารถดําเนนิ การได ดงั ตวั อยา ง

86

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ความรูที่ตองใชงาน

2.2 การแสวงหาความรใู นชุมชน ทองถิน่ ดว ยการแบงกลุมงานรับผิดชอบนําหัวขอความรู

ที่ตองใชไปแสวงหาความรูจากแหลงความรู สถานประกอบการ ผูรู ฯลฯ โดยวิธีการตาง ๆ เชน
การถอดบทเรยี น การฝก ทักษะประสบการณ จนมคี วามกระจางในความรู

2.3 ในกรณีท่ไี มส ามารถแสวงหาความรูใ นชุมชนทองถ่ินได อาจจะดําเนนิ การไดโ ดย
1) ประชาพจิ ารณ ดวยการรว มกนั คิดหาเหตุผล รว มกันกาํ หนดวธิ ีทํา รวมกนั ทดลองพัฒนา
วธิ กี าร สรปุ เปนองคความรูของชุมชน นาํ ไปประยกุ ตใช
2) นําเขา องคค วามรู ความรบู างเรือ่ งจําเปนตองใชผ ูเชย่ี วชาญเฉพาะ และจําเปนตองรจู ริง ๆ
กค็ วรเชญิ ผูเช่ยี วชาญมาใหค วามรู หรือไปศกึ ษาหาความรจู ากผูเชย่ี วชาญเฉพาะจากภายนอกชุมชน
2.4 การแลกเปล่ียนความรู ดาํ เนนิ การตอ เน่ืองจากการแสวงหาความรูของกลุมตาง ๆ ดวยการ
ใหกลุมมาแสดงขอมูลความรูท่ีไดรับมาแลว รวมกันวิเคราะหหาจุดรวม จุดเดน ดัดแปลงวิธีการ จัดเปน
ความรใู หมเพือ่ ใชท าํ งาน
2.5 ประยุกตใ ชความรขู ับเคล่ือนโครงการ กิจกรรม เปนขั้นตอนการทํางานตามแผนงาน
โครงการ กจิ กรรม ดว ยการนําความรูทจ่ี ัดไวเขาไปใชด าํ เนนิ งานในแตล ะขัน้ ตอน
3) การตรวจติดตามคุณภาพการทาํ งาน มขี ้ันตอนทาํ งาน ดังน้ี
(1) จดั ตัง้ ใหมีคณะผูตรวจตดิ ตาม จํานวน 3-5 คน ศึกษา ทบทวนโครงการ กจิ กรรมท้งั หมด
ใหเขาใจวา ตอ งทาํ อะไร
(2) จดั ทาํ แผนการตรวจตดิ ตาม พจิ ารณาวา ควรจะตรวจติดตามโครงการ กจิ กรรมใด เม่ือไร
และมีจดุ เนน ทีใ่ หความสาํ คญั กบั เรอื่ งใดบา ง
(3) ทําความเขาใจรว มกนั ใหชัดเจนวา การตรวจติดตามไมใชการจบั ผิด แตเปนการรวมกัน

ระหวางผูตรวจติดตามกับคณะทํางานในการหาขอบกพรองท่ีจะทําใหงานเสียหายหรือคุณภาพต่ําลง
แลว ชวยกันแกไขขอ บกพรอง

(4) การประเมินคุณภาพการทํางาน ดวยการเปดเวทีประชาคมใหคณะผูตรวจติดตาม
และคณะทํางานแตละโครงการ กิจกรรมรวมกันเสนอสภาพและผลการดําเนินงานตอเวทีประชาคม
เพ่อื ใหประชาชนไดรบั รแู ละมสี วนรว มในการสงเสริมในเรือ่ งอะไรบาง และจะกาวไปขางหนาอยางไร

87

เร่อื งท่ี 4 ปญ หาอุปสรรคและแนวทางแกไขทเ่ี กดิ จากการขับเคลือ่ นแผนธรุ กิจ
ในการดาํ เนนิ การขบั เคล่ือนแผนธุรกิจ เปนขั้นตอนการดําเนินงานตอเน่ือง ซ่ึงในระหวาง

การดาํ เนนิ งานอาจมปี ญหาและอปุ สรรคได ดงั น้นั เพ่อื เปน การควบคุม ปญหาอุปสรรค และหาแนวทางแกไข
ไดทนั ตอเวลา ไมปลอยใหเกดิ ความเสียหาย จงึ ควรดาํ เนนิ การ ดังน้ี

1. ตรวจสอบปญ หา อุปสรรคจากสภาพภายในของกจิ กรรม
1) ทําความเขาใจ ในโครงการ กิจกรรม ของตนเองวาจะตองตรวจสอบปญหา

อุปสรรคภายในของตนเอง เพ่ือนําขอบกพรองมาพัฒนาการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนท่ีกําหนด
โดยมขี นั้ ตอนการดําเนินการ ดังนี้

(1) ทําความเขา ใจขน้ั ตอนของการทํางาน
(2) ตรวจสอบเปรียบเทียบการทํางานวาเปนไปตามข้ันตอนหรือไม
มปี ญหาอุปสรรคและขอ บกพรอ งอยางไร
(3) ปฏิบตั ิการแกไขขอ บกพรองและพฒั นา
2) ดาํ เนินการตรวจสอบ ข้ันตอนดําเนินงานวาเปนไปตามเกณฑเปรียบเทียบกับ
สภาพที่เปน อยแู ลวสรุปขอ บกพรอง
3) ปรับปรุงแกไขและพัฒนา โดยนําขอบกพรองมากําหนดแนวทางแกไขและ
พจิ ารณาวา จะมีการจดั การหรือใชเทคโนโลยมี าพฒั นาใหดยี ง่ิ ขน้ึ อยางไร
4) สรุปผลการตรวจสอบเปนองคความรู บันทึกผลการตรวจสอบ ผลการแกไข
ขอ บกพรอ ง ผลการพัฒนาสรปุ เปนองคค วามรู เพื่อพฒั นาเปนทนุ ทางปญญา
2. การตรวจสอบ ตดิ ตาม แกไขขอบกพรองการดาํ เนินงานตามแผน
1) การดําเนินงาน ตรวจสอบ ตดิ ตามและแกไขขอบกพรองใหสามารถดําเนินงาน
ตามแผน เพือ่ สรา งประสทิ ธิผลการทํางาน ใหเกิดผลตอการลงทุนของตนเองดว ยการ
(1) วางแผนการตรวจ
(2) ปฏบิ ัตกิ ารตรวจและแกไ ขขอบกพรอง
(3) ปฏบิ ัตติ ามผลการแกไ ขขอบกพรอ ง
2) ปฏบิ ัติการจดั ทาํ แผนการตรวจกิจกรรมวาอยใู นขน้ั ตอนใด
3) ปฏบิ ตั กิ ารตรวจและแกไขขอบกพรอ ง คณะผูนาํ ชุมชนดาํ เนินการตรวจ ดังน้ี
(1) แจงใหผูรับผดิ ชอบทราบลวงหนาวาจะตรวจการดําเนินงานเร่ืองอะไรบาง
เพื่อใหค ณะทํางานไดมสี ว นรวมในการตรวจสอบตนเองกับผูนาํ ชุมชน
(2) ดาํ เนินการตรวจตดิ ตาม โดยปฏิบัติการรวมกับคณะทํางานพรอมสรุป
ขอ บกพรอ ง
(3) นาํ ผลสรุปขอบกพรอ งมารวมกนั กาํ หนดแนวทางแกไขและจดบันทึก
ใหค ณะทาํ งานผรู ับผดิ ชอบ ใชด าํ เนินการแกไ ข

88
(4) กําหนดระยะเวลากลับมาติดตามผลการแกไขขอบกพรอง
ใหคณะทํางานผูรับผิดชอบรับทราบ
4) ปฏบิ ัติการติดตามผลและแกไ ขขอบกพรอง โดยคณะทํางาน ดําเนินการติดตาม
ผลการแกไขขอบกพรอง ดังน้ี
(1) ใหค ณะทาํ งานแสดงผลการแกไขขอ บกพรอ ง
(2) คณะทํางานวินิจฉัยผลการแกไขขอบกพรองวาประสบผลสําเร็จ
เพยี งใด และจะพัฒนาตอ เนื่องอยางไร
(3) สรปุ ผลการแกไขขอ บกพรองเปน องคความรู

กิจกรรมท่ี 1
ใหผ ูเรียนสรุปความรู เนื้อหาสาระสําคัญท่ีเรียนรูจากหนวยการเรียนรู และตอบคําถามตามหัวขอ
ตอ ไปนม้ี าสัน้ ๆ พอเขา ใจ

1. การประกอบธรุ กจิ ตองอาศัยปจ จยั อะไรบา ง......................................................................
..........................................................................................................................................................................

2. ประเดน็ สาํ คัญเก่ยี วกบั แผนธุรกิจมอี ะไรบา ง.....................................................................
..........................................................................................................................................................................

3. ขน้ั ตอนการทําแผนธุรกิจ มีอะไรบา ง................................................................................
..........................................................................................................................................................................

4. การวเิ คราะหความเปน ไปไดของแผนพฒั นาอาชีพ มอี ะไรบา ง.........................................
..........................................................................................................................................................................

กจิ กรรมที่ 2
เมื่อผูเรียนรูเร่ืองการขับเคล่ือนเพ่ือพัฒนาธุรกิจไปแลว ทานคิดวาความรูที่ทานศึกษาเรียนรูมา

จะนําไปใชประโยชนอ ะไรบางอธบิ ายพอเขาใจ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

89

กจิ กรรมท่ี 3
ใหผูเรียนนําประเด็นตอไปน้ีพูดคุย อภิปรายในกลุมเพื่อน แลวสรุปความคิดเห็น จากการพูดคุย

และอภิปรายมาสรุป โดยมีประเดน็ ตอ ไปน้ี
1. เพราะอะไรจงึ ตอ งเรียนรูเ รื่องการขบั เคลื่อนเพือ่ พฒั นาธุรกิจ
2. ถา ไมม คี วามรูความเขา ใจเร่อื งการขบั เคล่ือนเพือ่ พัฒนาธรุ กจิ จะเกิดอะไรขนึ้

..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

90

บทที่ 7
โครงการพฒั นาอาชีพ

สาระการเรียนรู
โครงการพัฒนาอาชีพเปนการจัดกิจกรรมเพ่ือนําไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกําหนด

รายละเอียดอยา งมีระบบและมีความสมั พนั ธวา ใครทาํ อะไร ท่ไี หน อยางไร เมือ่ ไร เทา ไร ทาํ ไม และหวังผลอะไร
เพ่ือใหบรรลุเปา หมายตามที่กาํ หนดไว
ตวั ช้วี ดั

1. อธบิ ายความสาํ คัญของการทําโครงการพัฒนาอาชพี
2. เขียนโครงการ
3. เขยี นแผนปฏิบตั ิการ
4. ตรวจสอบโครงการไดถ ูกตอ งและเหมาะสม
ขอบขายเนอ้ื หา
เรอ่ื งที่ 1 ความสาํ คัญของโครงการพฒั นาอาชีพ
เรอ่ื งท่ี 2 ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการพัฒนาอาชพี
เร่อื งที่ 3 การเขยี นแผนปฏิบตั กิ าร
เร่อื งที่ 4 การตรวจสอบโครงการพฒั นาอาชีพ

91

เรือ่ งท่ี 1 ความสาํ คัญของโครงการพัฒนาอาชพี
1. ความหมายของโครงการพัฒนาอาชพี
จากแผนปฏิบัติการ เพ่ือการพัฒนาอาชีพที่กําหนดไวแลวน้ัน การนําแผนสูการปฏิบัติ

เพื่อใหมีทิศทางและขอบเขตการดําเนินงานท่ีชัดเจนจะตองมีการจัดทําโครงการปฏิบัติการควบคุม
การดาํ เนนิ งานไว

โครงการ หมายถึง งานที่กําหนดจะทําในระยะหนึ่ง เพ่ือแกปญหาหรือตอบสนอง
ความตอ งการทีเ่ กดิ ขน้ึ โดยระบุวาจะทําอะไร เมื่อไร ใชปจจัยอะไร เทาไร และมีวิธีการดําเนินงานอยางไร
เมอื่ สิ้นสดุ ระยะเวลา ปญหาหรือความตอ งการน้ัน ไดร ับการตอบสนองจะถือวา โครงการนน้ั สนิ้ สุด

การดําเนินงานในรูปโครงการเปนวิธีการบริหารจัดการท่ีดี เพราะทําใหเกิดความชัดเจน
มีเหตุผล เกิดความเขาใจท่ีถูกตองตรงกัน และสามารถขยายผลการดําเนินงานได เพ่ือพัฒนากิจกรรม
หรอื งานนนั้ ใหม คี วามเจริญกา วหนา ตอ ไป

2. ลักษณะของโครงการท่ดี ี
โครงการที่ดีจะตองกําหนดรายละเอียดในโครงการใหชัดเจน และมีความสัมพันธกันวา

ใครทาํ อะไร ทีไ่ หน อยา งไร เม่อื ไร เทา ไร ทาํ ไม และหวงั ผลอะไร โดยลักษณะของโครงการที่ดสี รปุ ได ดังน้ี
1. ตองกําหนดวตั ถปุ ระสงคใ หชัดเจนและเขา ใจงาย โดยเนนการกําหนดสิ่งทตี่ อ งการใหเกดิ

เมื่อโครงการสิ้นสุดลง เชน สามารถจัดทําบัญชีครัวเรือนไดถูกตองและสามารถลดคาใชจายไดอยางนอย
รอ ยละ 10 ของรายไดท้ังหมด

2. สามารถนาํ ไปปฏบิ ัตงิ านไดจ รงิ ไมเ ปนโครงการที่เลื่อนลอย เพอ ฝน สวยหรู
3. สอดคลองกับสภาพความเปนจริงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง
ตอบสนองตอความตอ งการและความสําคญั ของกลมุ เปาหมาย และไมเกนิ ความรูความสามารถของผปู ฏบิ ัติ
4. มีรายละเอียดของส่ิงตาง ๆ ที่เปนองคประกอบของโครงการ เชน วิธีการปฏิบัติ
ระยะเวลาที่แนนอนตง้ั แตเวลาเริม่ ตนและสิ้นสุดโครงการเพือ่ เปนประโยชนตอการกาํ หนดคา ใชจาย
และทรัพยากร
5. ระบุทรัพยากรและแหลงทรัพยากร ที่จําเปนตองใชอยางชัดเจนตลอดจนงบประมาณ
และแหลง เงนิ ทุนท่ีตอ งใชใ นการดาํ เนนิ งาน
6. ผลที่คาดวา จะไดรับตองสอดคลอ งกบั เปาหมายและวัตถปุ ระสงคของโครงการทีก่ ําหนดไว
3. การเตรยี มการเขยี นโครงการ
การประกอบอาชีพสามารถแบงออกได 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก อาชีพที่ประกอบการเอง
กับอาชีพรบั จา ง ในการเขยี นโครงการจาํ เปน ท่ีผูเ รียนตอ งรวู าไมวาจะเปนอาชีพประเภทใด ตอ งมีการเตรยี ม
ขอมลู ใหพรอมกอ นการเขียนโครงการมีรายละเอียดดังนี้

92

1) แนวทางการเตรยี มขอมลู กอนการเขียนโครงการสาํ หรบั อาชพี ที่ประกอบการเอง
(1) พิจารณาเรือ่ งทุน การดําเนินงานอาชีพใหประสบความสําเร็จตองศึกษาขอมูลวา

อาชีพน้ันตองใชทุนมากนอยเพียงไร ในเร่ืองอะไรบาง มีทุนพอหรือไม ถาไมพอจะหาไดจากแหลงทุน
ทใี่ ดบาง การคดิ อัตราดอกเบี้ยของแหลงทุนเปน อยา งไร ตอ งใชห ลกั ประกันอะไร แลว มีหลักประกันหรือไม
เงื่อนไขการกเู งนิ เปนอยางไร ประเดน็ รายละเอยี ดเหลานีต้ อ งพิจารณาใหร อบคอบ เพ่ือใหสามารถคํานวณทุน
ในการดําเนนิ งานไดเ หมาะสม และไมกอใหเ กดิ ปญหาระหวา งดาํ เนินงานโครงการ

(2) พิจารณาเรื่องแรงงาน การประกอบการเองตองใชแรงงาน ผูประกอบการตอง
คิดวาใชแรงงานมากหรือนอยเพียงไรควรเปนแรงงานเพศหญิงหรือเพศชาย ใชแรงงานเองในครอบครัว
หรือตอ งใชแรงงานจากภายนอก ถาตองใชแรงงานจากภายนอกครอบครัวจะหาแรงงานไดในชุมชนหรือ
ตอ งหาจากท่ีอ่ืน หากเปนแรงงานในชมุ ชนอาจมาทาํ งานเชา กลับเยน็ ไมต อ งเตรยี มท่ีพัก หากมาจากภายนอก
ชุมชน ตองเตรยี มที่พักให ผูป ระกอบการตองพิจารณาใหร อบคอบและยอ นกลบั ไปคดิ เรอ่ื งทุนดว ย

(3) พจิ ารณาเรอ่ื งการตลาด ซึ่งการตลาดนี้ตอ งพิจารณาวาอาชีพที่ดําเนินการอยูนั้น
เปน ท่ีตองการของคนในชมุ ชนหรอื แหลง ใกลเ คยี งเพยี งใด มคี ูแขงหรือไม เพราะอาชพี ที่ประสบความสําเร็จ
มากทส่ี ุด คือ อาชพี ทป่ี ราศจากคูแขง นอกจากนี้ ตองพิจารณาถึงนิสัยการใชจายของคนในชุมชนตลอดจน
กาํ ลังซื้อดว ยวาจะเปน อยางไร

(4) พิจารณาเรอ่ื งการจัดการ การจดั การเปนหวั ใจสาํ คัญของการประกอบอาชพี อิสระ
หลายคนมีทนุ มีแรงงาน ตลาดมีความตองการ แตดําเนินงานอาชีพไมประสบความสําเร็จเนื่องจากจัดการ
อาชีพไมเปน จึงจําเปนที่ผูประกอบการตองมีความรูในเรื่องการจัดการอาชีพ ในอาชีพที่ประกอบการให
มากที่สุด การจดั การท่วี านี้ไดแก การบรหิ ารเรอ่ื งการลงทุนทําอยางไรจึงจะใหการลงทุนทุกบาททุกสตางค
ไดผลคุมคา การบริหารการทํางานใหมกี ารทาํ งานอยา งมรี ะบบ การบริหารดานการตลาดใหมีคนรูจักสินคา
เกดิ ความประทับใจในสนิ คา

(5) พิจารณาความถนัดของตนเอง สิ่งสาํ คัญเหนอื สิ่งอ่นื ใดในการดําเนินงานอาชีพ
คือ ความถนัด ความสามารถ อุปนิสัย ความพรอมของผูประกอบการในการประกอบอาชีพวาชอบหรือไม
ถนัดหรือไม ทาํ ไดห รอื ไม ถาทําไดก็พจิ ารณาสงิ่ ประกอบอื่น ๆ ดงั ทไี่ ดก ลาวมาแลว

(6) พิจารณาอาชีพท่ีดําเนินการวามีความสอดคลองกับชุมชนหรือไม หากเปน
อาชพี ท่ีตองใชนํ้า มแี หลงน้ําพอเพียงหรือไม เสนทางคมนาคมและการติดตอกับชุมชนอื่นมีสภาพอยางไร
คนในชุมชนมีความเชื่อ หรือขนบธรรมเนียมประเพณีเปนอยางไร บางอาชีพอาจไปขัดกับความเช่ือของ
คนในชมุ ชนเปนสวนมากหรือไม เชน ตัดสินใจเล้ียงหมูในขณะท่ีคนในชุมชนสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม
หรอื ขุดบอเลี้ยงปลาในบริเวณใกลวดั

2) แนวทางการเตรียมขอ มูลกอนการเขียนโครงการสําหรบั อาชีพรบั จาง
(1) คา จางแรงงานมากหรือนอย การพิจารณาวาคาจางมากหรือนอยน้ันจะพิจารณา

จากตัวเงินที่ไดรับอยางเดียวไมถูกตอง ตองเปรียบเทียบกับเวลาที่ตองทํางานดวยวากี่ชั่วโมง เพราะ
บางสถานประกอบการใหเ งนิ เดอื นมากกวาสถานประกอบการอนื่ แตใหท ํางานตง้ั แตเชาเลิกค่ําเวลาพักผอน


Click to View FlipBook Version