The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บรรยากาศรอบตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chain.j.01.py, 2022-09-14 00:55:50

บรรยากาศรอบตัว

บรรยากาศรอบตัว

บรรยากาศ 2หนว่ ยการเรียนรู้ที่

ส่วนประกอบของอากาศ
ชัน้ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ
พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน
อุตุนิยมวทิ ยาและการพยากรณอ์ ากาศ
การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก







1. สว่ นประกอบของอากาศ

บรรยากาศ หมายถึง อากาศทป่ี กคลุมบริเวณ 1. แก๊สไนโตรเจน (N2) ร้อยละ 78.08
เนือ้ ทก่ี วา้ งใหญ่และสูง ประกอบดว้ ย ส่วนผสมของ 2. แก๊สออกซเิ จน (O2) ร้อยละ 20.95
แก๊สตา่ ง ๆ ทอ่ี ย่รู อบโลกสงู ขนึ้ ไปจากพนื้ ผิวโลก 3. แก๊สอารก์ อน (Ar) ร้อยละ 0.93
หลายกิโลเมตร 4. แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) ร้อยละ 0.03

อากาศ เป็ นของผสม ประกอบดว้ ย แก๊ส
ชนิดตา่ ง ๆ

ส่วนทเ่ี หลอื อีกร้อยละ 0.01 น้ัน ประกอบดว้ ยแก๊สอนื่ ๆ เช่น

นอี อน (Ne) ฮเี ลียม (He) มเี ทน (CH4) คริปทอน (Kr) ไฮโดรเจน (H2) โอโซน (O3)
นอกจากนอี้ ากาศโดยท่วั ไปตามแหล่งตา่ ง ๆ ยังประกอบด้วยไอนา้ ควันไฟ
ฝ่ ุนละออง และสิง่ ตา่ ง ๆ

องคป์ ระกอบตา่ งๆ ของบรรยากาศ แก๊สออกซเิ จน
ต่อการดารงชีวิตของส่งิ มชี วี ิต
พืชใชแ้ กส๊ คาร์บอนไดออกไซด์
1 แกส๊ ไนโตรเจน ในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง

เป็นแก๊สทีพ่ ืชสามารถนาไปใช้ในการเจริญเติบโต

2 แกส๊ ออกซิเจน

เปน็ แก๊สท่สี ่ิงมีชีวิตนาไปใชใ้ นกระบวนการหายใจเพอื่ ใหไ้ ด้พลังงาน ขณะเดยี วกัน
พชื จะสร้างและปล่อยแกส๊ ออกซิเจนออกสอู่ ากาศจากกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง
ของพืช

3 แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์

เป็นแกส๊ ทพ่ี ืชนาไปใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเพื่อสรา้ ง
อาหารของพืช และเปน็ แกส๊ ที่เกดิ จากการหายใจของสิ่งมีชีวิต

4 ไอน้าในอากาศ

ช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ทส่ี ง่ มายังพื้นโลกและดูดกลนื
ความรอ้ นทีแ่ ผอ่ อกมาจากโลก ทาใหอ้ ุณหภูมิในตอนกลางวันและ
กลางคืนไม่แตกต่างกนั มากนกั

แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ สตั วแ์ ละพืชใช้แก๊ส
ออกซเิ จนในการหายใจ





การแบง่ ชั้น
บรรยากาศ

2. ชั้นบรรยากาศ

การแบง่ ชัน้ บรรยากาศโดย
ใช้เกณฑก์ ารเปล่ียนแปลง

อุณหภูมติ ามความสงู

เมฆสีมกุ ณ จังหวัดขอนแกน่

แสงข้วั โลก หรือ แสงเหนือ แสงใต้



การแบง่ ชนั้ บรรยากาศโดยใชเ้ กณฑก์ ารเปลี่ยนแปลงอุณหภมู ติ ามความสงู

1) โทรโพสเฟี ยร์ อัตราการเปลย่ี นแปลงประมาณ 6.5 องศาเซลเซยี สตอ่ กิโลเมตร สูงจากระดบั นา้ ทะเลประมาณ
(troposphere) 10 กิโลเมตร เป็ นช้ันทม่ี ลี มฟ้าอากาศทสี่ าคัญ ไดแ้ ก่ ไอนา้ หมอก ฝน พายุ และแก๊สทจี่ าเป็ น
ต่อการดารงชวี ติ ของสง่ิ มชี ีวิต

อยู่เหนอื โทรโพสเฟี ยรใ์ นช่วงระยะความสูงประมาณ 50 กโิ ลเมตร ในช้ันนไี้ มม่ เี มฆหรือพายุ 2) สตราโตสเฟี ยร์
มปี ริมาณความชนื้ และผงฝ่ ุนเพยี งเล็กน้อย มแี ก๊สโอโซนอยู่หนาแน่น เรียกชั้นนีว้ ่า ช้ันโอโซน (stratosphere)
เป็ นชั้นบรรยากาศทช่ี ่วยดดู กลนื รังสอี ัลตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ยไ์ ม่ใหม้ ายังโลกมากเกินไป

3) มโี ซสเฟี ยร์ อยู่เหนือสตราโตสเฟี ยรข์ ึน้ ไปจนถงึ ระดับความสูงประมาณ 80 กิโลเมตร เป็ นช้ันบรรยากาศท่ี
(mesosphere) ช่วยชะลอวัตถุนอกโลกทผี่ ่านเข้ามาใหเ้ กดิ การเผาไหมก้ ลายเป็ นวัตถุขนาดเลก็

อยู่เหนือมโี ซสเฟี ยรข์ นึ้ ไปจนถึงระดับ 400-500 กิโลเมตร เป็ นช้ันทอ่ี ากาศมอี ุณหภูมสิ ูง 4) เทอรโ์ มสเฟี ยร์
ประมาณ 227-1,727 องศาเซลเซยี ส บรรยากาศชั้นนีส้ ามารถสะทอ้ นคลนื่ วิทยุได้ (thermosphere)
เป็ นประโยชนใ์ นการใช้วิทยุสอื่ สารทางไกล

5) เอกโซสเฟี ยร์ อยู่เหนือระดบั เทอรโ์ มสเฟี ยร์ มรี ะยะตัง้ แตค่ วามสูง 500-1,000 กโิ ลเมตร จนถึง 10,000
(exosphere) กิโลเมตร เป็ นชั้นนอกสุดของบรรยากาศทหี่ อ่ หมุ้ โลก เหมาะสาหรับการโคจรของดาวเทยี ม
รอบโลกในระดบั ต่า

ประโยชนข์ องแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ

แกส๊ โอโซนในบรรยากาศชัน้ สตราโตสเฟี ยรส์ ามารถดดู กลนื รังสอี ลั ตราไวโอเลต
ถา้ ปราศจากแก๊สโอโซน พืน้ โลกจะไดร้ บั รงั สีอลั ตราไวโอเลตสงู อาจส่งผลต่อการเกดิ
มะเรง็ ทผี่ วิ หนัง แตถ่ า้ มปี รมิ าณแกส๊ โอโซนเพิม่ ขึน้ มากกว่าปกติทาใหป้ ริมาณรงั สี
อลั ตราไวโอเลตมายงั โลกลดลง ส่งผลกระทบตอ่ การสรา้ งวติ ามนิ ดใี นร่างกายมนุษย์

สารทที่ าใหอ้ ุณหภมู ขิ องโลกสูงขึน้ คือ ซีเอฟซี (CFC = chlorofluorocarbon)
แกส๊ เหล่านีเ้ มอื่ ลอยสงู ขนึ้ จะไปทาลายแกส๊ โอโซนในบรรยากาศ หากแก๊สโอโซนลดลง
จะทาใหร้ ังสีอัลตราไวโอเลตสอ่ งผ่านมายังโลกมากเกนิ ไป อุณหภมู ขิ องโลกจึงสูงขึน้



3. ลมฟ้าอากาศ

สภาวะอากาศเวลาหนึ่งของพนื้ ทห่ี น่ึง
มกี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเรยี กว่า ลมฟ้าอากาศ

ลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ความชนื้ ลม เมฆ และหยาดนา้ ฟ้า

3. ลมฟ้าอากาศ

3.1 อุณหภมู อิ ากาศ อากาศทาหน้าทคี่ ล้ายผา้ หม่ ทห่ี ่อหุ้มโลก ช่วยปรับอุณหภมู ิของโลก
ทั้งกลางวนั และกลางคนื ใหเ้ หมาะสมกับการดารงชีวติ ของส่ิงมชี ีวติ
พลังงานแสงและพลังงานความร้อนจาก และช่วยป้องกนั อันตรายจากรังสีและอนุภาคต่าง ๆ ทมี่ าจาก
ดวงอาทิตยท์ ตี่ กกระทบโลกทาใหอ้ ณุ หภมู ิอากาศ
นอกโลก ถา้ ไม่มีอากาศห่อหุ้มโลก อุณหภมู ิบนผวิ โลกในเวลา
บริเวณส่วนต่าง ๆ ของโลกแตกต่างกัน กลางวันจะสูงประมาณ 110 ºC ในเวลากลางคนื อณุ หภมู ิบนพนื้ โลก
จะต่ามากถงึ -180 ºC

3.2 ความกดอากาศ แรงหรอื นา้ หนักของอากาศทก่ี ดลงบนพนื้ ทใี่ ด ๆ เรยี กว่า
แรงดันอากาศ ส่วนแรงหรอื นา้ หนักอากาศทกี่ ระทาตอ่
หนึ่งหน่วยพนื้ ที่ เรยี กว่า ความดนั อากาศ หรือ ความดันบรรยากาศ

ในการพยากรณอ์ ากาศ เรียกความดนั อากาศ
หรือความดนั บรรยากาศว่า ความกดอากาศ

ความกดอากาศเกิดจากนา้ หนักของอากาศทก่ี ดทบั ลงบนผิวโลก ทาใหอ้ ากาศ
มคี วามหนาแน่นต่างกันตามระดบั ความสูงของช้ันบรรยากาศ

1) การวดั ความดันอากาศ

(1) วดั เป็ นความสูงของนา้ การวัดความดันอากาศโดยวัดเป็ น
ความดนั อากาศ 1 บรรยากาศ คอื ความดันอากาศ ความสูงของปรอท
ทรี่ ะดับนา้ ทะเลมีค่าเทา่ กับความดันอากาศ
ทที่ าใหน้ า้ สามารถคา้ งอยใู่ นหลอดแกว้ ปลายปิ ด หน่วยของความดนั อากาศ
ทรี่ ะดบั ความสูงประมาณ 10 เมตร คือ เซนตเิ มตรของปรอท
หรือมลิ ลเิ มตรของปรอท
(2) วดั เป็ นความสูงของปรอท
ความดนั อากาศ 1 บรรยากาศ คือ ความดันอากาศ
ทร่ี ะดบั นา้ ทะเลมคี ่าเทา่ กบั ความดนั ท่ี
กระทาใหป้ รอทคา้ งอยู่ในหลอดปลายปิ ด มีระดบั
ความสงู 76 เซนตเิ มตร หรือ 760 มลิ ลเิ มตร

(1) บารอมเิ ตอร์ (barometer) 2) เครือ่ งมอื วดั ความดนั อากาศ

(2) แอนิรอยดบ์ ารอมเิ ตอร์
(aneroid barometer)

(3) อัลตมิ เิ ตอร์ (altimeter)

3) การคานวณหาความสงู จากระดบั นา้ ทะเล

• ความดันอากาศปกตมิ ีค่าเทา่ กับความสูง 760 มลิ ลิเมตรของปรอท และ
ความดนั อากาศจะลดลงประมาณ 1 มลิ ลเิ มตรของปรอททกุ ๆ ระยะ
ความสูง 11 เมตร จากระดับนา้ ทะเล

ความดันอากาศกับความสูงจากระดบั นา้ ทะเล
1. ทร่ี ะดบั ความสูงเดยี วกัน ความดนั อากาศเทา่ กัน และทร่ี ะดับความสูง

ตา่ งกัน ความดนั อากาศจะต่างกัน
2. ความดนั อากาศแปรผกผันกับความสูงจากระดบั นา้ ทะเล
3. ความดนั อากาศและความหนาแน่นของอากาศจะมคี า่ ลดลงเม่ือระดบั

ความสูงจากระดับนา้ ทะเลเพม่ิ ขึน้

การคานวณหาความสูงจากระดับนา้ ทะเล

3.3 ความชืน้ ของอากาศ

สภาวะทอ่ี ากาศมไี อนา้ ผสมอยู่ เรียกว่า ความชืน้ ของอากาศ อากาศมี
อุณหภูมสิ ูง จะสามารถรับไอนา้ ได้มากกว่าอากาศทมี่ ีอุณหภูมติ ่า

1) วิธีการตรวจสอบความชืน้ ของอากาศ

(1) การใชส้ ารเคมี เช่น โคบอลต์ (II) คลอไรด์ สารนีเ้ มือ่ อย่ใู นทแ่ี หง้ (ปราศจากความชนื้ ) จะมี
สีนา้ เงนิ ม่วงจนถงึ สีนา้ เงนิ เข้ม แตถ่ า้ เตมิ นา้ ใหเ้ ป็ นสารละลาย จะใหส้ ชี มพู (มคี วามชืน้ สงู )

(2) การช่ังนา้ หนักกระดาษกรอง โดยนากระดาษกรองเขา้ ตอู้ บอุณหภูมเิ พอ่ื ใหค้ วามชืน้ ระเหย
ออกจากกระดาษกรองจนหมด จากนั้นนากระดาษกรองไปช่ังนา้ หนักแล้วนากระดาษกรอง
ดังกลา่ วไปตัง้ ไวใ้ นบรเิ วณทต่ี ้องการศกึ ษา นากระดาษกรองดังกล่าวมาช่ังนา้ หนักอกี ครงั้
ถ้าอากาศมคี วามชนื้ สงู ผลต่างของนา้ หนักกระดาษกรองจะมคี า่ มาก แต่ถา้ อากาศมคี วามชนื้ ตา่
ผลตา่ งของนา้ หนักกระดาษกรองจะมคี า่ น้อย

2) ผลของความชืน้ ของอากาศต่อสง่ิ ตา่ ง ๆ บนโลก

(1) อากาศชืน้ หมายความว่า อากาศมีปริมาณไอนา้ อยู่มาก ทาใหร้ บั ไอนา้ เพมิ่ เติมไดเ้ พียง
เล็กน้อย

(2) อากาศแหง้ หมายความวา่ อากาศมปี รมิ าณไอนา้ อยู่น้อย ทาใหร้ ับไอนา้ เพิม่ เติมไดอ้ กี มาก

3) การหาคา่ ความชนื้ ของอากาศ

(1) วัดเป็ นค่าความชนื้ สมั บูรณ์

ความชนื้ สัมบรู ณ์ = มวลของไอนา้ ในอากาศ (กรัม)

ปริมาตรของอากาศ ณ อุณหภูมเิ ดยี วกัน (ลกู บาศกเ์ มตร)

3) การหาคา่ ความชืน้ ของอากาศ

(2) วัดเป็ นคา่ ความชนื้ สัมพัทธ์

การคานวณคา่ ความชนื้ สมั พทั ธ์

ความชนื้ สัมพัทธ์ = มวลของไอนา้ ทม่ี ีอยจู่ รงิ ในอากาศ x 100

หรอื มวลของไอนา้ ในอากาศอิม่ ตัว

ความชนื้ สัมพัทธ์ = ความชนื้ สมั บูรณ์ x 100

ความชนื้ ของอากาศอมิ่ ตวั

อากาศมคี วามชนื้ สัมพทั ธร์ ้อยละ 75 หมายความว่า อากาศมีมวล
ของไอนา้ จริงคิดเป็ นร้อยละ 75 ของมวลของไอนา้ ในอากาศ
อม่ิ ตัวทอี่ ุณหภูมิและปรมิ าตรเดียวกัน

4) เคร่ืองมือใช้วดั ความชนื้ สมั พทั ธข์ องอากาศ

(1) ไฮโกรมิเตอร์ (hygrometer)

(2) ไซโครมเิ ตอร์ (psychrometer)

3.4 ลม

ลม คอื การเคล่ือนทขี่ องอากาศเป็ นผลเนื่องจากความแตกต่างของ
อุณหภมู สิ องแหง่ หรือความแตกตา่ งของความกดอากาศสองแห่ง

1) กระบวนการเกิดลม

(1) ความแตกตา่ งของอุณหภูมสิ องแหง่ อากาศเมอื่ ไดร้ ับความรอ้ นจะขยายตวั อากาศรอ้ นจึง
ลอยตวั สงู ขนึ้ อากาศทม่ี ีอุณหภมู ติ ่ากวา่ จากบริเวณข้างเคียงจงึ เคลอื่ นทเ่ี ข้าแทนที่
การเคลื่อนทข่ี องอากาศเนื่องจากอากาศสองแหง่ มอี ุณหภมู ติ า่ งกันทาใหเ้ กิดลม

(2) ความแตกต่างของความกดอากาศ อากาศร้อนจะขยายตัว ทาใหม้ คี วามหนาแน่นลดลง
และความกดอากาศน้อยลงด้วย อากาศเย็นมีความหนาแน่นมากกว่าและมีความกดอากาศ
สูงกว่าจะเกดิ การเคลื่อนทเี่ ขา้ มา

ลมบก ลมทะเล

ในเวลากลางวนั

พืน้ ดนิ และพืน้ นา้ ได้รับพลงั งานจากดวงอาทติ ย์ แต่เน่ืองจากดนิ มีความจุ ลมทะเล พดั จากทะเลสู่พืน้ ดนิ
จาเพาะน้อยกว่านา้ ทาใหอ้ ุณหภมู ิอากาศเหนือพนื้ ดินสูงกว่าอุณหภูมิเหนือ
พนื้ นา้ ความกดอากาศเหนือพืน้ นา้ จงึ สูงกวา่ ความกดอากาศเหนือพืน้ ดิน
เป็ นผลใหอ้ ากาศเหนือพืน้ นา้ ทม่ี ีความกดอากาศสงู กวา่ เคล่อื นทเ่ี ข้าหาบรเิ วณ
พืน้ ดนิ ทม่ี ีความกดอากาศต่ากวา่ หรือเกดิ ลมพัดจากทะเลเข้าหาฝ่ังในเวลา
กลางวนั เรยี กว่า ลมทะเล

ในเวลากลางคนื

ลมบก พดั จากพืน้ ดนิ สู่ทะเล พืน้ ดินคายความร้อนได้เรว็ กวา่ พนื้ นา้ ทาใหอ้ ากาศเหนือพืน้ ดนิ มอี ุณหภมู ิ
ต่ากว่าอากาศเหนือพนื้ นา้ หรอื อากาศเหนือพนื้ ดนิ มีความกดอากาศสงู กว่า
อากาศเหนือพนื้ นา้ เป็ นผลใหอ้ ากาศเหนือพืน้ ดนิ ทม่ี คี วามกดอากาศสงู กวา่
เคล่ือนทไี่ ปสบู่ รเิ วณพืน้ นา้ ทมี่ คี วามกดอากาศตา่ กวา่ หรือเกิดลมพดั จากฝ่ัง
ออกสู่ทะเลในเวลากลางคนื เรยี กว่า ลมบก

2) การวดั ทศิ ทางลมและความเร็วของลม

สามารถอาศัยวธิ ที างธรรมชาตชิ ่วยในการสังเกตได้ เช่น สังเกตจากควันไฟ
ใบไม้ไหว ธงปลิว แตก่ าหนดทศิ ทางและความเรว็ ของลมได้ไม่แน่นอน

3) เคร่ืองมือตรวจสอบทศิ ทางและความเร็วของลม

(1) ศรลม (wind vane) มีลกั ษณะเป็ นลกู ศร ทม่ี หี างลูกศรเป็ น
แผน่ ใหญ่กวา่ หวั ลกู ศรมาก เม่ือลมพดั มาหางลูกศรจะถูกผลัก
แรงกว่าหวั ลูกศร หวั ลกู ศรจงึ ชีไ้ ปในทศิ ทางทลี่ มพัดมา

(2) แอนิมอมิเตอร์ (anemometer) คอื เครอื่ งมอื วดั ความเร็ว
ของลม

(3) แอโรเวน (aerovane) คือ เคร่อื งมือทวี่ ดั ทศิ ทางและความเรว็
ของลม

3.5 นา้ ในบรรยากาศ 1) เมฆ ละอองน้าทเ่ี กิดจากการกล่ันตวั
ของไอน้า และเหน็ ได้ด้วยตาเปล่า ถา้ อยู่ใน
เมฆ อากาศระดับสงู เรียกว่า เมฆ และเมฆทอ่ี ยู่
หมอก ใกลพ้ นื้ ดินเรียกวา่ หมอก
การเกดิ เมฆ เม่ืออากาศชืน้ ลอยตวั สูงขึน้
แล้วแผ่ขยายและเยน็ ลง ไอน้าจะควบแน่น
เกาะบนผิวของอนุภาคเกดิ เป็ นหยดน้าเล็ก ๆ
รวมกนั เป็ นเมฆ อุณหภมู ิตรงจุดทเี่ กดิ สภาพนี้
เรียกว่า จดุ นา้ ค้าง

รูปร่างของเมฆ

(1) เมฆสเตรทสั (stratus) มลี ักษณะการก่อตวั เป็ นชั้น
หรือแผ่นพาดบนทอ้ งฟ้า เมฆชนิดนีพ้ บอยู่ใน
ระดับต่าซงึ่ ต่ากว่า 500 เมตร และมกั ก่อใหเ้ กิดฝน
ตกปรอย ๆ และฝนละออง

(2) เมฆคิวมลู ัส (cumulus) พบในระดบั ความสูงตา่ ง ๆ
กัน เป็ นเมฆก้อนกลม ๆ ทมี่ ฐี านค่อนข้างราบ
อยู่เป็ นเอกเทศ มักจะเหน็ ในวันทอ่ี ากาศแหง้ และ
แดดจัด

(3) เมฆคิวมโู ลนมิ บัส (cumulonimbus) เป็ นการก่อตัว
ของเมฆขนาดใหญ่ อาจจะสูงถึง 18,000 เมตร
จากฐานเมฆ เมอื่ เหน็ เมฆแบบนีเ้ กดิ ขนึ้ แสดงว่า
จะเกดิ ฝนและพายุฝนฟ้าคะนอง

(4) เมฆเซอรร์ ัส (cirrus) เป็ นเมฆระดบั สูง ปกตพิ บอยู่
เหนอื ระดบั ความสูง 6,000 เมตร ประกอบขนึ้ ดว้ ย
ผลกึ นา้ แข็ง ลักษณะเหมอื นขนนกหรือเกลยี วควัน

2) หยาดนา้ ฟ้า
หยาดน้าฟ้าทพ่ี บบอ่ ยใน

ประเทศไทยไดแ้ ก่ ฝน ฝนเกิดจากไอนา้ ท่ี
กล่ันตวั เป็ นหยดนา้ แลว้ รวมตวั กนั มขี นาดโต
จนมีนา้ หนักมากพอทจ่ี ะลงสู่พนื้ โลก

หยาดนา้ ฟ้า (precipitation) เป็ นคาทใ่ี ช้ในทางอุตุนิยมวทิ ยา
หมายถงึ หยดน้าทต่ี กลงมาจากเมฆลงสู่พนื้ ดินในรูปของเหลว
เชน่ ฝน นา้ คา้ ง และในรูปของแข็ง เชน่ ลกู เหบ็ นา้ คา้ งแข็ง
หมิ ะ

การหมุนเวยี นของนา้ ในธรรมชาตเิ รียกวา่ วัฏจกั รของนา้ (water cycle)

หมอก เป็ นกลุ่มของไอนา้ ในอากาศที่ เด็กควรรู้
รวมตวั กนั หนาแน่นอยใู่ นระดบั ตา่ ใกลผ้ ิวโลก
สามารถมองเหน็ ได้ด้วยตาเปล่า ลอยอยูใ่ นอากาศ นา้ ค้าง คือ ละอองไอนา้ ทรี่ วมตัวเป็ น
ใกลพ้ นื้ ดนิ ซง่ึ ทาใหท้ ศั นวิสัยหรือการมองเหน็ เลวลง หยดนา้ ทเ่ี กาะตามใบไม้ใบหญ้าใกลพ้ นื้ ดนิ
เป็ นอนั ตรายตอ่ การจราจรทงั้ ทางบกและทางอากาศ สว่ นมากจะเกิดตอนใกล้สว่าง

นา้ คา้ งแข็ง คอื ไอนา้ กล่ันตัวเป็ นนา้ คา้ ง ลกู เหบ็ คือ กอ้ นนา้ แข็งกลม มีขนาด
อยบู่ นวัตถุหรอื พนื้ ผิวของใบไม้ ใบหญ้า เส้นผ่านศูนยก์ ลางประมาณ 5 มิลลิเมตร
ทอี่ ุณหภมู ิของนา้ คา้ งตา่ กวา่ จุดเยือกแขง็ ทาให้ เกิดจากละอองนา้ ฝนถกู พายุหอบขนึ้ ไปจนถึง
นา้ คา้ งแขง็ ตวั เป็ นหยดนา้ แขง็ บริเวณทเี่ ยน็ จัดจึงจับเป็ นกอ้ นตกลงมา ส่วนมาก
จะเกิดเม่ือมพี ายุฝนฟ้าคะนองอย่างแรง

4. พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน

4.1 พายุฝนฟ้าคะนอง (thunderstorms)

เกดิ จากการทอี่ ากาศทม่ี ีอุณหภมู แิ ละความชืน้ สงู เคลอ่ื นทขี่ นึ้ ส่รู ะดับความสงู ทม่ี อี ุณหภูมิ
ต่าลง ทาใหเ้ กดิ ฝนตกหนัก ลมกระโชกแรง ฟ้าแลบและฟ้ารอ้ ง เป็ นพายุทเี่ กดิ ขนึ้ ในช่วงเวลา
อันสัน้

ฟ้าแลบและฟ้ารอ้ งในพายุฝนฟ้าคะนองมกั เกดิ ขนึ้ พรอ้ ม ๆ กนั แตจ่ ะมองเหน็ ฟ้าแลบกอ่ น
ทงั้ นีเ้ พราะวา่ แสงมคี วามเรว็ มากกว่าเสยี ง (แสงมอี ตั ราเรว็ ประมาณ 3 x 108 เมตรตอ่ วินาที
เสียงมอี ัตราเรว็ ประมาณ 350 เมตรตอ่ วนิ าท)ี

พายุฝนฟ้าคะนองอาจทาใหเ้ กิดอันตรายและกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายได้ เช่น นา้ ทว่ มฉับพลัน
นา้ ป่ าไหลหลาก เกดิ ฟ้าผ่าได้

4.2 พายุหมุนเขตร้อน (tropical cyclone)

เป็ นคาท่วั ไปทใ่ี ชเ้ รียกพายุหมุน หรือพายุไซโคลน (cyclone) ทมี่ ีถ่ินกาเนิด
เหนือมหาสมุทรในเขตร้อนแถบละตจิ ดู ตา่ แตอ่ ยูน่ อกเขตบริเวณเสน้ ศูนยส์ ูตร

1) พายุหมุนเกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างไร

ไอนา้ ระเหยจากผิวหน้าของมหาสมทุ รทมี่ ี อากาศพัดหมนุ เวียนเข้าหา ย่ิงใกล้ศูนยก์ ลาง อากาศ
อุณหภมู ิ 26-27 องศาเซลเซยี สขนึ้ ไป ศนู ยก์ ลางของพายุ จะพดั เวียนเกือบเป็ นวงกลม

เคลอ่ื นทสี่ ูงขึน้ อย่างรวดเร็วเป็ นบริเวณกว้าง และมอี ัตราเร็วทส่ี ุด
อากาศบริเวณอื่นเคลื่อนเข้ามาแทนที่

2) ชนิดของพายุหมุนเขตร้อน

พายุหมุนเขตรอ้ นมีชอื่ เรยี กต่าง ๆ กันแล้วแตท่ อ้ งถิ่นทเี่ กิด เกดิ ฝ่ังตะวนั ตกของ
บริเวณมหาสมุทรแปซฟิ ิ กหรอื ทะเลจีนใต้ เรยี กว่า พายุไตฝ้ ่ ุน (typhoon)
เกิดบริเวณอ่าวเบงกอล และมหาสมุทรอนิ เดีย เรียกวา่ พายุไซโคลน (cyclone)
เกิดบรเิ วณมหาสมุทรแอตแลนติก เหนือทะเลแคริบเบยี นอา่ วเม็กซิโก และทางด้าน
ฝ่ังตะวันตกของอา่ วเม็กซโิ ก เรยี กวา่ พายุเฮอริเคน (hurricane)
พายุทม่ี ีลักษณะหมุนเป็ นเกลียว เหน็ เป็ นลมหอบฝ่ ุนละอองเป็ นลาพุง่ ชสี้ บู่ รรยากาศ
คล้ายมงี วงหรือปลอ่ งยื่นลงมาเรียกวา่
พายุทอรน์ าโด (tornado) หรอื ลมงวงชา้ ง

พายุทอรน์ าโด พายุเฮอรเิ คน

3) การเรียกชอื่ พายุหมุนเขตร้อน

องคก์ ารอุตุนิยมวิทยาโลกได้จดั รายชอ่ื เพ่อื เรยี กพายุหมุนเขตรอ้ นทกี่ อ่ ตวั ในมหาสมุทร
แปซิฟิ กด้านตะวนั ตกตอนบนและทะเลจนี ใต้ไว้เป็ นสากล การตัง้ ชื่อใช้หมุนเวียนกันไป
ตามลาดับตัวอกั ษรและลาดบั ชุด เมื่อถึงชือ่ สุดทา้ ย จะเริ่มต้นทช่ี ุดท่ี 1 ใหม่

4) ความรุนแรงของพายุ

5. อุตุนิยมวทิ ยาและการพยากรณอ์ ากาศ

วิทยาศาสตรท์ เี่ ก่ียวกับอากาศและปรากฏการณข์ องภมู ิอากาศ เรยี กว่า

อุตนุ ิยมวทิ ยา มกี รมอุตนุ ิยมวิทยาเป็ นหน่วยราชการ
การพยากรณอ์ ากาศ เป็ นการคาดการณล์ มฟ้าอากาศทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต

รวมทัง้ ปรากฏการณท์ างธรรมชาตทิ จ่ี ะเกิดขึน้ ในช่วงเวลาข้างหน้า

5.1 เกณฑก์ ารรายงานการพยากรณอ์ ากาศ ตัวอย่างรหัสและสัญลักษณใ์ นแผนทอี่ ากาศ

แผนทอ่ี ากาศ (weather map) คอื สิง่ ท่ี 1. เส้นความกดอากาศเท่า (isobars) คอื เส้นทล่ี าก
แสดงลักษณะอากาศในเวลาขณะใดขณะหนึ่ง ผ่านจดุ ทม่ี คี วามกดอากาศเท่ากนั
ประกอบด้วยข้อมูลทเี่ กย่ี วกับความกดอากาศ
แนวปะทะอากาศ อุณหภูมิ ลักษณะเมฆ 2. H แทนหย่อมความกดอากาศสูง หรือบริเวณทม่ี ี
ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ ความกดอากาศสูง บรเิ วณนที้ ้องฟ้าจะแจม่ ใสและอากาศ
หนาวเย็น

3. L แทนหย่อมความกดอากาศต่า หรอื บริเวณทมี่ ี
ความกดอากาศตา่ บรเิ วณนที้ ้องฟ้าจะมเี มฆมาก อาจเกดิ
พายุดเี ปรสชัน และรุนแรงเป็ นพายุโซนร้อนได้

แผนท่อี ากาศผิวพนื้ วนั ท่ี 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2560 เวลา 19.00 น.

5.2 ประโยชนข์ องการพยากรณอ์ ากาศ

การทราบถงึ ข้อมูลทไ่ี ด้จากการรวบรวมในการพยากรณอ์ ากาศ ทาให้เราทราบถงึ สภาวะอากาศ
ทคี่ รอบคลุมในบริเวณนั้น เพอื่ สามารถเตรยี มตวั รับสถานการณก์ ารเปลีย่ นแปลงทอี่ าจเกิดขนึ้ ได้
อยา่ งทนั ทว่ งที รวมทงั้ ช่วยให้สามารถวางแผนในการทากิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ิตประจาวัน การคมนาคม
การเกษตร การป้องกัน การเฝ้าระวังภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาตไิ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม

6. การเปลย่ี นแปลงภมู อิ ากาศโลก

6.1 ปัจจยั ทมี่ ผี ลตอ่ การเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก

1) ปรากฏการณเ์ อลนีโญและลานีญา

เอลนีโญ (elniño) เป็ นปรากฏการณท์ เ่ี กดิ จากลมคา้ ตะวันออกอ่อนกาลงั ลง
ทาใหก้ ระแสนา้ อุ่นจากฝ่ังตะวนั ตกแผข่ ยายไปทางฝ่ังตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิ ก
ลานีญา (laniña) คอื ลมคา้ ตะวันออกแรงกว่าปกติ ทาใหก้ ระแสนา้ อุ่นถูกผลักมาทาง
ตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิ กมากขนึ้

ผลกระทบจากปรากฏการณเ์ อลนีโญ

1. การก่อตัวของเมฆและฝนเหนือน่านนา้ บริเวณเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ลดลง
2. การมีอุณหภมู ิสูงผิดปกตใิ นทางตะวันตกของแคนาดาและตอนบนสุดของ

สหรัฐอเมรกิ า
3. การมพี ายพุ ัดผ่านมากขนึ้ ทบ่ี รเิ วณด้านตะวันตกของประเทศเม็กซโิ กและ

สหรัฐอเมรกิ า

ผลกระทบจากปรากฏการณล์ านีญา

1. การเกดิ ฝนมากและมีนา้ ท่วมบรเิ วณฝ่ังตะวันตกของมหาสมุทรแปซฟิ ิ ก ขณะทบ่ี ริเวณ
ฝ่ังตะวันออกมฝี นน้อยและแห้งแล้ง

2. การเกดิ ความแหง้ แล้งกว่าปกตใิ นสหรัฐอเมรกิ าทางตะวันตกเฉียงใตใ้ นช่วงปลายฤดรู ้อน
ต่อเนื่องถงึ ฤดหู นาว

3. การทอ่ี ุณหภูมผิ ิวพนื้ บริเวณเขตร้อนโดยเฉล่ียลดลง
4. การเกิดพายหุ มุนเขตร้อน โดยพายเุ ฮอรเิ คนในมหาสมุทรแอตแลนตกิ ของอ่าวเม็กซโิ กมีจานวน

เพม่ิ มากขนึ้

2) การปะทุของภเู ขาไฟ

การปะทุของภูเขาไฟอย่างรุนแรง ทาใหเ้ กดิ ฝ่ ุนและเถา้ ภูเขาไฟและแก๊สซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์
ปะทุขึน้ สบู่ รรยากาศชนั้ สตราโตสเฟี ยร์ ซึง่ ฝ่ ุนเหลา่ นีจ้ ะขวางกนั้ รงั สีจากดวงอาทติ ยท์ แี่ ผ่ลงมายัง
พืน้ โลก เป็ นผลใหอ้ ุณหภูมขิ องบรรยากาศลดตา่ ลงกวา่ ปกติ

3) ปรากฏการณเ์ รือนกระจก
(greenhouse effect)

การทช่ี นั้ บรรยากาศของโลกยอมใหร้ ังสคี ลื่นสัน้ จาก
ดวงอาทติ ยผ์ า่ นทะลุลงมายงั ผิวพนื้ โลกไดแ้ ตจ่ ะดูดกลืนรงั สี
คลื่นยาวทโ่ี ลกคายออกไปไมใ่ หห้ ลุดออกนอกบรรยากาศ
แก๊สทย่ี อมใหร้ งั สคี ลน่ื สนั้ จากดวงอาทติ ยผ์ า่ นทะลุลงมาได้
แต่ไมย่ อมใหร้ ังสีคลืน่ ยาวทโี่ ลกคายออกไปหลุดออกนอก
บรรยากาศ เรยี กว่า แกส๊ เรอื นกระจก

แก๊สเรือนกระจกทสี่ าคัญ
1. แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ 2. แก๊สมเี ทน 3. แก๊สไนตรัสออกไซด์ 4. สารประกอบคลอโรฟลูออโรคารบ์ อน

4) ฝนกรด

เป็ นผลมาจากแก๊สซัลเฟอรไ์ ดออกไซดแ์ ละแกส๊ ไนโตรเจนไดออกไซด์ มักจะเกิด
จากการเผาไหมเ้ ชอื้ เพลิง แกส๊ เหล่านีส้ ามารถรวมตัวกับนา้ ฝนเกิดเป็ นฝนกรด ซึ่งจะ
ทาลายสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งมาก หรอื อาจจะจับตัวรวมกบั หมอกกอ่ ใหเ้ กิดหมอกควันพิษ
(smog) ทที่ าอนั ตรายกับระบบทางเดนิ หายใจ และอาจรุนแรงถึงชีวิตได้

การลดปัญหาฝนกรดทาไดโ้ ดยวธิ ีการลดปรมิ าณแกส๊ ซัลเฟอรไ์ ดออกไซด์
และแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์

5) ภาวะโลกร้อน (global warming)

หมายถึง การทอี่ ุณหภูมิของอากาศชนื้ ใกล้ผวิ โลกสูงขึน้ จนสามารถรู้สึกได้
สาเหตุสาคัญเกิดจากกจิ กรรมของมนุษยท์ ที่ าใหโ้ ลกร้อน เช่น การเผาไหม้
เชือ้ เพลงิ การตดั ไม้ทาลายป่ า

6.2 ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงภมู อิ ากาศโลก

การเพม่ิ ขึน้ ของแก๊สเรือนกระจกทาใหอ้ ุณหภมู ิเฉลยี่ ของบรรยากาศ
บริเวณผิวโลกสูงขนึ้ จนเกดิ ภาวะโลกร้อน
1) การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
แก๊สเรอื นกระจกทาใหโ้ ลกมพี ลังงานความร้อนสะสมอย่บู นผวิ โลก
และชั้นบรรยากาศมากขึน้

2) การเปล่ียนแปลงของระดับนา้ ทะเล
จากการทอ่ี ุณหภูมขิ องบรรยากาศสูงขึน้ ทาใหน้ า้ ทะเลและ
มหาสมุทรเกดิ การขยายตัว ระดับนา้ ทะเลสูงขนึ้

3) การเปล่ยี นแปลงด้านระบบนิเวศ ปี 2559 ปี 2560

ระบบนิเวศป่ าไม้ จะมีการเปลย่ี นแปลงทางด้านความหลากหลายของ เปรียบเทยี บความแหง้ แล้งและการ
พชื พรรณ มีผลทาใหส้ งิ่ มชี ีวิตบางชนิดเกิดการกลายพนั ธุเ์ พื่อความอยรู่ อด เปลย่ี นแปลงด้านระบบนิเวศอย่างรวดเร็ว
และบางชนิดถ้าปรบั ตัวไมไ่ ด้ก็จะสญู พันธุไ์ ป

ระบบนิเวศชายฝ่ัง การเปลีย่ นแปลงของภูมอิ ากาศและระดับนา้ ทะเลทส่ี งู ขนึ้ ป่ าชายเลนทเี่ คยเป็ นตวั กนั้ คล่นื
กัน้ พายุลดลง เกดิ การเปลย่ี นแปลงของแหลง่ อนุบาลสัตวน์ า้ บรเิ วณชายฝ่ัง การพัดพาของตะกอน และสารอาหาร
ในนา้ ทาใหร้ ะบบนิเวศชายฝ่ังเปลีย่ นแปลงไป

4) การแพร่กระจายของเชอื้ โรคในเขตร้อน ผลกระทบทเี่ กดิ กับประเทศไทย
1. ทาใหฤ้ ดกู าลของฝนเปล่ยี นแปลงไป
เชือ้ โรค จุลินทรยี ์ และไวรสั ตา่ ง ๆ เจริญเติบโต 2. ผลผลติ ทางการเกษตรจะลดลง
และแพร่กระจายไปไดเ้ ร็วขนึ้ เชน่ เชอื้ ไวรัสเวสตไ์ นล์ 3. สัตวน์ า้ อพยพไปตามการเปลย่ี นแปลงของ
จากเดิมเป็ นไวรัสทพ่ี บในแอฟริกา แตใ่ นปัจจุบันพบได้ อุณหภูมนิ า้ ทะเล
ทว่ั ไปในแคนาดาและสหรัฐอเมรกิ า 4. นา้ ทะเลสูงขึน้ ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ
ชายฝ่ังของประเทศไทย

6.3 วธิ ีป้องกนั แก้ไขเพอื่ รักษาสมดุลธรรมชาติ

1. ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาตใิ หถ้ ูกวธิ ี
2. ใช้แหล่งพลังงานทดแทน เช่น พลังงานจากแสงอาทติ ย์ พลังงานจากลม พลังงานจากชวี มวล
3. ช่วยกันรักษาป่ า ฟื้ นฟูสภาพป่ าทเ่ี ส่ือมโทรม ลดการตัดไม้ทาลายป่ าและปลูกป่ าเพมิ่ เตมิ
4. เปลี่ยนพฤตกิ รรมในการอุปโภคบรโิ ภค เพอื่ ลดปริมาณขยะและของเสียต่าง ๆ
5. ใช้เทคโนโลยอี ยา่ งฉลาด เพอื่ ให้ได้ผลผลติ ทางอุตสาหกรรมและรักษาไว้ซง่ึ คุณภาพสิ่งแวดล้อม

การช่วยกนั รักษาต้นไม้ให้สมบูรณ์ การใช้แหล่งพลังงานทดแทน

แบบสอบปรนัยเพอ่ื พฒั นาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสต์ร

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6

บรรยากาศ


Click to View FlipBook Version