1. จากแผนภาพเป็ นกราฟแสดงความสัมพันธ์ ุอณหภูมิ ( C)
ระหว่างความสงู กับอุณหภมู ใิ นบรรยากาศ
หมายความว่าอยา่ งไร
1 ย่ิงสูงขึน้ อุณหภมู ยิ ่ิงสูงขึน้ ความสูง (km)
2 ยงิ่ สงู ขึน้ อุณหภูมยิ ่งิ ตา่ งกันมาก กราฟ อณุ หภมู ิของอากาศทีร่ ะดับตา่ งๆ จากระดับนา้ ทะเล
3 ยิง่ สงู ขนึ้ อุณหภูมติ ่างกันน้อย
4 อุณหภูมเิ ปลยี่ นแปลงเทา่ กันทุกระดับ เหตุผล ความสูงกับอณุ หภมู ใิ นบรรยากาศมคี วามสัมพนั ธก์ ัน
โดยอณุ หภมู เิ ปลี่ยนแปลงเทา่ กนั ในทกุ ระดบั และยงิ่ สูงขึน้
อุณหภมู ยิ ิ่งลดต่าลง
2. สายพลาสติกบรรจุน้าไวด้ ังภาพ
ถา้ เป่ าลมเขา้ ไปทางปลาย A ผลจะปรากฏ
ตามข้อใด
1 ระดับนา้ ในปลาย A ต่ากวา่ 2 ระดบั นา้ ในปลาย A สงู กว่า
เหตผุ ล ถ้าเป่ าลมเข้าทางปลายสายด้าน A
ระดับน้าในปลายสาย A จะต่ากว่า เพราะอากาศใน
ปลายสายด้าน A มีแรงดันเพมิ่ ขึน้
3 ระดับนา้ ในปลายทงั้ สองยงั คงเทา่ กัน 4 ผิดทงั้ 3 ข้อ
3. กระบวนการใดถกู ตอ้ งทส่ี ุด
1 ถา้ ความหนาแน่นอากาศลดลง 2 ถา้ อากาศมีความกดดันสูง
อากาศปลอดโปร่ง ลมสงบ ความหนาแน่นอากาศจะเพมิ่ ขนึ้
เหตผุ ล ความกดดันของอากาศแปรผนั
ตรงกับความหนาแน่น ดังน้ัน ถา้ อากาศมคี วามกดดันสูง
ความหนาแน่นอากาศจะเพ่มิ ขึน้
3 ถา้ อากาศเยน็ ปริมาตรอากาศลด 4 ถ้าอากาศร้อน ความกดดนั อากาศเพิ่มขนึ้
ความหนาแน่นอากาศลดลง ปริมาตรอากาศเพิ่มขึน้
ศึกษาขอ้ มูลตอ่ ไปนี้ ใชต้ อบคาถามขอ้ 4-5
จากผลการทดลองนาเทอรม์ อมิเตอรเ์ สยี บไว้ในบกี เกอรท์ บี่ รรจุสาร A
บีกเกอรท์ บ่ี รรจุสาร B และบกี เกอรท์ บี่ รรจุสาร C นาบกี เกอรท์ งั้ 3 ใบ
ทงิ้ ไวก้ ลางแดด แลว้ วัดเวลาทใี่ ชเ้ ม่อื อุณหภมู ิเปลย่ี นไปทกุ 1 C สังเกต
จนอุณหภูมิเปลีย่ นไป 3 C ไดผ้ ลดงั ตาราง
เวลาทสี่ าร A B และ C ใช้
เมอ่ื อุณหภูมิเปล่ยี นไป 3 C ขณะวางกลางแดด
เวลาทใ่ี ช้เมอ่ื อุณหภมู เิ ปล่ยี นไป 3 C (นาท)ี
สาร อุณหภมู เิ ร่ิมต้น (C)
1 C 1 C 1 C เวลาเฉล่ีย
A 30 3.7 4.5 5.2 4.47
B 30 2.4 3.2 3.3 2.97
C 30 2.8 3.5 4.0 3.43
เวลาทสี่ าร A B และ C ใช้ เมือ่ อุณหภูมเิ ปลยี่ นไป 3 C ขณะวางกลางแดด
เวลาทใ่ี ช้เมอื่ อุณหภมู เิ ปลี่ยนไป 3 C (นาท)ี
สาร อุณหภมู เิ ริ่มต้น (C)
1 C 1 C 1 C เวลาเฉลยี่
A 30 3.7 4.5 5.2 4.47
B 30 2.4 3.2 3.3 2.97
C 30 2.8 3.5 4.0 3.43
4. สารใดรับความร้อนได้ดที ส่ี ุดเรยี งตามลาดบั
1 A C และ B 2 B C และ A
3 C B และ A
เหตุผล สารทร่ี ับความร้อนได้ดีที่สุด จะสามารถใช้เวลาในการ
เปล่ียนอุณหภมู ิไดเ้ ร็วท่สี ุด ดังนั้น สารทีร่ ับความร้อนไดด้ ีทสี่ ุด คือ สาร B
รองลงมาคือสาร C และ A ตามลาดับ
4 ตัดสนิ แน่นอนไม่ได้
เวลาทสี่ าร A B และ C ใช้ เม่ืออุณหภูมิเปลยี่ นไป 3 C ขณะวางกลางแดด
อุณหภูมิ เวลาทใี่ ช้เมอื่ อุณหภูมเิ ปลย่ี นไป 3 C
เร่ิมตน้ (C)
สาร (นาท)ี
1 C 1 C เวลาเฉล่ยี
5. ผลสรุปทเ่ี หมาะสมและ 1 C
ถกู ตอ้ งทส่ี ุดคอื อะไร A 30 3.7 4.5 5.2 4.47
B 30 2.4 3.2 3.3 2.97
C 30 2.8 3.5 4.0 3.43
1 สาร B รับความรอ้ นไดด้ กี ว่าสาร C และ สาร A
เรียงตามลาดับ
2 สาร B รับและคายความร้อนได้ดีกว่าสาร C และ A
เรยี งตามลาดบั
3 สาร B ใช้เวลาในการทาใหอ้ ุณหภมู ิสงู ขนึ้ น้อยกวา่
สาร C และ สาร A เรยี งตามลาดับ
4 อาจเป็ นขอ้ 1 หรือ 3 เหตผุ ล การสรุปผลการทดลองตอ้ งสรุปให้
ครอบคลุมจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
6. ข้อใดแสดงความสมั พนั ธไ์ ด้ถูกต้อง
1 บารอมิเตอร์ : วัดความสงู
2 อัลตมิ ิเตอร์ : วดั อุณหภมู ิของอากาศ
3 ไฮโกรมิเตอร์ : วดั ความชนื้ ในอากาศ เหตุผล ไฮโกรมิเตอรเ์ ป็ นเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการ
วัดความชืน้ ของอากาศ
4 ไซโครมิเตอร์ : วัดความดนั อากาศสูงสุด
ของแต่ละวัน
7. ข้อใดเป็ นสาเหตุสาคัญของการเกดิ ลมบก ลมทะเล
ก. พนื้ ดนิ และพนื้ นา้ รับและคายความร้อนไม่เทา่ กนั
ข. ความกดอากาศเหนือพนื้ ดนิ และพนื้ น้าแตกต่างกนั
ค. อุณหภมู ิของอากาศเหนือพนื้ ดินและพนื้ น้าแตกต่างกนั
1 ข้อ ก และ ข 2 ขอ้ ข และ ค
3 ขอ้ ก และ ค 4 ขอ้ ก ข และ ค
เหตผุ ล การเกิดลมบก ลมทะเล มสี าเหตุมาจากพนื้ ดิน
และพนื้ น้ารับและคายความร้อนไดไ้ มเ่ ท่ากัน พนื้ ดนิ
รับความร้อนและคายความร้อนไดเ้ ร็วกวา่ พืน้ น้า ทาให้
อณุ หภมู ิของอากาศเหนือพืน้ ดนิ และพนื้ นา้ แตกตา่ งกนั
และความกดอากาศเหนือพนื้ ดินและพืน้ นา้ แตกต่างกัน
8. ตวั อักษร H ในแผนทอ่ี ากาศ คือบริเวณทม่ี ีลกั ษณะในขอ้ ใด
1 ความกดอากาศสงู ความหนาแน่นต่า อุณหภมู ิตา่ เหตุผล H คือ High แทน
2 ความกดอากาศสูง ความหนาแน่นสงู อุณหภมู ิต่า หย่อมความกดอากาศสูง หรือบริเวณท่มี ี
3 ความกดอากาศตา่ ความหนาแน่นตา่ อุณหภมู ิต่า ความกดอากาศสูง จะมที อ้ งฟ้าแจม่ ใส
ความหนาแน่นสูง และอณุ หภมู ิหรืออากาศ
หนาวเย็น
4 ความกดอากาศตา่ ความหนาแน่นสูง อุณหภมู ิสูง
9. อากาศเคลอื่ นทอ่ี ยา่ งไร ซง่ึ เป็ นสาเหตุทาใหเ้ กดิ ลม
1 จากบริเวณความกดอากาศตา่ 2 จากบริเวณความกดอากาศสงู
ไปสู่บริเวณความกดอากาศสงู ไปสู่บริเวณความกดอากาศสงู
3 จากบริเวณความกดอากาศสูง 4 จากบริเวณความกดอากาศต่า
ไปสบู่ ริเวณความกดอากาศต่า ไปสู่บริเวณความกดอากาศต่า
เหตผุ ล ลมเกดิ จากความแตกต่างของ
ความกดอากาศสองแห่ง โดยลมจะพัด
จากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงเข้าสู่
บริเวณท่มี คี วามกดอากาศต่า
10. ปรากฏการณเ์ รือนกระจกเกดิ จากสาเหตุใด
1 แกส๊ ไนโตรเจนมีปริมาณมากขึน้
2 แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ ีปริมาณน้อยลง เหตุผล ปรากฏการณเ์ รือนกระจก
3 แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ ีปริมาณมากขึน้ เกดิ จากแกส๊ เรือนกระจกท่เี พ่มิ ขนึ้
4 แกส๊ ไนโตรเจนมีปริมาณเปล่ียนแปลงจากเดมิ จากการกระทาของมนุษยเ์ ป็ นส่วนใหญ่
แกส๊ เรือนกระจกท่สี าคัญ ไดแ้ ก่
แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ แก๊สมเี ทน
แกส๊ ไนตรัสออกไซด์ สาร CFC และ
สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน