รายงานการสัสัสัสั งเคราะห์ห์ร ห์ ร ห์ ายงานการประเมิมิน มิ น มิตนเองของโรงเรีรีย รี ย รีน ในสัสัสัสั งกักัด กั ด กั องค์ค์ก ค์ ก ค์ ารบริริห ริ ห ริารส่ส่ส่ส่ วนจัจัง จั ง จั หวัวัดนครศรีรีธ รี ธ รีรรมราช ปีปีก ปี ก ปีารศึศึศึ กศึ กษา 2565 กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนจังวหัดนครศรีธรรมราช
ก คำนำ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 หมวด 6 มาตรา 48 ไดระบุใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ตอง ดำเนินการอยางตอเนื่อง โดยใหมีการจัดทำรายงานประจำปเสนอตอหนวยงานตนสังกัดและหนวยงานที่ เกี่ยวของเพื่อนำไปสูการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา รวมทั้งเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพ ภายนอกตอไป โดยกระทรวงมหาดไทยไดประกาศมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย มาตรฐานการศกึษาระดับ ขั้นพื้นฐาน และแนวทางปฏิบัติในการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายใน โรงเรียนสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยกำหนดมาตรฐานและประเด็นการพิจารณาใหมีจำนวนนอยลง กระชับ และสะทอนถึงคุณภาพอยางแทจริง เนนการประเมินตามสภาพจริง ไมยุงยาก สรางมาตรฐานระบบ การประเมิน เพื่อลดภาระ การจัดเก็บขอมูล ลดการจัดทำเอกสารที่ใชในการประเมิน แนวทางการประเมิน คุณภาพของสถานศึกษาจะเนนการเก็บขอมูลในเชิงคุณภาพตามบริบทของสถานศึกษา ไมเพิ่มภาระการจัดทำ เอกสารใหสถานศึกษา รวมทั้งพัฒนาผูประเมินภายในใหมีมาตรฐาน มีความนาเชื่อถือ สามารถใหคำชี้แนะและ ใหคำปรึกษาแกสถานศึกษาได ปรับกระบวนทัศนในการประเมินที่มีเปาหมายเพื่อพัฒนา (Evaluation and Development) บนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษากำหนดและรวม รับผิดชอบตอผลการการจัดการศึกษาที่เกิดขึ้น เอกสารฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกรอบกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 นโยบาย ปฏิรูประบบการประเมินและประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และประกาศมาตรฐานการศกึษาระดับ ปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน แนวทางปฏิบัติในการดำเนินงานการสังเคราะห รายงานประเมินตนเองของโรงเรียนสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น เพื่อนำผลมาพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาของสถานศึกษาใหไดมาตรฐานและยกระดับคุณภาพทั้งดานคุณภาพของเด็ก/ผูเรียน คุณภาพของ กระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของการจัดประสบการณ/การจัดการเรียนรูที่เนนเด็ก/ผูเรียนเปน สำคัญ องคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช หวังวาหนวยงานที่เกี่ยวของในแตละระดับจะไดรับ ประโยชนจากการศึกษาเอกสารฉบับนี้ ใชเปนแนวทางในการกำหนดกรอบและแนวทางการดำเนินการ สังเคราะหรายงานประเมินตนเองของสถานศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูเปาหมายตามมาตรฐานที่ กำหนด ทั้งนี้ ขอขอบคุณ ผูบริหาร ครู และบุคลากรที่เกี่ยวของทุกทานที่มีสวนรวมในการจัดทำเอกสารฉบับนี้ ใหสมบูรณ สามารถนำไปปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตอไป กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช
ข สารบัญ เรื่อง หนา บทนำ ค สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดองคการบริหารจังหวัด นครศรีธรรมราช 1 สวนที่ 2 แนวนโยบายการจัดการศกึษาของหนวยงานตนสังกัด 6 สวนที 3 วิธีดำเนินการสังเคราะหผลการประเมินตนเอง 7 สวนที่ 4 ผลการดำเนินการพัฒนา 9 - ผลการสังเคราะหมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย - ผลการสังเคราะหมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สวนที่ 5 การปฏิบัติที่เปนเลิศของตนสังกัดและสถานศึกษา 47 ภาคผนวก
ค บทนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 มาตรา 41 กำหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับตามความพรอม ความเหมาะสมและความตองการภายในทองถิ่น ประกอบกับมาตรา 47 กำหนดใหมีระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย ระบบประกันคุณภาพภายใน และระบบประกันคุณภาพภายนอก กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ขอ 3 กำหนดให สถานศึกษาแตละแหงจัดใหมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การกำหนดมาตรฐานการศกึษาของ สถานศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานการศึกษาแตละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศ ใหใชมาตรฐานการศึกษาระดับ ปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนยการศึกษาพิเศษ เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เพื่อเปนหลัก เทียบเคียงในการพัฒนา สงเสริม สนับสนุนกำกับดูแลและติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ประกอบกับ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยและมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ แนวปฏิบัติในการดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสังกัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น ลงวันที่ 31 ตุลาคม 2561 และหนังสือกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ที่ มท 0816.4/ว361 ลงวันที่ 6 กุมภาพันธ 2563 เรื่อง การดำเนินการตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติ ของสถานศึกษาระดับปฐมวัยสังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น สงผลใหสถานศึกษาในสังกัดองคกรปกครอง สวนทองถิ่นตองจัดทำมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหเปนไปตามประกาศนี้ การสังเคราะหรายงานการประเมินตนเองนี้ เปนการสังเคราะหรายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษาในรอบปการศึกษา 2565 ซึ่งจะสะทอนใหเห็นภาพความสำเร็จที่เกิดขึ้นตามบริบทของสถานศึกษา ตามมาตรฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบกับกฎกระทรวงวาดวยการประกันคุณภาพ การศึกษา 2561 กำหนดใหหนวยงานตนสังกัดหรือหนวยงานที่กำกับดูแลมีหนาที่ใหคำปรึกษาชวยเหลือและ แนะนำสถานศึกษา เพื่อใหการประกันคุณภาพการศกึษาของสถานศึกษามีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ซึ่งจะทำให หนวยงานตนสังกัดทราบถึงประเด็นตางๆ ที่ตองใหมีการประเมินผลและติดตามตรวจสอบสถานศึกษาเพื่อใช เปนขอมูลและแนวทางการประเมินคณุภาพภายนอกตอไป
สวนที่ 1 ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับการจดัการศึกษา ของสถานศึกษาสังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช 1. ขอมูลพื้นฐาน องคการบริหารสวนจังหวัด ไดถูกจัดตั้งขึ้นทุกจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2498 โดยพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการสวนจังหวัด พ.ศ. 2498 เพื่อทำหนาที่เปนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ประกอบดวย สภา จังหวัด และผูวาราชการจังหวัด โดยสภาจังหวัดประกอบดวยสภาที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน ทำหนาที่ ทางนิติบัญญัติ กำหนดนโยบายการบริหารและควบคุมฝายบริหาร อันมีหัวหนาฝายบริหาร คือ ผูวาราชการ จังหวัด เปนผูรับผิดชอบในการบริหารงาน ดวยการนำมติหรือนโยบายของสภาจังหวัดไปพิจารณาดำเนินการ โดยมีพื้นที่ที่อยูในความรับผิดชอบขององคการบริหารสวนจังหวัดไดแกพื้นที่ที่ไมเกี่ยวของกับพื้นที่ของเทศบาล และสุขาภิบาล การบริหารงานขององคการบริหารสวนจังหวัดในปจจุบันเปนไปตามพระราชบัญญัติองคการบริหาร สวนจังหวัด พ.ศ.2540 ซึ่งมีการแกไขเพิ่มเติมถึงปจจุบัน พ.ศ. 2562 (ฉบับที่ 5) กำหนดใหมีหนวยการบริหาร ราชการสวนทองถิ่นรูปแบบหนึ่งเรียกวา "องคการบริหารสวนจังหวัด" โดยอยูในทุกจังหวัด ๆ ละ 1 แหง รวม 76 แหง มีฐานะเปนนิติบุคคลและมีพื้นที่รับผิดชอบทั่วทั้งจังหวัด โดยทับซอนกับพื้นที่ของหนวยการบริหาร ราชการสวนทองถิ่นอื่น คอืเทศบาล และองคการบริหารสวนตำบลในจังหวัดนั้น ความเปนนิติบุคคลกอใหเกิด ความสามารถในการทำนิติกรรม ความเปนหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นกอใหเกิดอำนาจหนาที่และ ขอบเขตพื้นที่ในการใชอำนาจหนาที่นั้น ในปจจุบัน องคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช มีสถานศึกษาในสังกัด จำนวน 5 โรงเรียน ประกอบดวย 1. โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) ตำบลทาเรือ อำเภอเมือง นครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) ตำบลสามตำบล อำเภอจุฬาภรณ จังหวัดนครศรีธรรมราช 3. โรงเรียนวัดสำนักขัน ตำบลสามตำบล อำเภอจุฬาภรณ จังหวัดนครศรีธรรมราช 4. โรงเรียนบานน้ำโฉ ตำบลทองเนียน อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมราช 5. โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค ตำบลไมเรียง อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช
2 แผนที่ตั้งของสถานศึกษาสังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) โรงเรียนวัดสำนักขัน โรงเรียนบานน้ำโฉ โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค
3 2. ขอมูลบุคลากรกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2.1 ผูอำนวยการกองการศกึษาศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน - คน 2.2 หัวหนาฝาย จำนวน 2 คน 2.3 ศึกษานิเทศก จำนวน 1 คน 2.4 นักวิชาการศึกษา จำนวน 6 คน 2.5 นักวิชาการวัฒนธรรม จำนวน 2 คน 2.6 นักจัดการงานทั่วไป จำนวน 1 คน 2.7 เจาพนักงานธุรการ จำนวน 11 คน 2.8 เจาพนักงานการเงินและบัญชี จำนวน 2 คน 2.9 พนักงานจางตามภารกิจ จำนวน 1 คน 3. ขอมูลผูบริหารสถานศึกษา 3.1 ผูอำนวยการสถานศึกษา จำนวน 5 คน 3.2 รองผูอำนวยการสถานศึกษา จำนวน 3 คน
4. จำนวนหองเรียน จำนวนครู ระดับการศึกษาปฐมวัย (อนุบาล อายุ 3 - 6 ป) ที่ โรงเรียน 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวัดสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ รวม 5. จำนวนหองเรียน จำนวนครู ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ป.1 - ม.6) ที่ โรงเรียน 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวัดสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค รวม
4จำนวน จำนวนนักเรียน หองเรียน นักเรียน ครู ตอครู 1 คน ตอ 1หองเรียน 4 81 4 21 21 3 38 3 13 13 3 37 3 13 13 3 27 4 8 9 13 183 14 14 14 จำนวน จำนวนนักเรียน หองเรียน นักเรียน ครู ตอครู 1 คน ตอ 1หองเรียน 16 378 24 16 24 6 130 11 12 22 6 94 11 9 16 6 47 8 6 8 19 365 28 13 20 53 1,014 82 13 20
6. จำนวนหองเรียน จำนวนครู ระดับการศึกษาปฐมวัย (อนุบาล อายุ 3 - 6 ป) ที่ องคกรปกครองสวนทองถิ่น หอ1 องคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช รวม 7. จำนวนหองเรียน จำนวนครู ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ป.1 – ม.6) ที่ องคกรปกครองสวนทองถิ่น หอ1 องคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช รวม
5จำนวน จำนวนนักเรียน องเรียน นักเรียน ครู ตอครู 1 คน ตอ 1หองเรียน 13 183 14 14 14 13 183 14 14 14 จำนวน จำนวนนักเรียน องเรียน นักเรียน ครู ตอครู 1 คน ตอ 1หองเรียน 53 1,014 82 13 20 53 1,014 82 13 20
สวนที่ 2 แนวนโยบายการจัดการศึกษาของหนวยงานตนสังกัด วิสัยทัศนการจัดการศึกษา “การศึกษาคุณภาพ สังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตสูอาเซยีน มีเอกลักษณความเปนไทย” นโยบายการจัดการศึกษา 1. นโยบายของรัฐบาล 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรรม เพื่อสรางขีดความสามารถในการ แขงขันของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 4. การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา 5. การจัดการศึกษาเพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา 2. นโยบายของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 1. การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 2. การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขัน ของประเทศ 3. การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรียนรู 4. การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา 5. การจัดการศึกษาเพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม 6. การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา 3. นโยบายของหนวยงานตนสังกัด 1. การจัดการศึกษามีคุณภาพ ไดมาตรฐานตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. บุคลากรทางการศกึษามีคุณภาพ ตามมาตรฐาน 3. ผูเรียนมีคุณภาพโดยมีกระบวนการเรียนรูที่สามารถสงเสริมพัฒนาการอยางเต็มศักยภาพตาม อัจฉริยภาพของผูเรียน 4. สามารถเสริมสรางสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต 5. สถานศึกษาสามารถเปนฐานในการพัฒนาทองถิ่นโดยมีสวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม 6. สามารถสงเสริมทำนุบำรุงศาสนา วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น 7. หนวยงานสถานศึกษามีความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน
สวนที่ 3 วิธีดำเนินการสังเคราะหผลการประเมินตนเอง การดำเนินการจัดทำรายงานการสังเคราะหผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสังกัดองคการ บริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช ไดดำเนินการตามขั้นตอนนี้ 1. วางแผนการดำเนินงานองคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช โดยกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ไดกำหนดแผนงานและปฏิทินดำเนินงานในการจัดทำรายงานการสังเคราะหผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช ระหวางวันท 15 มิถุนายน 2566 ถึง ี่ 15 กันยายน 2566 2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ไดแก คูมือการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษา ปฐมวัย และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดองคกรปกครองสวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย เพื่อศึกษา รายละเอียดที่เกี่ยวของกับการดำเนินงานการประกันภายในของสถานศึกษาและแนวทางในการจัดทำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา รวมถึงศึกษาแนวทางการสังเคราะหรายงานการประเมินตนเอง 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ 3. ศึกษาและสรุปผลรายงานการประเมินตนเอง 4. จัดทำรายงานการสังเคราะห 5. นำเสนอผูบริหารและเผยแพร
8 โรงเรียนสังกัดองคการปกครองสวนทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย เพื่อศึกษาแนวทางในการสังเคราะหรายงาน ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและแนวทางในการสรุปจัดทำรายงานการสังเคราะหผลการประเมิน ตนเองของสถานศึกษา สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช 3. ศึกษาและสรุปผลรายงานการประเมินตนเอง กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ไดดำเนินการศึกษารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัด นครศรีธรรมราช จำนวน 5 แหง ระหวางวันที่ 25 กรกฎาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566 และทำการสรุปผล ตามประเด็น ดังนี้ 3.1. ขอมูลพื้นฐาน ไดแก ขอมูลที่ตั้งของสถานศึกษา จำนวนครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวนนักเรียน 3.2. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไดแก สรุปผลการประเมินตนเองภาพรวมของ สถานศึกษา ผลการประเมินตนองตามมาตรฐาน 3 มาตรฐาน วิธีดำเนินการพัฒนาที่สถานศึกษาไดดำเนินการ จุดเดนและจุดที่ควรพัฒนา 4. จัดทำรายงานการสังเคราะห กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ไดจัดทำรายงานการ สังเคราะหผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาสังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช ตามแนวทางที่กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย กำหนด ซึ่งดำเนินการระหวางวันที่ 1 – 15 กันยายน 2565 5. นำเสนอผูบริหารและเผยแพรกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ไดจัดทำรายงานการ สังเคราะหผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช เสร็จเรียบรอย และนำเสนอผูบริหารตามลำดับชั้นของสายการบริหารงานพรอมทำการเผยแพรโดยเอกสาร และแผนพับ
สวนที่ 4 ผลการดำเนินการพฒันา ผลการดำเนินการจากการสังเคราะหรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาในสังกัด องคการ บริหารสวนจังหวัดนครศรีธรรมราช ปการศกึษา 2565 ดังนี้ 1. ระดับการศึกษาปฐมวัย จำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบดวย มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานที่ 2 ครู/ผูดูแลเด็กใหการดูแลและจัดประสบการณการเรียนรูและการเลนเพื่อ พัฒนาเด็กปฐมวัย มาตรฐานที่ 3 คุณภาพเด็กปฐมวัย 2. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ประกอบดวย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผูเรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ ปรากฏผล ดังนี้
10 ผลการสังเคราะหมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
11 1. มาตรฐานที่ 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย 1.1 ผลการสังเคราะหรายมาตรฐาน ที่ โรงเรียน ระดบัคุณภาพ A ดีมาก B ดี C ผานเกณฑ ขั้นตน D ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ รวม 1 2 1 - รอยละ 25.00 50.00 25.00 - 1.2 วิธีดำเนินการพฒันาของสถานศึกษา ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 1 การบริหารจัดการอยางเปนระบบ 1.1 โรงเรียนมีการจัดทำแผนพัฒนาการศึกษา (พ.ศ. 2561 - 2565), แผนปฏิบัติการประจำป การศึกษา 2565 ,แผนปฏิบัตกิารประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565 และ พ.ศ. 2566 1.2 มีการจัดทำบันทึก/รายงานผลการดำเนินงานประจำป 1.3 มีการปรับปรุงพัฒนาแผนและการดำเนินงานอยางสม่ำเสมอ ปการศึกษา ละ 1 ครั้ง 2 การบริหารจัดการบุคลากรทุกประเภทตามหนวยงานที่สังกัด 2.1 สงเสริมใหครูบุคลากรมคีวามรูความสามารถตามมาตรฐานวิชาชีพ 2.2 ครูประจำชั้นทุกคนจบการศึกษาปฐมวัย และมีใบประกอบวิชาชพีครู 2.3 จัดอัตราสวนของคร/ูผดููแล เด็กอยางเหมาะสมพอเพยีงตอจำนวนเด็กในแตละกลุมอายุ ปการศึกษา ละ 1 ครั้ง 3 การบริหารจัดการสภาพแวดลอมเพื่อความปลอดภยั 3.1 โครงสรางและตัวอาคารมั่นคง ตั้งอยูในบริเวณและสภาพแวดลอมที่ปลอดภยั 3.2 จัดบริเวณหองน้ำ หองสวม ที่แปรงฟน/ลางมือใหเพียงพอกับการใชงานของ เด็กทุกคนและดูแล ความสะอาดอยางสม่ำเสมอ 3.3 มีการจัดบรเิวณการเรยีนรูของเด็กปฐมวัยแยกเปนสัดสวนเพื่อใหสามารถดูแลไดอยาง ทั่วถึง ทุกวัน 4 การจัดการเพื่อสงเสริมสุขภาพและการเรียนรู 4.1 จัดอุปกรณภาชนะและเครื่องใชสวนตัวใหเพียงพอกับการใชงานของเด็กทุกคน และดูแลความ สะอาดและปลอดภัยอยางสม่ำเสมอ 4.2 มีการจัดการเพื่อสงเสริมสุขภาพ เฝาระวังการเจริญเติบโดของเด็ก และดูแลความเจ็บปวย เบื้องตน ทุกวัน
12 ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 4.3 จัดการระบบสุขาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมสถานที่ปรุงประกอบอาหาร น้ำดื่มน้ำใช กำจัดขยะ สิ่งปฏิกูล และพาหะนำโรค 5 การสงเสริมการมสีวนรวมของครอบครัวและชุมชน 5.1 มีการสรางเครือขายเพื่อสรางความสัมพันธความเขาใจและตดิตอสื่อสารกับผูปกครอง มีชองทาง ใหผูปกครองและชุมชนไดตดิตามการจัดการเรียนการสอนของเด็ก 5.2 การจัดกิจกรรมที่พอ แมผูปกครอง ครอบครัว ชุมชน มีสวนรวม 5.3 ดำเนินงานใหโรงเรียนเปนแหลงเรียนรูแกชุมชนในเรื่องการพัฒนาเด็กปฐมวัย ทุกวัน 1.3 วิธีดำเนินการพฒันาของตนสังกัด (ระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น) 1.3.1 สงเสริมและสนับสนุนพัฒนาคุณภาพผูเรียนและกระบวนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาศักยภาพ ผูเรยีนใหเต็ม ตามความสามารถของผูเรียนแตละคน 1.3.2 สงเสริมและสนับสนุนพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาปฐมวยัใหมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน 1.3.3 สงเสริมและสนับสนุนใหโรงเรียนมสีภาพแวดลอมที่ปลอดภยัและเอื้อตอการจัดการเรยีนรู 1.4 ผลการดำเนินการพัฒนา 1.4.1 สถานศึกษามีการดำเนินการในการรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูตามหลักการ PLC ที่ โรงเรียน จำนวนสถานศกึษาในสังกัดที่ดำเนินงาน ไมมีการดำเนินการ การประชุมการจัด ประสบการณ/การ เรียนรู การประชุม PLC ตาม หลักเกณฑ 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ รวม - 4 4 รอยละ - 100.00 100.00 1.5 จุดเดน/จุดควรพัฒนา 1.5.1 จุดเดน ที่ จุดเดน 1 มีการจัดทำ PLC ในระดับการศึกษาปฐมวัย 2 มีสภาพแวดลอมภายนอกอาคาร สภาพแวดลอมภายในอาคาร ครุภณัฑอุปกรณเครื่องใชเหมาะสมกับการใชงาน และเพียงพอ สะอาด เด็กมีพื้นที่/มุมประสบการณ
13 ที่ จุดเดน 3 เนนการจัดกจิกรรมใหเด็กอยางหลากหลายสงเสรมิใหผูเรียนมีพัฒนาการตามวยั 4 จัดใหมีอุปกรณภาชนะและเครื่องใชสวนตัวใหเพียงพอกับการใชงานของเด็กทุกคน และดูแลความสะอาดและ ปลอดภัยอยางสม่ำเสมอ 1.5.2 จุดควรพฒันา ที่ จุดควรพัฒนา 1 เปดโอกาสใหผูปกครองเขามามีบทบาทในการขับเคลื่อนคณุภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยีนมากยิ่งขึ้น 2 เครื่องเลนของสนามเด็กเลนมีสภาพเกา ไมเพียงพอแกความตองการของเด็ก 3 การนำเสนอผลการดำเนินงานตอสาธารณชนผานทางชองทางตาง ๆ 1.6 แนวทางการพฒันา ที่ แนวทางการพัฒนา 1 ใหผูปกครองเขามามีบทบาทในการขับเคลื่อนคณุภาพการจดัการศึกษาของโรงเรียนโดยการสรางเครือขาย ผูปกครอง 2 ควรสนับสนุนใหมีอุปกรณเครื่องเลนสนามเด็กเลนที่มมีาตรฐาน ปลอดภัย และเหมาะสมเพียงพอสำหรับเด็ก 3 สรางชองทางการเปดเผยผลการดำเนินงานตอสาธารณชน เชน Facebook Line website เปนตน 2. มาตรฐานที่ 2 ครู/ผูดูแลเด็กใหการดูแลและจัดประสบการณการเรียนรูและการเลนเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย 2.1 ผลการสังเคราะหรายมาตรฐาน ที่ โรงเรียน ระดบัคุณภาพ A ดีมาก B ดี C ผานเกณฑ ขั้นตน D ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ รวม 2 2 - - รอยละ 50.00 50.00 - -
14 2.2 วิธีดำเนินการพัฒนาของสถานศึกษา ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 1 การดูแลและพัฒนาเด็กอยางรอบดาน 1.1 มีแผนการจัดประสบการณการเรียนรูที่สอดคลองกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย มีการดำเนินงาน และประเมินผล 1.2 จัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนาการทุกดานอยางบูรณาการตามธรรมชาติของเด็กที่เรียนรูดวยประสาท สัมผัส ลงมือทำ ปฏสิมัพันธและการเลน 1.3 เฝาระวังตดิตามพัฒนาการเดก็รายบุคคลเปนระยะเพื่อใชผลในการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กทุกคน ใหเต็มตามศักยภาพ สัปดาห ละ 1 ครั้ง 2 การสงเสริมพัฒนาการดานรางกายและดูแลสุขภาพ 2.1 ตรวจสุขภาพอนามัยของเด็กประจำวัน ความสะอาดของรางกาย ฟนและชองปากเพื่อคัดกรอง โรคและการบาดเจ็บ 2.2 จัดใหเด็กไดรับประทานอาหารที่ครบถวนในปริมาณที่เพียงพอตอรางกาย เพื่อใหรางกายแข็งแรง สมบูรณมีพัฒนาการตามวยัและมสีุขภาพ อนามัยที่ดีสมบูรณแข็งแรง 2.3 เฝาระวังตดิตามการเจริญโตของเด็กเปนรายบคุคล บันทึกผลภาวะโภชนาการอยางตอเนื่อง ทุกวัน 3 การสงเสริมพัฒนาการดานสติปญญา ภาษาและการสื่อสาร 3.1 จัดกิจกรรมสงเสริมพัฒนาการดานสตปิญญา อยางหลากหลาย มีโครงการ/กิจกรรมและ ประสบการณดานคณิตศาสตรและวิทยาศาสตรเบื้องตนตามวยั โดยเด็กเรียนรูผานประสาทสมัผสั และลงมือปฏิบัตดิวยตนเอง 3.2 จัดกิจกรรมปลูกฝงใหเด็กมีนสิยัรกัการอานใหเด็กมีทักษะการดูภาพฟงเรื่องราวพูดเลาอาน วาด/เขียน เบื้องตน ตามลำดบัพัฒนาการโดยคร/ูผูดูแลเด็กเปนตัวอยางของการพูดและอานที่ ถูกตอง 3.3 จัดกิจกรรมสงเสริมเด็กสังเกต สัมผสัลองทำคิดตั้งคำถาม สืบเสาะหาความรูแกปญหา จินตนาการคิดสรางสรรค โดยยอมรับความคิดและผลงานที่แตกตางของเด็ก ทุกวัน 4 การสงเสริมพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ-สังคม ปลูกฝงคณุธรรมและความเปนพลเมืองดี 4.1 จัดใหเด็กมีพัฒนาการดานอารมณจิตใจ-สังคมที่ดีและมีความสขุผานศิลปะ ดนตรีและ ความสนใจ และรักการอาน 4.2 สรางความสมัพันธที่ดีและมั่นคง ระหวางผูใหญกับเด็ก จัดกิจกรรมสรางเสริมความสมัพันธที่ด ี ระหวางเด็กกับเด็ก และการแกไขขอขัดแยงอยางสรางสรรค 4.3 จัดกิจกรรมสงเสริมใหเด็กมีความสุข แจมใส ราเริง ไดแสดงออกดานอารมณความรูสึกที่ดตีอ ตนเอง โดยผานการเคลื่อนไหวรางกาย ศิลปะ ดนตรี ตามความสนใจและถนัด ทุกวัน 5 การสงเสริมเด็กในระยะเปลี่ยนผานใหปรับตัวสูการเชื่อมตอในขั้นถดัไป 5.1 จัดกิจกรรมกับผูปกครองใหเตรียมเด็กกอนจากบานเขาสูโรงเรียน 5.2 จัดกิจกรรมปฐมนิเทศใหเด็กปรับตัวในบรรยากาศที่เปนมิตร 5.3 จัดกิจกรรมสงเสริมการปรับตวักอนเขารับการศึกษาในระดับทสี่งูขึ้นแตละชั้นจนถึงการเปน นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ภาคเรยีน ละ 1 ครั้ง
15 2.3 วิธีดำเนินการพัฒนาของตนสังกัด (ระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น) 2.3.1 สนับสนุน สื่อ วัสดุอุปกรณอาคารสถานที่สรางบรรยากาศทเี่อื้อตอการเรียนรู 2.3.2 สงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหมีความเชี่ยวชาญและมีศักยภาพตรงตาม มาตรฐานวิชาชีพ 2.3.3 สงเสริมและสนับสนุนการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2.4 ผลการดำเนินการพฒันา 2.4.1 กิจกรรมการจัดประสบการณ 1. การจัดประสบการณครูจดัประสบการณใหเด็กไดรับประสบการณตรงจากการเลน การลงมอืกระทำ 2. กิจกรรมการจัดประสบการณโดยใชรูปแบบมอนเตสเชอรี่ 3. กิจกรรมการจดั ประสบการณโดยใชรูปแบบไฮสโคป 4. กิจกรรมการจัดประสบการณโดยใชรูปแบบนีโอ-ฮิวแมนนิสต 5. กิจกรรมการจดั ประสบการณโดยใชรูปแบบพหุปญญา 6. กิจกรรมการจัดประสบการณโดยใชรูปแบบวอลดอรฟ 7. กิจกรรมการจดัประสบการณโดยใชรูปแบบเรกจิโอ เอมิเลีย 8. กิจกรรมการจดั ประสบการณโดยใชสมองเปนฐาน (BBL) 9. กิจกรรมการจดั ประสบการณโดยใชโครงงานเปนฐาน (PBL) 10. กิจกรรมการจดัประสบการณโดยใชรูปแบบสะเต็มศึกษาหรือสะตรีมศึกษา (STEM หรือ STEAM) 11. กิจกรรมการจดัประสบการณโดยใชรูปแบบอื่นๆ (โปรดระบุ Active Leaning) สรุประดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น โรงเรียน กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน รวมจำนวน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ที่ดำเนินการ โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 2 โรงเรียนวดัสำนักขัน 3 โรงเรียนบานน้ำโฉ 5 รวม 4 - 1 - 1 - 1 1 1 1 1 - รอยละ 100 - 25 - 25 - 25 25 25 25 25 -
16 2.4.2 การวัดประเมินผลการจัดประสบการณและการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู(ระดบัองคกรปกครองสวนทองถิ่น) ที่ โรงเรียน จำนวนโรงเรียนในสังกัดที่มีการดำเนินงาน (แหง) Summative Assessment Formative Assessment การวิจัย ในชั้นเรียน ทำ ไมทำ ทำ ไมทำ ทำ ไมทำ 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ รวม 4 - 4 - 4 - รอยละ 100 - 100 - 100 - 2.5 จุดเดน/จุดควรพฒันา 2.5.1 จุดเดน ที่ จุดเดน 1 มีการจัดกจิกรรมบูรณาการตามสาระการเรียนรูครบทุกกิจกรรม 2 ครูมีการจัดทำแผนการจดัประสบการณและมีการบันทึกหลังการจัดประสบการณทุกครั้ง 3 ครูมีแผนการจดัประสบการณที่สอดคลองกับหลักสูตรมีการวิเคราะหเด็กเปนรายบุคคล 4 ครูจัดสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการเรียนรู 2.5.2 จุดควรพฒันา ที่ จุดควรพัฒนา 1 ครูควรใชสื่อการสอนที่หลากหลายเพื่อเสริมสรางพัฒนาการเรียนรูของเด็ก 2 ครูจัดกิจกรรมที่พัฒนาทักษะกระบวนการคิดที่หลากหลายตามกิจกรรมที่เด็กถนัด 3 ขาราชการครูปฐมวัยไมเพียงพอ 2.6 แนวทางการพัฒนา ที่ แนวทางการพัฒนา 1 สรางสื่อการสอนที่หลากหลายเพื่อเสรมิสรางพัฒนาการเรียนรูของเดก็ 2 จัดกิจกรรมที่พัฒนาทักษะกระบวนการคิดที่หลากหลายตามกิจกรรมที่เด็กถนัด 3 อบรมการใชเทคโนโลยี การสอนแบบออนไลน
17 3. มาตรฐานที่ 3 คุณภาพของเด็กปฐมวัย 3.1 ผลการสังเคราะหรายมาตรฐาน ผลการสังเคราะหรายมาตรฐาน 3 ข สำหรับเด็ก อายุ 3 ป ถึงอายุ 6 ป (กอนเขาประถมศึกษาปที่ 1 ) ที่ โรงเรียน ระดบัคุณภาพ A ดีมาก B ดี C ผานเกณฑ ขั้นตน D ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ รวม 2 2 - - รอยละ 50.00 50.00 - - 3.2 วิธีดำเนินการพัฒนาของสถานศึกษา ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 1 ตัวบงชี้ที่ 3.1 ข เด็กมีการเจริญเตบิโตสมวัยและมีสุขนิสัยที่เหมาะสม 1.1 บันทึกน้ำหนักตัวและสวนสูงของเด็กเปนรายบคุคล 1.2 เด็กไดรับอาหารที่หลากหลายครบ 5 หมู มีการระวังทั้งการขาดสารอาหารและโรคอวน 1.3 สงเสริมใหเด็กมีสุขภาพชองปากที่ดีไมมีฟนผุโดยการแปรงฟนหลังรับประทานอาหาร ทุกวัน 2 ตัวบงชี้ที่ 3.2 ข เด็กมีพัฒนาการสมวยั 2.1 สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการสมวัยโดยรวม 5 ดาน 2.2 ใชแนวทางการสงเสริมและเฝาระวังตามคมือการเฝูาระวังสงเสรมิเด็กปฐมวยั (DSPM) 2.3 มีการคัดกรองและสงเสรมิพัฒนาการเด็ก ทุกวัน 3 ตัวบงชี้ที่ 3.3 ข เด็กมีพัฒนาการดานการเคลื่อนไหว 3.1 การพัฒนาเด็กปฐมวัยใหมีพัฒนาการทางดานรางกายและการเคลื่อนไหว ดวยการจัดกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมกลางแจง ทั้งในรูปแบบเกมและการเลนเครื่องเลนสนาม 3.2 สงเสริมใหเด็กมีพัฒนาการดานการใชกลามเนื้อมดัเล็ก และการประสานงานระหวางตากับมือ ตามวัย 3.3 ใชแนวทางการสงเสริมและเฝาระวังตามคมูือการเฝาระวังสงเสรมิเด็กปฐมวยั (DSPM) ทุกวัน 4 ตัวบงชี้ที่ 3.4 ข เด็กมีพัฒนาการดานอารมณจิตใจ 4.1 ครูเปนแบบอยางที่ดีใหกับเด็ก จัดกิจกรรมสงเสรมิพัฒนาการดานอารมณจ ิตใจอยางหลากหลาย 4.2 เด็กแสดงออก ราเริง แจมใส รูสึกมั่นคงปลอดภยัแสดงความรสูึกที่ดีตอตนเองและผูอื่นไดสมวยั 4.3 สงเสริมใหเด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับยั้งชั่งใจ ทำตามขอตกลงคำนึงถึง ความรูสึกของผูอื่น มีกาลเทศะ ปรับตัวเขากับสถานการณใหมไดสมวัย ทุกวัน
18 ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 5 ตัวบงชี้ 3.5 ขเด็กมีพัฒนาการดานสติปญญา เรียนรูและสรางสรรค 5.1 สงเสริมใหเด็กมีพื้นฐานดานคณิตศาสตรสามารถสังเกต จำแนก และเปรยีบเทียบ จำนวน มติิ สัมพันธ (พื้นที่/ระยะ) เวลา ไดสมวัย 5.2 สงเสริมใหเด็กเด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณการใชหนงัสือรูจักตัวอักษร การคิกเขียนคำ และการอานเบื้องตนไดสมวยัและลำดับพัฒนาการ 5.3 สงเสริมใหเด็กมีความพยายาม มุงมั่นตั้งใจ ทำกิจกรรมใหสำเรจ็สมวยั ทุกวัน 6 ตัวบงชี้ที่ 3.6 ข เด็กมีพัฒนาการดานภาษาและการสื่อสาร 6.1 มีกิจกรรมสงเสริมการรักการอานเพื่อใหเด็กฝกอาน เลาเรื่องสรางจินตนาการไปพรอมกับความคดิ สรางสรรคและการใชภาษา ฝกการพูดคยุภาษาอังกฤษ 6.2 สงเสริมใหเด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณการใชหนังสอืรูจักตัวอักษร การคดิเขียนคำ และการอานเบื้องตนไดสมวยัและตามลำดับพัฒนาการ 6.3 เด็กสามารถฟง พูด จับใจความ เลา สนทนา และสื่อสารไดสมวยั ทุกวัน 7 ตัวบงชี้ที่ 3.7 ข เด็กมีพัฒนาการดานสังคม คุณธรรม มีวินัยและ ความเปนพลเมือง 7.1 สงเสริมคณุธรรม จริยธรรม คณุลักษณะอันพึงประสงคใหแกเดก็ผานการปฏิบัติกิจกรรมใน กิจกรรมประจำวัน 7.2 เด็กสามารถเลน และทำงานรวมกับผูอื่นเปนกลุม เปนไดทั้งผูนำและผูตาม แกไขขอขัดแยงอยาง สรางสรรค 7.3 เด็กมีปฏิสัมพันธกับผูอื่นไดอยางสมวัย และแสดงออกถึงการยอมรับความแตกตางระหวาบุคคล ทุกวัน 3.3 วิธีดำเนินการพฒันาของตนสังกัด (ระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น) 3.3.1 สงเสริมและสนับสนุนนเิทศการศึกษาใหมีคณุภาพ 3.3.2 สงเสริมและสนับสนุนการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใหมีความหลากหลาย ตามความเหมาะสม และความตองการของผูเรียน 3.3.3 สงเสริม สนับสนุนจดัหาสื่ออุปกรณที่เอื้อตอการเรยีนการสอน
19 3.4 ผลการดำเนินการพัฒนา 3.4.1 ผลการดำเนินงานรายตัวบงชี้ ตัวบงชี้ 3.1 ข เด็กมีการเจริญเติบโตสมวัยและมีสุขนิสัยที่เหมาะสม 3.1.1 ข เด็กมีน้ำหนักตัวเหมาะสมกับวัยและสูงดีสมสวนซึ่งมีบันทึกเปนรายบุคคล ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 183 - - - รอยละ 100 100 - - - 3.1.2 ข เด็กมีสุขนิสัยที่ดใีนการดแูลสุขภาพตนเองตามวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 64 119 - - รอยละ 100 34.97 65.03 - -
20 3.1.3 ข เด็กมีสุขภาพชองปากดี ไมมีฟนผุ ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 145 - 38 - รอยละ 100 79.23 - 20.77 - ตัวบงชี้ 3.2 ข เด็กมีพัฒนาการสมวัย 3.2.1 ข เด็กมีพัฒนาการสมวัยโดยรวม 5 ดาน ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 108 75 - - รอยละ 100 59.02 40.98 - -
21 ตัวบงชี้ 3.3 ข เด็กมีพัฒนาการดานการเคลื่อนไหว 3.3.1 ข เด็กมีพัฒนาการดานการใชกลามเนื้อมัดใหญสามารถเคลื่อนไหวและทรงตัวไดตามวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 183 - - - รอยละ 100 100 - - - 3.3.2 ข เด็กมีพัฒนาการดานการใชกลามเนื้อมัดเล็กและการประสานงานระหวางตากับมือตาม วัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 108 75 - - รอยละ 100 59.02 40.98 - -
22 ตัวบงชี้ 3.4 ข เด็กมีพัฒนาการดานอารมณ จิตใจ 3.4.1 ข เด็กแสดงออก ราเริง แจมใส รูสึกมั่นคงปลอดภัย แสดงความรูสึกที่ดีตอตนเองและผูอื่นได สมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 183 - - - รอยละ 100 100 - - - 3.4.2 ข เด็กมีความสนใจและรวมกิจกรรมตางๆ อยางสมวัย ซึ่งรวมการเลนการทำงาน ศิลปะ ดนตรี กีฬา ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 183 - - - รอยละ 100 100 - - -
23 3.4.3 ข เด็กสามารถอดทน รอคอย ควบคุมตนเอง ยับยั้งชั่งใจ ทำตามขอตกลงคำนึงถึงความรูสึก ของผูอื่น มีกาลเทศะ ปรับตวัเขากับสถานการณใหมไดสมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 108 75 - - รอยละ 100 59.02 40.98 - - ตัวบงชี้3.5 ข เด็กมีพัฒนาการดานสตปิญญา เรียนรูและสรางสรรค 3.5.1 ข เด็กบอกเกี่ยวกับตัวเด็ก บุคคลสถานที่แวดลอมธรรมชาติและสิ่งตาง ๆ รอบตัวเด็กไดสมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 145 38 - - รอยละ 100 79.23 20.77 - -
24 3.5.2 ข เด็กมีพื้นฐานดานคณิตศาสตร สามารถสังเกต จำแนก และเปรียบเทียบ จำนวน มิติสัมพันธ (พ้นืที่/ระยะ) เวลา ไดสมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 108 75 - - รอยละ 100 59.02 40.98 - - 3.5.3 ข เด็กสามารถคิด อยางมีเหตุผล แกปญหาไดสมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 145 38 - - รอยละ 100 79.23 20.77 - -
25 3.5.4 ข เด็กมีจินตนาการ และความคิดสรางสรรคที่แสดงออกไดสมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 146 37 - - รอยละ 100 79.78 20.22 - - 3.5.5 ข เด็กมีความพยายาม มุงมั่นต้งัใจ ทำกิจกรรมใหสำเร็จสมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 65 118 - - รอยละ 100 35.52 64.48 - -
26 ตัวบงชี้ 3.6 ข เด็กมีพัฒนาการดานภาษาและการสื่อสาร 3.6.1 ข เด็กสามารถฟง พูด จับใจความ เลา สนทนาและสื่อสารไดสมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 183 - - - รอยละ 100 100 - - - 3.6.2 ข เด็กมีทักษะในการดูรูปภาพ สัญลักษณ การใชหนังสือ รูจักตัวอักษรการคิดเขียนคำ* และการอาน เบื้องตนไดสมวัยและตามลำดับพัฒนาการ ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 108 75 - - รอยละ 100 59.02 40.98 - -
27 3.6.3 ข เด็กมีทักษะการวาด การขีดเขียนตามลำดับขั้นตอนพัฒนาการสมวัยนำไปสูการขีดเขียนคำที่คุนเคย และสนใจ ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 145 38 - - รอยละ 100 79.23 20.77 - - 3.6.4 ข เดก็มีทักษะในการสื่อสารอยางเหมาะสมตามวัย โดยใชภาษาไทยเปนหลัก และมีความคุนเคย กับภาษาอื่นดวย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 27 75 81 - รอยละ 100 14.76 40.98 44.26 -
28 ตัวบงชี้ 3.7 ข เด็กมีพัฒนาการดานนสังคม คุณธรรม มีวินัยและ ความเปนพลเมือง 3.7.1 ข เด็กมีปฏิสัมพันธกับผอู่นืไดอยางสมวัยและแสดงออกถึงยอมรับความแตกตางระหวางบุคคล ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 65 37 81 - รอยละ 100 35.92 20.22 44.26 - 3.7.2 ข เด็กมีความเมตตา กรุณา มีวินัย ซื่อสัตยรับผิดชอบตอตนเองและสวนรวม และมีคานิยมท่ีพึง ประสงคสมวัย ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 27 75 81 - รอยละ 100 14.76 40.98 44.26 -
29 3.7.3 ข เด็กสามารถเลนและทำงานรวมกับผูอื่นเปนกลุม เปนไดทั้งผูนำ และผูตาม แกไขขอขัดแยง อยางสรางสรรค ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 102 - 81 - รอยละ 100 55.74 - 44.26 - 3.7.4 ข เด็กภาคภูมิใจที่เปนสมาชิกที่ดีในครอบครัว ชุมชน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และตระหนักถึง ความเปนพลเมืองดีของประเทศไทย และภูมิภาคอาเซียน ที่ โรงเรียน จำนวน เดก็ ระดบัคุณภาพ 3 ดีมาก 2 ดี 1 ผานเกณฑ ขั้นตน 0 ตองปรับปรุง 1 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 81 2 โรงเรียนสาธิตองคการ บริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 38 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 37 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 27 รวม 183 102 38 - - รอยละ 100 55.74 20.74 - -
30 3.5 จุดเดน/จุดควรพฒันา 3.5.1 จุดเดน ที่ จุดเดน 1 เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมกับวัย 2 เด็กมีความรูสึกทดี่ีตอคนเองและบคุคลรอบขา งสามารถเลนและทำกิจกรรมรวมกับผูอื่นไดดี 3 เด็กรูจักการคิดและแกปญหาและสามารถนำมาใชในชีวิตประจำวันได 3.5.2 จุดควรพฒันา ที่ จุดควรพัฒนา 1 ควรมีการปรับปรุงสนามเด็กเลนเพื่อใหมีความหลากหลายตอพัฒนาการเด็ก 2 เด็กขาดทักษะการพัฒนาดานความคิดรวบยอด วิเคราะห สังเคราะห 3 ขาดแคลนสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยในทุกหองเรียน 3.6 แนวทางการพัฒนา ที่ แนวทางการพัฒนา 1 ปรับปรุงสนามเด็กเลนใหเหมาะสมกับชวงวยัของเด็ก 2 จัดการรเรยีนการสอนเพิ่มเติม 3 สนับสนุนใหมสีื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยในทุกหองเรียน เพื่อสงเสรมิการเรียนรูและพัฒนาการของเด็ก สรุปรวมผลการประเมินตนเองระดับการศึกษาปฐมวัย ปการศึกษา 2565 (องคกรปกครองสวนทองถิ่น) ระดบัคุณภาพ เกณฑพจิารณา คะแนนเฉลี่ย จำนวนขอที่ตองปรับปรุง A ดีมาก รอยละ ๘๐ ขึ้นไป ไมมี B ดี รอยละ ๖๐ - ๗๙.๙๙ ๑ - ๗ ขอ C ผานเกณฑขั้นตน รอยละ ๔๐ - ๕๙.๙๙ ๘ - ๑๕ ขอ D ตองปรับปรุง ต่ำกวารอยละ ๔๐ ๑๖ ขอขึ้นไป ที่ มาตรฐาน ระดบัคุณภาพ(คะแนน) A ดีมาก B ดี C ผานเกณฑ ขั้นตน D ตองปรับปรุง 1 การบริหารจัดการสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย 2 ครู/ผูดูแลเด็กใหการดูแลและจัด ประสบการณการเรียนรูและการเลนเพื่อ พัฒนาเด็กปฐมวัย 3 คุณภาพเด็กปฐมวัย รวม สรุปภาพรวม 3 มาตรฐาน A ดมีาก B ดี C ผานเกณฑขนั้ตน D ตองปรับปรุง
31 ผลการสังเคราะหม าตรฐานการศ ึ กษาระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
32 1. ผลการสังเคราะหรายมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้นืฐาน 1.1 มาตรฐานที่1 คุณภาพผเูรียน ที่ โรงเรียน ระดบัคุณภาพ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กำลังพัฒนา 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค รวม 1 2 2 - - รอยละ 20 40 40 - - 1.2 วิธีดำเนินการพัฒนาของสถานศึกษา 1.2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเรียน ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 1 มีความสามารถในการอาน การเขยีน การสื่อสารและการคิดคำนวณ 1.1 สงเสริม พัฒนา ความสามารถดานการอาน การเขียน การสื่อสารและคำนวณ 1.2 จัดทำโครงการโรงเรยีนรักการอาน ที่มีกิจกรรมสงเสรมิทักษะการอาน การเขียน เชน กิจกรรมบันทกึนักอาน ตลอดป การศึกษา 2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห คิดอยางมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นและแกปญหา 2.1 สงเสริมการเรียนรูดวยการสงเสริมใหผูเรียนเพื่อรวบรวมความรูไดดวยตนเอง มีทักษะในการทำงานเปนทีม 2.2 การประเมินสมรรถนะดานการคิด ตลอดป การศึกษา 3 มีความสามารถในการสรางนวัตกรรม 3.1 นักเรียนสรางชิ้นงาน(นวตักรรม)นักเรียน ๘ กลุมสาระ 3.2 จัดการเรยีนการสอนใหผูเรียนมีความสามารถในการทำงานเปนทีม ในการคนควา หาความรูและสามารถนำองคความรูมาสรางนวตักรรม เชน โครงงาน หนังสือเลมเล็ก POP UP Power Point ตลอดป การศึกษา 4 มีความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.1 สงเสริมใหผูเรียนมีความสามารถใชสื่อออนไลนผานเครือขายคอมพิวเตอร อินเตอรเน็ต ในการสื่อสาร ประชาสัมพันธและสบืคนขอมูลได 4.2 ประเมินความสามารถในการใชเทคโนโลยสีารสนเทศและการสอื่สารเพื่อพัฒนา ตนเองและสังคมในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทำงาน การแกปญหา ตลอดป การศึกษา
33 ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 5 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา 5.1 จัดกระบวนการเรียนการสอนที่เนนผูเรยีนเปนสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรม อยางหลากหลาย ไดแกงานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรบั ปรุงหลักสตูร สถานศึกษา 5.2 จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผูเรียนเพื่อยกระดับผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนใน 5 รายวิชาที่ใชสอบวัดผลทางการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ (O-NET) ตลอดป การศึกษา 6 มีความรูทักษะพื้นฐานและเจตคตทิี่ดีตองานอาชีพ 6.1 สงเสริมใหผูเรียนสามารถใชความรูและทักษะพื้นฐาน เพื่อใชในการศึกษาตอและ ประกอบอาชีพ ตามความถนัดและความสนใจ 6.2 จัดทำระบบดูแลชวยเหลือนักเรียน ตลอดป การศึกษา 1.2.2 คุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียน ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 1 การมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด 1.1 บันทึกการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค (ปถ.04) 1.2 จัดทำกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งมีกิจกรรมที่หลากหลาย เชน การเขา เรียนที่ตรงตอเวลา เพื่อใหผูเรียนมีคุณลักษณะและคานิยมที่ดี ตามที่สถานศึกษา กำหนด จัดทำโครงการสงเสริมประชาธิปไตย การเลือกตั้งประธานนักเรียน ตลอดป การศึกษา 2 ความภูมิใจในทองถิ่นและความเปนไทย 2.1 สงเสริมใหผูเรียนมีความภูมิใจในทองถิ่น เห็นคุณคาของความเปนไทย มีสวนรวมใน การอนุรักษวัฒนธรรมและประเพณไีทยรวมทั้งภมูิปญญาไทย 2.2 การนำวิทยากรทองถิ่นมาใหความรูในเรื่องภูมิปญญาทองถิ่น ในแตละหนวยการ เรียนรูที่สอดคลองกับทองถิ่น ตลอดป การศึกษา 3 การยอมรับที่จะอยูรวมกันบนความแตกตางและหลากหลาย 3.1 การจัดการเลือกหัวหนาชั้น ประธานนักเรียนเพื่อใหนักเรียนยอมรับซึ่งกันและกัน 3.2 มีผลการประเมินดานการประพฤติปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ภายใตการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตลอดป การศึกษา 4 สุขภาวะทางรางกายและจิตสังคม 4.1 การจัดอาหารกลางวันที่มีคุณคาทางสารอาหารครบทั้ง5หมูถูกหลักโภชนาการ และ มีการกำชับเรื่องการดื่มนมของนักเรียนอยางเขมงวด 4.2 ผานการทดสอบสมรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐานของกรมอนามัย กระทรวง สาธารณสุขหรือ กรมพลศึกษา หรือ สำนักงานกองทุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ตลอดป การศึกษา
34 1.3 วิธีดำเนินการพัฒนาของตนสังกัด (ระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น) 1.3.1 สงเสริมและสนับสนุนการจัดอบรมเพื่อยกผลสัมฤทธผิ์ูเรยีน 1.3.2 สงเสริมและสนับสนุนดานวิชาการ ดนตร นาฎศิลป ี และกีฬา 1.3.3 สงเสริมและสนับสนุนเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา 1.4 ผลการดำเนินการพฒันา 1.4.1 ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดบัองคกรปกครองสวนทองถิ่น 1) คะแนนมาตรฐาน T-Score ของผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ โรงเรียน จำนวน นักเรียน จำนวนนักเรียนที่มี T-Score≥50 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหาร สวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 37 25 6 5 11 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหาร สวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 22 12 1 1 8 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 23 13 - 2 6 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 7 5 - - 1 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค - - - - - รวม 89 55 7 8 26 รอยละ 100 61.80 7.87 8.99 29.21
35 2) คะแนนมาตรฐาน T-Score ของผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่ โรงเรียน จำนวน นักเรียน จำนวนนักเรียนที่มี T-Score≥50 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหาร สวนจังหวัด 1 (บานทาเรือ มิตรภาพที่ 30) - - - - - 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหาร สวนจังหวัด 2 (บานสำนัก ไมเรียบ) - - - - - 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน - - - - - 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ - - - - - 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค 12 9 - - - รวม 12 9 - - - รอยละ 100 75 - - - 3) คะแนนมาตรฐาน T-Score ของผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ที่ โรงเรียน จำนวน นักเรียน โรงเรียนที่มี T-Score ≥50 ภาษาไทย ภาษา อังกฤษ สังคม ศึกษา คณิต ศาสตร วิทยา ศาสตร 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหาร สวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) - - - - - - 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหาร สวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) - - - - - - 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน - - - - - - 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ - - - - - - 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค - - - - - - รวม - - - - - - รอยละ - - - - - -
36 1.4.2 ผลการทดสอบความสามารถขั้นพื้นฐานระดับชาติของผูเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ที่ โรงเรียน คะแนนเฉลี่ยรอยละ สรุปผล ดาน คณิตศาสตร ดาน ภาษาไทย รวม 2 ดาน ต่ำกวา ระดบั ประเทศ เทากับหรือ มากกวา ระดบั ประเทศ 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 55.00 64.11 59.55 - 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 65.75 67.78 66.76 - 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 38.83 27.00 32.92 - 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 38.66 45.91 42.29 - 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค - - - - - จำนวนโรงเรียน ที่มีคะแนนเฉลี่ยรอยละ ≥ระดบั ประเทศ 2 2 รวม รอยละ 50 50 รอยละ 1.5 จุดเดน/จุดควรพฒันา 1.5.1 จุดเดน ที่ จุดเดน 1 นักเรียนสวนใหญสามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป นักเรียนมคีวามสามารถใน ใชเทคโนโลยีในการเรียนรูไดเพิ่มขนึ้สามารถใชเทคโนโลยีในการเรียนและการแสวงหาความรูได ดวยตนเอง 2 การสงเสริมใหผเูรียนเปนคนดีมีความรูควบคูคณุธรรม นอมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช ในชีวิตประจำวัน 3 นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะอันพึงประสงคตามหลักสูตร มีมารยาทที่ดีงาม มีวินัย และมีความ รับผิดชอบในการเรียน 4 นักเรียนมีความภมูิใจในทองถิ่นและความเปนไทย ยอมรับที่จะอยูรวมกันบนความแตกตางและ หลากหลาย
37 1.5.2 จุดควรพฒันา ที่ จุดควรพัฒนา 1 การอาน การเขียน คำนวณใหกับนักเรียนเปรียบเทียบความกาวหนาและการพัฒนาของนักเรียน ดานวิชาการ 2 ผูเรยีนควรไดเรียนรโูดยใชสื่อเทคโนโลยีคอมพิวเตอรอยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดการเรียนรูที่ทันตอ โลกที่เปลี่ยนแปลง 3 ควรสรางความตระหนักใหผูปกครองเอาใจใสนักเรียนในดานการอานการเขียนและกลมุนักเรยีนที่มี ความบกพรองทางการเรยีนรู 1.6 แนวทางการพัฒนา ที่ แนวทางการพัฒนา 1 สงเสริมอาน การเขียน คำนวณใหกับนักเรียนโดยเปรียบเทียบความกาวหนาและการพัฒนาของ นักเรียนดานวิชาการ 2 สนับสนุนสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยในทุกหองเรียน สนับสนุนอุปกรณเทคโนโลยีในการสอน 3 สรางความตระหนักใหผูปกครองเอาใจใสนักเรียนในดานการอานการเขียนและกลมุนักเรยีนที่มี ความบกพรองทางการเรยีนรู 2. มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 ผลการสังเคราะหรายมาตรฐาน ที่ โรงเรียน ระดบัคุณภาพ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กำลังพัฒนา 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค รวม 2 2 1 - - รอยละ 40 40 20 - -
38 2.2 วิธีการดำเนินการพฒันาของโรงเรียน ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 1 มีเปาหมาย วิสัยทัศนและพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน 1.1 จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปการศึกษา และแผนปฏิบัติการ ประจำปงบประมาณ 1.2 จัดประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 1.3 สรางการมสีวนรวมจากภาคเีครือขาย เชน ผูปกครอง ชุมชน ในการกำหนด ทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน ปการศึกษา ละ 1 ครั้ง 2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 2.1 การจัดการโครงสราง การบรหิารงานโดยใชโรงเรียนเปนฐาน (School – Based Management : SBM) แบงออกเปน 4 กลุม ประกอบดวย กลมุบริหารวิชาการ กลุมบริหารงบประมาณ กลุมบริหารงานบุคคล และกลมุบริหารงานทั่วไป 2.2 ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรใหบุคลากรพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลใหมีความหลากหลายตามสภาพจริง 2.3 ผลการประเมิน การตดิตาม นิเทศตรวจสอบ ประเมินผล ปรับปรุงพัฒนางานและ การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) อยางตอเนื่อง ตลอดปการศึกษา 3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เนนคณุภาพผูเรยีนรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษาและ ทุกกลุมเปาหมาย 3.1 การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรยีนอยางรอบดานและดำเนินการ ประเมินผลการใชหลักสูตร การจัดการเรยีนการสอน ใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับความตองการของผูเรียน และชุมชน อยางมีประสทิธิภาพ สามารถ พัฒนาคุณภาพผูเรยีนอยางรอบดานและ ทุกกลุมเปาหมาย 3.2 การประเมินสรุปผลการจัดระบบดูแลชวยเหลือนักเรยีน 3.3 การประเมินสรุปผลการจัดทำหลักสตูรสถานศึกษา ตลอดปการศึกษา 4 พัฒนาครูและบคุลากรใหมีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 4.1 ประเมิน สรุปผลการสงเสริมและสนบัสนุนการจัดกิจกรรมชุมชนเครือขายการ เรียนรูเพื่อพัฒนาวิชาชีพ (PLC) 4.2 สนับสนุน สงเสริม ใหครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมีการพฒันาศักยภาพ ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ อยางนอย 20 ชั่วโมง/คน/ปการศึกษา 4.3 จัดทำ กิจกรรมการอบรม Google Classroom and Microsoft Team เพื่อชวย สนับสนุนการเรยีนการสอน รวมทั้งมีกิจกรรมอบรมการจัดทำขอสอบออนไลน Google form และกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงานครู และบุคลากร เพื่อ ชวยใหครูและบุคลากรมีทักษะในการพัฒนาการปฏิบัติงานใหมี ศักยภาพมากขึ้น ตลอดปการศึกษา 5 จัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อตอการจัดการเรียนรอูยางมีคุณภาพ 5.1 การจัดสภาพทางอาคารเรียน อาคารประกอบ หองเรียน หองสนับสนุนการจดั กิจกรรมการเรียนรูวสัดุครภุัณฑเพียงพออยูในสภาพการใชการไดดีมีความเปน ระเบียบสะดวก ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ สะอาด สวยงาม และเอื้อตอการเรียนรู ตลอดปการศึกษา
39 ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 5.2 มีการบริหารจัดการสิ่งแวดลอมโดยการใหหนวยงานภายนอกเขามามีสวนรวมและ เขาไปมีสวนรวมกับหนวยงานภายนอก 5.3 มีการจัดทำหองปฏิบัติทางการเรียนรูเชน หองคอมพิวเตอรหองนาฏศิลป หองสมุด 6 จัดระบบเทคโนโลยสีารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรยีนรู 6.1 สงเสริมใหครูมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนการเรยีนรู 6.2 การจัดใหมีระบบอินเตอรเน็ตความเร็ว เพื่ออำนวยความสะดวกตอการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนและการสืบคนขอมูลของผูเรียนครอบคลุมทุกพื้นที่อยางมี ประสิทธภิาพ 6.3 การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรFacebook page ระบบ Local School ระบบ NT access ระบบ O-Net ของ สทศ. ระบบการ จัดซื้อจัดจางภาครัฐ EGP และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอรที่สงเสรมิการจดัการ เรียนรู ตลอดปการศึกษา 2.3 วิธีดำเนินการพัฒนาของตนสังกัด (ระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น) 2.3.1 สนับสนุน สื่อ วัสดุครุภณัฑอุปกรณการเรียน อาคารสถานทที่ี่เอื้อตอการเรยีนการสอน 2.3.2 สนับสนุน และสงเสริมครูและบุคลากรในการพัฒนาศักยภาพ 2.3.3 สงเสริมดูแล ใหคำแนะนำ ติดตามและประเมินผลการดำเนินการตาง ๆ 2.4 ผลการดำเนินการพฒันา 2.4.1 สถานศึกษาจัดใหมีการพัฒนา “ชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ” ตามหลักการวิชาการที่ ถูกตอง ที่ โรงเรียน ดำเนินการ ไมไดดำเนินการ 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค รวม 5 รอยละ 100
40 2.4.2 หลักสูตรที่สถานศึกษาดำเนินการเพ่อืสงเสริมความเปนเลิศ ระดบัองคกรปกครองสวนทองถิ่น โรงเรียน หลักสูตรสงเสริมความเปนเลิศดาน รวม จำนวนที่ ดำเนินการ ภาษา อาชีพ กีฬา ดนตรี ศิลปะ เทคโนโลยี อื่นๆ โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) - - - - - 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) - - - นาฏศิลป 4 โรงเรียนวดัสำนักขัน - - - - - - 1 โรงเรียนบานน้ำโฉ - - - - - 2 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค - - - - - - - - รวม 3 1 2 1 1 - 1 9 รอยละ 60 20 40 20 20 - 20 - 2.4.3 สถานศกึษานำนโยบายสูการปฏิบัติ นโยบายจากกรมตนสังกัดที่สถานศึกษาดำเนินการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการจัดการศึกษา (ปศพพ.) การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐานในการพัฒนาทองถิ่น (SBMLD) หลักสูตรตานทุจริต DLIT หรือ DLTV ระดบัองคกรปกครองสวนทองถิ่น โรงเรียน นโยบาย รวมจำนวน ที่ ดำเนินการ ลดเวลา เรียน ปศพพ. SBMLD ตาน ทุจริต DLIT/ DLTV โรงเรียนสาธิตองคการบริหาร สวนจังหวัด 1 (บานทาเรือ มิตรภาพที่ 30) - - - 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหาร สวนจังหวัด 2 (บานสำนักไมเรยีบ) - 4 โรงเรียนวดัสำนักขัน - 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ - 4 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค - - - - - - รวม 3 4 2 4 1 - รอยละ 60 80 40 80 20 -
41 2.5 จุดเดน/จุดควรพฒันา 2.5.1 จุดเดน ที่ จุดเดน 1 การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบตัิการประจำปที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน มีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปและมีการรายงานผลการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมอยางเปนระบบและตอเนอื่ง 2 มีการบรหิารจัดการอยางเปนระบบ แบงโครงสรางการบริหารออกเปน 4 ฝาย ยึดหลักการบรหิารเปน ระบบ (PDCA) และยึดหลักการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน (SBM) 3 ครูผสูอนจัดการเรยีนรไูดอยางมีคณุภาพ จากการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษารูปแบบตางๆ ทำใหบุคลากรนั้นๆ ไดรับรูความคิดใหมๆ เปนคนทันสมยัทันตอความเจรญิกาวหนาของเทคโนโลยี สามารถนำไปประยุกตใชกับตำแหนงหนาที่ของตนไดและการศึกษาอบรม การดูงาน เปนการไปเรยีนรู จากของจริงชวยใหเกิดความคดิสรางสรรคที่สามารถนำมาริเริ่มสิ่งใหมๆ และหลายครั้งที่การดูงาน กอใหเกิดความคิดในการตอยอดจากของเดิม 2.5.2 จุดควรพฒันา ที่ จุดควรพัฒนา 1 ควรจัดใหมีอาคารและหองปฏิบตักิารที่เพียงพอและเหมาะสมตอการจัดการเรยีนรู 2 ควรสรางเครือขายความรวมมือของผูมีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียนใหมีความเขมแข็ง และการขับเคลื่อนคณุภาพการจดัการศึกษา 3 ควรประชาสัมพันธและการนำเสนอผลการดำเนินงานของโรงเรียนตอสาธารณชนใหมากขึ้นและรูปแบบที่ หลากหลาย 2.6 แนวทางการพัฒนา ที่ แนวทางการพัฒนา 1 จัดใหมีอาคารและหองปฏิบัติการที่เพียงพอและเหมาะสมตอการจัดการเรยีนรู 2 สรางเครือขายความรวมมือของผมูีสวนเกี่ยวของในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ใหมีความเขมแข็งมี สวนรวมรับผดิชอบตอผลการจัดการศึกษาและการขับเคลื่อนคณุภาพการจัดการศึกษา เชน เครือขาย ผูปกครอง เครือขายศิษยเกา 3 ประชาสมัพันธและการนำเสนอผลการดำเนินงานของโรงเรยีนตอสาธารณชนใหมากขึ้น
42 3. มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสำคัญ 3.1 ผลการสังเคราะหรายมาตรฐาน ที่ โรงเรียน ระดบัคุณภาพ ยอดเยี่ยม ดีเลิศ ดี ปานกลาง กำลังพัฒนา 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค รวม 2 1 2 - - รอยละ 40 20 40 - - 3.2 วิธีการดำเนินการพฒันาของสถานศึกษา ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 1 จัดการเรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบตัิจริงและสามารถนำไปประยุกตใชในชีวิตได 1.1 การจัดการเรียนรูทสี่อดคลองกับบริบทของชุมชนและทองถิ่นตามหลักสูตรของ สถานศึกษา 1.2 มีโครงการและกิจกรรมที่หลากหลายสามารถตอบสนองความตองการ และความ แตกตางของผูเรียน 1.3 รูปแบบวิธกีารจัดการเรยีนรูทใี่หผูเรียนไดรับการฝกทักษะ แสดงออก แสดง ความคิด สรุปองคความรู นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกตใชในชีวิตได ตลอดป การศึกษา 2 ใชสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรียนรู 2.1 ครูผลิตสื่อการสอนแตละกลุมสาระโดยใชสื่อเทคโนโลยสีารสนเทศ/ทะเบียนสื่อ/ บันทึกการสงสื่อ 2.2 มีการจัดแหลงเรียนรูที่เอื้อตอการเรยีนรูทั้งภายในหองเรียน หองปฏิบัติการ และ นอกหองเรียน มีศูนยการเรยีนรูเชน แปลงเกษตร สวนสมุนไพร ฯ 2.3 มีรูปแบบวิธีการที่ใหผูเรียนไดแสวงหาความรดู วยตนเองจากสื่อ เทคโนโลยีขอมูล สารสนเทศ แหลงเรียนรู และภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดป การศึกษา 3 มีการบรหิารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก 3.1 มีการวดัผลประเมินผลที่หลากหลายเหมาะสมกับผูเรียน สามารถวิเคราะหผเูรียน เปนรายบุคคลเพื่อนำผลสะทอนกลับพัฒนาดวยกระบวนการวจิัยชั้นเรียน 3.2 การสรางปฏสิัมพันธที่ดีกับผูเรียนโดยผานการจัดกจิกรรมตาง ๆ ทั้งในและนอก หองเรียน ตลอดป การศึกษา
43 ที่ วิธีดำเนินการ ความถี่ 3.3 ครูมีชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพ (PLC) ระหวางครูและผูเกยี่วของ เพื่อพัฒนา และปรับปรุงการจัดการเรียนรูทั้งภายในและภายนอกอยางตอเนื่อง 4 ตรวจสอบและประเมินผเูรียนอยางเปนระบบและนำผลมาพัฒนาผูเรียน 4.1 มีการออกแบบและสรางเครื่องมือสำหรับการวดัผล และประเมนิผลการจัดกิจกรรม การเรียนรู 4.2 การประเมินการนำผลการจัดการเรยีนรูไปใชในการพัฒนาผูเรยีนไดเต็มศักยภาพ 4.3 มีการสอบวัดผลกอน-หลังเรียนเสมอ เพื่อเปนการสเิคราะหความรูและประเมินผล การสอน ตลอดป การศึกษา 5 มีการแลกเปลยี่นเรยีนรูและใหขอมูลสะทอนกลับเพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการ เรียนรู 5.1 มีชุมชนแหงการเรียนรูทางวิชาชีพระหวางครูเพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการ เรียนรู (PLC) อยางนอย 50 ชั่วโมง/ปการศึกษา 5.2 มีการจัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนตอการจัดการเรยีนการสอนของ ครูทุกภาคเรียน และนำผลมาปรับปรุงพัฒนา 5.3 มีการศึกษา วิจัยเพื่อพัฒนาการเรยีนรูของผูเรียน ตลอดป การศึกษา 3.3 วิธีดำเนินการพัฒนาของตนสังกัด (ระดับองคกรปกครองสวนทองถิ่น) 3.3.1 สงเสริมสนับสนุนแหลงเรียนรูที่หลากหลายเพื่อสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต 3.3.2 สงเสริมดูแล ใหคำแนะนำ ติดตามและประเมินผล 3.3.3 สงเสริม สนับสนุนการศึกษาและการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3.4 ผลการดำเนินการพฒันา 3.4.1 กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนทเี่นนกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริง การจัดการเรียนรูโดยใชพัฒนาการทางสมองเปนฐาน (BBL) การจัดการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน (PBL) การจัดการเรียนรูแบบสะเตม็หรือสะตรีมศึกษา (STEM, STEAM) การจัดการเรียนการสอนเชิงรุก (Active Learning) แบบอื่นๆ โปรดระบุ ............................................................................................................................... ............................................................................................................................... ...............................................................................................................................
44 ระดบัองคกรปกครองสวนทองถนิ่ โรงเรียน กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน รวมจำนวน BBL PBL STEM,STEAM อื่นๆ ที่ดำเนินการ โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) - - - 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) - - - 1 โรงเรียนวดัสำนักขัน - - - 1 โรงเรียนบานน้ำโฉ 4 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค - - 2 รวม 1 1 2 5 รอยละ 20 20 40 100 3.4.2 การวัดประเมินการเรียนรูและการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู ระดบัองคกรปกครองสวนทองถนิ่ ที่ โรงเรียน จำนวนโรงเรียนในสังกัดที่มีการดำเนินงาน (แหง) Summative Assessment Formative Assessment การวิจัย ในชั้นเรียน ทำ ไมทำ ทำ ไมทำ ทำ ไมทำ 1 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 1 (บานทาเรือมิตรภาพที่ 30) 2 โรงเรียนสาธิตองคการบริหารสวน จังหวัด 2 (บานสำนักไมเรียบ) 3 โรงเรียนวดัสำนักขัน 4 โรงเรียนบานน้ำโฉ 5 โรงเรียนไมเรียงประชาสรรค รวม 5 - 5 - 5 -