The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noo.nuk.nik55, 2022-03-19 11:36:08

201903261054677 3

201903261054677 3

ค่มู ือเวชปฏบิ ตั ิ

การดแู ลรักษาผู้ป่วยดว้ ยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผน
ไทยและแพทยท์ างเลือก

คณะกรรมการพัฒนาแนวทางเวชปฏบิ ตั ิ
การดแู ลรักษาผู้ป่วยดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์

ทางเลอื ก Service plan สาขาแพทยแ์ ผนไทยฯ
เขตสุขภาพที่ 10

บรรณาธกิ ารหนงั สือ

ช่ือหนังสอื : แนวทางเวชปฏบิ ัติการดแู ลรักษาผปู้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทย

ที่ปรกึ ษา : 1. นพ.ปฐมพงศ์ ปรุโปร่ง ประธาน Sp. แพทย์แผนไทย เขต 10

คณะผู้จัดทา : 1. นายแพทยช์ านาญ สมรมิตร ผ้อู านวยการโรงพยาบาลยางชมุ น้อย

2. นายวเิ ชียร ชนะชยั เภสัชกรชานาญการ สสจ.ยโสธร

3. นส.ดวงใจ ปวงสุข แพทยแ์ ผนไทยปฏบิ ัตกิ าร

4. นางอัมรา ศิริศรี แพทยแ์ ผนไทยปฏิบตั กิ าร

5. นางนยิ ม สาระไทย พยาบาลวิชาชีพชานาญการ

6. นส.เพญ็ พร จนั ทะเสน สสจ.ศรษี ะเกษ

7. นส.กนั ต์ฤทยั มาลยั แพทย์แผนไทย

8. นส.ภาวนา โสภาลี เภสัชกรชานาญการ รพ.ขญุ หาญ

9. นส.ณชั ชา ถิรเตชสทิ ธ์ิ แพทยแ์ ผนไทย

10. นายธานี สุขไชย แพทย์แผนไทยปฏบิ ัติการ

จดั ทาโดย : คณะกรรมการพฒั นาแนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลรกั ษาผูป้ ่วยดว้ ยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผน

ไทยและแพทยท์ างเลือก Service plan สาขาแพทยแ์ ผนไทยฯ เขตสขุ ภาพท่ี 10

งบประมาณ :

สนบั สนนุ งบประมาณโดย :

พมิ พ์คร้งั ที่ 1 : วนั

จานวนทพี่ มิ พ์ :

ลิขสิทธ์ิ :

จดั พิมพโ์ ดย :

คานา

คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและเล่มนี้ มีวัตถุประสงค์แพทย์
ทางเลือกเล่มนี้ เพ่ือเป็นแนวทางในการนาไปใช้ในการดูแลสุขภาพผู้ป่วยด้วยการแพทย์แผนไทยและแพทย์
ทางเลือก ในสถานบริการสาธารณะสุขของรัฐ โดยบุคลากรแพทย์แผนไทยและสาธารณสุขสามารถนามาใช้เป็น
แนวทางในการให้บริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรคในเบ้ืองต้นโดยใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทย อาทิเช่น โรคไม
เกรน โรคอัมพฤกษ์ อมั พาต โรคริดสีดวงทวาร โรคภมู ิแพ้ทางเดินหายใจส่วนต้น อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ โรคข้อ
เข่าเสื่อม โดยประกอบดว้ ยเน้ือหาในส่วนของหลกั การ ความหายของโรค ผังการให้บริการ การคัดกรองโรค และ
การดแู ลรักษาด้วยวิธที างการแพทย์แผนไทย ท้ังการนวด ประคบสมุนไพร การจ่ายยาสมุนไพร และอื่นๆ เพ่ือใช้
เป็นแนวทางแก่แพทย์แผนไทยและผู้ท่ีสนใจศึกษา รวมถึงรายการยาสมุนไพรท่ีเทียบเคียงยาแผนปัจจุบันเพือ่ ใช้
เป็นแนวทางในการเชื่อมโยงกับสหวิชาชีพอื่นๆในระบบสาธารณสุข ซ่ึงเป็นแนวทางที่เป็นประโยชน์ต่อการ
ดาเนินงานด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกในสถานบริการสาธารณสุขของรัฐและเพื่อสร้างมาตรฐาน
จดุ ยืน ขอบเขตการให้บริการของวชิ าชีพด้านการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยท์ างเลือก

ขอขอบพระคุณคณะกรรมการคณะกรรมการพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยด้วยศาสตร์
การแพทยแ์ ผนไทยและแพทยท์ างเลือก Service plan สาขาแพทย์แผนไทยฯ และคณะกรรมการ Service plan
สาขาแพทย์แผนไทยฯ เขตสุขภาพที่ 10 ที่ได้รวบรวมการจัดทาคู่มือแนวทางเวชปฏิบัติฯเล่มนี้เพื่อมุ่งหวังการนา
ความรู้เวชปฏิบตั ไิ ปใช้ในการปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างเหมาะสม

คณะผจู้ ดั ทา

สารบญั

คานา ..........................................................................................................................................
บรรณาธิการ ...............................................................................................................................
สารบญั .......................................................................................................................................
นยิ ามการการจัดบรกิ ารแพทยแ์ ผนไทย. ......................................................................................1
แนวทางเวชปฏิบัติแพทย์แผนไทยโรคอัมพฤกษ์ อมั พาต...............................................................6
แนวทางเวชปฏิบตั แิ พทยแ์ ผนไทยโรคไมเกรน........................................................................... 13
แนวทางเวชปฏิบตั แิ พทยแ์ ผนไทยโรคขอ้ เข่าเสื่อม..................................................................... 20
แนวทางเวชปฏบิ ตั แิ พทย์แผนไทยอาการทอ้ งอดื ท้องเฟอ้ ......................................................... 29
แนวทางเวชปฏบิ ัตแิ พทยแ์ ผนไทยโรครดิ สีดวงทวาร.................................................................. 35
แนวทางเวชปฏิบัตแิ พทย์แผนไทยอาการทอ้ งเสีย.......................................................................... 41
แนวทางเวชปฏิบตั แิ พทยแ์ ผนไทยโรคภูมแิ พ้ทางเดนิ หายใจสว่ นต้น............................................ 46
แนวทางการเทยี บเคยี งยาสมนุ ไพรกับยาแผนปัจจบุ นั ................................................................ 55
แนวทางเวชปฏบิ ัติการบนั ทกึ รหัสวนิ จิ ฉยั โรค ICD10................................................................ 70
แหลง่ ขอ้ มูลอ้างอิง .................................................................................................................. 72
คาส่ังคณะกรรมการจัดทา ....................................................................................................... 73

คมู่ อื เวชปฏบิ ัตกิ ารดูแลผปู้ ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

นยิ าม

การจดั บรกิ ารการแพทย์แผนไทยและแพทยท์ างเลือกแบบครบวงจร
การจัดบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยท์ างเลือกแบบครบวงจรหมายถึง การจัดบรกิ ารดว้ ยศาสตร์
การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกแผนกผู้ป่วยนอก หรือหน่วยบริการด่านหน้าของโรงพยาบาล ท่ีมีการ
เชื่อมโยง และสะดวกในการปรึกษา ส่งต่อ กับแพทย์แผนปัจจุบันอย่าเหมาะสม ในโรงพยาบาลศูนย์
โรงพยาบาลท่ัวไป หรือโรงพยาบาลชุมชนท่ีมีความพร้อม เช่นโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย โดยให้บริการ
รักษาโรคทว่ั ไป หรอื เฉพาะโรค ซง่ึ ในเบื้องตน้ รักษาเฉพาะโรคนารอ่ งใหบ้ ริการรักษาโรคท่ีโดดเด่น 4 โรค ไดแ้ ก่
โรคหลอดเลือดสมอง โรคไมเกรน โรคข้อเข่าเส่ือม โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจส่วนต้น(ในท่ีน้ีหมายถึงโรคจมูก
อักเสบการภูมิแพ้)ท้ังนี้ถ้าหากโรงพยาบาลใดมีศักยภาพและความพร้อมสามารถดาเนินการโรคอ่ืนๆได้ตาม
ความเหมาะสม การจัดบริการดงั กล่าว ประกอบด้วย
การแพทย์แผนไทย
ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ.2556 หมายถึง กระบวนการทางการแพทย์
เก่ียวกับการตรวจ วินิจฉัย บาบัด รักษา หรือป้องกันโรค หรือการส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพของมนุษย์ การผดุง
ครรภ์ การนวดไทย และให้ความหมายรวมถึง การเตรียมการผลิตยาแผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์และ
เครื่องมือทางการแพทย์ ทั้งนี้โดยอาศัยความรู้หรือตาราที่ได้ถ่ายทอดและพัฒนาสืบต่อกันมาโดยผู้ประกอบ
วิชาชพี ทางการแพทย์แผนไทย หรือผ้ปู ระกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทยประยกุ ต์ ได้แก่
1.1 เวชกรรมไทย หมายถึง การตรวจ การวินิจฉัยการบาบัด การรักษา การปอ้ งกันโรค การส่งเสรมิ
ฟนื้ ฟสู ขุ ภาพรวมถงึ การผดุงครรภไ์ ทย เภสชั กรรมไทย และการนวดไทย ท้ังน้ดี ้วยกรรมวธิ กี ารแพทยแ์ ผนไทย
1.2 เภสัชกรรมไทย หมายถงึ การกระทาในการเตรยี มยา การผลติ ยา การประดิษฐย์ า การเลือกสรร
ยา การควบคุม และการประกันคุณภาพยา การปรุงและการจ่ายยาตามใบส่ังยาของผู้ประกอบวิชาชีพ
การแพทย์แผนไทยหรือผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทยประยุกต์ และจัดจาหน่ายยาตามกฎหมาว่าด้วยยา
ทงั้ น้ีดว้ ยกรมวิธกี ารแพทย์แผนไทย
1.3 ผดุงครรภ์ไทย หมายถึง การตรวจ การวนิ ิจฉยั การบาบดั การรักษา การป้องกันโรค การส่งเสรมิ
สุขภาพหญิงมีครรภ์ การป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์และระยะคลอด การทาคลอด การดูแล การ
ส่งเสรมิ และการฟ้นื ฟมู ารดาและทารกระยะหลังคลอด ท้ังนดี้ ้วยกรรมวิธกี ารแพทย์แผนไทย
1.4 นวดไทย หมายถึง การตรวจ การวินิจฉัยการบาบัด การรักษา การป้องกันโรค การส่งเสริม
สขุ ภาพโดยใชอ้ งคค์ วามร้เู กีย่ วกับศลิ ปะการนวดไทย ทง้ั นี้ด้วยกรรมวธิ กี ารแพทยแ์ ผนไทย
2. การแพทยท์ างเลอื ก
2.1 การแพทย์แผนจีน ตามพระราชบญั ญัตกิ ารประกอบโรคศิลปะ(ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2556
การแพทย์แผนจีน หมายถึง การกระทาต่อมนุษย์ หรือมุ่งหมายจะกระทาต่อมนุษย์เก่ียวกับการตรวจโรค การ
วินิจฉัยโรค การบาบดั การรักษาการปอ้ งกัน การส่งเสริม และการฟนื้ ฟสู ุขภาพ โดยใชค้ วามรู้แบบการแพทย์
แผนจีน โดยกิจกรรมในการจัดบริการครบวงจร เน้นเรื่องฝังเข็ม โดยผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผน
จีน และผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเวชกรรมท่ีผ่านการอบรมหลักสูตรฝังเข็ม (๓ เดือน) ที่กระทรงสาธารณสุข
รับรอง
2.2 การแพทย์ทางเลือกอ่ืนๆหมายถึงการบาบัดรักษาเสริมการแพทย์แผนปัจจุบันและการแพทย์
อื่นๆ
โดยผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ และการสาธารณสุข และผ่านการอบรมในหลักสูตรท่ีกรมพัฒนา
การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือกรับรอง เช่น สมาธิบาบดั

1

คู่มือเวชปฏิบัติการดแู ลผู้ป่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

นิยาม
การจดั บรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยท์ างเลือกแบบครบวงจร
1. แนวทางการจดั บรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยท์ างเลือกแบบครบวงจร

1. มคี ลินิกบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยท์ างเลือกแบบครบวงจรทใี่ หก้ ารรักษาโรคทั่วไป
2. มีคลินิกบริการการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกแบบครบวงจรที่ให้การรักษาเฉพาะโรค ใน
เบ้ืองต้น นาร่องให้บริการรักษาโรคที่โดดเด่น 4 โรคได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไมเกรน โรคข้อเข่าเสื่อม
โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจส่วนต้น(ในท่ีนี้หมายถึงโรคจมูกอักเสบการภูมิแพ้)ซ่ึงโรงพยาบาลต้องการจัดบริการ
อย่างน้อย 1 โรค หรือโรงพยาบาลที่มีความพร้อม ก็สามารถเปิดให้บริการครบท้ัง 4 โรคกิจกรรมท่ีควรมีใน
คลินิกเฉพาะโรค เช่น

2.1. ให้บรกิ ารซกั ประวตั ิ ตรวจร่างการ วนิ จิ ฉยั สั่งการรกั ษา และให้บริการทางการแพทย์
แผนไทยและแพทยท์ างเลือก

2.2. ใหค้ าแนะนารายบุคคล เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ิตวั เฉพาะโรค
2.3. ให้สุขศกึ ษารายกลุ่มแก่ผ้ปู ่วยและญาติ โดยการให้ความรู้ สอน สาธิต ปรบั พฤติกรรม
สขุ ภาพต่างๆให้เหมาะสมกบั โรคทเ่ี ป็นโดยทมี สวิชาชีพ
2.4. จดั กิจกรรมกลมุ่ เพื่อให้ผ้ปู ว่ ยและญาติ แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และ
เสริมสร้างกาลงั ใจแกก่ ัน
2.5. การรับและสง่ ต่อขอ้ มลู ระหวา่ งหน่วยบรกิ าร(ตามระบบสง่ ต่อ) เพอ่ื วางแผนการดแู ล
ผ้ปู ว่ ยต่อเนื่อง และการติดตามเยยี่ มบ้าน เป็นต้น
3. กาหนดวัน เวลาให้บริการอย่างชัดเจน ตามบริบทของโรงพยาบาล ควรจัดบริการคลินิกเฉพาะโรค
ให้สอดคล้องกับวันทีม่ ีการจัดบรกิ ารแพทย์แผนปัจจุบนั เพื่อความสะดวกในการขอรับคาปรึกษา หรือส่งต่อระ
หว่าแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ท้ังประชาสัมพนั ธ์ให้ผู้รับบริการ และเจ้าหน้าที่ที่
เกีย่ วขอ้ งทราบโดยทว่ั ถงึ
หมายเหตุ1. การจัดคลินิกบริการการแพทย์แผนไทยแลแพทย์ทางเลือกแบบครบวงจรนั้น ให้จัดตามบริบท
ของโรงพยาบาล โดยสามารถบรู ณาการร่วมกันในคลินกิ เดิมที่มีการจดั บริการอยู่แล้ว หรือผสมผสานกับคลินกิ
การแพทย์แผนไทยค่ขู นาน โดยไม่ต้องจัดตงั้ คลนิ ิกขนึ้ มาใหม่
2. ผูม้ ารบั บรกิ ารไมจ่ าเปน็ ต้องได้รับบรกิ ารครบทุกศาสตร์ การรบั บริการในแต่ละศาสตร์ข้นึ กับ ดลุ ย
พนิ ิจของแพทย์ผรู้ กั ษา หากเหน็ สมควรตอ้ งรบั บรกิ ารศาสตร์อืน่ ๆเพ่ิมเตมิ แพทยใ์ นศาสตร์นนั้ ๆ จะพจิ ารณาส่ง
ต่อระหวา่ งแพทย์แผนไทย/แพทย์แผนจีน/แพทย์ทางเลือก/แพทย์แผนปัจจบุ ัน ตามความเหมาะสม
2. ผู้รบั บริการมดี งั นี้
2.1 ผรู้ บั บรกิ ารที่ผา่ นการคดั กรองโดยพยาบาลคดั กรองหรือเจ้าหน้าทผี่ ูร้ บั ผดิ ขอบงานคัดกรองใต้
พยาบาลวชิ าชพี ทแี่ ผนกผูป้ ว่ ยนอก
2.2 ผ้รู บั บรกิ ารทส่ี ง่ ปรกึ ษาจากแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั
2.3 ผูร้ ับบริการท่ีต้องการมาตรวจรักษาท่ีแผนกแพทยแ์ ผนไทยและแพทย์ทางเลอื กด้วยความสมคั ร
ใจ

2

คู่มือเวชปฏิบตั ิการดูแลผ้ปู ่วยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

นยิ าม
3. ผใู้ ห้บรกิ ารในแตล่ ะสาขาประกอบดว้ ยบคุ ลากร ดังน้ี

3.1 การแพทย์แผนไทย บุคลากรที่เกี่ยวขอ้ ง ประกอบด้วย
3.1.1 แพทยแ์ ผนปจั จบุ ัน เปน็ ทป่ี รึกษางานแพทย์แผนไทยและแพทยท์ างเลือก
3.1.2 แพทย์แผนไทยซึง่ ได้รับใบประกอบวชิ าชีพประเภทเวชกรรมไทย หรอื สาขาการแพทย์

แผนไทยประยุกต์ทาหน้าที่ในการตรวจวินิจฉัย และสั่งการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทย ตรวจรักษา
โรคท่ัวไปและเฉพาะโรคครอบคลุมท้ังด้านเวชกรรมไทย เภสัชกรรมไทย ผดงุ ครรภไ์ ทย และการนวด
ไทย ทีห่ อ้ งตรวจแผนกผ้ปู ว่ ยนอกของโรงพยาบาลโดยมขี อบเขตความรับผิดชอบดงั นี้

1) ซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย วนิ จิ ฉยั สั่งการรักษา และให้บริการทางการแพทยแ์ ผนไทย ท่ี
ห้องตรวจโรคแผนกผปู้ ่วยนอก หรือคลินกิ แพทยแ์ ผนไทยตามบริบทของโรงพยาบาล

2) ดูแล กากับ ติดตาม และประเมนิ ผลการปฏิบัติงานของผ้ชู ่วยแพทย์แผนไทย ให้เปน็ ไปตาม
มาตรฐานวชิ าชีพ

3) ปรึกษา/รับ/ส่งต่อผู้ป่วย ระหว่างแพทย์แผนไทยกับแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์
ทางเลอื ก
3.2 พยาบาลคดั กรองผูป้ ่วยนอกมีหนา้ ท่คี ดั กรองผปู้ ่วยประเมนิ อาการ และอาการแสดงเบ้ืองตน้ โดย
ใช้แนวทางการคัดกรองการให้บริการแพทย์แผนไทยคู่ขนานแผนกผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลรัฐเปน็ เกณฑ์เพ่ือ
ส่งผูป้ ่วยเข้ารับการตรวจรักษา
3.3 ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย มีหน้าท่ีปฏิบัติงานด้านการนวดไทย การผดุงครรภ์ไทย และงานอื่นๆที่
ไดร้ บั มอบหมาย ภายใตก้ ารกากับดูแลของแพทย์แผนไทย
3.4 บคุ ลากรอ่นื ๆข้ึนกับภาระงาน และการมอบหมายของหัวหนา้ หนว่ ยบรกิ าร
3.5 การแพทย์แผนจีน บุคลากรทเี่ กยี่ วขอ้ ง ประกอบด้วย
3..5.1 แพทย์แผนจีนซ่ึงไดร้ ับใบประกอบการแพทย์แผนจีน หรือผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาเวชกรรม
ท่ีผ่านการอบรมหลักสูตรฝังเข็ม ที่กระทรวงสาธารณสุขรับรอง โดยมีบทบาทหน้าท่ีในการให้คาปรึกษา ตรวจ
วินิจฉัย สั่งการรักษา และให้บริการฝังเข็มท่ีห้องตรวจโรคแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล หรือสถานท่ีท่ี
โรงพยาบาลจัดเตรยี มไวใ้ ห้
3.5.2 พยาบาลวิชาชีพมหี นา้ ท่คี ัดกรองผู้ปว่ ยท่วั ไป โดยประเมินอาการ และอาการแสดงเบ้อื งต้นโดย
เป็นกลมุ่ อาการที่อยูใ่ นขอบเขตความสามารถของแพทย์แผนจนี และไมใ่ ชภ่ าวะฉกุ เฉนิ ทางการแพทย์ เพือ่ ส่งผู้
ป่วนเขา้ ตรวจรักษา
3.5.3 บุคลากรอื่นๆ ขน้ึ กับภาระงาน และการมอบหมายของหัวหน้าหน่วยบริการ
3.6 แพทยท์ างเลือก บคุ ลากรทเี่ กีย่ วขอ้ ง ประกอบด้วย
บคุ ลากรดา้ นการแพทย์ และการสาธารณสุข ทม่ี คี วามร้คู วามสามารถในการบริการด้านการแพทย์
ทางเลือกทผ่ี ่านการอบรมทก่ี ระทรวงรับรอง

3

คมู่ ือเวชปฏิบตั กิ ารดแู ลผ้ปู ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

นยิ าม
4. มาตรฐานการจดั บริการ

4.1 การแพทย์แผนไทย
มาตรฐานด้านสถานที/่ เครือ่ งมอื เครอ่ื งใช้/ส่งิ แวดลอ้ ม/การควบคมุ คณุ ภาพ ยดึ ตามมาตรฐาน
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สนับสนุนการแพทยแ์ ผนไทยและแพทยท์ างเลือก(รพ.สส.พท.)
4.2 การแพทยแ์ ผนจีน
มาตรฐานการจัดบริการเป็นไปตามบริบทของแต่ละสถานบริการโดยยึดตามมาตรฐานการประกอบ
โรคศลิ ปะสาขาการแพทยแ์ ผนจนี (มาตรฐาน 2 ด้านการบรหิ ารจัดการ และการบริการ)
มาตรฐาน ๒ ด้านการบริหารจดั การ และการบรกิ าร
การบริการจัดการ และการบริการทางการแพทย์แผนจีน เป็นการบริการทางการแพทย์เฉพาะทาง ท่ี
ตอ้ งอาศัยหลังการและแนวทางการตรวจวินจิ ฉัย การจาแนกโรค และกรจาแนกกลุ่มอาการและภาวะโรค การ
บาบัดรักษาและฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ด้วยการใช้ยาสมุนไพรจีน ฝังเข็ม รมยา และเทคนิควิธีอ่ืนๆ ตามหลักการ
แพทย์แผนจีน อันประกอบด้วย การบาบัดรักษาทางอายุรกรรมภายใน อายุรกรรมภายนอก แผนกกุมาร
แผนกนารีเวช แผนกโสต ศอ นาสิก แผนกผิวหนัง การบาบัดรักษาด้านบุรุษเวช การบาบัดรักษาด้านระบบ
ประสาท แผนกฝังเข็ม แผนกนวดทุยหนา และแผนกอ่ืนๆ การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความรู้
ของผู้ประกอบโรคศิลปะ การศึกษาค้นคว้าและวิจัย การประชาสัมพันธ์ และการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสร ตาม
องค์ความรู้ของศาสตร์การแพทย์แผนจีนอย่างถูกตอ้ ง เชื่อถือได้ และมีความเท่ียงตรงน้ัน จะต้องมีการกาหนด
แนวทางการบริหารจัดการและการบริการโดยใชแ้ นวทางการจัดบริการฝังเข็มในสถานบริการสาธารณสุขของ
รฐั ของสถาบนั การแพทย์ไทย-จนี กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทยท์ างเลอื กกาหนด
4.3 การแพทย์ทางเลือก
มาตรฐานดา้ นสถานท่ี/เคร่ืองมือเคร่ืองใช้/ส่ิงแวดล้อม/การควบคุมคุณภาพ เป็นไปตามบริบทของแต่
ละสถานบริการ
5. ขน้ั ตอนการใหบ้ ริการ
5.1 ผูป้ ว่ ยมาโรงพยาบาล

5.1.1 ผู้ป่วยท่ัวไป เจ้าหน้าที่ห้องบัตร หรือเจ้าหน้าที่ท่ีได้รับมอบหมายส่งผู้ปว่ ยเข้ารับการ
คดั กรองตามระบบการคดั กรองของโรงพยาบาล

5.1.2 กรณีผู้ป่วยมาตามนัดคลินิกเฉพาะโรค เจ้าหน้าท่ีห้องบัตร หรือเจ้าหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมายส่งผู้ป่วยเข้ารับการคัดกรองตามระบบการคัดกรองของโรงพยาบาลโดยไม่ต้องผ่านการตรวจจาก
คลนิ ิกท่ัวไป

5.2 การคดั แยกผปู้ ่วย
การคัดแยกผู้ป่วยเป็นการคัดแยกอาการ และสัญญาณชีพเบ้ืองต้นว่ามีภาวะฉุกเฉินดา้ นการแพทย์

หรือภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือไม่ ตามระบบ Triage ของโรงพยาบาล โดยเจ้าหน้าท่ีทางการพยาบาลภายใต้
การกากบั ดูแลของพยาบาลวิชาชพี

4

คูม่ อื เวชปฏิบัตกิ ารดูแลผูป้ ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

นิยาม
วิธีการรักษาและขอบเขตโรคเบ้ืองตน้ ทีส่ ามารถรักษาด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยและแพทยท์ างเลอื ก
1. การแพทยแ์ ผนไทย
1.1 วธิ กี ารรกั ษา

1.1.1 การใชย้ าแผนไทย เชน่
1. ยาสมุนไพรในบัญชยี าหลกั แห่งชาติ
2. ยาสามญั ประจาบา้ นแผนโบราณ
3. ยาแผนไทยท่ีอย่ใู นเภสัชตาหรับของโรงพยาบาล
4. ยาปรุงสาหรับผู้ป่วยเฉพาะราย

1.1.2 การนวดไทย
1.1.3 การประคบสมุนไพร
1.1.4 การอบไอนา้ สมนุ ไพร
1.1.5 การทบั หม้อเกลือ
1.1.6 อืน่ ๆ ตามดลุ ยพนิ จิ การแพทยแ์ ผนไทย
2. โรค/อาการที่สามารถให้การรักษาได้ ได้แก่
2.1 โรคและอาการทางระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ เจ็บคอ มเี สมหะ อาการหวดั คัดจมูก มนี า้ มกู ใสๆ หรือแพอ้ าการ อาการไข้
2.2 โรคและอาการของระบบโครงสร้างกลา้ มเนื้อและกระดกู
อาการปวดเม่ือกลา้ มเน้ือ เคลด็ ขดั ยอก ฟกช้า ขอ้ เข่าเสอื่ ม กลมุ่ อาการท่ีเกดิ จากการของทางาน
(office syndrome)
2.3 โรคและอาการของระบบอวยั วะสืบพนั ธ์ เชน่ โรคบรุ ษุ และสตรี โลหิตสตรี
สตรีหลงั คลอดมนี ้านมนอ้ ย นา้ คาวปลาไหลไมส่ ะดวก สตรมี ีอาการปวดประจาเดอื น ประจาเดอื นมา
ไม่
สม่าเสมอ ตกขาวไมไ่ ดเ้ กิดจาการติดเช้อื เปน็ ตน้
2.4 โรคและอาการทางระบบไหลเวยี นโลหิต
พะอดื พะอม คลน่ื ไส้ อาเจยี น หนา้ มดื ตาลาย สวิงสวาย (อาการทรี่ สู้ ึกใจหววิ วิงงเวียน ตาพร่าคลา้ ย
จะ
เปน็ ลม)อ่อนเพลยี นอนไมห่ ลบั กนิ อาหารไมไ่ ด้ ซีดจากโลหิตจาง
2.5 โรคและอาการทางระบบผวิ หนงั
อาการผด ผืน่ คัน แมลงสตั ว์กดั ตอ่ ย เริม งูสวดั กลาก เกลอื้ น นา้ กัดเท้า เช้อื ราท่ผี วิ หนัง แผล ฝี
ลมพษิ
แผลในปาก สะเกด็ เงนิ อสี กุ อีใส เปน็ ต้น
2.6 โรคและอาการทางระบบทางเดนิ อาหาร
อาการท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ ท้องผกู ทอ้ งเสีย รดิ สดี วง แผลในกระเพาะอาหาร คลนื่ ไส้ อาเจยี น เป็นตน้
2.7 โรคและอาการทางระบบทางเดนิ ปัสสาวะ
ปัสสาวะกระปิดกระปรอย ปสั สาวะแสบขัด ปสั สาวะไม่สุด เปน็ ตน้

5

ค่มู ือเวชปฏบิ ตั ิการดูแลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

2. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลผปู้ ว่ ยโรคอมั พฤกษ์ อมั พาต
ผปู้ ว่ ยลมอมั พฤกษ์ ลมอมั พาต (Post Stroke)

ผ่านเกณฑ์คดั กรอง ไม่ใช่ สง่ ต่อแพทย์
ไม่มภี าวะแทรกซอ้ น แผนปัจจุบัน (2)
(1)

ใช่

ตรวจประเมนิ (3)
วางแผนการรกั ษา

การรักษาและฟ้ืนฟูสภาพดว้ ยการแพทย์แผนไทย (4)
 หัตถบาบดั
 ยาสมนุ ไพร
 อบสมนุ ไพร
 คาแนะนา

การรกั ษาด้วยการแพทย์ทางเลอื กและอื่นๆ

ใช่

ประเมินผล 1 สัปดาห์

ดขี น้ึ ไมใ่ ช่
ใช่

วางแผนการรกั ษาตอ่ เนอื่ ง 2 สัปดาห์ หรอื ผ้ปู ว่ ยช่วยเหลือตนเองได้
ประเมินผล ทกุ 1 สัปดาห์

ใช่

ไมใ่ ช่ ดขี น้ึ ส่งต่อทีม COC ฟื้นฟตู ่อเนือ่ ง 6 เดือน
ตดิ ตามประเมนิ ผลการรักษา

จาหน่าใชย่ (2 เดอื นแรก ประเมิน ทกุ 1 สปั ดาห์
ตอ่ ไป ประเมนิ ทุก 1 เดือน)

6

คมู่ ือเวชปฏบิ ัติการดูแลผู้ปว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

2. แนวทางเวชปฏบิ ัติการดูแลผปู้ ่วยโรคอมั พฤกษ์ อมั พาต

คาจากัดความโรค

การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั
อาการทางคลินิกที่เกิดขึ้นทันทีโดย มีอาการทางานผิดปกตขิ องระบบประสาทเฉพาะที่ เช่น อาการอ่อน
แรงหรือชาท่ีใบหน้าและแขนขา กลืนลาบาก พูดไม่ชัด เห็นภาพซ้อน ไม่น้อยกว่า 24 ช่ัวโมง หรือทาให้เสียชวี ิต
โดยมีสาเหตุจากหลอดเลือดสมองเท่านัน้
การแพทย์แผนไทย
อัมพฤกษ์ (Paralysis) อัมพาต (Paralysis) เป็นกลุ่มอาการท่ีเก่ียวข้องกับความผิดปกติในการควบคุม
การเคล่ือนไหวของร่างกาย ซ่ึงเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ เช่น เกิดจากหลอดเลือดในสมองตีบ อุดตัน หรือแตก
หรอื เกดิ จากสมองไขสันหลัง หรือเสน้ ประสาทได้รับบาดเจ็บ หรอื มีการอกั เสบ เป็นต้น ในทางการแพทยแ์ ผนไทย
ไดม้ ีการระบุสมุฏฐานไว้วา่ เกิดจากลมอโธคมาวาตา และลมอุทธงั คมาวาตา พดั ระคนกัน (แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์,

2542: 546)

อมั พฤกษ์ เป็นภาวะที่ไม่สามารถควบคมุ การเคลื่อนไหวของร่างกายไดบ้ างส่วน ทาใหเ้ คล่ือนไหวได้ไม่
ตรงตามทิศทางท่ตี ้องการ

- อมั พฤกษ์ ชอ่ื เส้นซ่งึ เป็นศนู ยก์ ลางของรา่ งกายอยูด่ ้านหนา้ ทอ้ ง(ต่ากว่าสะดอื ) / อาการทีอ่ วยั วะ
บางส่วน เช่น แขน ขาอ่อนแรง

- ลมอมั พฤกษ์ ลมทีท่ าใหเ้ กดิ อาการเคลอื่ นไหวไม่ได้ โดยกระดกู ไม่เคลือ่ น
อัมพาต เป็นภาวะท่ีไม่สามารถควบคุมการเคล่ือนไหวของร่างกายได้เลย ทาให้เคลื่อนไหวไม่ได้ทั้งกรณี
อัมพฤกษ์ และอัมพาตอาจมีกล้ามเน้ืออ่อนแรงหรือไม่มีแรง อ่อนเหลวหรือแข็งเกร็ง และอาจสูญเสียการรับ
ความร้สู ึกทีร่ ่างกายบางสว่ นหรอื ไม่มีความร้สู กึ เลย ตาอาจปิดไม่สนิท ปากเบ้ียวอาจพูดไมช่ ดั หรอื พูดไม่ได้

- อัมพาต อาการกล้ามเนือ้ เสอื่ ม หรอื เสยี หน้าทไ่ี ปเนื่องจากโรคของประสาท( ระบบลม) หรือโรค
ของกลา้ มเน้ือ(ปถว)ี / อาการทีอ่ วยั วะบางสว่ น เช่น แขน ขา ตายไป กระดกิ ไม่ได้

- ลมอัมพาต ลมที่ทาให้เคล่อื นไหวไมไ่ ด้ และมีอาการกระดกู เคลอื่ น
ลมจับเอาก้นกบถึงไปถึงราวข้าง จับเอาหัวใจ แล้วให้ซึมมึน แล้วขึ้นไปราวบ่าท้ังสองข้าง ข้ึนไปจับ
เอาต้นลิ้น เจรจาไมไ่ ดช้ ดั แล
การตรวจประเมนิ
(1) เกณฑ์การคดั กรอง
1. ผู้ปว่ ย Post Stroke ท่มี ีไม่มีอาการแทรกซอ้ น (พรอ้ มทาการฟนื้ ฟู)
2. ผูป้ ว่ ยอัมพฤกษ์ อัมพาต ที่ยงั มีอาการแขนขาชา ออ่ นแรง ปากเบ้ยี ว ลนิ้ กระดา้ งคางแขง็ พูดไมช่ ัด
ระยะเวลาดาเนินโรคไม่เกิน 3 เดือน
3. ไม่มอี าการแทรกซอ้ น เชน่
- ความดนั โลหิต > 160/90 หรอื < 90/60 มลิ ลิเมตรปรอท
- มีไข้ > 37.5 องศาเซลเซียส
- มีอาการหอบ หายใจลาบาก หน้าซีด รมิ ฝปี ากเขยี ว หน้าเขียว ชัก
- ชพี จร > 100 หรือ < 60 คร้ัง/นาที
- มภี าวะติดเช้อื
3. ผปู้ ว่ ยทรี่ ับประทานยา Warfarin จะตอ้ งไม่มรี อยฟกชา้ ภาวะเลอื ดออกตามไรฟัน ถ่ายเปน็ เลอื ด
และมีคา่ INR อยู่ในช่วง 2.0 – 3.0

7

ค่มู อื เวชปฏบิ ัติการดแู ลผู้ป่วยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

2. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดูแลผปู้ ว่ ยโรคอัมพฤกษ์ อมั พาต
4. กรณี ผู้ป่วยที่มีระยะเวลาการดาเนินโรค มากกว่า 1 ปี และอยากเข้ารับการรักษา ผู้ป่วยต้องเข้าใจ
และยอมรบั ผลการรกั ษาฟน้ื ฟูสภาพ(ท่ีไม่เท่ากัน) จงึ สามารถเขา้ รบั การรกั ษา

(2) เกณฑส์ ง่ ตอ่ แพทยแ์ ผนปจั จุบนั

1. มีอาการของโรคหลอดเลอื ดสมองที่กาเริบขึ้น เช่น ความดนั โลหิตสูงขนึ้ มีอาการซึม ออ่ นเพลีย จิตใจ
หดหู่

กินไม่ได้ นอนไมห่ ลับ เป็นต้น
2. มอี าการแทรกซ้อนทางระบบประสาท เชน่ ชกั อาเจยี นพุ่ง ควบคุมการขับถา่ ยไมไ่ ด้ ไข้ ≥ 38 องศา

เซลเซยี ส หอบ หายใจลาบาก หน้าซีด รมิ ฝปี ากเขยี ว หนา้ เขยี ว ชีพจรเบา
3. มีภาวะกลา้ มเนื้อหวั ใจตายเฉยี บพลัน (Acute Myocardial infraction)
4. มีภาวะหอบหดื ทีต่ ้องไดร้ ับการรักษาด้วย On Oxygen และ/หรอื พน่ ยา

(3) การตรวจประเมนิ ทางการแพทยแ์ ผนไทย

ขอ้ มลู เหตุผล

ลักษณะท่ัวไป : ดูลักษณะท่ีผู้ป่วยมาพบแพทย์ เพ่อื ประเมินธาตปุ จั จุบันของผูป้ ่วย (ปกติลักษณะ)
รูปร่าง สีผิว สังเกตอิริยาบถ การยืน เดิน นั่ง นอน
การพลิกตัว การหยิบจับสิ่งของ การกลืน การเค้ียว
การพดู การหลบั ตา การหายใจ

จับชีพจร : ที่ข้อมือและหลังเท้าเปรียบเทียบ เพื่อประเมินกาลังเลือดและลมของผู้ป่วย และตรวจดูว่า

ด้านซ้ายและขวา วาตะ ปิตตะ เสมหะ มีการกาเริบ หย่อน พกิ ารอยา่ งไร

การตรวจ : ดู ฟงั คลา เคาะ เพื่อประเมินว่ามีอาการแข็งตึงของท้องมากน้อยเพียงใด

1. ทดสอบความตึงแข็ง ออ่ นนุ่ม และความร้อนเย็น คลาดูภาวะลมอ้ันในท้อง คลาดูความร้อนว่าสม่าเสมอ

ของเสน้ โดยการกด คลา หรือไม่ ฟังการเคล่ือนไหวของลาไส้ ประเมินภาวะท้องผูก

2. ทดสอบการรบั ความรสู้ กึ ของร่างกาย โดยการกด เพื่อใช้ในการวางแผนการรักษา ได้แก่ การต้ังตารับยา

ลบู สมั ผสั และการนวดรักษา

3. การตรวจรา่ งการทางหัตถเวชกรรมแผนไทย เชน่ เพอ่ื ประเมินกาลงั ของลม

ทดสอบแรงถีบ การเคล่ือนไหวและกาลังของแขน

ขา มอื เทา้ และใบหน้า

ทดสอบความสามารถในการเคลอื่ นไหว/กาลัง : เพ่ือประเมินการตึงของกล้ามเน้ือ สาหรับใช้ในการวาง

1. ประเมิน Motor power แผนการรกั ษา ได้แก่ การตัง้ ตารบั ยา และการนวดรักษา

2. การวัดระดบั ความเจบ็ ปวดโดยใช้ Pain score

8

ค่มู อื เวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผู้ปว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

2. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดูแลผปู้ ว่ ยโรคอมั พฤกษ์ อมั พาต

(3) การซักประวตั แิ ละวิเคราะหท์ างการแพทย์แผนไทย

ข้อมลู เหตผุ ล

ธาตเุ จา้ เรอื น : ดจู ากวัน เดือนปีเกิดของ เพื่อใชใ้ นการวิเคราะหว์ า่ ธาตุปจั จุบันของผู้ปว่ ยมีความผิดปกติไป
ผู้ปว่ ย จากธาตุเจา้ เรอื นเดิมอย่างไร
ปกติลักษณะ : ดูจากลกั ษณะเมื่อผู้ปว่ ย
มาพบแพทย์

อตุ สุ มฏุ ฐาน : เมื่อเริ่มมอี าการ และเม่ือ เพอ่ื ใชร้ ว่ มในการประเมินอาการของผู้ป่วยว่ามีการกาเรบิ ของโรค
มาพบแพทย์ สมั พนั ธ์กบั การเปล่ยี นแปลงของสภาพอากาศหรือไม่
เพอ่ื ใช้ร่วมในการประเมินอาการของผปู้ ว่ ยวา่ มีการกาเริบของโรค
กาลสมฏุ ฐาน : เม่อื เริ่มมอี าการ และเมื่อ สัมพนั ธ์กบั เวลาที่เกดิ โรคหรอื ไม่
มาพบแพทย์ เป็นปัจจัยส่งเสริมในการเกิดโรคของผู้ป่วย

อายุสมฏุ ฐาน : วา่ อยู่ในวัยใด ตรงกับ เพอ่ื ใช้รว่ มในการประเมนิ อาการของผู้ป่วยวา่ มีการกาเรบิ ของโรค
สมฏุ ฐานใด สัมพนั ธก์ บั ถ่นิ ทอ่ี ยหู่ รือไม่
เพื่อใช้ในการวเิ คราะหส์ าเหตุวา่ มีการกาเรบิ หยอ่ น พกิ ารของธาตุใด
ประเทศสมฏุ ฐาน : ภมู ิลาเนา และทีอ่ ยู่ ท่ีก่อใหเ้ กดิ โรค และเพื่อใชใ้ นการให้คาแนะนาในการปรับพฤตกิ รรม
ปัจจุบัน ให้เหมาะสมกบั โรค

มูลเหตุการเกดิ โรค

(4) การวางแผนการรกั ษา

1. หตั ถบาบดั
การนวดฟน้ื ฟสู ภาพ
1. กรณีทผ่ี ปู้ ว่ ยเปน็ อมั พาต ให้นวดสัมผัสเพอื่ กระตนุ้ ความรู้สึก ดว้ ยการลบู การบบี การจบั ตามแขน

ขาเบาๆ หรือการกดคลึงด้วยนา้ มนั ไปตามแขนขาเพือ่ คลายเสน้ หรอื ใช้การประคบสมุนไพรกระตุ้นความรสู้ ึก และ
ทาให้การไหลเวยี นของเลือดดขี ้ึน ควรให้กาลังใจเพ่ือใหผ้ ปู้ ว่ ยร่วมมือในการฟ้นื ฟู

2. เมือ่ ผปู้ ว่ ยเร่มิ ตอบสนองต่อความร้สู กึ เจ็บปวดและความร้อนได้ดีขน้ึ สามารถกระดกิ นิว้ มือนิว้ เท้าได้
บา้ ง ให้ทาการนวดฟ้ืนฟูในท่านอนหงายกอ่ น โดยนวดแนวพ้ืนฐานส่วนขา แขน บา่ คอ ศีรษะ และใบหนา้ ควร
นวดขาและแขนขา้ งที่ปกตกิ อ่ น แล้วจึงนวดขาและแขนขา้ งที่ไม่ปกติ

3. เม่อื ผู้ป่วยสามารถพลิกตะแคงตวั ไดเ้ องใหน้ วดในท่านอนตะแคงเพ่มิ ข้ึน โดยการนวดแนวพ้ืนฐาน
หลัง เนน้ จุดทป่ี ้ันเอว และเกลยี วข้างทั้งสอง

4. เมือ่ ผู้ปว่ ยสามารถลุกนงั่ ได้ ใหน้ วดในทา่ นง่ั เพิ่มขึน้ โดยการนวดแนวพ้ืนฐานหลัง สะบัก บ่า คอ
ศรี ษะ และใบหน้า โดยการนวดข้างที่ปกติก่อน แล้วจงึ นวดด้านทีไ่ มป่ กติเช่นกนั

5. ผู้นวดอาจเนน้ การกดจดุ เพื่อแกไ้ ขความผิดปรกติที่เฉพาะเจาะจงบางอย่าง เช่น ในกรณที ่พี ดู ไมช่ ดั ให้
กดเสน้ สุมนา ในกรณีตาปดิ ไมส่ นิทใหก้ ดจุดใต้ตาและหางตา ในกรณที ม่ี เี ถาดานหรอื พรรดกึ ให้นวดทอ้ งรว่ มด้วย
เปน็ ตน้

6. การประคบสมุนไพรรว่ มกบั การนวดส่วนต่างๆ ของรา่ งกาย จะชว่ ยใหฟ้ น้ื ฟไู ด้ดขี น้ึ

9

คมู่ ือเวชปฏิบัตกิ ารดแู ลผู้ป่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

2. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลผปู้ ่วยโรคอัมพฤกษ์ อมั พาต
ระยะเวลาและความถี่
1. กรณีทผี่ ู้ป่วยยังไม่ตอบสนองกบั การกระต้นุ ความรสู้ ึก (Motor power 0-2) นวดฟนื้ ฟูด้วยนา้ หนักเบา
(นวดสมั ผัส) วนั ละ 1 ครงั้ ครัง้ ละไม่นอ้ ยกวา่ 60 นาที รว่ มกบั การประคบสมนุ ไพร ตดิ ต่อกนั 3 วัน แล้ว
ประเมนิ ผล
2. กรณที ผ่ี ้ปู ่วยตอบสนองด้วยการมีความร้สู ึกบา้ ง สามารถกระดิกน้วิ มอื ได้ (Motor power 2-3)
นวดฟน้ื ฟูวันเว้นวนั หรือ สปั ดาห์ละไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง ครงั้ ละไม่นอ้ ยกว่า 60 นาที ร่วมกับการประคบสมุนไพร
แล้วประเมินผล

3. กรณีท่ีผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองไดบ้ ้าง (Motor power 3-5) ควรนวดพื้นฟสู ัปดาห์ละ 2 ครั้ง
คร้ังละไม่น้อยกว่า 60 นาที ร่วมกับการประคบสมุนไพร ติดต่อกันประมาณ 2 เดือน หรือจนกว่าผู้ป่วยจะ
สามารถฟื้นฟดู ้วยตนเอง โดยให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาตใิ นการนวดฟื้นฟตู นเอง และการออกกายบริหารดว้ ย
ตนเองท่ีบา้ นจนกวา่ จะสามารถฟ้นื ฟไู ด้ด้วยตวั เอง

ขอ้ ควรระวงั ในการนวด

1. วดั ความดนั โลหิตก่อนและหลังให้บริการทุกครงั้
2. ผูป้ ่วยความดนั โลหิตมากกวา่ 140/100 มม.ปรอท งดเปดิ ประตูลม
3. ผู้ป่วยท่ีรับยา warfarin ให้นวดผ่อนคลายงดเปิดประตูลมและต้องมีการฟังเสียงหัวใจของผู้ป่วยทุก

ราย
4. หา้ มทาการดดั ขอ้ ตอ่ หา้ มดงึ หวั ไหล่ หา้ มกระตกุ หัวเข่าข้างทเี่ ป็นโดยเดด็ ขาด
5. หา้ มนวดในท่าทต่ี ้องพับขอ้ ตอ่ ของผปู้ ว่ ย เช่น ทา่ ทต่ี ้องพับขอ้ เข่า ท่าท่ีตอ้ งพับข้อสะโพก
6. การประคบสมุนไพรตอ้ งวางลูกประคบทม่ี คี วามรอ้ นทีพ่ อเหมาะ ระวงั อยา่ ใช้ลกู ประคบท่ีรอ้ นเกนิ ไป

หรือวางลุกประคบนานเกินไป เพราะอาจเกิดแผลพุพองเนื่องจากผู้ป่วยไม่มีปฏิกิริยาตอบสนองกับ
ความร้อนเนื่องจากสญู เสียการรบั ความรสู้ ึก
7. กรณีผู้ป่วยท่ีมีปัญหาเกี่ยวกับล่ิมเลือด และหลอดเลือดดาอักเสบ หรือกรณีที่ผู้ป่วยท่ีเคยได้รับการ
สวนสายยางเพือ่ ถา่ งหลอดเลอื ดทหี่ วั ใจ หา้ มนวดบรเิ วณทเ่ี ปน็ และควรให้อยู่ใตก้ ารกากบั ของแพทย์
แผนไทยอย่างใกล้ชดิ
1. การจา่ ยยาสมนุ ไพร
1. ยากิน แบง่ การรักษาออกเปน็ 3 ช่วง ไดแ้ ก่ ช่วงตน้ ช่วงกลาง และช่วงปลาย
1. ช่วงตน้ (Motor power 0 -2)
จะรักษาผู้ป่วยโดยการให้ยาท่ีมีรส "สุขุมเย็น" เพราะในช่วงแรกๆของรายที่เป็นโรคหลอดเลือด
สมองจะมีภาวะของความดันโลหิตสูง การให้ยารสสุขุมเย็น จะเป็นการปรับลมให้การเดินของลมเบาลง โดยจะ
ให้ยารสสุขุมควบคู่กับการนวดฟ้ืนฟู แตถ่ ้าหากผู้ป่วยยังมีภาวะของความดนั สูงจะต้องงดการนวด แตย่ ังคงให้กิน
ยาตามปกติและคอยสังเกตอาการจนกว่าความดนั จะลดลง อาจเพ่มิ ยาสขุ ุมร้อนตามสภาพผู้ป่วยแต่ละราย
- ยารสสขุ ุมเยน็ ท่ีใชใ้ นผู้ปว่ ย ได้แก่ จิตรารมณ์ หอมเทพจิตร
- รสสขุ ุมรอ้ น ไดแ้ ก่ ยาหอมนวโกฐ
- กรณีผ้ปู ่วยมปี ัญหาทอ้ งผูกต้องแก้ไขปญั หาท้องผกู กอ่ น

10

ค่มู ือเวชปฏิบตั ิการดูแลผ้ปู ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

2. แนวทางเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ่วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต
ตัวอย่างยาสมุนไพรรกั ษาอาการท้องผูก
1. ธรณีสณั ฑฆาต แบบลกู ลอน ขนาดรับประทาน 3-5 เมด็ ก่อนนอน

ธรณสี ัณฑฆาต แบบแคปซูล ขนาดรบั ประทาน 3 เม็ด กอ่ นนอน
2. ชาชงชุมเห็ดเทศ รับประทานคร้งั ละ 1ซองเลก็ (3g) ผสมนา้ อนุ่ 120 มล.แชน่ าน 3 นาที
ด่ืมกอ่ นนอน
3. ชาเนื้อในฝักคูณ นาเน้ือในฝักคณู มา 15g ตม้ ในนา้ เดือด 15 นาที กรองเอาแตน่ า้ นามา
ผสมกบั ดเี กลือ 3g ด่มื ก่อนนอน
4. ยาต้มพรหมภักตร์ รับประทาน คร้ังละ 150-120มล.(ปริมาณยาทใ่ี ห้ในคร้งั แรกควรจะให้
ปริมาณ อยู่ที่ 150มล. เมอื่ ผู้ปว่ ยมีการขับถา่ ยที่คล่องข้นึ ควรลดปรมิ าณลงเปน็ 120มล. ดืม่
กอ่ นนอน)
2. ชว่ งกลาง (Motor power 2 -3)
เป็นระยะท่ีผู้ป่วยเริ่มมีพัฒนาการ สามารถกระดิกน้ิวมือ น้ิวเท้าหรือพอที่จะขยับแขนขาได้บ้าง ซ่ึง
ใ น ร ะ ย ะ นี้ จ ะ เ น้ น ย า ร ส สุ ขุ ม อ อ ก ร้ อ น เ ป็ น ห ลั ก เ พ่ื อ ช่ ว ย ก ร ะ ตุ้ น ธ า ตุ ไ ฟ เ ส ริ ม ธ า ตุ ไ ฟ
รสยาท่ีใช้ในระยะท่ีสอง ยารสสุขุมร้อน ช่วยปรับลมและบารุงเส้นเอ็น ได้แก่ ยาหอมนวโกฐ ยาหอมอินทรจักร
ยาสหัสธารา เถาวัลย์เปรยี ง
3. ชว่ งปลาย(Motor power 3 - 5)
ระยะนจ้ี ะเป็นระยะท่ผี ู้ป่วยมกี ารพัฒนาที่ดขี ึน้ สามารถทจ่ี ะยนื ได้ ทากจิ วัตรประจาวันดว้ ยตวั เองไดม้ าก
ขึน้ เชน่ การใสเ่ สื้อ การแปรงฟัน ลา้ งหนา้ หวีผม พูด-คุย ตอบโตส้ อ่ื สารไดด้ ีขนึ้ หรือในบางรายเริ่มที่จะฝึกเดิน
สามารถพยุงนา้ หนกั ตัวเองได้ จะเนน้ รกั ษาดว้ ยยารสรอ้ นสขุ ุมเพ่อื ปรับลมและบารงุ ธาตใุ หบ้ รบิ ูรณ์ โดยตารับท่ีใช้
จะมี สหัสธารา เบญจกูล หรือยาต้มแก้ลมอมั พฤกษ์
ขอ้ หา้ มและขอ้ ระวังการใชย้ า
- กรณีทผี่ ูป้ ่วยมอี าการของความดันโลหติ สงู ต้องระวงั การใชย้ าที่มรี สรอ้ น / เผ็ดร้อน /รสเบือ่ เมา
หรอื รสฝาดจดั
- ในบางรายอาจต้องใช้ยาสาหรับโรคที่เป็นเฉพาะ เช่น ความดันโลหิต เบาหวาน โรคหัวใจ โรค
ทางสมองและอื่นๆ รว่ มกับยาแก้อัมพฤกษ์ อมั พาต
- ในตารับยาท่ีใช้หากมีเกลือหรือยาที่รสเค็มจัด ต้องระวังการใช้ (ในผู้ที่มีปัญหาของปิหกังหรือไต
หรือมผี ลต่อหัวใจ)

ข้อควรระวังในการใช้ยาเฉพาะ
ยาสหสั ธารา
สรรพคณุ : ช่วยกระจายลม แก้อาการชาปลายมือ กระตนุ้ ธาตุไฟ
รสยา : รสรอ้ น
ข้อควรระวงั : ห้ามใช้ในผูป้ ่วยโรคหลอดเลือดสมองทมี่ ีภาวะของความดันโลหติ สูงอยู่ เพราะรสยาที่รอ้ น
จะไปกระตนุ้ ลม จงึ ทาให้ความดันโลหิตไมล่ ดลง

11

คมู่ อื เวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

2. แนวทางเวชปฏบิ ัตกิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต
ยาเบญจกลู
สรรพคุณ : บารุงธาตุ ปรบั ธาตุ กระตุน้ ใหอ้ ยากอาหาร
รสยา : รสรอ้ น
ขอ้ ควรระวัง : หา้ มใชใ้ นผูป้ ่วยโรคหลอดเลือดสมองทีม่ ภี าวะของความดันโลหติ สงู อยู่ เพราะรสยาทร่ี ้อน
จะไปกระตุ้นลม จงึ ทาใหค้ วามดันโลหติ ไม่ลดลง
การประเมินผลก่อนการรกั ษาและฟนื้ ฟสู ภาพ
1. ประเมนิ ความสามารถในการปฏิบตั ิกจิ วัตรประจาวนั ของผูป้ ่วย
2. ประเมนิ Motor power ในการตรวจจะทาการตรวจทัง้ 4 ระยางค์
- เกรด/ระดบั 0 = กลา้ มเนอ้ื เปน็ อมั พาต/แขนหรือขาไมม่ กี ารเคล่ือนไหวเลย
- เกรด/ระดบั 1 = กล้ามเนื้อไมม่ ีแรงหดตัวแตใ่ ยกล้ามเนือ้ หดตัวได้ /มกี ารเคลอื่ นไหวปลายน้ิวมือ-เทา้ ได้เล็กน้อย
- เกรด/ระดบั 2 = กล้ามเนื้อมีแรงทจี่ ะเคลอื่ นไหวแนวราบกบั พนื้
- เกรด/ระดับ 3 = แขนหรอื ขาสามารถยกได้ แตต่ ้านแรงที่กดไว้ไมไ่ ด้
- เกรด/ระดับ 4 = แขนหรือขาสามารถยกได้ แตต่ า้ นแรงท่ีกดไดน้ อ้ ยกว่าปกติ
- เกรด/ระดับ 5 = แขนหรือขามกี าลังปกติ

หมายเหตุ : 1. ใชแ้ บบประเมินการปฏิบัติกจิ วัตรประจาวันผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง ดชั นบี าร์เธล (The Barthel
Activity of Daily Living Index) ในการบันทกึ ประวตั แิ ละอาการผ้ปู ว่ ยรว่ มดว้ ย

2. ตวั อยา่ งแบบประเมนิ Motor power

อา้ งองิ : จากหนังสือแนวทางเวชปฏิบัตขิ องกรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยฯ

12

คมู่ ือเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

3. แนวทางเวชปฏบิ ัติการดูแลผปู้ ว่ ยโรคไมเกรน

แนวทางเวชปฏบิ ัติการดแู ลรักษาผู้ป่วยโรคไมเกรน

ผ้ปู ่วยมีอาการของโรคไมเกรน (1)

ผา่ นเกณฑก์ ารคดั กรอง ไมใ่ ช่ ส่งตอ่
(2) แพทยแ์ ผนปจั จุบัน (3)

ใช่
คลนิ ิกบรกิ ารแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื กครบวงจร

การแพทย์แผนไทย ไมใ่ ช่
หรอื การแพทย์แผนจีน
และ/หรอื การแพทยท์ างเลอื ก

-การตรวจวินิจฉัย (4)
- การรักษาและฟื้นฟสู ภาพ (5)
- คาแนะนาในการปฏบิ ตั ติ ัว (6)
- ประเมินผลและติดตามการ
รักษา (7)

ใช่

ดขี ้ึน

ตรวจรักษาต่อเนือ่ งจนความถีแ่ ละความรุนแรงลดลง

13

คู่มอื เวชปฏบิ ัตกิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

3. แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดูแลผปู้ ่วยโรคไมเกรน

(1) คาจากัดความโรค

โรคไมเกรน
การแพทยแ์ ผนปัจจุบนั
โรคไมเกรน เป็นกลุ่มอาการปวดศีรษะเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ อาจจะมรอาการคลื่นไส้อาเจียน กลัวแสง
กลัวเสยี ง โดยมปี จั จัยทางพนั ธุกรรมและสง่ิ แวดล้อม การวินิจฉัยใช้อาการทางคลินกิ โดยใชเ้ กณฑ์ ICHD-II (2nd
edition of International Classification of Headache Disorder )
การแพทยแ์ ผนไทย
ทางการแพทยแ์ ผนไทยโรคไมเกรนเข้าไดก้ ับ ลมปะกังหรือลมตะกัง เกิดเนอ่ื งจาการตดิ ขัดของลมอุทธังค
มาวาตา(ลมเบ้ืองสูง) ท่ีพัดจากปลายเท้าขึ้นไปศีรษะ ส่งผลให้การไหลเวียนของเลือด ลม เดินไม่สะดวก ทาให้มี
อาการปวดศีรษะ ปวดเบา้ ตา ปวดกระบอกตา ปวดขมับ อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจยี นรว่ มดว้ ย

(2) เกณฑ์คัดกรองท่ีรับผ้ปู ่วยเขา้ รกั ษา

1.ผปู้ ่วยตอ้ งมีลักษณะ อาการปวดศีรษะ 2 ใน 4 ขอ้ ต่อไปน้ี คอื
1) ปวดศรี ษะข้างเดียว
2) ปวดตบุ๊ ๆ ตามจังหวะชพี จร
3) ปวดปานกลางถึงรนุ แรง
4) อาการมากขนึ้ หากเคลือ่ นไหวออกแรง
2. อาจจะมีอาการคลื่นไส้อาเจยี น กลัวแสง หรอื กลัวเสยี ง
3. ไม่มไี ข้ อณุ หภมู นิ ้อยกว่า 38 องศาเซลเซียส
4. ความดนั โลหติ SBP 90-140 mmHg และ DBP 60-9- mmHg
5. ชีพจร 60-100 ครั้ง/นาที
6. ไมม่ ีประวัตอิ ุบัตเิ หตทุ างศีรษะ

หมายเหตุ อาการทตี่ ้องนกึ ถงึ กล่มุ โรคทมี่ พี ยาธสิ ภาพในสมองซ่ึงควรสง่ ผู้ป่วยพบแพทยแ์ ผนปจั จุบนั ทันที มี
ดังตอ่ ไปนี้

1. ปวดศรี ษะเฉยี บพลนั ทันทที นั ใด และรนุ แรงมาก เช่น Subarachnoid hemorrhage
2. ปวดรุนแรงมาก หรอื อาการเป็นมากขึ้นเรอ่ื ยๆ chronic progressive headache) เชน่ ปวดถขี่ ึ้น

รุนแรงข้นึ
3. มีอาการและอาการแสดงของการมีความดันในกะโหลกศรี ษะสงู (sign of increase intracranial

pressure) เชน่ คลืน่ ไสอ้ าเจยี นพุง่ ตาพรา่ มัว papilledema
4. ตรวจพบความผิดปกติทางระบบประสาทเฉพาะที่ (focal neurological deficit) เช่น ปากเบีย้ ว

อ่อนแรง ชา เดินเซ cranial never palsy
5. พบวา่ มีอาการอนื่ ๆร่วมดว้ ย เช่นสมองเสอ่ื ม ชกั ซมึ สบั สน
6. ปวดคร้งั แรกเม่ืออายุ >50 ปี (ไมเ่ คยปวดเปน็ ๆหายๆ มาก่อน)
7. มโี รคประจาตวั อ่นื รว่ มด้วย เช่น มะเร็ง โรคเลอื ด (bleeding disorder)

14

คู่มอื เวชปฏิบัติการดูแลผูป้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

3. แนวทางเวชปฏิบตั ิการดูแลผปู้ ่วยโรคไมเกรน

(3) เกณฑ์สง่ ตอ่ แพทยแ์ ผนปัจจุบนั

1. มอี าการปวดตอ่ เนอื่ งมากกว่า 72 ชม.

2. มอี าการเรอ้ื งรังนานกวา่ 1 สปั ดาห์

3. มีอาการภาวะสมองขาดเลือด เช่น มีความผิดปกติทางการมองเห็น อาการอ่อนแรงของน้ิวมือ มือ

หรอื ทงั้ แขนและขา มีความบกพร่องทางการพูดช่วั คราว

4. มีอาการแทรกซอ้ นทางระบบประสาท เชน่ ชัก ซมึ ลง อาเจยี นพุง่ ควบคุมการขับถา่ ยไม่ได้ เปน็ ตน้

5. อณุ หภมู ิ ≥38 องศาเซลเซียส

6. ความดันโลหิต SBP ≥ 160 มิลลิเมตรปรอท หรือ DBP ≥100 มิลลิเมตรปรอท หลังจากนอนพัก

แล้ว 30 นาที

7. ชพี จร < 60 ครั้ง/นาที หรอื > 100 ครั้ง/นาที หรอื คลาแลว้ ชีพจรเบากว่าปกติ

8. มภี าวะแทรกซอ้ นอืน่ ตามดลุ ยพินิจของแพทยผ์ ดู้ แู ล

(4) การตรวจวินิจฉัย

การแพทยแ์ ผนไทย

1. การซกั ประวตั ิ

การซักประวัติและวิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทยในโรคไมเกรน ต้องถามอาการและอาการแสดงที่

สอดคล้องกับโรคดังกล่าว โดยคานึกถึงช่วงเวลา ฤดูกาล ปัจจัยหรือส่ิงกระตุ้นท่ีทาให้มีอาการกาเริบมากขึ้น

เพื่อให้นาไปส่กู ารหาสมุฏฐานของโรคและสามารถนาไปสูก่ ารรักษาได้อย่างถูกต้อง ทั้งน้ตี ้องวิเคราะหส์ มุฏฐานทม่ี ี

ความสัมพันธข์ องโรคดงั กลา่ วตามตารางดงั ต่อไปน้ี

ข้อมลู เหตผุ ล

ธาตุเจ้าเรอื น เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ธาตเุ จ้าเรือนปัจจบุ ันของผูป้ ่วย

- เนอ่ื งจากโรคไมเกรน มกั เกิดในกล่มุ ของผูท้ ม่ี ีธาตุไฟ/ธาตุลมเปน็ เจ้าเรอื น

จะกระทาโทษทีร่ ุนแรงข้ึน

ธาตสุ มุฏฐาน เพอ่ื ใหท้ ราบสมุฏฐานการเกิดโรค ลมปะกัง (ลมตะกัง) เกดิ จากการไหลเวียนของ

เลอื ดไปเลย้ี งสมองไมเ่ พียงพอ อาจสมั พันธ์วาโยธาตุ (ธาตลุ ม) ได้แก่ ลมอทุ ธังคมา

วาตาพิการ ทาให้มีอาการปวดศีรษะ

อตุ ุสมฏุ ฐาน เพอ่ื ใช้รว่ มในการประเมินอาการของผู้ป่วยวา่ ฤดกู าลใดทเ่ี ริม่ มอี าการเจ็บป่วย มี
กาลสมฏุ ฐาน การกาเริบของโรคสมั พันธก์ ับการเปลย่ี นแปลงของสภาพอากาศหรือไม่

- เน่อื งจากฤดรู ้อน(คมิ หนั ตฤด)ู เปน็ สมุฏฐานของธาตไุ ฟ และฤดฝู น (วสนั ต
ฤด)ู เป็นสมฏุ ฐานของธาตุลมทจ่ี ะกระทาใหอ้ าการของโรคไมเกรนรุนแรง
ขึ้น

เพ่ือใช้ร่วมในการประเมินอาการของผปู้ ว่ ยวา่ ช่วงเวลาใดมอี าการเจ็บป่วย หรอื
การกาเริบของโรคสมั พนั ธ์กบั เวลาหรือไม่

- ชว่ งเวลา 10.00 – 14.00 น. และ 22.00 - 02.00 น. เป็นช่วงทีธ่ าตุ
ไฟ (ปติ ตะ) กระทาโทษ และชว่ งเวลา 14.00 – 18.00 น. และ
02.00 - 06.00 น. เป็นช่วงทีธ่ าตุลม (วาตะ) กระทาโทษ ส่งผลให้โรค
ไมเกรนกาเรบิ รนุ แรงข้นึ

15

ค่มู ือเวชปฏิบัติการดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

ขอ้ มูล 3. แนวทางเวชปฏบิ ัตกิ ารดูแลผปู้ ่วยโรคไมเกรน
อายุสมฏุ ฐาน
เหตผุ ล
ประเทศสมฏุ ฐาน
อายเุ ป็นปัจจยั สง่ เสรมิ ในการเกดิ โรคของผปู้ ่วย
มลู เหตกุ าลเกดิ โรค 8 - ชว่ งอาย16 – 30 ปี เปน็ ชว่ งอายุท่ีปติ ตะเป็นเจ้าสมฏุ ฐานและชว่ งเวลา
ประการ 30 ปี ถึงสนิ้ อายุไขเปน็ ชว่ งทว่ี าตะเปน็ สมุฏฐาน ส่งผลใหร้ นุ แรงข้ึน

เพอ่ื ใชร้ ่วมในการประเมินอาการของผูป้ ว่ ยว่าถิ่นท่ีอยู่อาศยั หลกั มคี วามสมั พนั ธ์กบั
ความเจ็บป่วย

- ผ้ทู อ่ี าศยั อยูใ่ นลกั ษณะภมู ิประเทศแบบที่สงู เนินเขา (ประเทศรอ้ น) มี
ปติ ตะเป็นสมุฏฐานหลกั และผทู้ ี่อาศัยอยู่ในลักษณะภูมิประเทศแบบน้าฝน
โคลนตม (ประเทศเย็น) มีวาตะเป็นสมฏุ ฐานหลกั ทาให้โรคไมเกรนกาเรบิ

เพ่อื ใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุวา่ มกี ารกาเรบิ หยอ่ น พิการของธาตุใดทกี่ อ่ ให้เกดิ
โรค และเพ่อื ใหค้ าแนะนาในการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมให้เหมาะสม

- มลู เหตุที่เปน็ ปัจจัยการกอ่ โรค ได้แก่ อาหารใหโ้ ทษ เชน่ การรบั ประทาน
อาหารรสเย็นโดยเฉพาะในชว่ งมีประจาเดือน การกระทบร้อน-เยน็ การ
ทางานเกนิ กาลงั การใช้อริ ยิ าบถและท่าทางทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง การเพง่ สายตา
มากเกินไป กอ่ ให้เกิดความตงึ เครียด ส่งผลใหเ้ กดิ อาการปวดศีรษะได้

2. การตรวจร่างกาย
2.1การตรวจจับชีพจรบรเิ วณขอ้ จะพบว่าชีพจรเต้นเรว็ และแรง ซึง่ เป็นลักษณะของวาตะและปติ ตะ
2.2การตรวจทางหัตถเวช
1. ก้มหน้า
วธิ ีการตรวจ :ใหผ้ ปู้ ว่ ยก้มหนา้ คางชิดอกโดยผูน้ วดอยูด่ ้านข้างของผ้ปู ว่ ย สังเกตดูองศาการกม้
หน้าจากนน้ั ผ้นู วดเลอื่ นตัวไปด้านหลงั ของผูป้ ว่ ย ตรวจดูลักษณะการแขง็ เกร็งของกล้ามเนื้อบา่
และปีกสะบกั ผนู้ วดใช้หลังมืออังดคู วามร้อนบริเวณตน้ คอทัง้ สองข้าง ตรวจแนวกระดกู ตน้ คอ
รวมถึงแนวกระดกู สันหลงั
ปัญหาท่พี บ :มีอาการจึงบา่ และตน้ คอร่วมดว้ ย
2. เงยหนา้
วิธกี ารตรวจ :ให้ผ้ปู ่วยเงยหนา้ มองเพดาน โดยผนู้ วดนั่งคุกเข่าอยูด่ า้ นข้างของผปู้ ่วย โดยสงั เกต
องศาการเงยหนา้
ปัญหาทีพ่ บ :มีอาการตงึ บา่ และต้นคอ
3. เอียงหชู ดิ ไหล่ซา้ ย – ขวา
วธิ ีการตรวจ :ให้ผูป้ ว่ ยเอยี งหู ชิดไหล่ซ้ายและขวา โดยใหผ้ ้ปู ่วยยกไหลช่ ่วยได้เล็กนอ้ ย ผู้นวด
สงั เกตดอู งศาของการเอยี งคอ
ปญั หาท่พี บ :มีอาการตงึ กลา้ มเนื้อท่บี า่
4. การคลากลา้ มเน้ือ กระดูกตน้ คอและความรอ้ น
วิธกี ารตรวจ: ให้ผู้ปว่ ยน่ังตวั ตรง ผู้นวดอยู่ด้านหลัง ใชม้ ือทง้ั สองข้างของผู้นวดคลากลา้ มเน้ือบ่า
ต้นคอ ของผปู้ ่วยด้วยแรงทีเ่ ทา่ กนั พร้อมกันทั้งสองข้าง ใช้มอื ข้างหนง่ึ จับกระดกู ตน้ คอโดยใช้

16

คมู่ อื เวชปฏิบตั กิ ารดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

3. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดูแลผปู้ ว่ ยโรคไมเกรน
นิว้ หัวแมม่ อื และนิ้วชี้จับกระดกู ตน้ คอ ตง้ั แต่กระดกู คอขอ้ ท่ี 1 ถงึ กระดูกอกข้อที่ 1 เพ่อื สังเกต
แนวกระดูกตน้ คอวา่ สม่าเสมอหรือไม่ (ภาวะเสอื่ มของกระดูกตน้ คอ) และใชห้ ลังมอื อังความ
รอ้ นของบา่ ทัง้ สองขา้ ง
ปญั หาที่พบ: พบการแข็งเกร็งของกล้ามเน้ือบ่า หรืออาจจะมีแนวกระดูกตน้ คอผิดปกตซิ ่ึงเกิดจากความเสอ่ื ม
ของกระดกู ต้นคอ แต่ไม่พบความรอ้ น
(5) การรกั ษาและฟ้ืนฟสู ภาพ
การแพทยแ์ ผนไทย
1. การรกั ษาด้วยหตั ถเวช
โรคลมปะกงั
1. นวดพ้นื ฐานบา่ ขา้ งที่เปน็
2. นวดบังคบั สญั ญาณ 5 หลงั ข้างที่เปน็
3. นวดสญั ญาณ 1,2 และ 5 ศีรษะดา้ นหลัง
4. นวดสญั ญาณ 4 หัวไหล่ ข้างท่เี ป็น
โรคลมปะกงั มอี าการอาเจียนร่วมด้วย
1. นวดพื้นฐานบ่า 2 ข้าง
2. บงั คับสัญญาณ 5 หลงั ขา้ งทเ่ี ป็น
3. พ้นื ฐานโค้งคอ 2 ขา้ ง
4. สัญญาณ 4 หัวไหล่ 2ข้าง
5. สัญญาณ 1-5 ศรี ษะดา้ นหลัง
6. กดบังคับจุดจอมประสาท
7. สญั ญาณ 1-5 ศีรษะดา้ นหนา้
8. นอนหงายเปิดประตลู ม 2 ขา้ ง
9. พน้ื ฐานหลงั ขนึ้ -ลง
10.สญั ญาณ 1,2,3 หลัง
11.สญั ญาณ 1,2,3 ขานอก
12.สญั ญาณ 1,2 ขาใน
13.พน้ื ฐานทอ้ ง ทา่ แหวก – นาบ
14.สญั ญาณ 1-5 ทอ้ ง (ระมัดระวงั ในการนวด ผนู้ วดตอ้ งมีความเชี่ยวชาญ)
2. การประคบสมุนไพร
การประคบสมนุ ไพรเป็นวธิ ีการรักษาแบบไทย ซ่ึงนามาใชค้ วบคู่กับการนวดไทย โดยมากมกั จะ
ใชห้ ลังจากการนวดเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว ความรอ้ นจากลกู ประคบซ่ึงมีตวั ยาสมนุ ไพรทาใหซ้ ึมผ่านผิวหนงั
ชว่ ยบรรเทาอาการปวด ลดอาการบวม อกั เสบของกลา้ มเนอื้ ช่วยใหเ้ น้อื เยอ่ื พังผืด ยืดตวั ออก ลด
อาการติดขดั ของขอ้ ตอ่ และเพิ่มการไหลเวียนเลือด ไม่ควรประคบบริเวณท่มี ีการอกั เสบหรอื บวมในชว่ ง
24 ชวั่ โมงแรก

17

ค่มู อื เวชปฏิบตั กิ ารดแู ลผูป้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

3. แนวทางเวชปฏิบัติการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคไมเกรน

3. การอบสมุนไพร

ใช้สูตรการอบแบบท่วั ไป เพ่อื ทาให้การไหลเวยี นเลือดเพ่ิมขึน้ บรรเทาลดอาการปวดศีรษะ ทา

ให้รู้สกึ สดช่ืน แจม่ ใส ผ่อนคลายความเครยี ด

4. การรักษาด้วยยาสมนุ ไพร

อาการปวดศรี ษะเกดิ เพราะธาตลุ มพิการ(อุทธังคมาวาตา และอโธคมาวาติการ) ทาให้ระบบ

เลอื ดลมในร่างกายเดนิ ไมส่ ะดวก หลงั การรกั ษาควรใช้ตารับยาสมุนไพรกลุ่มยาหอม เพราะเป็นยาท่ีมรี ส

สุขมุ หอมหรอื รสสขุ มุ ร้อน มีสรรพคณุ ในการกระจายเลอื ดลม แกก้ องลมละเอียด ช่วยบรรเทาอาการ

ปวดศรี ษะ วงิ เวยี นศรี ษะ หนา้ มอื เป็นต้น

ตารบั ยา อาการ/ ขนาด/วธิ ใี ช้ ข้อหา้ ม/ขอ้ ควรระวัง

สรรพคุณ

ยาหอมทิพย รสสขุ มุ หอม ชนิดผง รับประทานครั้งละ -ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาใน

โอสถ แกล้ มวงิ เวียน 1 – 1.4 กรัม ละลายน้า ก ลุ่ ม ส า ร กั น เ ลื อ ด เ ป็ น ล่ิ ม

(วิงเวียน) กระสายยา เม่ือมีอาการ ทุก (anticoagulant)และยาต้านการจับตัว

3 – 4 ช่ัวโมง ไม่ควรเกินวนั ของเกรด็ เลือด (antiplatelets)

ละ 3 ครั้ง -ค ว ร ร ะ วั ง ก า ร ใ ช้ ย า อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง

โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น ผู้ ป่ ว ย ที่ มี ค ว า ม

ผิดปกติของตับ ไต เน่ืองจากอาจเกิดการ

สะสมของการบูรและเกิดการสะสมของ

การบูรและเกิดพิษได้

-ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยท่ีแพ้ละออง

เกสรดอกไม้

ยาหอมเทพจติ ร รสสุขมุ หอม ชนดิ ผง รบั ประทานครั้งละ -ควรระวงั การรับประทานรว่ มกบั ยาใน

(วงิ เวียน บารุง แกล้ มกอง 1 – 14 กรมั ลายน้าสุก กลุ่มสารกนั เลือดเป็นลิ่ม
หัวใจ) ละเอียดได้แก่ เมื่อมอี าการ ทกุ 3 – 4 (anticoagulant) และยาต้านการจบั ตัว

อาการหน้ามืด ช่วั โมง ไมค่ วรเกินวันละ 3 ของเกร็ดเลือด (antiplatelets)

ตาลาย สวิงสวาย ครั้ง -ควรระวงั การใชย้ าอย่างตอ่ เนื่อง

(อาการท่รี สู้ ึกใจ ชนิดเมด็ รับประทานครงั้ ละ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในผู้ปว่ ยท่มี คี วาม

หวิว วิงเวียน 1 – 14 กรมั เม่อื มีอาการ ผดิ ปกติของตับ ไต เนื่องจากอาจเกดิ การ

คล่ืนไส้ตาพร่า ทุก 3 – 4 ชว่ั โมง ไม่ควร สะสมของการบูรและเกิดการสะสมของ

จะเปน็ ลม) ใจส่ัน เกนิ วันละ 3 ครั้ง การบูรและเกดิ พษิ ได้

และบารงุ ดวงจติ -ควรระวงั การใช้ยาในผปู้ ่วยท่แี พล้ ะออง

ใหช้ มุ่ ช่นื เกสรดอกไม้

18

คู่มอื เวชปฏบิ ัติการดแู ลผ้ปู ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

3. แนวทางเวชปฏิบตั ิการดูแลผปู้ ่วยโรคไมเกรน

ตารบั ยา อาการ/สรรพคุณ ขนาด/วิธีใช้ ขอ้ หา้ ม/ขอ้ ควรระวัง

ยาหอมนวโกศ รสสุขมุ รอ้ น ชนิดผง รับประทานครั้ง ขอ้ ห้ามใช้

(วงิ เวียน อาเจียน) แกล้ มวงิ เวยี น ละ 1 – 2 กรัม ลายน้า -หา้ มใช้ในผูห้ ญงิ ต้งั ครรภแ์ ละผู้ที่มีไข้

ค ลื่ น เ หี ย น กระสาย เมื่อมีอาการ คาเตอื น

อาเจียน ทุก 3 – 4 ช่ัวโมง ไม่ -ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่ม

ควรเกินวันละ 3 คร้ังน้า สารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และ

กระสายยาที่ใช้ ย า ต้ า น ก า ร จั บ ตั ว ข อ ง เ ก ร็ ด เ ลื อ ด

-ก ร ณี แ ก้ ล ม วิ ง เ วี ยน (antiplatelets)

คล่ืนเหียนอาเจียน (ลม -ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละออง

จุ ก แ น่ น ใ น อ ก ) ใ น เกสรดอกไม้

ผู้ สู ง อ า ยุ ใ ช้ ลู ก ผั ก ชี

(15กรัม) หรือเทียนดา

(15กรัม) ต้มเป็นน้า

กระสายยา

ชนิดเม็ด รับประทาน

ครง้ั ละ 1-2 กรัม ทุก 3-

4 ช่ัวโมง เม่ือมีอาการ

ไม่ควรเกนิ วนั ละ 3 ครั้ง

ยาหอมอนิ ทจักร์ รสสุขุม ชนิดผง รับประทานคร้ัง ข้อหา้ มใช้

(ขับลม คลื่นเหียน แกค้ ล่นื เหียน ละ 1 – 2 กรัม ลายน้า - หา้ มใชใ้ นผู้หญงิ ตง้ั ครรภ์และผทู้ ่ีมไี ข้
อาเจียน)
อาเจียน กระสายยา ทุก 3 – 4 คาเตอื น

ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ - ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาใน

3 ครั้ง กลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิม (anticoagulant)

น้ากระสายยาทีใ่ ช้ ใช้น้า และยาต้านการจับตัวของเกร็ดเลือด

ลูกผักชีเทียนดา ถ้าไม่มี (antiplatelets)

ใช้นา้ สกุ -ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละออง

ชนิดเม็ด รับประทาน เกสรดอกไม้

ครั้งละ 1 -2 กรัม ทุก

3-4 ช่ัวโมง ไม่ควรเกิน

วันละ 3 ครั้ง

2. ยาตารบั ปรงุ เฉพาะราย
การใช้ยาตามภูมปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พ้ืนบ้าน ทีม่ อี ยู่ตาราหรือในท้องถนิ่ ท่ีมกี ารใช้ตอ่
กันมา โดยพจิ ารณาอาการของผูป้ ่วยแต่ละราย ตามดลุ พินิจของแพทยแ์ ผนไทย

19

คู่มอื เวชปฏิบัตกิ ารดูแลผู้ปว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

4. แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยโรคขอ้ เข่าเสอ่ื ม
แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารรกั ษาดแู ลรักษาผู้ปว่ ยโรคขอ้ เข่าเสอ่ื ม

ผูป้ ่วยมอี าการของโรคข้อเข่าเส่อื ม (1)

ผา่ นเกณฑก์ ารคัดกรอง ไมใ่ ช่ สง่ ต่อ
(2) แพทยแ์ ผนปจั จุบนั (3)

ใช่

คลินิกบรกิ ารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกครบวงจร

การแพทยแ์ ผนไทย ไมใ่ ช่
- การตรวจวนิ ิจฉัย (4)
- การรักษาและพืน้ ฟสู ภาพ (5)
- คาแนะนาการปฏิบัตติ ัว (6)
- ประเมนิ ผลและติดตามการรกั ษา (7)

ดขี ึ้น

ใช่

ตรวจรกั ษาต่อเน่ืองจนผู้ปว่ ยมอี าการปวดลดลง
และดารงชวี ิตได้ดีขึน้

20

คู่มือเวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผู้ป่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

4. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผปู้ ่วยโรคขอ้ เข่าเสอ่ื ม

(1)คาจากดั ความ

โรคขอ้ เขา่ เส่ือม
การแพทยแ์ ผนปัจจุบนั
โรคขอ้ เขา่ เสอ่ื ม หรอื osteoarthritis of knee คอื โรคทมี่ กี ารเส่อื มของขอ้ เข่า ตาแหน่งท่มี กี าร

เปลยี่ นแปลงอยา่ งชัดเจน คือ ท่กี ระดูกผิวขอ้ (articular cartilage) ชนดิ ทีม่ ีเย่ือบุ (diarthrodial joint) โดย
พบการทาลายของกระดูกออ่ นผิวข้อ และกระดูกบริเวณใกลเ้ คยี ง เช่น ขอบกระดูกในขอ้ (subchondral bone)
หนาตวั ขน้ึ มกี ารเปลี่ยนแปลงของนา้ ไขข้อ ทาใหก้ ารหลอ่ ลื่นลดลง มักพบในผอู้ ายุ โดยลกั ษณะทางคลนิ ิกที่
สาคญั คือ

อาการปวด มลี ักษณะปวดตอื้ ๆ ทว่ั ๆ ไปบริเวณขอ้ เข่า ไมส่ ามารถระบุตาแหนง่ ปวดได้ชัดเจน และ
มกั ปวดเรือ้ รังอาการปวดจะมากขึน้ เมอื่ มกี ารใช้งานหรอื ลงน้าหนักลงบนเข่า และจะทเุ ลาลงเมอื่ พักการใช้งาน
เมือ่ การดาเนนิ โรครนุ แรงขน้ึ อาจทาให้มอี าการปวดตลอดเวลา แมใ้ นช่วงเวลากลางคืนรว่ มดว้ ย

ขอ้ ฝืด (stiffness) จะมกี ารฝืดของข้อในชว่ งเชา้ หรือหลังจากพกั การใช้ขอ้ นานๆ แตม่ ักไมเ่ กิน 30
นาที

ขอ้ บวมและผดิ รปู (swelling and deformity) อาจพบขาโกง่ (bow leg) หรือขอ้ เขา่ ฉ่งิ (Knock
knee) สูญเสยี การเคลื่อนไหวและการทางาน เชน่ ผปู้ ่วยมอี าการเดนิ ไมส่ ะดวก

มีเสียงดงั กรอบแกรบ (crepitus) ในขอ้ เขา่ ขณะเคล่ือนไหว
การแพทยแ์ ผนไทย
โรคข้อเข่าเส่ือมทางการแพทย์แผนไทยจัดอยู่ในโรคลมชนดิ หนึ่ง คือลมจับโปงเข่า หมายถงึ เปน็ โรค
ลมทท่ี าให้ข้อตอ่ หลวม มนี า้ ในขอ้ ขัดในข้อ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด ดงั นี้
1) ลมจบั โปงนา้ เข่า คือ ลมจับโปงชนดิ หนึง่ มีการอกั เสบรนุ แรงของข้อเข่า ทาให้มีอาการปวด
บวม แดง ร้อน และอาจมีไขร้ ว่ มด้วย
2) ลมจับโปงแห้งเขา่ คอื ลมจบั โปงชนิดหนึ่ง มกี ารอกั เสบเร้อื รังของขอ้ เขา่ ทาใหม้ ีอาการปวด
บวมบริเวณข้อเล็กน้อย

(2) เกณฑค์ ัดกรองทรี่ ับผปู้ ว่ ยเข้ารักษา

1) มีอาการปวดตอื้ ๆ บรเิ วณข้อเข่า
2) มีเสยี งดังกรอบแกรบ (crepitus) ในขอ้ เขา่ ขณะเคลอื่ นไหว
3) ขอ้ ฝืดตอนเชา้ นานนอ้ ยกว่า 30 นาที และมขี ้อจากัดในการเคลอื่ นไหวข้อเข่า
4) อายไุ มน่ ้อยกวา่ 40 ปี
5) ตามดุลยพินจิ ของแพทย์

(3) เกณฑ์ส่งตอ่ แพทยแ์ ผนปจั จบุ นั

1) มกี ารอกั เสบเฉียบพลนั บริเวณขอ้ เขา่ ได้แก่ อาการปวด บวม แดง หรือรอ้ น
2) ตรวจพบกอ้ นบริเวณข้อเข่า
3) ตรวจพบการฉีกขาดของผวิ หนัง กลา้ มเน้อื หรือเส้นเอ็น บริเวณข้อเข่า
4) ตรวจพบโรค/ภาวะ ความผดิ ปกตขิ องข้อจากสาเหตอุ ่นื เช่น เกาต์ รมู าตอยด์ เป็นต้น หรือตาม
ดุลยพนิ ิจของแพทย์

21

คู่มือเวชปฏิบัติการดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

4. แนวทางเวชปฏิบตั ิการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคขอ้ เข่าเสื่อม

(4) การตรวจวินจิ ฉยั

การแพทยแ์ ผนไทย

1. การซกั ประวัติ

การซักประวัติและวิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทยในโรคข้อเข่าเสื่อม ต้องถามอาการและอาการ

แสดงท่ีสอดคลอ้ งกับโรคดังกลา่ ว โดยคานงึ ถึงช่วงเวลา ฤดูกาล ปจั จยั หรือส่งิ กระตุน้ ท่ที าใหม้ ีอาการกาเรบิ มาก

ข้ึน เพอ่ื ใหน้ าไปสกู่ ารหาสมฏุ ฐานของโรคและสามารถนาไปสูก่ ารรักษาไดอ้ ย่างถูกต้อง ทัง้ นี้วิเคราะห์สมฏุ ฐานที่

มีความสัมพันธ์ของโรคดงั กลา่ วตามตารางดงั ต่อไปน้ี

ขอ้ มลู เหตผุ ล

ธาตเุ จา้ เรอื น เพื่อใช้ในการวิเคราะหว์ า่ ธาตุเจา้ เรอื นของผูป้ ่วย

- โรคข้อเขา่ เสื่อม มักเกดิ ในกลมุ่ ของผูป้ ว่ ยทเ่ี ป็นเตโชธาต(ุ ธาตไุ ฟ) และวาโยธาตุ

(ธาตุลม) เป็นเจา้ เรอื น ซ่ึงจะกระทาโทษทร่ี นุ แรงกว่าผทู้ ่ีมีธาตเุ จา้ เรอื นอ่นื ๆ

ธาตสุ มฏุ ฐาน เพื่อใหท้ ราบสมุฏฐานการเกดิ โรค

- โรคขอ้ เขา่ เสอ่ื ม มกั มอี าการปวดเข่า ซ่งึ เกิดจากธาตุไฟหยอ่ นเปน็ อันดบั แรก

หลงั จากน้นั ธาตุลมเกดิ พกิ ารตามมา ทาใหก้ ารไหลเวียนโลหติ ไมส่ ะดวกใน

บรเิ วณขอ้ เข่า เกิดการคัง่ ค้างของธาตุลมบรเิ วณเข่า ทาให้มังสงั (กล้ามเน้ือ)

นหารู (เส้นเอน็ ) ลสิกา(ไขขอ้ )พิการ คือ มอี าการปวดตงึ ขัด ในบรเิ วณหวั เขา่

อตุ ุสมฏุ ฐาน เพอ่ื ใช้รว่ มในการประเมนิ อาการของผูป้ ่วยวา่ ฤดูกาลใดทเี่ ร่มิ มอี าการเจ็บป่วย มี

อาการกาเริบของโรคสมั พนั ธก์ บั การเปล่ียนแปลงของสภาพอากาศหรอื ไม่

- เนอื่ งจากฤดรู อ้ น (คิมหนั ตฤด)ู เป็นสมฏุ ฐานของเตโชธาต(ุ ธาตุไฟ)และฤดฝู น

(วสนั ตฤดู) เปน็ สมฏุ ฐานของวาโยธาตุ (ธาตลุ ม) ทจ่ี ะกระทาใหอ้ าการโรคข้อเขา่

เสื่อมมคี วามรนุ แรงขนึ้

อายสุ มฏุ ฐาน. เพอ่ื ดอู ายขุ องผู้ปว่ ยซึ่งอาจเป็นปจั จยั สง่ เสริมใหเ้ กดิ โรค

- ชว่ งอายุ 10-32ปี พิกดั ปติ ตะเป็นสมฏุ ฐานเตโชธาตุเริม่ มคี วามเสื่อมและชว่ งอายุ

32 ปีถงึ ส้นิ อายขุ ยั พกิ ดั วาตะเปน็ สมฏุ ฐานของวาโยธาตเุ ร่ิมมอี าการกาเรบิ ซึ่งท้ัง

สองสมฏุ ฐานมคี วามสมั พนั ธก์ ันส่งผลใหม้ ีโรคมอี าการรนุ แรงขึ้น

ประเทศสมุฏฐาน เพอ่ื ใชร้ ่วมประเมนิ อาการของผ้ปู ว่ ยว่าถนิ่ ท่ีอยู่อาศยั หลักมคี วามสมั พนั ธก์ บั อาการ

เจ็บปว่ ยหรอื ไม่

- ผทู้ อ่ี าศยั อย่ใู นลักษณะภมู ิประเทศแบบทเ่ี ป็นทีส่ งู เนนิ เขา (ประเทศร้อน)เตโชธาตุ

(ธาตไุ ฟ) และผทู้ ี่อาศยั อยใู่ นลกั ษณะภมู ปิ ระเทศแบบทเ่ี ป็นน้าฝน โคลนตม

(ประเทศเย็น) วาโยธาตุ (ธาตุลม) กระทาโทษทาใหโ้ รคกาเริบมากขนึ้

มลู เหตกุ ารเกดิ โรค ๘ เพ่อื ใหท้ ราบสาเหตุและความสมั พันธ์ของโรคซ่งึ อาจจะทาให้โรคกาเรบิ มากข้ึน
ประการ ปจั จยั เสีย่ งทท่ี าให้เกดิ ภาวะขอ้ เขาเส่อื มคือ

- อาหารผปู้ ่วยท่ีมขี อ้ เขา่ เสอื่ มมีอาหารหลายอยา่ งท่แี สลงกบั โรค ได้แก่ ขา้ วเหนียว

หน่อไมเ้ คร่ืองในสตั ว์ เหล้าเบยี ร์หากบริโภคมากเกินไปอาจมีผลต่อการหายของโรค

ไดน้ อกจากนอ้ี าหารท่ีมรี สหวานมากไปจะทาใหล้ มในเส้นอทิ ากาเรบิ ส่งผลทาใหม้ ี

อาการปวดขดั ในเขา่ ได้

22

ค่มู ือเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

4. แนวทางเวชปฏิบัตกิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยโรคขอ้ เขา่ เสอ่ื ม
ขอ้ มูล เหตผุ ล

- อิริยาบถการยืนการเดินการน่ังยองๆ เป็นเวลานานการเดินขึ้น-ลงบันไดบ่อยๆ
การยกของหนักผิดท่าทางลุกยืนอย่างรวดเร็ว นั่งเก้าอี้เตี้ยนั่งพับเพยี บนั่งขัดสมาธิ
เป็นตน้ ทาใหเ้ สน้ เอน็ เปลย่ี นไปจากปกติทาใหเ้ กิดโรคได้
- การกระทบร้อน-เย็นหากกระทบความร้อนมากๆจะทาให้ปิตตะกาเริบ มีอาการ
บวมแดงร้อนมากขึ้นหากกระทบหรือสัมผัสอากาศเย็นหรือแม้กระท่ังการ
รับประทานอาหารรสเย็นมากเกินไป จะทาให้วาตะหย่อน เพ่ิมความปวดขดั ในขอ้
เข่ามากขน้ึ
- ทาการเกนิ กาลงั กายรวมถึงการออกกาลังกายหักโหมหรือรุนแรงมากเกินไปย่อม
ทาให้อวัยวะน้อยใหญ่เคลื่อนไหวผดิ ปกติกล้ามเน้ือเส้นเอ็นตา่ งๆเกิดการตึงตัวแข็ง
เกร็งย่อมนามาสู่ภาวะข้อเขาเสื่อมได้หรือแม้กระทั่งผู้ท่ีเป็นภาวะข้อเข่าเส่ือมแล้ว
หากต้องทาการเกินกวา่ กาลงั ของตนกย็ อ่ มส่งผลตอ่ การหายจากโรคไดเ้ ช่นกัน

2. การตรวจรา่ งกาย
2.1 การตรวจรา่ งกายทั่วไปตามแนวทางการแพทย์แผนปจั จบุ ันโดยดสู ภาพท่วั ไปเช่นสีผวิ ความรอ้ น
คลาดจู ุดเจ็บการบวมเป็นตน้
2.2 การตรวจรา่ งกายทางหตั ถเวช
1) การวดั ส้นเทา้
วธิ กี ารตรวจ : ใหผ้ ูป้ ว่ ยนอนหงายเหยยี ดขาตรงผู้ตรวจนั่งคุกเข่าอยู่ด้านข้างของผูป้ ่วยใช้มือดา้ นบนจบั
ขอ้ เท้าผปู้ ่วยชิดกนั ใช้มือทอ่ี ยดู่ ้านลา่ งดันปลายฝ่าเทา้ ขึ้นแล้วพดู ตรวจสงั เกตดตู าแหน่งสน้ เท้าของผู้ปว่ ย
ปญั หาที่พบ : ส้นเท้าข้างท่ีเปน็ จะสน้ั
2) ตรวจสภาพความโกง่ ของเขา่
วิธกี ารตรวจ : ผู้ปว่ ยนอนหงายเหยียดขาตรงพดู ตรวจน่ังคกุ เข่าอยดู่ ้านข้างของผปู้ ่วยใชม้ อื ดันปลายฝ่า
เทา้ ขึ้นใหส้ ดุ มอื ด้านบนของผตู้ รวจสอดใตเ้ ข่าเพ่อื ตรวจสภาพความโกงของเข่าท้ังสองข้าง
ปญั หาทีพ่ บ : พบช่องว่างใตเ้ ขา่ ข้างทีเ่ ปน็ มากกว่าอีกข้างหนงึ่
3) เขยือ้ นขอ้ เข่าและการคลอนสะบา้ เขา่
วธิ ีการตรวจ : ผู้ปว่ ยนอนหงาย เหยยี ดขาตรงพูดตรวจนัง่ คกุ เขา่ อยูด่ า้ นข้างของผู้ป่วยใชม้ อื ข้างหนึ่งจบั
สะบา้ เข่าด้านบน และมอื อีกข้างหนึ่งจับข้อเขา่ ดา้ นล่างทาการยกขอ้ เข่าข้นึ -ลงและใช้มอื ของผู้ตรวจดา้ นปลายเท้า
ของผูป้ ว่ ย (มือด้านนอก)จับลูกสะบ้าของเขา่ ข้างทเ่ี ป็นยกสะบ้าเข่าไป-มาเพอื่ คลอนสะบ้าเขา่
ปญั หาที่พบ : พบมีความฝืด การเคลื่อนไหวของสะบ้าเขา่ ข้างทเ่ี ป็นเกิดการยึดตดิ (สะบ้าเจ่า)หรอื
เคลื่อนไหวไดน้ ้อยกว่าขา้ งปกติและมเี สยี งดังกรอบแกรบ (หนิ ปูนเกาะ) ภายในขอ้ เข่า
4) วัดองศาเขา่
วิธีการตรวจ : พูดตรวจนง่ั คุกเข่าด้านข้างของผูป้ ว่ ยจับขาของผปู้ ่วยงอข้ึนดนั ใหส้ น้ เทา้ เขา้ ไปชดิ กน้ ย้อย
แลว้ จับขาผู้ปว่ ยดนั ขนึ้ ใหส้ ้นเทา้ แตะบรเิ วณตาแหน่งหวั ตะคาก (แง่กระดกู เชงิ กรานใตบ้ ั้นเอว)ทาทงั้ สองข้าง
ปญั หาท่พี บ : งอเขา่ เอาส้นเทา้ ชดิ ก้นยอ้ ยและชิดตาแหน่งหวั ตะคากข้างที่เป็นพบว่างอไม่ไดอ้ งศาและมี
อาการเจบ็ เสยี วภายในข้อเขา่

23

คมู่ ือเวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผ้ปู ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

4. แนวทางเวชปฏบิ ัติการดูแลผปู้ ว่ ยโรคขอ้ เข่าเสอื่ ม
5) การตรวจสอบสภาพข้อเข่า
วิธีการตรวจ : ให้ผ้ปู ่วยนอนหงายลาตวั ตรงพูดตรวจนั่งคุกเข่าดา้ นข้างผ้ปู ่วยตรงกบั ตาแหนง่ ของเขา่ ขา้ ง
ทีเ่ ป็นผตู้ รวจสงั เกตลกั ษณะทั่วไปของเข่าข้างที่เป็นเช่น การอักเสบ
ปญั หาที่พบ : พบวา่ บางส่วนของเขา่ ข้างท่ีเปน็ มีอาการบวมไมแ่ ดงในบริเวณทบี่ วมมคี วามรอ้ นเลก็ นอ้ ย
6) การทาปูนแดงบรเิ วณเขา่
- ถ้าเป็นโรคจับโป่งนา้ เข่าปนู แดงจะมีลกั ษณะเงาเย้มิ ทีบ่ ริเวณจดุ เจบ็
- ถ้าเปน็ โรคจบั โปงแห้งเข่าปนู แดงจะแหง้ สมา่ เสมอตามธรรมชาติ

(5) การรักษาและฟ้ืนฟสู ภาพ

การแพทย์แผนไทย
1. การรกั ษาโดยการนวดไทย
เน่ืองจากโรคข้อเข่าเส่ือม เกิดจากธาตุไฟหย่อน (ชิรนัคคี) ส่งผลให้ธาตุลมพิการ (อังคมังคานุสารีวาตา) มี

อาการปวดขัดในข้อเข่า ทาให้ข้อเข่าฝืด เคล่ือนไหวไม่สะดวก การรักษาโดยการนวดเป็นการช่วยกระตุ้นการ
ไหลเวียนเลอื ดให้ดขี นึ้ ช่วยลดอาการดังกล่าว

สูตรการนวด จบั โปงน้า
1. นวดพื้นฐานขา เปดิ ประตลู ม
2. นวดสัญญาณ 1-3 เขา่ ท่านั่งพบั เพยี บ
3. นวดสัญญาณ 1-4 ขาดา้ นนอก เนน้ สญั ญาณ 4 ห้ามเขยอ้ื นขอ้ เขา่
4. นวดสัญญาณ 1-4 ขาด้านใน เน้นสัญญาณ 3,4 ห้ามเขยื้อนข้อเข่า
สตู รการนวด จับโปงแหง้
1. นวดพ้ืนฐานขา เปดิ ประตูลม
2. นวดสัญญาณ 1-3 เข่า ทา่ ไขวม้ ือ
3. นวดสญั ญาณ 1-4 ขาด้านนอก เน้นสญั ญาณ 4 เขย้อื นข้อเข่า
4. นวดสัญญาณ 1-4 ขาดา้ นใน เน้นสญั ญาณ 3,4 ห้ามเขยื้อนข้อเขา่
2. การประคบสมนุ ไพร
ประคบหลังจากการนวดเสรจ็ แลว้ ความร้อนจากลูกประคบซงึ่ มีตัวยาสมนุ ไพรจะซึมผา่ นผวิ หนงั ชว่ ยบรรเทา
อาการปวดเมื่อย ลดอาการบวม อักเสบและอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น ข้อต่อ ลดอาการติดขัดและช่วย
เพ่ิมการไหลเวียนเลือดในบริเวณขอ้ เขา่ ไมค่ วรประคบบริเวณที่มอี าการอักเสบหรอื บวมใน 24 ชั่วโมงแรก
3. การรักษาด้วยยาสมุนไพร
หลักการรักษาที่สาคัญ คือการปรับสมดุลของธาตุลมในร่างกาย โดยการจ่ายยาท่ีมีรสร้อนสุขุม เพื่อกระตุ้น
เลือดลมบริเวณเข่า และไม่ให้ธาตุลมมีการค่ังค้างบริเวณเข่ามากเกินไป ไม่ควรจ่ายยาท่ีมีรสร้อนมากเกินไปใน
ผู้ป่วยท่ีมีอาการบวม แดง ร้อน ร่วมด้วย เน่ืองจากเป็นการกระตุ้นให้ธาตุไฟกาเริบ อาจทาให้มีอาการอักเสบมาก
ขึ้นได้ ยาที่ใชจ้ ึงควรเป็นยาที่มีรสสุขุมรว่ มดว้ ย

24

ค่มู อื เวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

4. แนวทางเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ว่ ยโรคขอ้ เข่าเสื่อม

การรักษาภาวะข้อเขา่ เสื่อมโดยใชย้ าสมนุ ไพรแบ่งเปน็ 2 สว่ น คือ

1) การใชย้ าในบญั ชียาหลกั แห่งชาติ

ข้อบ่งใช้ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติท่ีปรากฏในฉลากยา อาจไม่เฉพาะเจาะจงว่าใช้รักษาอาการปวดหรือ

บรรเทาอาการอักเสบของกล้ามเนื้อที่เกิดจากภาวะข้อเข่าเสื่อม แต่เน่ืองจากสารสกัดหรือตารับยานั้นๆ มี

สรรพคุณในการบรรเทาอาการปวดและต้านการอักเสบในท่ีนี้จึงนามาเปน็ ข้อบ่งใช้ในการรักษาโรคและอาการขอ้

เข่าเสอ่ื ม ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2558 ที่แนะนาใหใ้ ชใ้ นการรักษาโรคขอ้ เขา่ เส่อื ม มดี งั ตาราง

ตอ่ ไปนี้

ตารบั ยา อาการ/สรรพคณุ ขนาด/วธิ ใี ช้ ข้อหา้ ม/ขอ้ ควรระวงั

ยาเถาวลั ยเ์ ปรยี ง รสเบื่อเอยี น รับประทานครั้งละ 500 ขอ้ หา้ มใช้ -หา้ มใชใ้ นหญงิ ตั้งครรภ์

(แก้ปวดกล้ามเนอื้ ) บรรเทาอาการปวด มิลลิกรัม – 1 กรัม วันละ ข้อควรระวงั
กล้ามเนื้อ ลดการ 3 คร้งั หลังอาหารทนั ที -ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยเป็นแผลใน
ยาผสม อั ก เ ส บ ข อ ง ก ร ะ เ พ า ะ อ า ห า ร / ล า ไ ส้ เ ล็ ก ส่ ว น ต้ น
เถาวัลย์เปรยี ง
กลา้ มเนอ้ื เน่ืองจากเถาวัลย์ออกฤทธ์ิคล้ายยาแก้
(แกป้ วดกลา้ มเน้อื )
ป ว ด ก ลุ่ ม ย า ต้ า น ก า ร อั ก เ ส บ ท่ี ไ ม่ ใ ช่
ยาผสมโคคลาน
ส เ ตี ย ร อ ย ด์ (Nonsteroidal Anti-
(แก้ปวดกลา้ มเนอ้ื )
Inflammatory Drogs; NSAIDS)

-อาจทาให้เกิดอาการระคายเคืองระบบ

ทางเดินอาหาร

อาการไม่พึงประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก

ปสั สาวะบอ่ ย คอแหง้ ใจสนั่

รสมันร้อน เมาเบ่ือ รับประทานคร้ังละ 900 ข้อห้ามใชแ้ ละข้อควรระวงั

บรรเทาอาการปวด มิลลิกรัม – 1.5 กรัม วัน -เหมอื นยาเถาวัลย์เปรียง

เม่อื ยตามร่างกาย ละ 3 ครั้ง หลังอาหาร

ทนั ที

รสขมเมาเบื่อ รับประทานครั้งละ 1กรัม ไม่มขี อ้ มลู

บรรเทาอาการปวด ชงน้ารอ้ นประมาณ

เมอื่ ยตามร่างกาย 120-200 มลิ ลิลติ ร วัน

ละ 3 คร้ังก่อนอาหาร

ชนดิ ต้ม

นาตัวยาทง้ั หมดมาเติมให้

น้าทว่ มตัวยา ตม้ นา้ เคี่ยว

สามสว่ นเหลอื หนึ่งสว่ น

ด่มื คร้งั ละ 120-200

มิลลลิ ิตร วันละ 3 คร้ัง

กอ่ นอาหาร

25

คูม่ อื เวชปฏิบตั กิ ารดูแลผู้ป่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

4. แนวทางเวชปฏบิ ัติการดแู ลผปู้ ่วยโรคขอ้ เข่าเส่ือม

ตารบั ยา อาการ/ ขนาด/วธิ ใี ช้ ข้อห้าม/ขอ้ ควรระวัง
สรรพคณุ

ยาสหสั ธารา ร ส เ ผ็ ด ร้ อ น รับประทานครั้ง ขอ้ ห้ามใช้ : หา้ มใช้ในหญงิ ตง้ั ครรภ์ และผู้ทีม่ ีไข้

(แก้เส้น มนึ ชา) ขับลมในเส้น ละ 1 – 1.5 กรัม ขอ้ ควรระวงั

แก้โรคลมกอง วั น ล ะ 3 ค รั้ ง -ควรระวังการบริโภคในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

หยาบ ก่อนอาหาร โรคหวั ใจ ผู้ปว่ ยแผลในกระเพาะอาหาร/ลาไสเ้ ล็กส่วน

ตน้ และกรดไหลยอ้ น เนอื่ งจากเปน็ ตารบั ยารสรอ้ น

-ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะอย่างย่ิง

ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เนื่องจากเกิด

อาการสะสมของการบรู และอาจเกิดพษิ ได้

- ควรระวงั การใชร้ ว่ มกับยา

phenytoin,propranolol,theophylline และ

rifampicin เน่ืองจากตารบั นี้มพี ริกไทยในปริมาณสูง

อาการไม่พึงประสงค์ ร้อนท้อง แสบท้อง คล่ืนไส้

คอแห้ง ผ่นื ผน่ื คัน

ยากษัยเส้น รสร้อน เมา รับประทานคร้ัง ข้อห้ามใช้:ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร

(แก้คลายกล้ามเนอื้ ) เบื่อหอม ละ 750 และเดก็

บรรเทา มิลลิกรัม -1 กรัม ข้อควรระวงั

อาการปวด วันละ 4 ครั้ง -ควรระวงั การใช้ยาในผู้ปว่ ยทแ่ี พ้เกสรดอกไม้

หลงั ปวดเอว กอ่ นอาหารและ -ควรระวังการรับประทาน ร่วมกับยาในกลุ่มสารกัน

ปวดเมื่อยตาม กอ่ นนอน เลอื ดเป็นล่ิม (antiplatelets)

ร่างกาย -ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

ในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปกติของตับไตเนื่องจากอาจเกิด

การสะสมของการบูรและเกิดพิษได้อาการไม่พึง

ประสงค์

แสบรอ้ นยอดอก

26

คู่มือเวชปฏิบตั ิการดูแลผ้ปู ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

4. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผปู้ ่วยโรคขอ้ เขา่ เสื่อม

ตารบั ยา อาการ/ ขนาด/วธิ ใี ช้ ขอ้ หา้ ม/ข้อควรระวัง
สรรพคณุ

ยาธรณสี ณั ฑะ รสเผ็ดร้อน ปร่า ชนิดผงรับประทาน ข้อห้ามใช้ : ห้ามใช้ในหญิงต้ังครรภ์หญิงให้นม

ฆาต เมาเบ่ือเปรี้ยว ครั้งละ 500 mg ถึง บตุ ร และเดก็

(แก้คลายกลา้ มเนือ้ (ช่วยให้ลมท่ีคั่ง 1 กรัม ละลายน้าสุก ข้อควรระวัง- ควรระวังการรับประทานร่วมกับ
ระบาย) คา้ ง ตามเสน้ และ หรือผสมน้าผ้ึง ป้ัน ย า ใ น ก ลุ่ ม ส า ร กั น เ ลื อ ด เ ป็ น ลิ่ ม

เสมหะที่ผิดปกติ เป็นลูกกลอน วันละ (anticoagulants) และยาต้าน การจับตัวของ

ถูกขับออกไป ลด 1 คร้ังก่อนอาหาร เกลด็ เลอื ด (antipletelets)

อ า ก า ร ป ว ด เช้าหรือก่อนนอน -ควรระวังการใช้ ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะ

บริเวณเส้นเอ็น ช นิ ด เ ม็ ด ช นิ ด อย่างย่ิงในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต

กล้ามเน้ือ และ ลูกกลอน และชนิด เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิด

ข้ อ ต่ อ ) แคปซูล รับประทาน พิษได้

แก้กษัยเส้นเถา ค ร้ั ง ล ะ 500 - ค ว ร ร ะ วั ง ก า ร ใ ช้ ร่ ว ม กั บ ย า

ดาน มิลลิกรัมถึง 1กรมั วัน phenytoin,propranolol,theophylline และ
ล ะ 1 ค รั้ ง ก่ อ น rifampicin เนื่องจากตารับน้ีมีพริกไทยใน
อาหารเช้าหรือก่อน ปรมิ าณสูง ควรระวังการใชใ้ นผ้ปู ว่ ยสูงอายุ

นอน

ยาประคบ ประคบเพอื่ ลด นายาประคบไปนงึ่ ขอ้ หา้ ม - หา้ มประคบบริเวณทม่ี ีบาดแผล

(แก้คลายกลา้ มเนอ้ื ) อาการปวด และ แลว้ ใชป้ ระคบ ขณะ -ห้ามประคบเมอ่ื เกดิ การอักเสบเฉียบพลนั หรอื

ชว่ ยคลาย ยงั อนุ่ วันละ 1-2 มอี าการอักเสบ บวม แดง ร้อนในชว่ ง 24

กลา้ มเนอ้ื เอน็ ครั้ง ลกู ประคบ 1 ชว่ั โมงแรกเน่ืองจากจะทาใหอ้ กั เสบบวมมากข้ึน

และข้อ กระตนุ้ ลูกสามารถใชไ้ ด้ 3-4 และอาจมีเลอื ดออกตามมาได้ โดยควรประคบ

หรือเพม่ิ การ ครัง้ โดยหลังการใช้ หลัง 24 ชว่ั โมง

ไหลเวียนโลหิต แลว้ ผงึ่ ใหแ้ ห้ง ก่อน ข้อควรระวงั - ไม่ควรใชล้ ูกประคบที่รอ้ น

นาไปแช่ต้เู ยน็ เกินไป โดยเฉพาะบรเิ วณผวิ หนังทเ่ี คยเปน็ แผล

มากอ่ นหรอื บรเิ วณท่ีมกี ระดูกย่ืน และตอ้ งระวงั

เป็นพิษในผ้ปู ่วยโรคเบาหวาน อมั พาต เด็กและ

ผู้สงู อายุ เพราะมักมีความรู้สึกในการรบั รแู้ ละ

ตอบสนองช้า อาจทาให้ผิดหนงั ไหมพ้ องได้งา่ ย

- หลงั จากการประคบสมุนไพรเสรจ็ ใหม่ๆ ไม่

ควรอาบน้าทันทเี พราะเปน็ การลา้ งตวั ยาจาก

ผดิ หนัง และรา่ งกายยงั ไมส่ ามารถปรับตวั ได้

ทันที (จากรอ้ นเปน็ เย็นทันทที นั ใด)อาจทาให้

เกดิ เปน็ ไข้ได้

-ควรระวงั การใช้ในผทู้ ีแ่ พส้ ่วนประกอบในยาประคบ

27

ค่มู ือเวชปฏิบตั กิ ารดแู ลผ้ปู ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

4. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลผปู้ ่วยโรคขอ้ เข่าเส่ือม
การพอกเขา่ เป็นการนาสมุนไพรทมี่ สี รรพคณุ ช่วยลดการอกั เสบของขอ้ เข่าที่หาไดง้ ่ายจากทอ้ งถิ่น
นามาพอกท้งิ ไวช้ วั่ ในระยะเวลาหนงึ่ เพอื่ บรรเทาอาการปวดเขา่
ขั้นตอนการทายาพอกดูดพษิ
เฉพาะสูตรจากเอกสารการสอนชุดวิชาเวชกรรมแผนไทย สาขาวิทยาศาสตร์สุ ขภาพ
มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช เลม่ 1 หนา้ 325 (ซงึ่ ทางกลุม่ ที่ 4 ได้เลอื กสาธิตสูตรยาพอกน)้ี
1. ยาที่ใช้เป็นยาพอก มีสว่ นประกอบ คอื กุ่มนา้ เจด็ ยอด ยอดตะขบเจด็ ยอด ดองดึงหวั ขวาน ขงิ
กระเทยี มพรกิ ไทย
2. นาสมนุ ไพรท่เี ตรียมไวท้ ้งั หมด ใส่พอเข้ากน้ หม้อ นาไปตงั้ ไฟ คนไปเร่ือยๆ ให้เกรยี ม
3. พอสุกเกรยี มดีแลว้ นามาตาหรอื บดใหล้ ะเอียด
4. นาสมุนไพรทลี่ ะเอยี ดแลว้ เคล้ากบั สรุ า
5. นาสมุนไพรท่ีเคล้ากับสุราใสล่ งไปในสาลี แล้วกลับด้าน นาด้านท่ีมสี มุนไพรพอกบริเวณที่เปน็ เช่น
เขา่

6. รอจนผปู้ ว่ ยรูสกึ ไม่เย็น ประมาณ 10-15 นาที (แอลกอฮอลร์ ะเหยออกหมด) แล้วกน็ าออกได้
หมายเหตุ : การนาไปพอกเช่นนี้จะชว่ ยถอนพิษอาการอกั เสบตามข้อตา่ งๆ ทีม่ ีอาการ ปวด บวมแดง
รอ้ น เชน่ โรคเก๊าท์ โรงจบั โปง

28

คมู่ อื เวชปฏบิ ัตกิ ารดแู ลผู้ป่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

5. แนวทางเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ่วยอาการท้องอดื ท้องเฟอ้
ผ้ปู ว่ ยอาการทอ้ งอืดท้องเฟ้อ (1)

ผ้ปู ว่ ยมีอาการของโรคท้องอืดท้องเฟอ้
(1)ผปู้ ่วยมอี าการของโรคข้อเขา่ เสอื่ ม

ผา่ นเกณฑ์การคัดกรอง ไมใ่ ช่ สง่ ตอ่
แพทยแ์ ผนปัจจบุ นั (3)
(2)
(2)

ใช่

คลินกิ บรกิ ารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

การแพทย์แผนไทยการแพทยแ์ ผนไทย ไมใ่ ช่
- การตรวจวนิ จิ ฉยั (4) ไมใ่ ช่
- การรกั ษาและการฟ้นื ฟู (5)
- คาแนะนาและการปฏิบัติตวั (6)
- ประเมินผลและตดิ ตามการรกั ษา (7)

ดขี ้ึนดขี ึน้

ใช่
ใช่

สิ้นสดุ การรักษาตรวจรักษาต่อเนือ่ งจน
ผู้ปว่ ยมอี าการปวดลดลง
และดารงชีวิตไดด้ ขี ้นึ

29

ค่มู อื เวชปฏบิ ตั กิ ารดูแลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

5. แนวทางเวชปฏิบตั ิการดแู ลผปู้ ว่ ยอาการทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ

(1) คาจากดั ความโรค
อาการท้องอดื ทอ้ งเฟอ้
การแพทย์แผนปจั จบุ นั

ทางการแพทย์แผนปัจจุบัน คือ อาการไม่สบายท้องตรงบริเวณยอดอกหรือใต้ลิ้นปี่ ที่เกิดข้ึน
ระหว่างหรือหลังกินอาหาร โดยมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างรวมๆกัน เช่น จุกเสียด
แน่นท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ มีลมในท้อง เรอบ่อย แสบท้อง เรอเปรี้ยว คล่ืนไส้หรืออาเจียนเล็กน้อย
อาการจะเปน็ เฉพาะบริเวณระดบั เหนือสะดอื จะไม่มีอาการปวดท้องใตส้ ะดอื และไม่มีความผดิ ปกติ
เกี่ยวกับการขับถ่ายร่วมด้วย อาการนี้พบได้เกือบทุกคนทั้งเด็กและผใู้ หญ่ บางรายเป็นคร้ังคราว บาง
รายอาจเป็นๆหายๆ เรื้อรัง อาจมีสาเหตุได้หลากหลาย ตั้งแต่เล็กน้อยจนถึงโรคท่ีรุนแรง และความ
ผดิ ปกติ (พยาธิสภาพ) อาจอยทู่ ง้ั ในและนอกกระเพาะอาหารและสาไส้

การแพทย์แผนไทย

ทางการแพทย์แผนไทยไม่ได้กล่าวถึงอาการท้องอืดท้องเฟ้อโดยตรง อาการท้องอืดท้องเฟ้อเป็น
อาการท่ีบ่งบอกว่ามีธาตุลม โดยเฉพาะลมโกฏฐาสยาวาตาพิการ (กาเริบ) อาการที่พบโดยท่ัวไปคือ
ปวดท้อง จุกเสียดแน่นเฟ้อ จุกอก พะอืดพะอม อาจมีเรอหรือผายลมบ่อย หากเรอหรือผายลมไม่
ออก ผู้ป่วยจะรู้สึกอึดอัดและไม่สบายท้องมากย่ิงข้ึน เหตุท่ีทาให้ธาตุลมกาเริบหรือพิการ มักเป็นผล
จากภาวะธาตุท้ังสี่เสียสมดุล คือธาตุดิน น้า ลม ไฟ ธาตุใดธาตุหนึ่งหรือหลายธาตุกาเริบ หย่อน
พิการ แล้วส่งผลให้ธาตุลมกาเริบมากขึ้น เกิดอาการท้องอืดท้องเฟ้อ เช่น การรับประทานอาหาร
ใหม่ๆ (อุทริยัง) หากเป็นอาหารประเภทที่ย่อยยาก หรือไม่ย่อย อันเน่ืองมาจากไฟปริณามัคคี (ไฟ
ย่อยอาหาร) มีกาลงั ไมพ่ อ ทาให้ธาตุลมกาเรบิ ข้ึนจงึ ทาให้เกิดอาการท้องอดื ท้องเฟอ้

(2) เกณฑค์ ดั กรองท่รี บั ผู้ปว่ ยเข้ารกั ษา

1. ผ้ปู ว่ ยมอี าการปวดท้อง จุกแนน่ ท้อง ท้องอดื ทอ้ งเฟ้อ เรอ
2. มีอาการปวดแสบเวลาหิวหรอื หลงั รับประทานอาหารอ่มิ ใหม่ๆ
3. คลาไมพ่ บก้อนในท้อง

(3) เกณฑ์สง่ ต่อแพทย์แผนปจั จบุ นั

1. ในคนสูงอายุ เช่น อายุเกิน 40 ปี เพ่ิงจะเริ่มมีอาการท้องอืดท้องเฟ้อ เกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ
เนื่องจาก พบว่ามะเร็งของกระเพาะอาหาร หรอื ตบั มักจะพบในคนอายุเกินกว่า 40 ปี

2. ในคนทมี่ อี าการทอ้ งอืดร่วมกบั มีน้าหนกั ลด
3. มีอาการซดี ถ่ายอุจจาระดา
4. มีอาเจยี นติดต่อกนั หรือกลืนอาหารไมไ่ ด้
5. ตวั เหลือง ตาเหลือง หรอื มีก้อนในท้อง
6. ปวดท้องมาก
7. ท้องอืดแนน่ ทอ้ งมาก
8. การขับถา่ ยอจุ จาระเปลี่ยนแปลงไป

30

คู่มือเวชปฏิบัติการดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

5. แนวทางเวชปฏิบัตกิ ารดแู ลผปู้ ่วยอาการทอ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้

(4) การตรวจวินิจฉยั

การแพทยแ์ ผนไทย

1. การซักประวัติ

การซักประวัติและวิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทยในกลุ่มอาการท้องอืดท้องเฟ้อ ต้องถาม

อาการและอาการแสดงท่ีสอดคล้องกับโรคดังกลา่ ว ดังน้ันตอ้ งคานึงถึงช่วงเวลา อายุ อาหารที่รับประทาน ปจั จัย

หรือส่ิงกระตุ้นที่ทาให้มีอาการกาเริบมากขึ้น เพ่ือให้นาไปสู่การหาสมุฏฐานของโรคและสามารถนาไปสู่การรักษา

ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ทงั้ นี้ต้องวิเคราะห์สมฏุ ฐานทีม่ คี วามสมั พันธ์ของโรคดังกลา่ วตามตารางดังตอ่ ไปน้ี

ข้อมลู เหตุผล

ธาตุเจ้าเรอื น เพื่อใชใ้ นการวิเคราะหธ์ าตุเจ้าเรือนของผูป้ ่วย

ธาตุสมฏุ ฐาน เพื่อให้ทราบสมุฏฐานการเกิดโรค อาการท้องอืดท้องเฟ้อ มักมีอาการปวดท้อง

จกุ เสยี ดแน่นท้อง ท้องอดื ท้องเฟ้อ บางรายอาจมีอาการเรอรว่ มดว้ ย ซ่ึงสมั พนั ธ์

กับเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) ได้แก่ ไฟปริณามัคคี (ไฟย่อยอาหาร) วาโยธาตุ (ธาตุลม)

ได้แก่ ลมโกฏฐาสยาวาตา (ลมพัดในลาไส้ ในกระเพาะอาการ) ลมอุทธังคมาวา

ตา (ลมพัดขึ้นเบื้องบน) ปถวีธาตุ (ธาตุดิน) ได้แก่ กรีสัง (อาหารเก่า) อุทริยัง

(อาหารใหม)่

อตุ ุสมุฏฐาน เพ่ือใช้ร่วมในการประเมินอาการของผู้ป่วยว่าฤดูกาลใดเริ่มมีการเจ็บป่วย และ

อาการกาเริบของโรคสมั พนั ธ์กบั การเปล่ยี นแปลงของสภาพอากาศหรอื ไม่

อายุสมุฏฐาน เพ่อื ดอู ายุของผูป้ ่วย ซ่ึงอาจเปน็ ปจั จยั ส่งเสริมให้เกิดโรค

กาลสมฏุ ฐาน เพื่อใชร้ ่วมในการประเมินอาการของผู้ปว่ ยวา่ ช่วงเวลาใดมีอาการเจ็บป่วย หรือ

การกาเริบของโรค มคี วามสัมพนั ธ์กบั เวลาหรอื ไม่

ประเทศสมุฏฐาน เพื่อใช้ร่วมประเมินอาการของผู้ป่วยว่าถ่ินท่ีอยู่อาศัยหลัก มีความสัมพันธ์กับ

อาการเจบ็ ปว่ ยหรอื ไม่

มลู เหตุการณเ์ กดิ โรค 8 เพ่ือให้ทราบสาเหตุและความสัมพันธ์ของโรค ซึ่งอาจทาให้โรคกาเริบมากข้ึน

ประการ เช่น การรบั ประทานอาหารรสจัด การอดขา้ ว อดน้า เปน็ ต้น

2) การตรวจรา่ งกาย

1) การประเมนิ ลักษณะทว่ั ไป
- ดูสีหน้าผู้ป่วยไมส่ ดช่นื

2) การตรวจ : ดู คลา เคาะ ฟงั
- เคาะท้องแลว้ เกิดเสยี งโปร่งของลมในท้อง (เช่น Bowel sound)

31

ค่มู อื เวชปฏิบตั ิการดูแลผ้ปู ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

5. แนวทางเวชปฏิบัตกิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยอาการทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ

(5) การรกั ษาและการฟืน้ ฟู

การแพทยแ์ ผนไทย

1. รกั ษาดว้ ยยาสมุนไพร

1.1 ยาสมุนไพรในบญั ชียาหลกั แห่งชาติ พ.ศ. 2559

ตารบั ยา อาการ/สรรพคุณ ขนาด/วิธีใช้ ข้อหา้ ม/ข้อควรระวงั

ขม้ินชนั รสฝาดหวานเอียน รั บ ป ร ะ ท า น ค ร้ั ง ล ะ 500 ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้กับผู้ที่ท่อน้าดี
บรรเทาอาการแน่นจุก มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 อุดตนั หรือผ้ทู ไี่ วตอ่ ยาน้ี
(แก้ทอ้ งอืด จุก) เสียด ทอ้ งอดื ท้องเฟอ้ ครงั้ หลังอาหารและกอ่ นนอน ข้อควรระวัง – ควรระวังการใช้

กับผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้าดี หญิง
ตงั้ ครรภ์ และเด็ก
- ควรระวงั การใชย้ านร้ี ่วมกับ
สารกันเลอื ดเปน็ ลิม่
(anticoagulants) และยาต้าน
การจับ ตัวของเกลด็ เลือด
(antiplatelets) ยาท่ี
กระบวนการเมแทบอลซิ ึม ผา่ น
เอนไซม์ Cytochrome P450
ยารกั ษาโรคมะเร็งบางชนิด เชน่
doxorubicin, chlormethine,
cyclophosphamide และ
camptothecin เน่อื งจาก
curcumin อาจมผี ลต้านฤทธยิ์ า
ดังกลา่ ว

ขิง (แก้ทอ้ งอืด จุก) รสหวานเผ็ดร้อน รบั ประทานวนั ละ 2 – 4 กรมั ข้อควรระวัง - ควรระวังการใช้

- บรรเทาอาการ ยาน้ีร่วมกับสารกันเลือดเป็นล่ิม

ท้องอดื ขบั ลม แน่นจกุ (anticoagulants) และยาต้าน

เสยี ด ก า ร จั บ ตั ว ข อ ง เ ก ล็ ด เ ลื อ ด

- ป้องกันและบรรเทา (antiplatelets)

อาการคลื่นไส้ อาเจียน - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรค

ที่มีสาเหตุจากการเมา นิ่วในถงุ น้าดี

ร ถ เ ม า เ รื อ แ ล ะ - ไมแ่ นะนาใหร้ ับประทานในเดก็

ป้องกันอาการคล่ืนไส้ อายุต่ากวา่ 6 ขวบ

อ า เ จี ย น ห ลั ง ก า ร อาการไม่พึงประสงค์ อาการ

ผา่ ตดั แสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร

อาการระคายเคืองบริเวณปาก

และคอ

32

ค่มู อื เวชปฏิบัติการดูแลผ้ปู ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

5. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผปู้ ่วยอาการท้องอดื ทอ้ งเฟอ้

ตารบั ยา อาการ/ ขนาด/วิธใี ช้ ข้อหา้ ม/ข้อควรระวัง

สรรพคณุ

ยาธาตุอบเชย รสฝาดหวาน รับประทานครั้งละ 15 - 30 มิลลิลิตร วัน ขอ้ ควรระวงั ควรระวังการ

(ขบั ลม แน่น ขับลม บรรเทา ละ 3 ครั้ง หลังอาหาร ใ ช้ ย า อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง
เฟ้อ) อาการท้ องอืด โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ย่ิ ง ใ น

ท้องเฟ้อ ผู้ ป่ ว ย ที่ มี ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ

ของตับ ไต เน่ืองจากอาจ

เกิดการสะสมของการบูร

และเกดิ พษิ ได้

ยาธาตบุ รรจบ รสสขุ มุ รอ้ น ชนิดผง ข้อห้ามใช้ -ห้ามใช้ในหญิง

( แ ก้ ท้ อ ง อื ด บรรเทาอาการ - ผู้ใหญ่ รับประทานคร้ังละ 1 กรัม ละลาย ต้ังครรภ์ และผู้ที่มีไข้ ข้อ
ร ะ บ า ย แ ก้ ท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ น้ากระสายยา วนั ละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร เมือ่ ควรระวัง - ควรระวังการ
ท้ อ ง เ สี ย ไ ม่ ติ ด
เชอ้ื ) มอี าการ รับประทานร่วมกับยาใน

- เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ กลุ่มสารกันเลือดเป็นล่ิม

500 มิลลิกรัม ละลายน้ากระสายยา วันละ (anticoagulant) และ ยา

3 ครั้ง ก่อนอาหาร เม่ือมีอาการ น้ากระสาย ต้านการจับตัวของเกล็ด

ยาท่ใี ช้ เลือด (antiplatelets)

กรณีแก้ท้องอดื ทอ้ งเฟอ้ - ควรระวังการใช้ยาอย่าง

- ใช้กระเทียม 3 กลีบ ทุบชงน้าร้อนหรือใช้ ต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่าง

ใบกะเพราต้มเป็นน้ากระสายยา ถ้าหาน้า ย่ิ ง ใ น ผู้ ป่ ว ย ท่ี มี ค ว า ม

กระสายยาไม่ได้ให้ใช้น้าสุกแทน ชนิด ผิ ด ป ก ติ ข อ ง ตั บ ไ ต

แ ค ป ซู ล แ ล ะ ช นิ ด ลู ก ก ล อ น - ผู้ ใ หญ่ เนอื่ งจาก

รับประทานคร้ังละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง

กอ่ นอาหาร เม่อื มีอาการ - เด็ก อายุ 6 - 12

ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ

3 ครัง้ ก่อนอาหาร เมอื่ มีอาการ

ยาหอมนวโกศ รสสขุ ุมร้อน ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิง

(แก้วงิ เวียน ขบั บรรเทาอาการ ละลายน้ากระสาย เม่ือมีอาการ ทุก 3 - 4 ต้ังครรภ์ และผทู้ ี่มีไข้
ลม) ท้องอืดท้องเฟ้อ ชัว่ โมง ไม่ควร เกนิ วันละ 3 ครั้ง ข้อควรระวัง - ควรระวัง

ขับลม น้ากระสายยาท่ีใช้ - กรณีแก้ลมวิงเวียน การรับประทานร่วมกับยา

คล่ืนเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ใน ในกลุ่มสารกันเลือดเป็น

ผสู้ งู อายุ ใช้นา้ ลูกผกั ชีหรือเทียนดาต้มเป็นนา้ ล่มิ (anticoagulant) และ

กระสายยา ย า ต้ า น ก า ร จั บ ตั ว ข อ ง

เ ก ล็ ด เ ลื อ ด

(antiplatelets)

33

คู่มอื เวชปฏบิ ตั ิการดูแลผู้ป่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

5. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผปู้ ่วยอาการท้องอดื ทอ้ งเฟอ้

ตารบั ยา อาการ/สรรพคุณ ขนาด/วธิ ีใช้ ขอ้ หา้ ม/ข้อควรระวัง

- กรณีแก้ลมปลายไข้ หลังจาก - ควรระวังการใช้ยาในผู้ปว่ ยท่ี
ฟื้นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น แพล้ ะอองเกสรดอกไม้
คล่ืนเหียน วิงเวียน เบ่ืออาหาร
ท้องอืด อ่อนเพลีย ใช้ก้าน
สะเดา ลูกกระดอม และเถา
บอระเพ็ด ต้มเป็นน้ากระสาย
ยา ถ้าหาน้ากระสายยาไม่ได้ให้
ใช้นา้ สกุ แทน

ยาหอมอทิ รจกั ร รสสขุ มุ รอ้ น ชนิดผง รับประทานคร้ังละ 1 ข้ อ ห้ า ม ใ ช้ ห้ า ม ใ ช้ ใ น ห ญิ ง
แกล้ มบาดทะจติ แก้
(ขับลม) คลน่ื เหยี นอาเจยี น – 2 กรัม ละลายน้ากระสาย ตั้งครรภ์
และแกล้ มจุกเสยี ด
ยา ทุก 3 – 4 ช่ัวโมง ไม่ควร ข้อควรระวัง - ควรระวังการ

เกนิ วนั ละ 3 ครั้ง รับประทานร่วมกับยาในกลุ่ม

น้ากระสายยาท่ีใช้ - กรณีแก้ ส า ร กั น เ ลื อ ด เ ป็ น ลิ่ ม

ลมบาดทะจิต ใช้นา้ ดอกมะลิ (anticoagulant) และ ยาต้าน

- กรณีแก้คลื่นเหียนอาเจียน ก า ร จั บ ตั ว ข อ ง เ ก ล็ ด เ ลื อ ด

ใช้น้าลูกผักชีเทียนดาต้ม ถ้าไม่ (antiplatelets)

มีใชน้ า้ สกุ - ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยท่ีมี

- กรณีแก้ลมจุกเสียด ใช้น้าขิง ประวตั แิ พเ้ กสรดอกไม้

ต้มชนิดเม็ด รับประทานครั้ง

ล ะ 1 - 2 ก รั ม ทุ ก 3 - 4

ชัว่ โมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง

(7) การประเมินและตดิ ตามผลการรกั ษา
1. ติดตามผลการรักษาโดยนดั เพอื่ ประเมนิ อาการและอาการแสดงตามเกณฑ์การรักษา เพือ่ ดูว่าอาการดี

ขึ้นหรือไม่ โดยการซักประวัติท่ีสัมพนั ธก์ บั อาการของโรค เช่น อาการปวดทอ้ ง แน่นท้อง ทอ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ รวมถึง
ความถล่ี ดลงหรอื ไม่

34

คู่มอื เวชปฏิบตั กิ ารดูแลผู้ปว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

6. แนวทางเวชปฏิบตั ิการดูแลผปู้ ว่ ยโรคริดสดี วงทวาร

แผนภูมิแนวทางเวชปฏบิ ัติแพทยแ์ ผนไทยในโรครดิ สดี วงทวาร

ซักประวตั แิ ละตรวจรา่ งกายเพอ่ื คดั กรองผปู้ ่วย
๑. เบ่อื อาหาร น้าหนกั ลด ผอมลง
๒. เลอื ดออกมากจนวิงเวียน เวลา ลุกข้นึ
๓. ปวดมากบรเิ วณรอบทวารหนัก
๔. มไี ข้ > ๓๗.๕°C
๕. ตรวจพบซดี
๖. ตรวจทางทวารพบกอ้ นแข็ง ขรขุ ระ

มขี อ้ ใดข้อหนงึ่ ใหก้ ารรกั ษาดว้ ยยาแพทย์แผนไทย ไม่มีข้อใดข้อหนงึ่
- ยาผสมเพชรสงั ฆาต ให้คาแนะนะ
- ยาริดสีดวงมหากาฬ

ให้ ยาผสมเพชรสังฆาต(แคปซลู ) ระยะท่ี ๑ อยขู่ า้ งใน จะถ่ายเป็นเลือดสแี ดง จะไม่มี
รับประทานครง้ั ละ ๒ แคปซูล วนั ละ ๓ อาการเจ็บ ถามเพม่ิ ว่า หัวนมุ่ ๆ
ครั้ง หลงั อาหารทันที ระยะท่ี ๒ โผล่ออกมา อุจจาระเสรจ็ แลว้ หบุ เขา้ เอง
หรอื ยา รดิ สีดวงมหากาฬ(แคปซูล) ระยะที่ ๓ โผล่ออกมา มือดนั แล้วเข้า
รับประทานครง้ั ละ ๒ แคปซลู วนั ละ ๓ ระยะที่ ๔ โผล่ ออกมา มือดนั แลว้ ไม่เขา้
ครั้ง หลงั อาหารทนั ที ระยะท่ี ๕ มีเลอื กออก เป็นแผล
หรือ ยาอนื่ ตามดลุ ยพนิ ิจของแพทยแ์ ผน
ไทยผู้ตรวจรกั ษา

หมายเหตุ ๑. แนะนาใหผ้ ูป้ ่วยกลับมาตรวจซ้าภายใน ๗ วัน หรือมากอ่ นถา้ มีอาการผิดปกติจากการใชย้ า
๒. ระยะที่ ๑ และ ๒ สะดวกต่อการรักษาทางแพทย์แผนไทย โดยการจ่ายยาสมุนไพร และการให้

คาแนะนาในการปฏบิ ตั ติ ัว

* อา้ งองิ ผงั การรกั ษา เอกสารแนวทางเวชปฏบิ ตั แิ พทย์แผนไทย จงั หวดั สกลนคร

35

คูม่ อื เวชปฏบิ ัตกิ ารดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

6. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลผปู้ ว่ ยโรครดิ สดี วงทวาร
ความหมายของโรค
โรคริดสีดวงทวารหนัก มาจากคาสองคาประสมกัน คือคาว่า "ริดสีดวง" + "ทวารหนัก" คาว่า "ริดสีดวง" จะ
หมายถึง ส่ิงผิดปกติท่ีเป็นต่ิง หรือเนื้อย่ืนออกมาจากร่างกาย นิยมใช้เรียกโรคริดสีดวง ที่เกิดข้ึนท่ีทวารหนักเป็น
ส่วนใหญ่ โรคริดสีดวงของทวารหนักเป็นหน่ึงในริดสีดวงมหากาฬ ๔ จาพวกจาพวกหน่ึงขึ้นในคอ จาพวกหนึ่ง
ขึ้นในอก จาพวกหนง่ึ ขึ้นในทวาร จาพวกหนง่ึ ข้ึนในลาไส้ กลา่ วไวใ้ นคมั ภรี ม์ หาโชตรตั น์ “ลักษณะอาการ เม่ือ
ต้ังขึ้นนั้น ต้ังขึ้นเป็นกองเป็นหมู่กับประมาณ ๙,๑๐ เม็ด ๆ เท่าถั่วเขียว เม่ือสุกน้ันแตกออกเป็นบุพโพโลหิต
ระคนกัน แล้วเลื่อนเขา้ หากนั ให้บานออกสณั ฐานดังดอกบกุ เปน็ บพุ โพโลหติ ไหลซมึ อยู่ ไม่รูก้ ็วา่ ฝีปลวกและฝีหวั
ควา่ เพราะว่าบรวิ ารน้ันตั้งเป็นเมด็ ขึน้ ตามลาไส้ตลอดถึงลาคอ ใหป้ ากคอนนั้ เปื่อยกนิ เผด็ กนิ ร้อนมไิ ด้”

โรคริดสีดวงทวารหรือ Hemorrhoidsเป็นโรคที่พบวา่ มีคนไข้เป็นจานวนมาก พบได้ในเพศหญิงและเพศ
ชาย โดยปกติอาการในระยะแรกจะไม่รุนแรงมักเป็นๆ หายๆ กล่าวคือเป็นโรคที่สามารถหายได้เองในระยะแรก
แต่บางคนอาจมีการดาเนินของโรคมากข้ึนเร่ือยๆซึ่งโดยปกติแล้วคนที่มีการดาเนินของโรคมากขึ้นจะมีจานวนไม่
มากนักและ มักกินเวลานานหลายปกี ่อนจะถึงระดับที่รุนแรงจนกระท่ังต้องทาการรักษาโดยการผ่าตัดคอื โรคทม่ี ี
ลักษณะหลอดเลือดดาที่ไส้ตรง โป่งพองหรือขอด ทาให้มีอาการเจ็บๆ คันๆ ในระยะแรกและจะเพ่ิมเป็นอาการ
เจ็บปวดในระยะหลัง โรคนี้มีอาการที่สาคัญ คือ เลือดออกขณะหรือหลังอุจจาระ เน่ืองจากเมื่อหลอดเลือดโป่ง
พองมากขึ้น การโป่งพองนี้จะทาให้การเสียดสีระหว่างอุจจาระกับเส้นเลือดที่โป่งพองมีมากขึ้นทาให้เกิดการ
แตกแยกเปน็ แผล และเลือด ออกขณะและหลงั ถา่ ยอุจจาระได้โรคริดสีดวงทวารแบง่ ออกเปน็ 2 ชนิดคอื

1. โรคริดสีดวงทวารภายใน (Internal Hemorrhoids) เกิดจากการท่ีผนังตอนบนของช่องทวารหนักมี
Internal Hemorrhoids Plexus ต่อกับ Superior Hemorrhoidal Vein เกิดการโป่งพองซ่ึงโรคริดสีดวงทวาร
ชนิดนมี้ คี วามเจบ็ ปวดไมม่ าก เนอ่ื งจากบริเวณท่ีเกิดเป็นช้ันใต้เยอ่ื เมือก ไม่มีสน้ ประสาทรบั ความรู้สกึ ปวด

2. โรคริดสีดวงทวารภายนอก (External Hemorrhoids) เกดิ จากช่องทวารหนกั ส่วนใกล้ปากทวารหนกั
ซึ่งมี External Hemorrhoids Plexus ผิวหนังรอบทวารหนักเกิดการโป่งพองมีรูปร่างต่างๆ กันออกไป เช่น
เดือยไก่ กลีบมะเฟือง กลับมะไฟ เม็ดข้าวโพด บานทะโร่ เป็นต้นซ่ึงผิวหนังรอบทวารหนักมีเส้นประสาทรับ
ความความรู้สกึ ปวด ดังนัน้ ผทู้ เี่ ป็นโรครดิ สีดวงทวารภายนอกจะรู้สึกเจ็บปวดมาก โรครดิ สดี วงทวาร สามารถแบ่ง
ความรุนแรงของอาการและการโผล่ออกของริดสีดวงทวาร เนื้อเยื่อที่อยู่ใต้ dentate line ยืดออกเป็นต่ิงเนื้อ
ริดสดี วงภายในแบง่ ตามความรนุ แรงเป็น ระยะ คอื

ระยะที่ 1 ริดสดี วงอยูเ่ หนอื dentate line และไม่ยน่ื ออกมานอกขอบทวาร
ระยะที่ 2 ริดสีดวงยื่นออกมานอกขอบทวาร ขณะถ่ายอุจจาระและเลื่อนกลับเข้าไปในทวารหนักหลัง
ถ่ายอจุ จาระ
ระยะท่ี 3 ริดสีดวงยื่นออกนอกขอบทวาร ขณะถ่ายอุจจาระ และหลังถา่ ยอจุ จาระต้องดันกลบั เขา้ ไปใน
ทวารหนัก
ระยะที่ 4 รดิ สดี วงยืน่ ออกนอกทวารหนักตลอดเวลา
รดิ สดี วงทวารภายในและภายนอกจะเกดิ รว่ มกนั ไดบ้ ่อยครง้ั การดูแลรกั ษาพิจารณาจากชนดิ และ ความ
รุนแรงของโรค ทง้ั นก้ี ารรกั ษามงุ่ เพื่อบรรเทาอาการ และไม่จาเปน็ ต้องขจดั หวั รดิ สีดวงทวารทมี่ อี ยู่ทง้ั หมด

36

คมู่ อื เวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

6. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยโรคริดสดี วงทวาร
สาเหตทุ ที่ าให้เกิดโรครดิ สดี วงทวาร

1. ท้องผกู เรื้อรังซ่ึงเปน็ สาเหตหุ ลักท่ที าให้เกิดโรคนม้ี ากกวา่ สาเหตุอ่ืนๆ
2. อาหารทีไ่ ม่เหมาะสม ทอ้ งเสียเร้ือรังทาใหเ้ กดิ การอักเสบของกล้ามเน้ือรอบทวารหนัก
3. ภาวะตง้ั ครรภ์สามารถหายเองไดห้ ลงั จากทคี่ ลอดบตุ รแลว้
4. พันธกุ รรม
5. ความชรา
ผู้ท่ีเสีย่ งสูงตอ่ การเกดิ รดิ สดี วงทวาร
1. ท้องผูก การนั่งแชน่ านๆ รวมท้งั น่งั ถ่ายอจุ จาระนานๆ ทาใหต้ อ้ งเบ่งอจุ จาระเปน็ ประจา แรงเบ่งจะ
เพิ่มความดนั และ/หรือการบาดเจบ็ ในกลุ่มเนือ้ เยอื่ หลอดเลือด สง่ ผลให้หลอดเลือดโปง่ พอง หรือหลอด
เลือดขอดไดง้ า่ ย
2. ทอ้ งเสยี เรื้อรัง การอุจจาระบ่อยๆจะเพิม่ ความดนั และ/หรอื การบาดเจ็บตอ่ กลุ่มเนื้อเยื่อหลอดเลอื ด
เชน่ กนั
3. อายุ ผสู้ ูงอายจุ ะมีการเสื่อมของเนื้อเยื่อต่างๆรอบหลอดเลอื ด รวมทงั้ ของกลุม่ เนอ้ื เย่อื หลอดเลือด
หลอดเลอื ดจงึ โป่งพองไดง้ ่าย
4. การตั้งครรภ์ เพราะน้าหนักของครรภจ์ ะกดทับลงบนกล่มุ เนอื้ เยื่อหลอดเลือด จึงเกิดหลอดเลอื ดบวม
พองได้ง่าย
5. โรคอ้วนและนา้ หนักตวั เกนิ ส่งผลให้เพ่ิมแรงดนั ในช่องทอ้ งและในอ้งุ เชิงกรานสงู ขึ้น เช่นเดยี วกับใน
หญงิ ตัง้ ครรภ์
6. การมีเพศสมั พันธ์ทางทวารหนกั จงึ เกดิ การกดเบยี ดทับ/บาดเจ็บต่อกลุ่มเนือ้ เย่อื หลอดเลือดสว่ นน้ี
เร้ือรัง จงึ มีเลือดคง่ั ในหลอดเลอื ด เกดิ โปง่ พองไดง้ ่าย
7. โรคแต่กาเนิดทีไ่ ม่มีลนิ้ ปดิ เปิด (Valve) ในหลอดเลอื ดดาในเน้ือเยอื่ หลอดเลือดซ่ึงชว่ ยในการ
ไหลเวียนเลอื ด จงึ เกดิ ภาวะเลือดคั่งในหลอดเลือด จึงเกิดหลอดเลือดโปง่ พองง่าย
8. อาจจากพันธุกรรม เพราะพบโรคไดส้ ูงกว่า เมอ่ื ครอบครัวมปี ระวตั เิ ป็นโรคริดสีดวงทวาร
อาการของโรครดิ สดี วงทวาร
1. มีกอ้ นเนอื้ ปลนิ้ จากภายในขณะเบ่งถ่ายอุจจาระ และยุบกลบั เขา้ ไปเมื่อหยุดเบ่ง เม่อื เป็นมากต้องดัน

จงึ
จะกลับเข้าไป และขั้นสุดทา้ ยอาจยอ้ ยอยภู่ ายนอกตลอดเวลา
2. มีเลอื ดแดงสดหยดออกมา หรอื พงุ่ ออกมาขณะเบง่ ถ่าย หรอื หลงั ถ่ายอจุ จาระจานวนแตล่ ะคร้งั ไม่มาก
นัก ไม่มีอาการปวด หรือแสบขอบทวาร หรือพบเลือดบนกระดาษชาระ เลือดที่ออกจะไมป่ นกบั อจุ จาระ
ไมม่ มี ูก และมกั หยุดได้เอง อาการเหลา่ นีจ้ ะเป็นๆหายๆ
3. เม่ือเป็นมาก หลอดเลือดจะบวมมาก รวมทั้งเน้ือเยื่อเก่ียวพันรอบหลอดเลือดจะบวมออกมาถึงปาก
ทวารหนัก เห็นเป็นก้อนเน้ือนิ่ม ปล้ินโผล่ออกมานอกทวารหนัก ซ่ึงในภาวะเช่นนี้ จะก่ออาการเจ็บปวด
ได้
4. นอกจากอาการดังกลา่ วแลว้ ผปู้ ่วยบางรายอาจจะมอี าการคนั รอบทวารหนกั
อาจจะมาดว้ ยอาการมมี ูกหลงั จากถา่ ยอจุ าระ
4. เม่ือมีล่ิมเลือดเกิดในริดสีดวงที่โป่งพองจะก่ออาการปวด เจ็บ บวม และก่ออาการระคายเคืองบริเวณ
รอบปากทวารหนัก และอาการคนั แต่มักไม่คอ่ ยพบมีเลอื ดออกจากต่ิงเน้ือนี้

37

คู่มือเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

6. แนวทางเวชปฏบิ ัตกิ ารดแู ลผปู้ ่วยโรคริดสดี วงทวาร
หลักการวินิจฉัยทสี่ าคญั

1. คือ การแยกโรคออกจากโรคอ่ืน ๆเชน่ โรคมะเร็งลาไสใ้ หญ่ มะเรง็ ทวารหนกั
2. ตรวจดูขอบทวารหนัก ส่วนใหญจ่ ะปกติ หรอื อาจเหน็ ริดสีดวงทวารหนักยน่ื ออกมา
3. การตรวจทวารหนักด้วยน้ิวมอื (PR) ไมช่ ว่ ยวินจิ ฉัยรดิ สดี วงทวารหนัก แตช่ ่วยตรวจแยกโรคอนื่ ๆ ทม่ี ี
อาการคลา้ ยรดิ สีดวงทวารหนกั โดยเฉพาะก้อนหรือแผลบรเิ วณทวารหนกั หรอื ภายใน rectum
4. การตรวจดว้ ยสอ่ งดูทวารหนัก anoscope จะตรวจพบหวั รดิ สีดวงภายในได้ชดั เจน ควรทาเสมอเพอ่ื
การวินิจฉยั โรคท่ีแน่นอน
5. การตรวจดว้ ยส่องด้วยกล้อง sigmoidoscope ควรทาในรายทมี่ ีอายุมาก และจาเป็นต้องทาถา้ มี
ประวตั ขิ ับถ่ายผดิ ปกติเรื้อรัง หรือถา่ ยเปน็ มูก ปนเลือด หรือคลากอ้ นได้ภายในทวารหนกั
6. การสง่ ตรวจด้วยสวนสี x-ray ลาไสใ้ หญ่ barium enema หรอื การสอ่ งกล้องดลู าไส้ใหญ่
colonoscopy ใชต้ รวจในกรณที อี าการไมช่ ัดเจนวา่ เป็นโรคอะไรหรือมอี าการอ่นื ๆ รวมทง้ั ตรวจใน
ผ้ปู ว่ ยสูงอายุ
7. การตรวจร่างกายตามปกติ
อาการทต่ี ้อง Consult แพทยท์ กุ ครงั้ หากมีอาการดงั ตอ่ ไปน้ี
1. น้าหนักลงชัดเจน
2. ระบบขบั ถ่ายผดิ ปกติ เชน่ ทอ้ งผูกสลับกับท้องผกู
3. มกี ารเปลีย่ นแปลงของสีอจุ าระ
4. อจุ าระมเี ลอื ดปน
5. พบมกู ในอจุ าระ
จุดมงุ่ หมาย
ริดสีดวงมทวารมี พิกัดสมุฏฐาน หรือที่ต้ังที่แรกเกิดของโรคในแผนไทยมีอยู่ ๓ อย่าง คือ ปิตตะ วาตะ
และเสมหะ กล่าวคือ เป็นการค่ังของเสมหะ (เลือด) ที่บริเวณคูถทวารท่ีเกิดจากคูถเสมหะหย่อน ทาให้กรีสะ
(อาหารเก่าหรืออุจจาระ)แห้งแข็ง วาตะคือลมในลาไสไ้ ม่สามารถขบั ดันกรสี ะออกมาได้ จงึ ต้องออกแรงเบง่ หลอด
เลือดจึงโป่งพอง เม่ือมีการเสียดสีก็เกิดความร้อน ทาให้เลือดท่ีคั่งอยู่นั้นข้นเข้าอีก ยากตอ่ การกระจายกลับ เมื่อ
มกี ารการอักเสบ กม็ ีอาการปวด (อาการของวาตะถกู ปิดกนั้ ) บวม (เสมหะคัง่ ) แดงร้อน (ปิตตะกาเริบ)
ข้อบง่ ชี้
แนวทางเวชปฏบิ ตั นิ ้ีครอบคลุมโรคหรอื อาการหรืออาการแสดงต่อไปน้ี
การแพทย์แผนไทย รดิ สีดวงทวารเปน็ โรคท่ีมลี ักษณะรอ้ นแห้งช้ืน คอื มีการกาเรบิ ทั้งธาตลุ ม ธาตุน้า และ
ธาตุไฟ หรอื ปติ ตะเปน็ หลกั การดูแลระบบย่อยอาหารเปน็ หัวใจทสี่ าคญั ทส่ี ดุ และดูเหมือนวา่ ขม้ินชนั จะเปน็
สมุนไพรท่ชี ว่ ยย่อยโดยไม่ไปกระทบตอ่ ธาตุใด ทัง้ ยังมฤี ทธลิ์ ดการอักเสบ ฝาดสมานชว่ ยให้เน้อื เยอื่ กระชับขึน้ และ
ยงั ชว่ ยฆ่าเช้อื โรคโดยสามารถใชไ้ ดท้ ้งั การกนิ และการทา นอกจากนี้ "เพชรสงั ฆาต"ยังมีฤทธล์ิ ดการอกั เสบและ
ชว่ ยทาให้กล้ามเน้อื กระชบั ข้ึนเชน่ กันใช้เป็นยากนิ นอกจากการใชส้ มนุ ไพรพนื้ ฐานแลว้ ยงั ต้องดสู าเหตเุ กิดกาเริบ
ของรดิ สดี วง อีกด้วย ตวั อยา่ งเช่น
เกดิ จากการกาเรบิ ของธาตุลม มักเปน็ ในผสู้ ูงอายุ มลี กั ษณะแหง้ และเย็นรดิ สีดวงไม่อักเสบไมม่ เี ลอื ดออก
จะมีอาการปวดไมเ่ ฉพาะทห่ี ัวริดสดี วง แตจ่ ะปวดหลัง ปวดท้อง ปวดกระเพาะปัสสาวะ มีอารมณท์ ีแ่ ปรปรวน
เครียดวิตกกังวล โดยทวั่ ไปหวั ในลักษณะนตี้ อ้ งใช้สมุนไพรทีม่ ีความชุม่ ช้นื หล่อลน่ื เชน่ งา แมงลัก กระเจี๊ยบ
มอญ เมด็ ในมะม่วง เปน็ ตน้

38

คมู่ ือเวชปฏิบัติการดูแลผปู้ ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

6. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดูแลผปู้ ่วยโรคริดสดี วงทวาร
เกิดจากการกาเริบของธาตุไฟ มักเกดิ จากการกินอาหารรสจัด จะมีอาการอักเสบ มีเลือดออกทห่ี วั
รดิ สดี วง ร้สู ึกร้อนวบู วาบตามตัว มกั โกรธ ขโี้ มโหอาหารหมักดอง ตากแดดมาก เสียนา้ มาก กินน้านอ้ ย ดงั น้นั ควร
งดอาหารทอด อาหารมัน อาหารที่มคี ณุ สมบตั ริ ้อน เชน่ มันฝรัง่ มะเขอื มะเขอื เทศ พริก โดยเฉพาะในช่วงท่ี
เลอื ดออก และควรกินผกั สดให้มากๆ สมุนไพรทคี่ วรใชเ้ ป็นสมนุ ไพรทม่ี ฤี ทธ์เิ ย็น เช่น บวั บก ยา่ นาง ไผ่ ผกั บ้งุ จีน
เปน็ ต้น
เกดิ จากการกาเรบิ ของธาตนุ ้า มกั เกิดในคนทางานท่ไี ม่ค่อยไดเ้ คลอ่ื นไหว นั่งเป็นประจาหวั รดิ สดี วงจะนิ่ม
ไม่อกั เสบไมม่ ีเลอื ดออกโผล่ออกมามาก มมี ูกปนมากบั อจุ าระ จงึ ต้องงดอาหารทจี่ ะไปเพิ่มมกู หรือเมอื กมันร่างกาย
เช่น นม ผลติ ภณั ฑจ์ ากนม โดยให้รบั ประทานสมนุ ไพรท่ีมฤี ทธ์ิร้อน เช่น พรกิ ไทย ขิง ดปี ลี เหงือกปลาหมอ อคั คี
ทวาร ต้นกระเจี๊ยบแดง ท้งั ห้าข้าวเย็นเหนือขา้ วเย็นใต้
วิธีปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ โรคริดสดี วงทวาร
1. ระวงั อย่าให้ท้องผูก ดังน้นั ควรปรับพฤติกรรมเรือ่ งอาหารกินอาหารที่มกี าก เช่น ผกั ผลไม้ อาหาร
มเี ครอ่ื งเทศท่ชี ่วยยอ่ ย มีการถ่ายอจุ จาระท่ดี ี
2.รักษาสขุ ภาพรา่ งกายให้แข็งแรงสมบูรณโ์ ดยการออกกาลังกายเป็นกิจวตั รประจาวนั จะทาให้ระบบ
ขบั ถ่ายทางานเป็นปกติมอี ารมณ์และจิตใจท่ดี ี
3. ควรดม่ื นา้ สะอาดอยา่ งน้อยวันละ 6-8 แก้ว เพือ่ ทาใหอ้ จุ จาระมีลกั ษณะนิ่มข้ึน ทาใหง้ า่ ยต่อการ
ขบั ถา่ ยและเป็นการลดการเสยี ดสีกบั เส้นเลอื ดที่บริเวณทวารหนัก
บคุ ลากรผูต้ รวจประเมนิ และส่ังการรกั ษา ได้แก่
๔.๑ ผู้มีใบอนญุ าตเป็นผปู้ ระกอบวชิ าชีพเวชกรรม (แพทยแ์ ผนปัจจบุ นั )
๔.๒ ผู้มใี บอนญุ าตเปน็ ผูป้ ระกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทย

๔.๒.๑ ประเภทเวชกรรมไทย
๔.๒.๒ ประเภทเภสัชกรรมไทย
๔.๓ ผู้มีใบอนญุ าตเปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์
หมายเหตุ ในช่วง พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๖๐ หากยังไม่มีบคุ คลดงั กล่าวในรพ.สต. บคุ คลซ่ึงได้รับมอบหมายให้
ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยหรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ตามระเบียบ
กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๔๕ สามารถตรวจประเมนิ และสง่ั การรกั ษาได้
บคุ ลากรผใู้ ห้บรกิ าร ไดแ้ ก่
๕.๑ ผมู้ ใี บอนญุ าตเปน็ ผปู้ ระกอบวชิ าชีพการแพทย์แผนไทย
๕.๑.๑ ประเภทเวชกรรมไทย
๕.๑.๒ ประเภทเภสัชกรรมไทย (ทาการประกอบโรคศิลปะเฉพาะประเภทของตน)
๕.๒ ผมู้ ีใบอนญุ าตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการแพทย์แผนไทยประยุกต์
๕.๓ ผู้ได้รับการอบรมหลักสูตรการแพทย์แผนไทยของกระทรวงสาธารณสุขหรือหลักสูตรที่ได้รับการ
รับรองจากคณะกรรมการวิชาชีพสาขาการแพทย์แผนไทยหรือสาขาการแพทย์แผนไทยประยุกต์ตาม
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.๒๕๔๕ ที่สามารถให้บริการนวด เพื่อการรักษาพยาบาล การฟื้นฟู
สภาพได้ (กระทาภายใต้ขอบเขตท่กี าหนดไว้)

39

คู่มือเวชปฏบิ ตั กิ ารดูแลผู้ป่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

6. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยโรคริดสดี วงทวาร
กจิ กรรมการดแู ลผู้ป่วย
จา่ ยยาสมนุ ไพร

1. ยาในบญั ชยี าหลักแหง่ ชาติ เช่น ยาผสมเพชรสงั ฆาต ยารดิ สดี วงมหากาฬ ชมุ เห็ดเทศ ฯลฯ
2. ยาในเภสัชตารบั โรงพยาบาล
3. ยาปรุงเฉพาะราย
4. ยาชะ แช่ หรอื เหน็บยา ตามกรรมวธิ ี
ข้อหา้ ม ข้อควรระวงั งดหรอื หลีกเลีย่ งอาหารแสลง
1. ควรหลกี เลย่ี งเครอ่ื งดมื่ แอลกอฮอลแ์ ละคาเฟอีน เชน่ สรุ า เบียร์ ไวน์ กาแฟ ชา นา้ อดั ลม เพราะจะ
ทาให้ร่างกายขาดนา้ อุจจาระแขง็ และถา่ ยลาบากขนึ้
2. ไมค่ วรกลน้ั อจุ จาระเป็นเวลานาน หลีกเลย่ี งการนงั่ อจุ จาระเปน็ เวลานาน ๆ อยา่ งนง่ั อ่านหนังสือหรือ
เล่นมอื ถอื ไปดว้ ย ควรหลกี เลย่ี งการขดั ถบู รเิ วณทวารหนกั อย่างรนุ แรง
การให้คาแนะนา
บุคลากรผ้ตู รวจประเมนิ และสั่งการรกั ษาควรใหค้ าแนะนาการปฏิบัตติ นท่ัวไปตามหลกั การแพทย์แผน
ไทยและตามหลักธรรมานามยั ระบบปฏบิ ตั ิทสี่ มบูรณแ์ บบในการสร้างเสรมิ สุขภาพโดยวิธีธรรมชาติ ให้
ความสาคญั ตอ่ เหตุปัจจยั ทกุ อย่างทม่ี ผี ลกระทบตอ่ สุขภาพและการมีอายยุ ืนอยา่ งเปน็ องคร์ วม ไดแ้ ก่ กาย จิต
และ กรรม (ในทน่ี ีห้ มายถงึ พฤตกิ รรม)
กายานามัย หมายถงึ การดแู ลใหเ้ กดิ อนามัยของกาย กายท่ีอยูเ่ ฉยจะลา้ และเสอ่ื มโทรม ตอ้ งให้กายไดร้ บั
การกระตุ้นท่พี อเหมาะ เพ่อื ใหไ้ ด้ผลดีที่สุดแตเ่ สยี่ งอนั ตรายน้อยท่สี ุด
จิตตานามัย หมายถงึ การดูแลให้เกดิ อนามัยของจติ มนษุ ย์ทกุ คนมจี ิตเป็นนายมกี ายเป็นบ่าว จติ เปน็
ตัวกาหนด กากบั หรอื ควบคุมพฤตกิ รรมของกาย ท้งั การพดู และการกระทา ดังนั้นสงิ่ ท่สี าคญั ทไ่ี ม่ย่ิงหยอ่ นหรอื
สาคัญยงิ่ กวา่ การพฒั นากาย กค็ ือการพฒั นาจติ ให้มอี นามัยหรอื ใหเ้ ปน็ จติ ท่สี มบรู ณ์
จติ ทีส่ มบรู ณ์ ประกอบดว้ ยภาวะ ๓ ประการ คณุ ภาพ เชน่ คุณธรรม ความเมตตา กรณุ าความเออื้ เฟอ้ื เผอ่ื แผ่
ความซ่ือสัตย์ สรรถภาพ เชน่ ความเขม้ แขง็ มั่นคง ความเพียรพยายาม ความม่งุ ม่ัน สตแิ ละสมาธิ สขุ ภาพ เชน่
ความสุข ความปตี ิอิม่ ใจ ความรา่ เริงเบิกบาน ความผอ่ งใส จิตจะสมบูรณ์ได้ตอ้ งไดร้ บั การพฒั นา การพัฒนาจิต
หรือจติ ภาวนา เป็นการสรา้ งพ้ืนฐานของจิตให้มัน่ คงหรอื ใหม้ คี วามตง้ั ม่นั แหง่ จิต ซึ่งนิยมเรียกว่าสมาธิ แล้วพฒั นา
ต่อไปจนเกดิ ปญั ญา หรอื การรู้เทา่ ทันส่งิ ตา่ งๆ ตามความเปน็ จรงิ การฝกึ ให้มีสมาธิ มกั ใชว้ ิธใี ห้จิตจดจอ่ อยกู่ บั ส่ิง
ใดสิง่ หน่ึง เชน่ การพิจารณาลมหายใจเขา้ -ออก หรืออิรยิ าบถ เป็นตน้
ชวี ิตานามัย หมายถงึ การดแู ลการใชช้ ีวิตหรอื การดาเนนิ ชีวิตตามหลักอนามยั ไดแ้ ก่ การรักษาความ
สะอาดของร่างกาย ทอี่ ยอู่ าศยั การบริโภคอาหารครบถว้ นถูกต้อง การใช้ชีวติ ใกลช้ ดิ ธรรมชาตแิ ละการละเวน้ สิ่ง
ที่ไมค่ วรเสพ เช่น การดมื่ สรุ า การสูบบุหร่ี ยาเสพตดิ
การประเมนิ ผลการรกั ษา : อาการลดลง
หากบคุ ลากรผู้ตรวจประเมนิ และสงั่ การรักษาพิจารณาเห็นวา่ มีความจาเป็น อาจพจิ ารณาจ่ายยาจาก
สมนุ ไพรใหก้ ับผ้รู ับบริการได้ กรณสี ั่งจ่ายยาจากสมุนไพรในบัญชยี าหลกั แห่งชาติ จะได้รบั งบคา่ บริการเพ่มิ เตมิ
จากกองทนุ แพทย์แผนไทย ในส่วนสนับสนนุ การใชย้ าจากสมุนไพรในบญั ชียาแห่งชาติ
การเบกิ จ่ายเป็นไปตามเง่อื นไขและแนวทางที่ สานักงานหลักประกนั สุขภาพแห่งชาตกิ าหนด

40

คมู่ ือเวชปฏบิ ัตกิ ารดูแลผ้ปู ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

7. แนวทางเวชปฏบิ ัตกิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยอาการทอ้ งเสยี

อาการท้องเสยี ชนิดไมต่ ิดเชอ้ื (1)

พยาบาลคัดกรองผปู้ ว่ ย (2)

ผ่านเกณฑ์การคดั กรอง ไมใ่ ช่ ส่งตอ่
แพทย์แผนปัจจบุ ัน (3)

ใช่ สง่ ตอ่ แพทย์แผนไทย

ซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย เพอ่ื ค้นหาสมุฏฐาน (4)

หลักการรักษา (5)

- การจา่ ยยาสมนุ ไพร
- การทาหัตถการ
- คาแนะนาและการปฏบิ ตั ิตัว

ดขี ึ้น ไมใ่ ช่

ใช่

ติดตามอาการ สนิ้ สุดการรักษา

41

คูม่ อื เวชปฏบิ ัติการดูแลผู้ป่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

7. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดูแลผปู้ ่วยอาการท้องเสยี
(1) คาจากัดความโรค

นยิ ามการแพทย์แผนปัจจบุ นั
โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน ไม่ติดเช้ือ หมายถึง ภาวะที่มีอุจจาระเหลวกว่าปกติตั้งแต่ 3 ครั้งต่อวัน หรือถ่าย
อจุ จาระเป็นน้า 1 ครั้ง โดยมีอาการไมน่ านกว่า 2 สปั ดาห์ โรคอุจจาระร่วงเฉยี บพลนั อาจเกดิ จากสารพษิ ของเชื้อ
โรค เช้อื โรค และสาเหตอุ น่ื ๆ
การแพทย์แผนไทย
อาการท้องเสีย หมายถึง อาการถ่ายเหลวเป็นน้ามากกว่า 3 คร้ัง/วัน หรือถ่ายเป็นมูกปนเลือดมากกว่า 1
ครั้ง/วัน ซ่ึงทางการแพทย์แผนไทยไดจ้ ัดอาการกลมุ่ โรคอุจาระธาตุ ในคัมภรี ์แพทย์แผนไทยต่างๆ เช่น คัมภรี ์ธาตุ
บรรจบ “อุจจาระธาตุท้ัง 4 ประการ ซึ่งจะวิปริตด้วยพิษ เป็นระหว่างแห่งมหาสันนิบาต นอกจากหาสันนิบาต
ท้ังหลายต่างๆมีปฐมสันนิบาตเป็นต้น มีตติยสันนิบาตเป็นท่ีสุด แลลักษณะธาตุนั้นคือ สีอุจจาระดา แดง ขาว
เขียวก็ดี เป็นเมือก เปลวไต มีโลหิตแลหาโลหิตมิได้ก็ดี มารยาทไปวันละ 2คร้ัง 3 คร้ัง 4 ครั้ง 5 ครั้ง 7 ครั้ง 8
ครัง้ เวลากลางวัน กางคนื ก็ดี แตจ่ ะลงดงั อตสิ ารวรรค แลลามกนัน้ หามไิ ด้”
ในคมั ภรี ฉ์ นั ทศาสตร์กลา่ วไว้ คือ “ตาราปวงประการแปด บอกใหแ้ พทย์พึงรู้ พิจารณาโดยกริยา ไขม้ มี าตา่ งๆกนั
อย่าสาคัญวา่ ปีศาจ เพราะเหตุธาตตุ อ้ งสาแดง ท่านใหแ้ บง่ เป็นส่ี ตามคัมภีร์อภธิ รรม คือ ดินน้า ลมไฟ”
ธาตุดินพิการ เช่น อาหารใหม่(อุทริยัง)ที่รับประทาน เป็นอาหารไม่สะอาด บูดเน่า อาหารหมักดอง หรือ
อาหารที่ไม่เคยรับประทานมาก่อนหรือไม่ถูกธาตุ อันตคุณัง(ไส้น้อย)และอันตัง(ไส้ใหญ่)มีความพิการจากการถูก
กระทบชอกซา้ อาจทาให้ทอ้ งเสยี ได้
ธาตุน้าพิการ เช่น คูถเสมหะ (ธาตุน้าที่ประจาอยู่คูถทวาร)อาจกาเริบขึ้นจากการท่ีผู้ป่วยรับประทานยาและ
อาการทม่ี ีรสเคม็ จดั เปร้ยี วจัด เผ็ดจัด จะเป็นตวั กระตุ้นใหค้ ูถเสมหะกาเรบิ ขึ้น ทาให้เกิดอาการทอ้ งเสยี ได้
ธาตุลมพิการ เช่น การนวดบริเวณหลังและท้อง เป็นการรกกระตุ้นการทางานของโกฏฐาสยาวาตา (ลมในไส้)
และกุจฉิยาวาตา (ลมพัดในท้องนอกลาไส้)ซ่ึงลมสองประการนี้พัดร่วมกันจะทาให้เกิดการถ่ายอุจาระ บางราย
อาจท้องเสยี ได้
ธาตไุ ฟพกิ าร เช่น การรับประทานยาและอาหารรสเผ็ดร้อนมากไป จนทาให้ปรณิ ามคั คี (ไฟย่อยอาหาร)กาเริบ
ข้ึนทาให้เกิดความร้อนในระบบทางเดินอาหาร ส่งผลกระตุ้นให้ธาตุลมโกฐาสยาวาตาและกุจฉิยาวาตากาเริบขึ้น
ทาใหเ้ กิดท้องเสียได้
แพทย์ผู้ให้การบาบัดรักษาจะต้องซักประวัติและตรวงร่างกาย เพื่อให้ได้ข้อมูลประกอบการวินิจฉัยอาการ
ท้องเสีย เช่น อาการของผู้ป่วย ลักษณะและกล่ินของอุจจาระ(คัมภีร์ธาตุบรรจบ) ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีบงบอกถึงความ
พกิ ารของธาตไุ ด้
(2) เกณฑค์ ดั กรองทรี่ ับผปู้ ว่ ยเขา้ รกั ษา

1. มอี าการถ่ายเหลว ต้ังแต่ 3 ครั้ง/วัน ไมม่ ีมูก มเี ลือดปน ไมม่ อี าเจียน วงิ เวียนศรี ษะ ซีด
(3) เกณฑส์ ่งตอ่ แพทยแ์ ผนปจั จบุ นั

1. ท้องเสียนานเกินมากกว่า 7 วนั
2. มีไขส้ ูง > 38 องศาเซลเซยี ส สัญญาณชีพผิดปกติ SBP < 90 mmHg
3. มีอาการซดี ถา่ ยอจุ จาระดา ถ่ายเปน็ มูกเลือดปน
4. มอี าเจียนติดต่อกนั หรือกลืนอาหารไมไ่ ด้
5. ปากแห้ง ซดี วงิ เวียนศีรษะ
6. อายุนอ้ ยกว่า 6 ปี

42

คู่มอื เวชปฏิบตั กิ ารดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

7. แนวทางเวชปฏิบตั ิการดแู ลผปู้ ว่ ยอาการทอ้ งเสีย

(4) การตรวจวนิ ิจฉัย (เกดิ ได้จากหลายสมฏุ ฐาน หรือหลายสาเหตุ อา้ งองิ คัมภีร์ฉนั ทศาสตร)์

การแพทยแ์ ผนไทย

1. การซักประวัติ

การซักประวัติและวิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทยในกลุ่มอาการท้องเสีย ต้องถามอาการ

และอาการแสดงที่สอดคลอ้ งกับโรคดังกลา่ ว ดังน้ันต้องคานึงถึงชว่ งเวลา อายุ อาหารที่รับประทาน ปัจจัยหรอื สิ่ง

กระตนุ้ ท่ที าให้มีอาการกาเรบิ มากขึน้ เพื่อให้นาไปสกู่ ารหาสมุฏฐานของโรคและสามารถนาไปสู่การรักษาได้อย่าง

ถกู ตอ้ ง ท้ังนตี้ ้องวิเคราะห์สมฏุ ฐานท่ีมีความสัมพันธข์ องโรคดงั กลา่ วตามตารางดังตอ่ ไปน้ี

ขอ้ มลู เหตุผล

ธาตเุ จ้าเรอื น เพ่ือใชใ้ นการวิเคราะห์ธาตุเจ้าเรอื นของผูป้ ่วย

ธาตสุ มฏุ ฐาน เพื่อให้ทราบสมุฏฐานการเกิดโรค อาการท้องอืดท้องเฟ้อ มักมีอาการปวดท้อง จุก

เสียดแน่นท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ บางรายอาจมีอาการเรอร่วมด้วย ซึ่งสัมพันธ์กับ

เตโชธาตุ (ธาตุไฟ) ได้แก่ ไฟปริณามัคคี (ไฟย่อยอาหาร) วาโยธาตุ (ธาตุลม) ได้แก่

ลมโกฏฐาสยาวาตา (ลมพัดในลาไส้ ในกระเพาะอาการ) ลมอุทธังคมาวาตา (ลมพัด

ขนึ้ เบอ้ื งบน) ปถวีธาตุ (ธาตดุ ิน) ได้แก่ กรสี งั (อาหารเกา่ ) อุทรยิ งั (อาหารใหม่)

อุตุสมฏุ ฐาน เพ่ือใช้ร่วมในการประเมินอาการของผู้ป่วยว่าฤดูกาลใดเริ่มมีการเจ็บป่วย และ

อาการกาเรบิ ของโรคสัมพันธ์กบั การเปลยี่ นแปลงของสภาพอากาศหรอื ไม่

อายสุ มฏุ ฐาน เพอ่ื ดอู ายุของผ้ปู ่วย ซงึ่ อาจเป็นปัจจยั ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ โรค

กาลสมุฏฐาน เพื่อใช้ร่วมในการประเมินอาการของผู้ปว่ ยว่าช่วงเวลาใดมีอาการเจ็บป่วย หรือการ

กาเริบของโรค มีความสัมพันธ์กบั เวลาหรอื ไม่

ประเทศสมฏุ ฐาน เพอ่ื ใชร้ ่วมประเมนิ อาการของผปู้ ่วยวา่ ถ่ินที่อยูอ่ าศยั หลัก มคี วามสัมพันธ์กับอาการ

เจ็บป่วยหรือไม่ มีการเปล่ียนท่ีอยู่อาจทาให้ธาตุในร่างกายต้องพิการแปรปรวนไป

เช่น คนที่เคยอยู่ภาคเหนือ มีสมุฏฐานธาตุไฟเป็นเจ้าเรือน ครั้นมาอยู่อยู่ภาคกลาง

ท่ีมีสมุฏฐานธาตุลมเป็นเจ้าเรือน ก็ทาให้เกิดอาการท้องเสียหรือถ่ายเหลวได้

เนื่องจากอาหาร อากาศ สิง่ แวดล้อมเปลยี่ นแปลง สง่ ผลกระทบตอ่ ธาตุภายใน

มูลเหตกุ ารณเ์ กิดโรค 8 เพื่อให้ทราบสาเหตุและความสัมพันธ์ของโรค ซึ่งอาจทาให้โรคกาเริบมากขึ้น เช่น

ประการ การรับประทานอาหารรสจัด การอดขา้ ว อดนา้ เป็นต้น

การตรวจร่างกาย

1) การประเมินลกั ษณะทั่วไป
- ประเมินความอ่อนเพลียของผู้ป่วย สังเกตสีหน้า ท่าทาง ลักษณะท่ัวไป สัญญาณชีพ หาก

ผปู้ ่วยมีอาการออ่ นเพลียจะตรวจพบลกั ษณะชพี จรเตา้ แผ่ว เบา เรว็ ดสู หี นา้ ผูป้ ่วยไมส่ ดช่นื
2) การตรวจ : ดู คลา เคาะ ฟงั
- เคาะทอ้ งแลว้ เกิดเสยี งโปรง่ ของลมในทอ้ ง (เช่น Bowel sound)

43

คู่มอื เวชปฏิบตั กิ ารดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

7. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดูแลผปู้ ว่ ยอาการทอ้ งอดื ท้องเฟอ้

(5) หลกั การรักษา

การแพทยแ์ ผนไทย

อาการท้องเสียแมจ้ ะเกิดจากสมุฏฐานหรอื กลไกท่ตี ่างกนั แต่โดยรวมแล้วอาการท้องเสียจะส่งผลกระทบ

ต่อธาตุทั้ง 4 ทุกๆธาตุกล่าวคือ อาการเก่าหรืออุจจาระนั้นมีส่วนประกอบของท่ีเป็นของแข็ง คือ ธาตุดิน ส่วนท่ี

เป็นของเหลว คือธาตุน้า ส่วนท่ีเป็นธาตุลมที่ทาให้ถ่ายและลมผายปนออกมากับอุจจาระคือ ธาตุลม และความ

ร้อนของอุจจาระ คือ ธาตุไฟ ดังน้ันการถ่ายอุจจาระรั้งหน่ึงอาจจะทาให้เกิดร่ายการเสียสมดุลของธาตุทั้ง 4 ไป

พร้อมๆกัน หากมอี าการอาเจยี นรว่ มดว้ ยจะเรยี กวา่ สนั นิบาตคลองสอง

ดังนั้นการรักษาจึงจาเปน็ ต้องปรับสมดุลของธาตุท้ัง 4 แต่หากเลือกบรรเทาอาการท้องเสียโดยการหยุด

ถ่ายก็สามารถทาได้แต่ผู้ปว่ ยอาจมีอาการรู้สึกไม่สบายตวั เกิดภาวะอานๆตามมา เช่น อาการอดึ อัด พะอดื พะอม

ปวดมวนไมส่ บายท้อง โดยมแี นวทางการรกั ษา ดงั นี้

1. การรกั ษาด้วยการจ่ายยาสมุนไพร

2. การทาหัตถการ

3. การให้คาแนะนา

1. การรกั ษาดว้ ยการจา่ ยยาสมนุ ไพร

การบรรเทาอากาท้องเสียโดยการทาให้หยุดถ่ายต้องใช้ยาสมุนไพรรสฝาดสมาน(ยาปิดธาตุ)บรรเทาอาการ

ท้องเสีย เชน่ ยาเหลอื งปิดสมทุ ร

ส่วนการบรรเทาอาการ โดยการปรับธาตุหรือการใช้ยาธาตุ ส่วนใหญ่มักใชย้ าตารับนอกจากยารสฝาดที่ชว่ ย

แก้โรคบิด ท้องร่วง อุจาระธาตุพิการ คุมธาตุแล้ว ยังมีสมุนไพรที่ช่วยขับลม บารุงธาตุ แก้อาการอ่อนเพลีย

ระบายออ่ นๆ เช่น ยาธาตุบรรจบ ยามนั ทธาตุ

หากมีอาการวงิ เวียน อ่อนเพลียร่วมด้วย อาจจ่ายยาหอมเทพจิตร ยาหอมอินทรจักร ยาหอมนวโกฏร่วมด้วย

กไ็ ด้

ตารบั ยา อาการ/สรรพคุณ ขนาด/วิธีใช้ ข้อหา้ ม/ข้อควรระวัง

ยาธาตบุ รรจบ บรรเทาอาการอจุ ารธาตุ ชนิดผง ผู้ใหญ่ ในกรณีท้องเสียชนิดที่ไม่เกิด

พิการ ทอ้ งเสยี ชนิดท่ี ไม่ รบั ประทานคร้งั ละ 1 กรมั ละลายนา้ จากการติดเช้ือ ใช้ไม่เกิน 1

เกิดจากการติดเช้ือ เช่น กระสายยา วนั ละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควร

อุจาระไม่เป็นมูก หรือมี เม่ือมอี าการ ปรกึ ษาแพทย์

เลอื ดปน เด็ก อายุ 6 - 12 ปี หา้ มใช้ในหญงิ ตงั้ ครรภ์

รับประทานครัง้ ละ 500 มิลลิกรัม หา้ มใช้ในผมู้ ีไข้
ละลายนา้ กระสายยา วนั ละ 3 ครั้ง ข้อควรระวงั :
ก่อนอาหาร เมอ่ื มอี าการ
นา้ กระสายยาที่ใช้ - ควรระวังการรับประทาน
ร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือด
- กรณีบรรเทาอาการอจุ จาระธาตุพกิ าร เป็นลม่ิ (anticoagulant) และ
ทอ้ งเสยี ชนดิ ทีไ่ ม่เกดิ จากการติดเช้ือ ใช้ ยาต้านการจับตัวของเกล็ด
เปลอื กแคหรือเปลือกสะเดา หรือเปลือก เลอื ด (antiplatelets)
ลกู ทับทมิ ต้ม แทรกกบั นา้ ปูนใสเป็นนา้ - ควรระวังการใช้ยาอย่าง
กระสายยา
ต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
- ถา้ หานา้ กระสายยาไม่ไดใ้ ห้ใช้นา้ สกุ ผปู้ ว่ ยทีม่ ีความผดิ ปกตขิ องตับ

44

ค่มู อื เวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผ้ปู ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

ตารบั ยา อาการ/สรรพคณุ ขนาด/วธิ ใี ช้ ข้อหา้ ม/ข้อควรระวัง
ยาธาตบุ รรจบ
บรรเทาอาการอจุ ารธาตุ แทน ไต เนือ่ งจากอาจเกิดการสะสม

พกิ าร ทอ้ งเสียชนดิ ที่ ไม่ ชนิดแคปซลู และชนิดลูกกลอน ของการบูรและเกิดพษิ ได้

เกิดจากการติดเช้ือ เช่น ผู้ใหญ่ - ในกรณีท้องเสียชนิดที่ไม่เกิด

อุจาระไม่เป็นมูก หรือมี รบั ประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครัง้ จากการติดเชื้อ ใช้ไม่เกิน 1

เลอื ดปน กอ่ นอาหาร เม่ือมีอาการ วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควร

เดก็ อายุ 6 - 12 ปี ปรกึ ษาแพทย์

รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วัน

ละ 3 ครัง้ กอ่ นอาหาร เม่ือมอี าการ

การทาหัตถการ
เช่น การนวดไทยแบบราชสานัก การประคบสมุนไพร ช่วยให้เลือดลมในร่างกายไหลเวียนดี ปรับ
สมดุลของธาตุท้ังสี่ในร่างกาย ช่วยบรรเทาอาการอ่อนเพลียเม่ือยล้าจากอาการท้องเสียได้ แต่ไม่
สามารถช่วยหยุดถา่ ยได้ ส่วนการอบสมนุ ไพรไมค่ วรเนื่องจากยิ่งทาใหผ้ ูป้ ว่ ยอ่อนเพลียมากข้นึ

การใหค้ าแนะนา
แนะนาตามอาการท่ีพบ เช่น หากมีอาการอ่อนเพลีย ให้นอนพักผ่อน รับประทานยาหอม หากมี
ภาวะขาดนา้ กใ็ ห้ด่มื น้าเกลอื แร่มากๆหรือพบแพทยเ์ พื่อใหน้ ้าเกลอื

6. การประเมินและติดตามผลการรักษา
ตดิ ตามผลการรักษาโดยนัดเพอื่ ประเมินอาการและอาการแสดงตามเกณฑ์การรักษา เพอ่ื ดวู ่าอาการ
ดีข้ึนหรือไม่ โดยการซักประวัติที่สัมพันธ์กับอาการของโรค เช่น ความถ่ีการถ่าย ลักษณะอุจารระ
อาการอนื่ ๆ

45

ค่มู ือเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

8. แนวทางเวชปฏบิ ัตกิ ารดูแลผปู้ ่วยโรคภูมแิ พท้ างเดนิ หายใจสว่ นตน้

แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลรักษาผปู้ ว่ ยโรคภมู ิแพ้ลมหายใจส่วนต้น (Allergic rhinitis)

ผปู้ ่วยอาการของโรคภมู แิ พท้ างเดนิ หายใจสว่ นต้น (1)

ผา่ นเกณฑก์ ารคดั กรอง ไม่ใช่
(2) สง่ ตอ่ แพทย์แผนปจั จุบนั (3)

ใช่

คลนิ ิกบรกิ ารการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก

การแพทยแ์ ผนไทย หรือการแพทยท์ างเลอื ก Consult

การแพทย์แผนไทย หรือการแพทย์ทางเลือก
- การตรวจวนิ จิ ฉัย (4)
- การรกั ษาและการฟ้นื ฟูสภาพ (5)
- คาแนะนาและการปฏิบตั ิตัว (6)
- ประเมินผลและติดตามการรักษา (7)

ดีข้ึน ไม่ใช่

ใช่
สิน้ สดุ การรกั ษา

46


Click to View FlipBook Version